พระวังหน้า ที่หลวงปู่บรมครูเทพโลกอุดรเสก ถ้าต้องการที่จะได้.....

ในห้อง 'งานบุญอื่นๆ' ตั้งกระทู้โดย sithiphong, 23 ธันวาคม 2005.

  1. :::เพชร:::

    :::เพชร::: เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    8,584
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +36,137
    โอวาทหลวงปู่มั่น ภูริทัตตะเถระ<O:p</O:p


    วัดป่าสุทธาวาส อ.เมือง จ.สกลนคร

    [​IMG]<O:p</O:p

    <O:p</O:p



    <O:p</O:p

    "ผู้ปฏิบัติพึงใช้อุบายปัญญาฟังธรรมเทศนาทุกเมื่อ

    ถึงจะอยู่คนเดียวก็ตามคืออาศัยการสำเหนียก
    กำหนดพิจารณาธรรมอยู่ทั้งกลางวันและกลางคืน<O:p</O:p



    <O:p</O:p

    ตา หู จมูก ลิ้น กาย ก็เป็นรูปธรรมที่มีปรากฏอยู่

    รูป เสียง กลิ่น รส โผฎฐัพพะ(สัมผัส) ก็มีปรากฏอยู่
    ได้เห็นอยู่ ได้ยินอยู่ ได้สูดดม ลิ้มเลีย และสัมผัสอยู่ จิตใจเล่า ก็มีอยู่
    ความคิดนึกรู้สึกในอารมณ์ต่างๆ ทั้งดี และร้ายก็มีอยู่<O:p</O:p



    <O:p</O:p

    ความเสื่อม ความเจริญทั้งภายนอกภายในก็มีธรรมชาติอันมีอยู่

    โดยธรรมดาเขาแสดงความจริงคือความไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา
    ให้ปรากฏอยู่ทุกเมื่อเช่น ใบไม้มันสีเหลืองหล่นร่วงลงมาจากต้น
    ก็แสดงความไม่เที่ยงให้เห็นดังนี้เป็นต้น<O:p</O:p



    <O:p</O:p

    เมื่อผู้ปฏิบัติมาพินิจพิจารณาด้วยสติปัญญา โดยอุบายนี้อยู่เสมอแล้ว

    ชื่อว่าได้ฟังธรรมอยู่ทุกเมื่อทั้งกลางวันและกลางคืนแลฯ"<O:p</O:p
     
  2. :::เพชร:::

    :::เพชร::: เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    8,584
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +36,137
    ถูกชมคือธรรมดา..ถูกด่าก็ไม่เลว​


    <TABLE style="WIDTH: 100%; mso-cellspacing: 0cm; mso-yfti-tbllook: 1184; mso-padding-alt: 2.25pt 2.25pt 2.25pt 2.25pt" class=MsoNormalTable border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR style="mso-yfti-irow: 0; mso-yfti-firstrow: yes"><TD style="BORDER-BOTTOM: #d4d0c8; BORDER-LEFT: #d4d0c8; PADDING-BOTTOM: 2.25pt; BACKGROUND-COLOR: transparent; PADDING-LEFT: 2.25pt; PADDING-RIGHT: 2.25pt; BORDER-TOP: #d4d0c8; BORDER-RIGHT: #d4d0c8; PADDING-TOP: 2.25pt" vAlign=top>
    <TABLE style="WIDTH: 95%; mso-cellspacing: 1.5pt; mso-yfti-tbllook: 1184; mso-padding-alt: 1.5pt 1.5pt 1.5pt 1.5pt" class=MsoNormalTable border=0 cellPadding=0 width="95%"><TBODY><TR style="mso-yfti-irow: 0; mso-yfti-firstrow: yes; mso-yfti-lastrow: yes"><TD style="BORDER-BOTTOM: #d4d0c8; BORDER-LEFT: #d4d0c8; PADDING-BOTTOM: 1.5pt; BACKGROUND-COLOR: transparent; PADDING-LEFT: 1.5pt; PADDING-RIGHT: 1.5pt; BORDER-TOP: #d4d0c8; BORDER-RIGHT: #d4d0c8; PADDING-TOP: 1.5pt" vAlign=top>
    <TABLE style="BACKGROUND: whitesmoke; mso-cellspacing: 1.5pt; mso-yfti-tbllook: 1184; mso-padding-alt: 1.5pt 1.5pt 1.5pt 1.5pt" class=MsoNormalTable border=0 cellPadding=0><TBODY><TR style="mso-yfti-irow: 0; mso-yfti-firstrow: yes"><TD style="BORDER-BOTTOM: #d4d0c8; BORDER-LEFT: #d4d0c8; PADDING-BOTTOM: 1.5pt; BACKGROUND-COLOR: transparent; PADDING-LEFT: 1.5pt; PADDING-RIGHT: 1.5pt; BORDER-TOP: #d4d0c8; BORDER-RIGHT: #d4d0c8; PADDING-TOP: 1.5pt">


    </TD></TR><TR style="mso-yfti-irow: 1; mso-yfti-lastrow: yes"><TD style="BORDER-BOTTOM: #d4d0c8; BORDER-LEFT: #d4d0c8; PADDING-BOTTOM: 1.5pt; BACKGROUND-COLOR: transparent; PADDING-LEFT: 1.5pt; PADDING-RIGHT: 1.5pt; BORDER-TOP: #d4d0c8; BORDER-RIGHT: #d4d0c8; PADDING-TOP: 1.5pt"></TD></TR></TBODY></TABLE>[​IMG]</B>

    </TD></TR></TBODY></TABLE></B>

    </TD></TR><TR style="mso-yfti-irow: 1; mso-yfti-lastrow: yes"><TD style="BORDER-BOTTOM: #d4d0c8; BORDER-LEFT: #d4d0c8; PADDING-BOTTOM: 2.25pt; BACKGROUND-COLOR: transparent; PADDING-LEFT: 2.25pt; PADDING-RIGHT: 2.25pt; BORDER-TOP: #d4d0c8; BORDER-RIGHT: #d4d0c8; PADDING-TOP: 2.25pt" vAlign=top>
    <TABLE style="WIDTH: 95%; mso-cellspacing: 1.5pt; mso-yfti-tbllook: 1184; mso-padding-alt: 1.5pt 1.5pt 1.5pt 1.5pt" class=MsoNormalTable border=0 cellPadding=0 width="95%"><TBODY><TR style="mso-yfti-irow: 0; mso-yfti-firstrow: yes; mso-yfti-lastrow: yes"><TD style="BORDER-BOTTOM: #d4d0c8; BORDER-LEFT: #d4d0c8; PADDING-BOTTOM: 1.5pt; BACKGROUND-COLOR: transparent; PADDING-LEFT: 1.5pt; PADDING-RIGHT: 1.5pt; BORDER-TOP: #d4d0c8; BORDER-RIGHT: #d4d0c8; PADDING-TOP: 1.5pt" vAlign=top></B>
    โดย ท่าน ว.วชิรเมธี

    หลายคนคงเคยได้ยินคำกล่าว"จิตเป็นนาย กายเป็นบ่าว"กันมาบ้างแล้ว คำกล่าวนี้ สะท้อนให้เห็นถึงความสำคัญของจิตหรืออีกนัยหนึ่งของความคิดได้เป็นอย่างดีว่า จิตกำหนดวัตถุ หรือกายเป็นไปตามอำนาจของจิต

    ผู้รู้ท่านหนึ่งเคยกล่าวถึงความสำคัญของจิต หรือความคิดไว้ว่า

    "เธอจงระวังความคิด เพราะความคิดจะกลายเป็นการกระทำ
    เธอจงระวังการกระทำ เพราะการกระทำจะกลายเป็นนิสัย
    เธอจงระวังนิสัย เพราะนิสัยจะกลายเป็นบุคลิก
    เธอจงระวังบุคลิก เพราะบุคลิกจะกำหนดชะตากรรมของเธอ"

    ชีวิตของเราจะเป็นอย่างไร ขึ้นอยู่กับว่า เรามีความคิดหรือวิธีคิดอย่างไร ในทางพุทธศาสนานั้น ท่านให้ความสำคัญกับวิธีคิดเป็นอันมาก

    พระนักปราชญ์ท่านหนึ่งได้ประมวลวิธีคิดในพุทธศาสนาไว้ว่ามีมากกว่า ๑๐ วิธี วิธีคิดอย่างหนึ่ง ซึ่งเราควรนำมาปรับใช้ในชีวิตก็คือ วิธีคิดเชิงบวก

    วิธีคิดเชิงบวก หมายถึงการรู้จักเปลี่ยนมุมมองที่เรามีต่อสิ่งต่างๆ ซึ่งโดยมากมักแสดงตัวให้เราได้สัมผัสในแง่ลบ แต่พอเราพลิกมุมมองใหม่ เราจะได้อะไรดีๆ จากเรื่องลบๆ เหล่านั้น เช่น ในชีวิตจริงของผู้เขียนซึ่งทำงานกับคนหมู่มาก มักจะพบกับคำชมและคำด่าอยู่เสมอ ๆ เมื่อแรกเผชิญกับคำชมผู้เขียนก็ฟู ครั้นพบกับคำด่าก็แฟบ แต่เมื่อเรียนรู้ที่จะปรับเปลี่ยนมุมมองต่อคำชมและคำด่า ก็รู้สึกว่า ได้คุณค่าจากคำด่าคำชมเป็นอันมาก

    คำชมนั้น สำหรับคนที่ไม่คิดอะไรมาก ดูเหมือนว่า ไม่ลำบากใจเลยที่จะน้อมรับ แต่สำหรับผู้เขียนแล้ว คำชมนั่นแหละคืออันตรายยิ่งกว่าคำด่า เพราะหากเรารู้ไม่ทัน คำชมจะทำให้เราหลงตัวเองและมีโอกาสลืมตัวสูง ส่วนคำด่า ถ้าพิจารณาไม่ดีก็ทำให้เราเสียศูนย์ได้ง่ายๆ แต่หากพิจารณาอย่างลึกซึ้งด้วยวิธีคิดแบบมองโลกในแง่ดี บางทีคำด่ากลับมีค่ามากกว่าคำชม


    คำด่ามีค่ามากอย่างไร ?


    (๑) คำด่า คือ กระจกเงาสะท้อนความบกพร่องของงานที่เราทำ

    (๒) คำด่า มักแฝงคำแนะนำมาด้วยเสมอ

    (๓) คำด่า บอกเราว่า สิ่งที่เราทำอยู่นั้นหากมีคนที่คิดไม่เหมือนเราเขามองดูอยู่ เขาเห็นอะไรในสิ่งที่เรามองไม่เห็นบ้าง

    (๔) คำด่า คือ กระดาษทรายอย่างดี ที่คอยขัดสีฉวีวรรณให้เรามีความกลมกล่อมลงตัว เหมือนพระประธานที่ต้องถูกกระดาษทราย ขัดสีฉวีวรรณจนผุดผ่อง

    (๕) คำด่า ทำให้เราไม่ประมาทผลีผลามทำอะไรด้วยความเชื่อมั่นมากเกินไป

    (๖) คำด่า ทำให้รู้ว่า มีคนรักหรือเกลียดเรามากน้อยแค่ไหน

    (๗) คำด่า ทำให้รู้ว่า อย่างน้อยก็มีคนสนใจในสิ่งที่เราทำ หรืออย่างน้อย สิ่งที่เราทำมันกำลังส่งผลอย่างใดอย่างหนึ่ง จึงมีคนอุทิศตนมาสนใจและด่าอย่างเป็นงานเป็นการ

    (๘) คำด่า จะทำให้เราได้หันกลับมาดูภูมิธรรมของตนเองว่า เข้มแข็งมากน้อยแค่ไหน เมื่อทุกข์กระทบแล้วธรรมกระเทือน หรือกิเลสกระเทือน ถ้า ธรรมกระเทือนแสดงว่าเราฝึกตนเองมาดี แต่ถ้ากิเลสกระเทือนแสดงว่า ต้องกลับไปฝึกจิตตัวเองใหม่ให้เข้มแข็งกว่านี้

    (๙) คำด่า ทำให้เราได้รู้ว่า ในโลกนี้ไม่มีใครหนีโลกธรรม ๘ ได้ (ได้ลาภ เสื่อมลาภ,ได้ยศ เสื่อมยศ,สรรเสริญ นินทา,สุข ทุกข์)

    (๑๐) คำด่า คือ บทเรียนเรื่องการปล่อยวางตัวกูหรืออัตตาที่ดีที่สุด เพราะหากเรายังปล่อยวางตัวกูไม่ได้ เราก็จะต้องหาวิธีด่าคืนอยู่ไม่สิ้นสุด

    <O:p</O:p
    </TD></TR></TBODY></TABLE></B>

    </TD></TR></TBODY></TABLE></B>​

     
  3. :::เพชร:::

    :::เพชร::: เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    8,584
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +36,137
    [​IMG]
    ข้อคิดดี ๆ จากชายที่จากไป
    แง่คิดดีๆ จากชายชราผู้จากไป
    โดย พิษณุ นิลกลัด

    สัปดาห์ สุดท้ายของปี 2548
    ผมไป งานสวดและงานเผาศพผู้ชายวัย 81 ปีที่ผมรู้จักเขา มา
    ยาว นาน 30 ปี ไม่ใช่ญาติ แต่ สนิทกันรักใคร่เสมือนญาติ

    ก่อน เสียชีวิตไม่กี่วันเขาสั่งลูกและภรรยาแบบคนไม่ครั่นคร้ามความตายว่า
    สวด 3 วันแล้วเผา
    ไม่ ต้องบอกใครให้วุ่นวาย
    อย่า เศร้า
    อย่า ร้องไห้
    ทุกคน ต้องมีวันนี้
    เพียง แต่เขาอยู่หัวแถวเลยต้องไปก่อน
    แล้ว ลูกเมียก็ทำตามคำสั่ง
    สวด 3 วันเผา
    งาน สวด 3 คืนมีคนฟังพระสวดคืนละ 14 คน
    คือเมีย ลูก หลาน เขย สะใภ้ และผม ซึ่งเป็นคนนอก

    เป็น งานศพที่มีคนไปร่วมงานน้อยที่สุดเท่าที่ผมเคยไปฟังสวด

    วันเผามีเพิ่มเป็น 17 คน
    สามคน ที่เพิ่มเป็นเพื่อนบ้านที่เคยคุยด้วยเกือบทุกเย็น
    คน หนึ่งเป็นแม่ค้าล็อตเตอรี่ที่เคยยืมเงินแล้วไม่มีสตังค์จ่าย
    เลย เอาล็อตเตอรี่ทยอยผ่อนใช้หนี้แทนเงินงวดละสองใบคนหนึ่ง
    และคนสุดท้ายเป็นหญิงที่ผู้ตายเคยผูกปิ่นโตทุกมื้อเย็น
    ทั้ง สามคนบอกว่าเกือบมาไม่ทันเผา
    เคราะห์ ดีที่แวะไปเยี่ยมที่โรงพยาบาล
    เจ้าหน้าที่บอกว่าเสียชีวิตไปแล้ว 3 วัน

    หลังฌาปนกิจพระกระซิบถามเจ้าหน้าที่วัดว่าเจ้าของงานจ่ายเงินค่าศาลาสวดพระ อภิธรรมแล้วหรือยัง
    พระท่านคงไม่เคยเห็นงานศพที่มีคนน้อยแบบที่ผมก็รู้สึกตั้งแต่สวดคืนแรก

    จริงๆ แล้วผู้ตายเป็นคนค่อนข้างมีสตังค์
    ทำงาน ธนาคารแห่งประเทศไทยจนเกษียณอายุที่ ตำแหน่ง หัวหน้าหน่วย
    แต่ ด้วยความที่รักและศรัทธา อาจารย์ป๋วย อึ๊งภากรณ์

    อดีต ผู้ว่าการแบงค์ชาติ [​IMG]
    จึง ดำเนินชีวิตแบบไม่ปรารถนาให้ใครเดือนร้อน - แม้กระทั่งวันตาย

    ผมสนิทกับเขาเพราะเขามีความฝันในวัยเด็กอยากเป็นนักประพันธ์แบบไม้เมืองเดิม
    ที่ เขาเคยนั่งเหลาดินสอและวิ่งซื้อโอเลี้ยงให้
    เมื่อ ตัวเองเป็นนักเขียนไม่ได้ พอมาเจอะผมที่เป็น นักข่าวก็เลยถูกชะตาและให้ความเมตตา
    การมีโอกาสได้พูดได้คุยกับเขาตามวาระโอกาสตลอด 30 ปี
    ทำให้ได้แง่คิดดีๆมา ใช้ในการดำรงชีวิต

    วันหนึ่งเขารู้ว่าขโมยยกชุดกอล์ฟของผมไปสองชุดราคา 4 แสนกว่าบาท
    เขาปลอบใจผมว่า ของที่หายเป็นของฟุ่มเฟือยของเรา
    แต่มันอาจเป็นของจำเป็นสำหรับลูกเมียครอบครัวเขา
    คิดซะว่าได้ทำบุญ จะได้ไม่ทุกข์

    เขามี วิธีคิด ' เท่ๆ '
    แบบผม คิดไม่ได้มากมาย
    เป็น ต้นว่า
    สุขและทุกข์อยู่รอบตัวเรา
    อยู่ที่ว่าเราจะเลือกหยิบเลือกคว้าอะไร
    คงเป็นเพราะเขาเลือกคว้าแต่ความสุข
    ช่วงปีสุดท้ายของชีวิตเขาต่อสู้กับโรคชรา
    เบา หวาน หัวใจ ความดัน เกาต์
    และไต ทำงานเพียง 5 เปอร์เซ็นต์โดยไม่ปริปากบ่น
    แถม ยังสามารถให้ลูกชายขับรถพาเที่ยวในวัน หยุดสุดสัปดาห์
    โดยที่ตัวเองต้อง หิ้วถุง ปัสสาวะ ไป ด้วยตลอดเวลา
    เนื่อง จากไตไม่ทำงาน ปัสสาวะเองไม่ได้
    6 เดือน สุดท้ายของชีวิตต้องนอนโรงพยาบาลสามวันนอนบ้านสี่วันสลับกันไป
    เวลา ลูกหลาน หรือเพื่อนของลูกรวมทั้ง ผมด้วยไปเยี่ยมที่โรงพยาบาล
    เขามี แรงพูดติดต่อกันไม่เกิน 10 นาที
    แต่ 10 นาที ที่พูด มีแต่เรื่องสนุกสนาน
    เรียก รอยยิ้มและเสียงหัวเราะจากคนไป เยี่ยม ไข้
    ทุกคน พูดตรงกันว่า
    ' คุณตาไม่เห็นเหมือนคนป่วยเลย
    ตลกเหมือนเดิม '
    พอ แขกกลับ ลูก หลานถามว่าทำไมคุยแต่เรื่องตลก เขาตอบว่า

    ' ถ้าคุยแต่เรื่องเจ็บป่วย
    วันหลังใครเขาจะอยากมาเยี่ยมอีก '

    เขาเป็นคนชอบคุยกับผู้คนไม่ว่าจะอยู่บนเตียงคนไข้หรืออยู่บนรถแท็กซี่
    บ่อยครั้งที่นั่งรถถึงหน้าบ้านแล้ว
    แต่สั่งให้โชเฟอร์ขับวนรอบหมู่บ้านเพราะยังคุย
    ไม่จบเรื่อง แล้วจ่ายเงินตามมิเตอร์ !

    4 เดือน สุดท้ายของชีวิตแพทย์ที่รักษาโรคไตมาตั้งแต่สมัย เป็นแพทย์อินเทิร์น
    จนกระทั่งเป็นหัวหน้าแผนกแนะนำให้พักรักษาตัวในโรงพยาบาลให้แข็งแรงแล้วค่อย กลับบ้าน

    แต่ อยู่ได้ 4 วันเขาวิงวอนหมอว่าขอกลับบ้าน
    หมอ ซึ่งรักษากันมา 16 ปีไม่ยอม
    เขา พูดกับหมอด้วยความสุภาพว่า
    ' ขอให้ผมกลับบ้าน เถอะ
    ผมอยากฟังเสียงนกร้อง'
    คุณ หมอไม่รู้หรอกว่าคนคิดถึงบ้านมันเป็นอย่างไร
    เพราะ พอเสร็จงานหมอก็กลับบ้าน '
    หมอ ได้ฟังแล้วหมดทางสู้
    ยอม ให้คนไข้กลับบ้าน
    แต่ กำชับให้มาตรวจตรงตามเวลานัดทุกครั้ง

    1 เดือน ถึงวาระสุดท้ายของชีวิต
    เขา สูญเสียการควบคุมอวัยวะของร่างกายเกือบทั้งหมด
    เคลื่อน ไหวได้อย่างเดียวคือกะพริบตา
    แต่ แพทย์บอกว่าสมองของเขายังดีมาก
    เวลา ลูก เมียพูดคุยด้วยต้องบอกว่า
    ' ถ้าได้ยินพ่อกะพริบตาสองที '
    เขา กะพริบตาสองทีทุกครั้ง !
    เห็น แล้วทั้งดีใจและใจหาย

    เขา ยังรับรู้
    แต่ พูดไม่ได้
    นี่ กระมังที่เรียกว่าถูกขังในร่างของตนเอง

    สิบ วันก่อนพลัดพราก
    ภรรยา กระซิบข้างหูว่า
    ' พ่อสู้นะ '
    เขา ไม่กะพริบตาซะแล้ว
    ทั้ง ๆ ที่ก่อนหน้านี้สองเดือนเคยตอบว่า ' สู้ '

    เขา สู้กับสารพัดโรคด้วยความเข้าใจโรค
    สู้ ชนิดที่หมอออกปากว่า
    ' คุณลุงแกสู้จริงๆ '

    ตอน ที่วางดอกไม้จันทน์
    ผมนึก ถึงประโยคที่แกพูดกับลูกเมื่อสี่เดือนก่อนว่า

    ' โรค ภัยมันเอาร่างกายของพ่อไปแล้ว
    อย่าให้มันเอาใจของเราไปด้วย '
    ' แง่คิดดีๆ จากชายชราที่จากไป '
    สอน ให้เรารู้ว่า...

    เราเกิดมาพร้อมกับจิตใจบริสุทธิ์
    และมันสมองมหัศจรรย์
    ที่จะสามารถเรียนรู้
    แยกแยะเรื่องดีๆและสิ่งร้ายๆในชีวิต
    จงใช้โอกาสดีๆที่ร่างกายและจิตใจของเรา
    ยังทำอะไรๆได้อย่างที่สมองสั่ง

    จงเรียนรู้
    และสร้างประโยชน์สุข
    ให้กับตนเองและผู้อื่นอย่างพอเพียง
    และดำรงชีวิตอย่างพอเพียงทางเศรษฐกิจ!

    หากทุกๆครั้งที่เรียนรู้ เราล้ม
    เราพลาดอาจจะรู้สึกท้อบ้างในบางที
    แม้ไม่มีกำลังกายที่จะลุกในทันที..แต่ข้อให้มีกำลังใจที่จะสู้ ต่อไป
    ถ้าเราเรียนรู้...ก็จะทำให้เราพบว่า

    การล้มหรือพลาดครั้งต่อไป
    เราจะไม่เจ็บเท่าเดิม<O:p</O:p
     
  4. :::เพชร:::

    :::เพชร::: เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    8,584
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +36,137
    [​IMG]
    ผมได้ตรวจสอบบทความนี้ กับข้อมูลของทางวิกิพีเดีย เกี่ยวกับข้อมูลประวัติของอาจารย์ป๋วย อึ๊งภากรณ์ แล้ว พบว่า มีความผิดเพี๊ยนในเรื่องของข้อมูลบางประการ เช่นปีที่ท่านเสียชีวิต

    วิกิพีเดีย:
    วันที่ 28 กรกฎาคมพ.ศ. 2542 อาจารย์ป๋วย อึ๊งภากรณ์ ได้ถึงแก่กรรมที่บ้าน ณ กรุงลอนดอน แคว้นอังกฤษ สหราชอาณาจักร เนื่องจากเส้นโลหิตใหญ่ในช่องท้องโป่งแตก (aortic aneurysm) อายุได้ 83 ปี "ตายแล้ว เผาผมเถิด อย่าฝัง คนอื่นจะได้มีที่ดินอาศัยและทำกิน และอย่าทำพิธีรีตองในงานศพให้วุ่นวายไป" จากข้อเขียน "คุณภาพชีวิต ปฏิทินแห่งความหวัง จากครรภ์มารดาถึงเชิงตะกอน" วันที่ 6 สิงหาคม พ.ศ. 2542 ทางครอบครัวได้ทำการเผาศพ และบรรจุอัฐินำกลับมาเมืองไทย วันที่ 16 สิงหาคม และ วันที่ 28 สิงหาคม บริเวณท่าเรือสัตหีบ เรือหลวงกระบุรี แห่งราชนาวีไทย ได้นำครอบครัวอึ้งภากรณ์ และแขกประมาณ 200 คน มุ่งหน้าสู่เกาะครามนำอังคารของอาจารย์ป๋วยไปลอยทะเล

    ไม่ใช่ ปี 2548 แต่เป็นปี 2542
    และอายุ 83 ปีไม่ใช่ 81 ปี
    แขกที่มาวันเผา 14-17 คน ในวิกิพีเดีย ไม่ได้ระบุข้อมูลงานศพที่วัดไว้
    ข้อมูลที่ post ไม่ได้ระบุพิธีการเรื่องการลอยอังคาร

    อย่างไรก็ตามก็คงไม่ใช่สาระสำคัญของบทความที่ต้องการสื่อความนี้ของคุณพิษณุ นิลกลัด
     
  5. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,949
    ที่มา พระกริ่งปวเรศ ปีพ.ศ.2434 เนื้อสเตอร์ริงซิลเวอร์

    พระพักตร์สดใส ในหลวง เสด็จฯชลมารค

    ทรงเปิดสะพาน ภูมิพล1-ภูมิพล2 ประตูระบายน้ำ เฝ้าฯเนืองแน่น



    <TABLE cellSpacing=5 cellPadding=1 width="20%" align=left border=0><TBODY><TR bgColor=#400040><TD>[​IMG]
    พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทอดพระเนตรบรรยากาศสองฟากฝั่งแม่น้ำเจ้าพระยา ด้วยพระพักตร์ผ่องใสก่อนทรงวางพระหัตถ์บนแท่นเพื่อทำพิธีเปิดประตูระบายน้ำ และเปิดสะพานภูมิพล1-2


    </TD></TR></TBODY></TABLE>ปีติ'ในหลวง'เสด็จฯชลมารคระยะทาง 16 ก.ม.โดยเรือพระที่นั่งอังสนาจากร.พ.ศิริราชไปทรงเปิดประตูระบายน้ำและสะพานวงแหวนอุตสาหกรรมภูมิพล 1 ภูมิพล 2 ที่สมุทรปราการ เผยตลอดเส้นทางเสด็จฯตามลำน้ำเจ้าพระยา ทรงโบกพระหัตถ์ทักทายและถ่ายรูปพสกนิกรที่มาเฝ้าฯชื่นชมพระบารมี ขณะที่บริเวณงานมีประชาชนไปรอจับจองที่อย่างเนืองแน่น ชาวคลองลัดโพธิ์ชื่นชมในพระปรีชาสายพระเนตรอันยาวไกล ทรงช่วยแก้ปัญหาน้ำท่วม

    เมื่อเวลา 16.32 น. วันที่ 24 พ.ย. พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เสด็จฯ ลงจากที่ประทับชั้น 16 อาคารเฉลิมพระเกียรติ โรงพยาบาลศิริราช โดยรถเข็นพระที่นั่ง พร้อมด้วยสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี การนี้ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯให้ รศ.น.พ.ประดิษฐ์ ปัญจวีนิน หัวหน้าสำนักงานศูนย์โรคหัวใจสมเด็จพระบรมราชินีนาถ เป็นผู้ถวายการเข็นรถพระที่ นั่ง จากอาคารเฉลิมพระเกียรติผ่านยังตึกอนันทราช ตึกกายวิภาคศาสตร์ หอสมุดศิริราช ไปยังท่าเทียบเรือสมาคมศิษย์เก่าคณะแพทยศาสตร์ศิริราช พร้อม ศ.คลินิก น.พ.ธีรวัฒน์ กุลทนันทน์ คณบดีแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล

    เวลา 16.37 น. พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว พร้อมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จฯถึงท่าเทียบเรือสมาคมศิษย์เก่าคณะแพทยศาสตร์ศิริราช พล.ร.อ.กำธร พุ่มหิรัญ ผู้บัญชาการทหารเรือ กล่าวถวายรายงาน จากนั้นพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงประทับลิฟต์พระที่นั่งขึ้นไปยังเรือพระที่นั่งอังสนา ประ ทับเรือพระที่นั่งอังสนา ที่กองทัพเรือจัดถวาย

    เวลา 16.39 น. เรือพระที่นั่งอังสนาได้ออกจากท่าเทียบเรือ มุ่งหน้ายังจังหวัดสมุทรปราการ เพื่อทรงประกอบพิธีเปิดประตูระบายน้ำคลองลัดโพธิ์ และทรงเปิดสะพานภูมิพล 1 ภูมิพล 2 ที่ อ.พระประแดง ในการนี้ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงฉลองพระองค์สูทสีน้ำตาลอ่อน และฉลองพระองค์ด้านในเป็นเชิ้ตสีขาว เนกไทสีเขียว พระสนับเพลาสีน้ำตาลอ่อน

    ทั้งนี้ ตลอดเส้นทางที่เสด็จฯทางชลมารค พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงโบกพระหัตถ์ทักทายพสกนิกร และทรงถ่ายรูปพสกนิกรที่มาเฝ้าฯรับเสด็จตลอดเส้นทางด้วย

    ผู้สื่อข่าวรายงานว่าหลังพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เสด็จฯประทับที่ชั้น 16 อาคารเฉลิมพระเกียรติ โรงพยาบาลศิริราช ตั้งแต่วันที่ 19 ก.ย. 2552 ในรอบ 431 วัน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเสด็จฯปฏิบัติพระราชกรณียกิจในงานพระราชพิธีวันเฉลิมพระชนมพรรษา เมื่อวันที่ 5 ธ.ค. 2552 และ เมื่อวันที่ 5 พ.ค. 2553 วันฉัตรมงคล โดยในการนี้ถือว่าเป็นพระราชกรณีย กิจครั้งแรกที่เสด็จพระราชดำเนินออกจากที่ประทับร.พ.ศิริราช

    ผู้สื่อข่าวรายงานว่าบุคคลสำคัญที่ตามเสด็จ ประกอบด้วย พล.อ.เปรม ติณสูลานนท์ ประธานองคมนตรี นายพลากร สุวรรณรัฐ พล.อ.สุรยุทธ์ จุลานนท์ นายอำพล เสนาณรงค์ นายสวัสดิ์ วัฒนายากร องคมนตรี นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตรี นายธีระ วงศ์สมุทร รมว.เกษตรและสหกรณ์ นายโสภณ ซารัมย์ รมว.คมนาคม พล.ต.อ.วิเชียร พจน์โพธิ์ศรี ผบ.ตร. พล.ร.อ. กำธร พุ่มหิรัญ ผบ.ทร. และนายชลิต ดำรงศักดิ์ อธิบดีกรมชลประธาน อธิบดีกรมทางหลวง <TABLE cellSpacing=5 cellPadding=1 width="20%" align=right border=0><TBODY><TR bgColor=#400040><TD>[​IMG]
    พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว พร้อมด้วยสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ ประทับเรือพระที่นั่งอังสนาที่กองทัพเรือจัดถวาย เสด็จพระราชดำเนินทางชลมารค จากท่าเรือสมาคมศิษย์เก่าคณะแพทยศาสตร์ศิริราช ไปยังคลองลัดโพธิ์ มีประชาชนเฝ้าฯรับเสด็จสองฝั่งแม่น้ำ เมื่อวันที่ 24 พ.ย.


    </TD></TR></TBODY></TABLE>

    เมื่อเรือพระที่นั่งอังสนาล่องไปตามแม่น้ำเจ้าพระยา โดยผ่านสะพานพระพุทธยอดฟ้า สะพานสมเด็จพระเจ้าตากสิน สะพานกรุงเทพ สะพานพระราม 9 รวมถึงสะพานภูมิพล 1 ภูมิพล 2 รวมระยะทางที่เสด็จฯทั้งสิ้น 16 กิโล เมตร เป็นระยะทางชลมารคที่ค่อนข้างไกล ระหว่างเส้นทางเสด็จฯ มีประชาชนมาจับจองพื้นที่เพื่อรอรับเสด็จอย่างเนืองแน่นเต็มทั้งสองฝั่งแม่น้ำเจ้าพระยา พร้อมเปล่งเสียง "ทรงพระเจริญ" ดังกึกก้องทั้งแม่น้ำเจ้าพระยา

    เวลา 18.09 น. เรือพระที่นั่งอังสนาแล่นถึงปากคลองประตูระบายน้ำคลองลัดโพธิ์ วงดุริยางค์บรรเลงเพลงสรรเสริญพระบารมี

    จากนั้น นายอภิสิทธิ์ กราบบังคมทูลรายงานการดำเนินงานประตูระบายน้ำคลองลัดโพธิ์ รายงานการดำเนินงานสะพานภูมิพล 1 และ สะพานภูมิพล 2

    พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ประทับและทอดพระเนตรวีดิทัศน์ความเป็นมาของโครงการอยู่บนเรือพระที่นั่งอังสนา พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงวางพระหัตถ์บนแท่นที่ฉายภาพแผนที่ เพื่อทรงเปิดประตูระบายน้ำคลองลัดโพธิ์ และสะพานภูมิพล 1 สะพานภูมิพล 2 พร้อมทอดพระเนตรวีดิทัศน์เทคนิคพิเศษ เล่าเรื่องประตูน้ำคลองลัดโพธิ์บริเวณด้านหลังของประตูระบายน้ำคลองลัดโพธิ์ และทอดพระเนตรวีดิทัศน์เทคนิคพิเศษเล่าเรื่องสะพานภูมิพล 1 และสะพานภูมิพล 2 ประกอบแสง สี เสียง บนสะพานภูมิพลทั้งสองสะพาน

    ทั้งนี้ได้มีการจุดพลุเริ่มจากประตูระบายน้ำคลองลัดโพธิ์ ต่อด้วยสะพานภูมิพลทั้ง 2 ฝั่ง พลุทั้งหมด 3 ชุด ได้แก่ ชุดแรก ชื่อชุด "ประตูเชื่อมสุข" ชุดที่ 2 ชื่อชุด "สะพานเชื่อมใจ" ชุดที่ 3 ชื่อชุด "ที่สุดแห่งพระมหากรุณาธิคุณ ที่สุดแห่งการบูรณาการ" และอีกหนึ่งไฮไลต์ที่สำคัญ คือการยิงเลเซอร์เป็นพระบรมฉายาลักษณ์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว บนยอดเสาสะพานภูมิพล สร้างความตื่นตาตื่นใจให้กับผู้มารับเสด็จเป็นอย่างมาก มีประชาชนคนหนึ่งได้กล่าวร้องด้วยความดีใจว่า "เราได้ความสุขจากในหลวงแล้ว"

    กระทั่งเวลา 18.45 น. พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เสด็จพระราชดำเนินพร้อมด้วยสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี โดยเรือพระที่นั่งอังสนาออกจากปากคลองประตูระบายน้ำคลองลัดโพธิ์ยังท่าเทียบเรือสมาคมศิษย์เก่าคณะแพทยศาสตร์ศิริราช เวลา 20.04 น.

    นายวัชระ เติมวรรธนภัทร์ นายก อบต.ทรงคนอง กล่าวว่า ในอดีตที่ผ่านมาพื้นที่บริเวณ อ.พระประแดง และพื้นที่โดยรอบกรุงเทพฯ ประสบกับปัญหาน้ำทะเลหนุนและปัญหาน้ำหลากมาโดยตลอด รวมถึงปัญหาการจราจรติดขัด แต่เมื่อประชาชนในพื้นที่ได้รับพระมหากรุณา ธิคุณที่ทรงมีพระราชดำริให้พัฒนาคลองลัดโพธิ์และสร้างสะพานภูมิพล 1 และสะพานภูมิพล 2 ทำให้สภาพความเป็นอยู่ของประชาชนมีสภาพความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น ที่ผ่านมาชาวพระประ แดงทุกคนต้องประสบกับปัญหาน้ำท่วมทุกๆ 15 วัน ต้องอพยพออกจากพื้นที่อย่างลำบาก หลังจากที่มีโครงการพระราชดำริชาวบ้านก็ไม่ต้องเดือดร้อนอีกต่อไป ที่สำคัญชาวบ้านส่วนมากมีอาชีพการเกษตร ซึ่งเป็นวิถีชีวิตดั้งเดิมก็สามารถดำรงชีพต่อไปได้ ไม่ต้องดิ้นรนออกไปรับจ้างทำงานเหมือนแต่ก่อน ทำให้ทุกคนใช้ชีวิตได้อย่างมีความสุข <TABLE cellSpacing=5 cellPadding=1 width="20%" align=left border=0><TBODY><TR bgColor=#400040><TD>[​IMG]
    งดงาม - พลุสว่างไสวและงดงาม เป็นเวลายาวนานเพื่อเฉลิมฉลองการเปิดใช้ประตูระบายน้ำคลองลัดโพธิ์ และสะพานภูมิพล 1-2 เพื่อระบายน้ำและการจราจร ตามโครงการพระราชดำริ อย่างเป็นทางการ เมื่อค่ำวันที่ 24 พ.ย.



    รับเสด็จ - ประชาชนจำนวนมากนั่งรออยู่ใต้สะพานภูมิพล1-2 โบกธงชาติไทย และธงภปร. พร้อมเปล่งเสียงทรงพระเจริญ ระหว่างรอรับเสด็จ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ริมแม่น้ำเจ้าพระยา


    </TD></TR></TBODY></TABLE>

    "การก่อสร้างคลองลัดโพธิ์ไม่ได้ช่วยเหลือชาวพระประแดงและกรุงเทพฯ เท่านั้น แต่ยังรวมถึงจังหวัดอื่นที่มีพื้นที่ติดแม่น้ำเจ้าพระยาอีกด้วย เพราะคลองลัดโพธิ์สามารถระบายน้ำได้ 500 ลูกบาศก์เมตรต่อวินาที จึงนับเป็นพระมหากรุณา ธิคุณอย่างล้นพ้นต่อชาวพระประแดง พระองค์ทรงเป็นกษัตริย์ที่ทรงงานหนักที่สุดในโลก ทรงบรรเทาทุกข์เข็ญความเดือดร้อนของประชาชนให้หมดสิ้นไป ทำให้ประชาชนมีชีวิตความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น" นายวัชระ กล่าว

    ผู้สื่อข่าวรายงานว่า ที่บริเวณประตูระบายน้ำปากคลองลัดโพธิ์ สถานที่จัดพิธี ตลอดช่วงเช้า ส่วนราชการจังหวัดสมุทรปราการ ร่วมกับอบต.ทรงคนอง กรมชลประทาน เจ้าหน้าที่ทหารและตำรวจ ได้ร่วมกันทำความสะอาด ตกแต่งประดับประดา ประตูระบายน้ำ ติดตั้งระบบแสงสี เพื่อจัดแสดงประวัติความเป็นมาของโครงการคลองลัดโพธิ์ รวมทั้งติดตั้งระบบแสงสีด้วยระบบวิชัวล์สามมิติ บริเวณประตูระบายน้ำคลองลัดโพธิ์ และบนสะพานภูมิพล 1-2 ทั้งนี้ยังได้เปิดสวนสาธารณะคลองลัดโพธิ์ ซึ่งตั้งอยู่ใต้สะพานภูมิพล 1-2 หรือสะพานวงแหวนอุตสาหกรรม เพื่อให้ประชาชนเข้ามาเฝ้าฯรับเสด็จโดยนำจอโปรเจ็กเตอร์ ขนาดใหญ่ จำนวน 5 จอมาติดตั้งไว้ เพื่อถ่ายทอดประวัติความเป็นมาของการก่อสร้างคลองลัดโพธิ์ให้ประชาชนได้ชม นอก จากนี้ยังมีการทำความสะอาด ถนนหาทาง ตั้งแต่แยกพระประแดงถึงสวนสาธารณะ พร้อมประดับประดาธงทิว และภาพพระบรมฉายาลักษณ์ ตลอดเส้นทางด้วย

    ผู้สื่อข่าวรายงานต่อไปว่า ในช่วงเที่ยงมีประ ชาชนทยอยเดินทางมาร่วมเฝ้าฯรอรับเสด็จที่บริเวณสวนสาธารณะคลองลัดโพธิ์กันอย่างเนืองแน่น โดยต่างสวมเสื้อสีชมพู พร้อมนำธงชาติ และธงพระบรมฉายาลักษณ์ มาโบกเพื่อรอชื่นชมพระบารมี ด้วยความปลาบปลื้ม

    เมื่อเวลา 15.30 น.ที่ทำเนียบรัฐบาล นายสุเทพ เทือกสุบรรณ รองนายกรัฐมนตรี ในฐานะประธานกรรมการอำนวยการจัดงานเฉลิมพระ เกียรติแห่งการบรมราชาภิเษกปีที่ 60 และการเฉลิมพระชนมพรรษา แถลงว่า รัฐบาลได้ร่วมกันจัดงานเฉลิมพระเกียรติ เนื่องในโอกาสมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 83 พรรษา 5 ธันวาคม 2553 ภายใต้ชื่องาน "แผ่นดินของเรา "เฉลิมพระ เกียรติและเผยแพร่พระราชกรณียกิจ ที่ทรงมีพระมหากรุณาธิคุณต่อพสกนิกรชาวไทย เป็นการรวมพลังความรักความสามัคคีของคนไทยทั้งแผ่นดิน แสดงออกถึงการจงรักภักดี เทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย์ ระหว่างวันที่ 1-9 ธ.ค. โดยจัดกิจกรรม 3 จุดใหญ่ คือ 1. บริเวณหน้าศาลฎีกา และมูลนิธิธันวามหาราช เป็นผู้รับผิดชอบ โดยจุดเทียนชัยถวายพระพร พร้อมกันทั่วประเทศและทั่วโลกในเวลา 19.29 น. 2 .บริเวณพระราช วังดุสิต หรือ ลานพระบรมรูปทรงม้า มีการจัดกิจกรรมนิทรรศการวัฒนธรรม พระราชกรณียกิจต่างๆ รวมทั้งจำหน่ายสินค้า ที่เป็นผลอันเนื่องมาจากโครงการพระราชดำริ และจะมีเวลากลางเพื่อเปิดโอกาสให้ประชาชนได้มาวางพานพุ่มทุกวัน ระหว่างเวลา 13.00-24.00 น. ยกเว้นในวันที่ 5 ธ.ค. และ 3. บริเวณลำน้ำเจ้าพระยาที่จะมีการแห่เรือขบวนไฟเฉลิมพระเกียรติและมีเวทีกลางน้ำ ซึ่งขณะนี้ มีเรือที่แจ้งความประสงค์จะเข้าร่วมประมาณ 600 ลำ เรือประดับไฟ 32 ลำ คาดว่าจะมีประชาชนร่วมกิจกรรมมากกว่า 6 หมื่นคน นอกจากนี้จะมีพิธีการจุดเทียนถวายพระพรชัยมงคล และปล่อยโคมลอยขนาดเล็ก จำนวน 8,400 โคม รวมทั้งฉายภาพยนตร์เฉลิมพระเกียรติฯ ผ่านจอม่านน้ำ

    สำหรับรายละเอียดของแต่ละหน่วย อาทิ กระทรวงวัฒนธรรม ได้จัดสถานที่การจัดงานเฉลิมพระเกียรติฯ "แผ่นดินของเรา" ระหว่างวันที่ 1-9 ธ.ค. ที่บริเวณพระลานพระราชวังดุสิต ถ.ศรีอยุธยา และถ.ราชดำเนินนอก แบ่งพื้นที่เป็น 4 กลุ่มคือ กลุ่มกระทรวง 20 กระทรวง จัดแสดงนิทรรศการของหน่วยงาน กลุ่มรัฐวิสาหกิจและเอกชนจัดแสดงนิทรรศการของหน่วยงาน กลุ่มจังหวัด 18 กลุ่มจังหวัด จัดแสดงพระราชกรณียกิจ พระบรมราโชวาท และจำหน่ายสินค้าโอท็อป และกลุ่ม 50 เขตของกรุงเทพมหานคร จำหน่ายสินค้าและอาหารเครื่องดื่ม นอกจากนี้ มีเวทีการแสดงทางศิลปวัฒนธรรมทั้งในประเทศและต่างประเทศ รวมทั้งมีเวทีถวายพานพุ่มและได้จัดเตรียมสมุดลงนามถวายพระพร ไปรษณีย บัตรลงนามถวายพระพรไว้บริการประชาชน

    กระทรวงมหาดไทย ได้จัดกิจกรรมเฉลิมพระเกียรติฯ ทั้งในส่วนกลางและส่วนภูมิภาค ในส่วนกลางจัดที่บริเวณพระลานพระราชวังดุสิตและถนนราชดำเนิน ระหว่างวันที่ 1-9 ธ.ค. โดยจัดเป็นพาวิลเลี่ยน ใช้คอนเซ็ปต์ว่า "KIING of KING" ส่วนทางด้านภูมิภาคจัดแสดงภาพยนตร์สั้นเฉลิมพระเกียรติฯ 7 เรื่อง พร้อมจัดทำซีดีจำนวน 5 ล้านชุด แจกจ่ายให้ประชาชน โดยจะจัดฉายในวันที่ 5 ธ.ค. ที่ศาลากลางจังหวัดทุกจังหวัด ส่วนในกรุงเทพฯ จะจัดฉายในโรงภาพยนตร์เครือเอสเอฟ และเมเจอร์ทุกสาขา ในเวลา 10.00 น. ประชาชนเข้าชมได้ฟรี

    กระทรวงคมนาคม จัดโครงการพาพ่อเที่ยว ประกอบด้วย กรมเจ้าท่า จัดโครงการไหว้พระทางเรือ ระหว่างวันที่ 4- 6 ธ.ค. เส้นทางระหว่างกรุงเทพฯ-เกาะเกร็ด กรมทางหลวงชนบท จัดโครงการพ่อลูกล่องเรือในแม่น้ำเจ้าพระยาชมแสงสีของสะพานภูมิพล จ.มุทรปราการ ในยามค่ำคืนวันที่ 4 ธ.ค. การรถไฟแห่งประเทศไทย จัดโครงการท่องเที่ยวด้วยขบวนรถไฟฟ้าหัวจักรไอน้ำวันที่ 4 ธ.ค. ที่จ.ฉะเชิงเทรา วันที่ 5 ธ.ค.ที่จ.พระนครศรีอยุธยา และวันที่ 6 ธ.ค. ที่จ.นครปฐม การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย จัดโครงการโดยสารรถไฟฟ้าโดยไม่เสียค่าใช้จ่ายในวันที่ 5 ธ.ค. องค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ จัดโครงการครอบครัวสุขสันต์ไหว้พระ 9 วัด ในวันที่ 5 ธ.ค. บริษัท การบินไทย จำกัด (มหาชน) จัดโครงการเดินทางเป็นคู่จองตั๋วเครื่องบินราคาพิเศษตั้งแต่วันที่ 1-31 ธ.ค. บริษัท ขนส่ง จำกัด จัดโครงการธันวาพาพ่อเที่ยวโดยมีส่วนลดในการเดินทาง

    กรมการศาสนา จัดกิจกรรมดังนี้จัดพิธีอุปสมบทพระภิกษุ จำนวน 7,056 รูป ในกรุงเทพฯจำนวน 9 วัด ๆ ละ 84 รูป ส่วนภูมิภาค 75 จังหวัดๆ ละ 1 วัด พิธีทำบุญตักบาตรพระสงฆ์ 84 รูปต่อวัน (โครงการทำดี 9 เช้า 9 วัน 9 วัด) จะจัดพิธีทำบุญตักบาตรพระสงฆ์รวม 9 วัน ตั้งแต่วันที่ 1-9 ธ.ค. เวลา 07.00 น. ณ ลานพระราชวังดุสิต นอกจากนั้นยังมีการจัดพิธีทางศาสนาทุกศาสนาด้วย และกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร จัดลงนามถวายพระพรออนไลน์และส่งข้อความสั้นถวายพระพรโดยไม่เสียค่าใช้จ่าย



    .

    http://www.khaosod.co.th/view_news....ionid=TURNd01RPT0=&day=TWpBeE1DMHhNUzB5TlE9PQ==

    .



    .
     
  6. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,949
    พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงช่วยเหลือประเทศไทย ด้วยโครงการพระราชดำริ นับพันโครงการ ซึ่งมีประโยชน์กับคนไทยทั้งประเทศ


    มันผู้ใดที่คบกับคนที่คิดไม่ดีต่อพระองค์
    และผู้ที่คิดร้ายต่อพระองค์

    มันผู้นั้น หนักแผ่นดิน , ระยำและบัดซบโดยแท้

    พระวังหน้า ที่หลวงปู่บรมครูเทพโลกอุดรเสก ถ้าต้องการที่จะได้.....
    ..

    PaLungJit.com - พระกริ่งปวเรศ ปีพ.ศ.2434 เนื้อสเตอร์ริงซิลเวอร์

    .
     
  7. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,949
    พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงช่วยเหลือประเทศไทย ด้วยโครงการพระราชดำริ นับพันโครงการ ซึ่งมีประโยชน์กับคนไทยทั้งประเทศ


    มันผู้ใดที่คบกับคนที่คิดไม่ดีต่อพระองค์
    และผู้ที่คิดร้ายต่อพระองค์

    มันผู้นั้น หนักแผ่นดิน , ระยำและบัดซบโดยแท้

    พระวังหน้า ที่หลวงปู่บรมครูเทพโลกอุดรเสก ถ้าต้องการที่จะได้.....
    ..

    PaLungJit.com - พระกริ่งปวเรศ ปีพ.ศ.2434 เนื้อสเตอร์ริงซิลเวอร์
     
  8. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,949
    อ้างอิง:
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=6 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=alt2 style="BORDER-RIGHT: 1px inset; BORDER-TOP: 1px inset; BORDER-LEFT: 1px inset; BORDER-BOTTOM: 1px inset">ข้อความดั้งเดิมโดยคุณ sithiphong [​IMG]
    พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงช่วยเหลือประเทศไทย ด้วยโครงการพระราชดำริ นับพันโครงการ ซึ่งมีประโยชน์กับคนไทยทั้งประเทศ


    มันผู้ใดที่คบกับคนที่คิดไม่ดีต่อพระองค์
    และผู้ที่คิดร้ายต่อพระองค์

    มันผู้นั้น หนักแผ่นดิน , ระยำและบัดซบโดยแท้

    พระวังหน้า ที่หลวงปู่บรมครูเทพโลกอุดรเสก ถ้าต้องการที่จะได้.....
    ..

    PaLungJit.com - พระกริ่งปวเรศ ปีพ.ศ.2434 เนื้อสเตอร์ริงซิลเวอร์

    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงช่วยเหลือประเทศไทย ด้วยโครงการพระราชดำริ นับพันโครงการ ซึ่งมีประโยชน์กับคนไทยทั้งประเทศ


    มันผู้ใดที่คบกับคนที่คิดไม่ดีต่อพระองค์
    และผู้ที่คิดร้ายต่อพระองค์

    มันผู้นั้น หนักแผ่นดิน , ระยำและบัดซบโดยแท้

    พระวังหน้า ที่หลวงปู่บรมครูเทพโลกอุดรเสก ถ้าต้องการที่จะได้.....
    ..

    PaLungJit.com - พระกริ่งปวเรศ ปีพ.ศ.2434 เนื้อสเตอร์ริงซิลเวอร์



    คนชั่ว ต้องอยู่ในหมู่คนชั่ว


    คนดี ต้องห่างไกลจากคนชั่ว

    .<!-- google_ad_section_end --> <!-- / message --><!-- sig -->
     
  9. Pinkcivil

    Pinkcivil เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    24 สิงหาคม 2010
    โพสต์:
    425
    ค่าพลัง:
    +1,644
  10. Pinkcivil

    Pinkcivil เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    24 สิงหาคม 2010
    โพสต์:
    425
    ค่าพลัง:
    +1,644
    vbvb ผมว่าคุณเพชรอ่านเร็วไปนิดนึงครับ
    ชายคนนี้ไม่ใช่ ดร. ป๋วย นะครับ
    ผมทาสีข้อความด้านบนให้ดูครับ
    บทความนี้อ่านแล้วอ่านอีกก็ชอบครับ ให้สติดีครับ :cool:
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 25 พฤศจิกายน 2010
  11. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,949
    “อ่างขาง” ดอยสวรรค์ใต้พระบารมี/ปิ่น บุตรี <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td bgcolor="#cccccc" height="1">[​IMG]</td> </tr> </tbody></table> <table border="0" cellpadding="4" cellspacing="0"><tbody><tr><td class="body" align="left" valign="middle">โดย ปิ่น บุตรี</td> <td class="date" align="left" valign="middle">24 พฤศจิกายน 2553 13:41 น.</td></tr></tbody></table>
    [​IMG] <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"><tbody><tr> <td class="body" align="left" valign="baseline"> โดย : ปิ่น บุตรี

    </td> </tr> <tr> <td class="body" align="left" valign="baseline"> <table align="Center" border="0" cellpadding="0" cellspacing="0"> <tbody><tr> <td align="center" valign="top"> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="450"> <tbody><tr> <td align="center" valign="Top" width="450"> [​IMG] </td> </tr> <tr><td class="Image" align="left" valign="baseline">แสงแรกแห่งวัน ณ จุดชมวิวขอบด้ง บนดอยอ่างขาง </td></tr> </tbody></table></td> </tr> <tr> <td align="center" height="5" valign="top">[​IMG]</td> </tr> </tbody></table> “สวิตเซอร์แลนด์เมืองไทย”

    นามนี้มีมากมายหลายแห่งในสยามประเทศ ชนิดที่ว่าคนสวิสอาจงงได้ ไม่ว่าจะเป็น เขาค้อ ดอยอ่างขาง น้ำหนาว ปางอุ๋ง ภูเรือ สวนผึ้ง วังน้ำเขียว ทองผาภูมิ

    แต่ถ้าจะพูดถึงสวิสเมืองไทยที่โด่งดังมาในยุคแรกๆและเป็นสวิสเมืองไทยที่ทรงคุณค่ายิ่งนั้น ผมยกให้ “ดอยอ่างขาง” จ.เชียงใหม่ มาเป็นอันดับหนึ่ง

    </td> </tr> <tr> <td class="body" align="left" valign="baseline"> <table align="Center" border="0" cellpadding="0" cellspacing="0"> <tbody><tr> <td align="center" valign="top"> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="400"> <tbody><tr> <td align="center" valign="Top" width="400"> [​IMG] </td> </tr> <tr><td class="Image" align="left" valign="baseline">อาชีพของชาวไทยภูเขาได้พระบารมีพ่อหลวง</td></tr> </tbody></table></td> </tr> <tr> <td align="center" height="5" valign="top">[​IMG]</td> </tr> </tbody></table> 1...

    ดอยอ่างขาง นอกจากจะเป็นดินแดนสุดโรแมนติกอันโด่งดังฮอตฮิดติดอันดับสถานที่ท่องเที่ยว ยอดนิยมในอันดับต้นๆของเมืองไทยแล้ว ดอยอ่างขาง ยังจัดเป็นดอยที่มหัศจรรย์ไม่น้อย เพราะเดิมทีเป็นดังพื้นที่อันตรายที่อุดมไปด้วยไร่ฝิ่นและการทำไร่เลื่อนลอย จนสภาพพื้นที่เสื่อมโทรมมีแต่เขาหัวโล้น เหี้ยนเตียน

    แต่ก็ดูเหมือนว่าฟ้าดอยอ่างขางจะมีบุญเป็นอย่างยิ่ง เพราะในต้นปี พ.ศ. 2512 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้เสด็จประพาสต้นเชียงใหม่ทอดพระเนตรเห็นเขาหัว โล้น ป่าเสื่อมโทรม รวมถึงวิถีชีวิตความเป็นอยู่อันแร้นแค้นของชาวเขาที่แม้จะปลูกฝิ่นเลี้ยงชีพ แต่ว่ากลับมีฐานะยากจน

    พระองค์ท่านจึงได้พระราชทานทุนทรัพย์ส่วนพระองค์จำนวน 2 แสนบาท เพื่อซื้อที่ดินจำนวน 200 ไร่ ให้นักวิชาการเกษตรใช้เป็นสถานที่วิจัยการปลูกพืชและไม้ผลเมืองหนาว เพื่อช่วยให้ชาวเขาเลิกปลูกฝิ่น แล้วพระราชทานชื่อว่า “สวนสองแสน” และได้โปรดเกล้าฯให้ตั้ง “โครงการหลวง” ขึ้นในปลายปี พ.ศ. 2512 ตามแนวพระราชดำริ “ช่วยชาวเขา ช่วยชาวเรา ช่วยชาวโลก” โดย เลือกดอยอ่างขาง อ.ฝาง จ.เชียงใหม่ จัดตั้ง“สถานีเกษตรหลวงอ่างขาง”ขึ้น เป็นพื้นที่โครงการหลวงแห่งแรกของเมืองไทย(ปัจจุบันมีโครงการหลวงทั้งหมด 36 แห่ง)

    จากนั้นโครงการหลวงดอยอ่างขางก็พัฒนามาอย่างต่อเนื่อง จากเขาหัวโล้นกลายเป็นแปลงพืชผักผลไม้เมืองหนาวอันอุดมสมบูรณ์สวยงาม ไร่ฝิ่นหายไป ชาวเขามีงานทำ มีรายได้มากขึ้น และมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น

    ...หลังจากนั้นไม่นานเรื่องของ“การท่องเที่ยว”ก็ตามมา

    </td> </tr> <tr> <td class="body" align="left" valign="baseline"> <table align="Center" border="0" cellpadding="0" cellspacing="0"> <tbody><tr> <td align="center" valign="top"> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="330"> <tbody><tr> <td align="center" valign="Top" width="330"> [​IMG] </td> </tr> <tr><td class="Image" align="left" valign="baseline">เหล่าไกด์น้อยชาวปะหล่องที่บ้านนอแล</td></tr> </tbody></table></td> </tr> <tr> <td align="center" height="5" valign="top">[​IMG]</td> </tr> </tbody></table> 2…

    ด้วยพระราชดำริ “ช่วยชาวเขา ช่วยชาวเรา ช่วยชาวโลก” ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ณ วันนี้ชาวไทยภูเขาบนดอยอ่างขางมีวิถีชีวิตความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น แถมอานิสงส์จากโครงการหลวงยังหนุนส่งให้หมู่บ้านชาวเขารอบๆสถานีเกษตรหลวง อ่างขางกลายเป็นแหล่งท่องเที่ยวไปโดยปริยาย

    สำหรับหมู่บ้านที่เด่นๆก็มี “หมู่บ้านขอบด้ง” ที่ มีสีสันชีวิตวัฒนธรรมเรียบง่ายของชนเผ่ามูเซอดำและมูเซอแดงให้สัมผัส มีจุดชมพระอาทิตย์ขึ้นชั้นดี รวมถึงมีสินค้าการเกษตรและของที่ระลึกฝีมือชาวบ้านให้เลือกช้อป

    ส่วนอีกหมู่บ้านหนึ่งที่มีความโดดเด่นและน่าสนใจในระดับต้นๆของคนที่มาเที่ยวดอยอ่างขางก็คือ “บ้านนอแล” ซึ่งพลันที่ผมมาถึงยังลานชมวิวบ้านนอแล เด็กชาวปะหล่องกลุ่มหนึ่งทั้งชาย-หญิง รีบกุลีกุจอมาต้อนรับ พร้อมกับแนะนำตัวว่า พวกเขาเป็น“มัคคุเทศน์น้อยดอยอ่างขาง”ชาวปะหล่อง จากโรงเรียนบ้านขอบด้ง จะมาแนะนำสิ่งน่าสนใจในบริเวณนี้พร้อมด้วยเรื่องราวของชาวปะหล่องที่น่าสนใจ ยิ่ง

    </td> </tr> <tr> <td class="body" align="left" valign="baseline"> <table align="Center" border="0" cellpadding="0" cellspacing="0"> <tbody><tr> <td align="center" valign="top"> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="450"> <tbody><tr> <td align="center" valign="Top" width="450"> [​IMG] </td> </tr> <tr><td class="Image" align="left" valign="baseline">ดอกไม้งามท่ามกลางอากาศหนาว </td></tr> </tbody></table></td> </tr> <tr> <td align="center" height="5" valign="top">[​IMG]</td> </tr> </tbody></table> “แต่ก่อนปู่ย่าตายายผมอาศัยอยู่ในดอยลาย ประเทศพม่า แต่ว่าพอมีการรบกันระหว่างพม่ากับไทยใหญ่ พวกเราก็อพยพไปอยู่ที่บ้านปากคีที่อยู่ในเขตพม่าฝั่งตรงข้าม แต่ว่าพม่าก็รบกับพวกว้าแดงอีก ปะหล่องจึงอพยพเข้ามาอยู่ในเมืองไทยที่บ้านนอแลเมื่อประมาณปี 2527”ไกด์ผู้หญิงตัวน้อยเล่าให้ฟังก่อนอธิบายถึงตำนานของชาวปะหล่องให้ฟัง ว่า

    “พวกปะหล่องมีความเชื่อมาแต่โบราณว่า พวกเราเป็นลูกหลานนางฟ้าที่มีด้วยกัน 7 องค์ แล้ววันหนึ่งนางฟ้าทั้ง 7 ก็ลงมาเล่นน้ำบนโลกมนุษย์ แต่ว่ามีนายพราน(บางคนว่านายพรานนี้คือชาวมูเซอ)มาเห็นจึงใช้แร้วจับตัวนาง ฟ้าได้องค์หนึ่งชื่อ “ร้อยเงิน”(ข้อมูลทั่วไปมักระบุว่าชื่อ“หรอยเงิน”) ทำให้นางฟ้าองค์นี้กลับขึ้นสวรรค์ไม่ได้กลายเป็นต้นกำเนิดของชนเผ่าปะหล่อ งขึ้นมา”
    “ผู้หญิงปะหล่องจะสวมใส่ “หน่องว่อง” ที่เปรียบดังสัญลักษณ์แทนแร้วที่นายพรานใช้จับตัวนางฟ้าร้อยเงิน ซึ่งปะหล่องจะใส่ไว้เพื่อระลึกถึงนาง สมัยก่อนหน่องว่องทำด้วยเงินแท้ แต่ในยุคหลังมาจะทำด้วยหวายย้อมสีถักเป็นวงคล้องรอบเอวไว้ใต้เข็มขัด ชาวปะหล่องถือว่าหน่องว่องเป็นสิ่งมงคลเมื่อคล้องไว้ชีวิตจะมีความสุข ตายไปก็จะได้ขึ้นสวรรค์”

    นั่นคือตำนานคร่าวๆของชาวปะหล่องที่เหล่าไกด์ตัวน้อยดอยอ่างขางถ่ายทอดให้ฟัง

    ผมนอกจากจะได้ความรู้บางส่วนของชาวปะหล่องแล้ว ความน่ารักซื่อใสของไกด์น้อยชาวปะหล่องพวกนี้ยังได้สร้างความประทับใจให้กับ อาคันตุกะอย่างผมไปอีกนานเท่านาน

    ...คืนนั้น ผมนอนหลับฝันเห็นเหล่าน้องๆไกด์น้อยชาวปะหล่องผู้ซื่อใสกำลังเดินทางขึ้นไป พบกับนางฟ้าบนสวรรค์ ด้วยใบหน้าอันยิ้มแย้มเปี่ยมสุข...

    </td> </tr> <tr> <td class="body" align="left" valign="baseline"> <table align="Center" border="0" cellpadding="0" cellspacing="0"> <tbody><tr> <td align="center" valign="top"> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="330"> <tbody><tr> <td align="center" valign="Top" width="330"> [​IMG] </td> </tr> <tr><td class="Image" align="left" valign="baseline">ชุ่มฉ่ำกับสายน้ำตกและมวลหมู่ดอกไม้ในอาคารไม้ดอกเมืองหนาว</td></tr> </tbody></table></td> </tr> <tr> <td align="center" height="5" valign="top">[​IMG]</td> </tr> </tbody></table> 3…

    กลางฤดูหนาวของปีที่อากาศหนาวเหน็บ ผมปิดสวิตซ์การทำงานเดินทางขึ้นเหนือไปหาหนาวบนดอยอ่างขาง เพื่อให้ธรรมชาติชาร์จแบตเตอรี่ชีวิตให้กับตัวเองตามความเรียกร้องของหัวใจ

    อากาศเย็นเยียบลงอย่างสัมผัสได้ชัดเจนเมื่อรถเริ่มไต่ลัดเลาะไปบน ความลาดชันของดอยอ่างขาง ดอยที่มีสัณฐานเหมือนแอ่งกระทะ มีความสูงเฉลี่ยประมาณ 1,400 จากระดับน้ำทะเล ที่มีอากาศหนาวเย็นตลอดทั้งปี แม้จะไม่ค่อยมีคนพูดถึงในสารบบดอยสูงของเมืองไทย แต่น่าแปลกตรงที่บนดอยอ่างขางนั้นหนาวเย็นยิ่งนัก เกือบทุกปีดอยอ่างขางจะมีปรากฏการณ์น้ำค้างแข็งหรือแม่คะนิ้งเกิดขึ้นเสมอใน ยามเหมันต์ฤดู เรื่องอุณหภูมิ 0 องศาเซลเซียสไปจนถึงอุณหภูมิติดลบจึงกลายเป็นเรื่องปกติของดอยแห่งนี้

    “บนดอยอ่างขาง อุณหภูมิจะไม่ตรงกับกรมอุตุฯ บางวันกรมอุตุบอกว่าร้อนแต่บนอ่างขางกับหนาวยะเยือก บางวันกรมอุตุฯบอกว่าหนาวแต่บนอ่างขางกับเย็นสบาย หรือบางวันก็มีฝนตกลงมาแบบไม่มีปี่มีขลุ่ยทั้งๆที่ไม่ใช่หน้าฝน เพราะพื้นที่บนนี้ค่อนข้างอุดมสมบูรณ์ฝนเลยตกบ่อย”เจ้าหน้าที่บนดอยอ่างขาง คนหนึ่งบอกกับผม

    และด้วยสภาพพื้นที่อันหนาวเย็น ทำให้บนนี้เหมาะต่อการปลูกพืช ผัก ผลไม้ และไม้เมืองหนาวนานาชนิด ไม้เมืองหนาว ไม่ว่าจะเป็น บ๊วย ท้อ พลัม แอปเปิ้ล สาลี่ กีวี องุ่น ชา กาแฟ กุหลาบ ดอกเบญจมาศ ซากุระเมืองไทย(นางพญาเสือโคร่ง)ฯลฯ ใครที่ชื่นชอบในพืช ผัก ผลไม้เมืองหนาว รวมไปถึงชากาแฟ บนดอยอ่างขางมีให้เลือกกินเลือกซื้อกันเพียบ เพียงแต่ว่าต้องไปให้ถูกจังหวะถูกเวลาเก็บผลผลิตเท่านั้น

    ส่วนสิ่งที่เป็นดังเครื่องหมายการรันตีความโรแมนติกและความเป็น สวิตเซอร์แลนด์เมืองไทยก็คือ บรรดาจุดน่าสนใจอันหลากใน“สถานีเกษตรหลวงอ่างขาง”ที่สร้างความประทับใจให้ กับผู้มาเยือนได้ไม่รู้เบื่อ

    </td> </tr> <tr> <td class="body" align="left" valign="baseline"> <table align="Center" border="0" cellpadding="0" cellspacing="0"> <tbody><tr> <td align="center" valign="top"> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="450"> <tbody><tr> <td align="center" valign="Top" width="450"> [​IMG] </td> </tr> <tr><td class="Image" align="left" valign="baseline">สวนแปดสิบ ไฮไลท์แห่งดอยอ่างขาง</td></tr> </tbody></table></td> </tr> <tr> <td align="center" height="5" valign="top">[​IMG]</td> </tr> </tbody></table> เริ่มจากอาคารไม้ดอกเมืองหนาว ที่ภายนอกเห็นเป็นโรงเรือนธรรมดาๆ แต่ข้างในกลับเพริศแพร้วไปด้วยการตกแต่งภูมิทัศน์อย่างสวยงาม มีน้ำตกจำลองเล็กๆที่น้ำใสไหลเย็นคอยให้ความชุ่มชื้นชุ่มฉ่ำท่ามกลางดง ดอกไม้หลากสีสารพัดพันธุ์ ที่จัดตกแต่งอย่างเข้ากันไปทั่วบริเวณ

    หันมาทางด้ายฝั่งซ้ายของทางเข้าสถานีฯกันบ้าง ฝั่งนี้เป็นที่ตั้งของโรงเรือนแปลงกุหลาบ หลากสีสัน ทั้งสีแดง ชมพู ขาว เหลือง ที่ออกดอกชูช่อสวยงามอยู่มากมายหลายต้น แถมหลายต้นออกดอกบานใหญ่ขนาดเท่าหน้า เท่าฝ่ามือเลยทีเดียว

    ถัดจาก 2 อาคารนี้ไป ถนนเบื้องหน้าแยกเป็น 2 สาย ใครไปทางซ้ายก็จะได้พบกับแปลงไม้ผลเมืองหนาว อย่าง สาลี่ บ๊วย กีวี พลัม พีช ส่วนเส้นทางขวามือมีสวนบอนไซแหล่งรวมบอนไซสวยๆงามๆรวมไปถึงโดมไม้แล้งเป็น จุดดึงดูดนักท่องเที่ยว

    ใครชอบแบบไหนก็ไปตามทางสายนั้นกันได้ตามสะดวก แต่ถ้าอยากให้ครบถ้วนกระบวนความงามควรไปและกลับคนละทางกัน ซึ่งถนนทั้ง 2 สายต่างก็ไปบรรจบกันบริเวณสโมสรอ่างขางที่มีความงามของสวนหลายรูปแบบให้ เลือกชม อาทิ สวนรับเสด็จ ที่มีการจัดตกแต่งไม้ดอกไม้ใบอย่างกลมกลืนเข้ากันไปตามไหล่เขา สวนหอมที่เต็มไปด้วยพันธุ์ไม้หอมนานาชนิด สวนกุหลาบอังกฤษที่รวบรวมกุหลาบสายพันธุ์อังกฤษไว้มากมาย

    </td> </tr> <tr> <td class="body" align="left" valign="baseline"> <table align="Center" border="0" cellpadding="0" cellspacing="0"> <tbody><tr> <td align="center" valign="top"> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="330"> <tbody><tr> <td align="center" valign="Top" width="330"> [​IMG] </td> </tr> <tr><td class="Image" align="left" valign="baseline">มุมสวิสเมืองไทยในสวนแปดสิบ</td></tr> </tbody></table></td> </tr> <tr> <td align="center" height="5" valign="top">[​IMG]</td> </tr> </tbody></table> ทั้ง 3 สวนนี้อยู่ในบริเวณเดียวกันทางด้านหลังสโมสร ส่วนทางด้านหน้าสโมสรก็มีสวนคำดอย ที่มีการรวบรวมดอกคำดอยหรือกุกลาบพันปีและไม้ดอกเมืองหนาวไว้มากมายหลายชนิด

    ส่วนสวนที่ถือว่าโดดเด่นและเป็นดังไฮไลท์ของดอยอ่างขาง ก็คือ“สวนแปดสิบ” ที่อบอวลไปด้วยดอกไม้เล็กใหญ่สวยๆงามๆมากมาย ในรูปแบบการจัดสวนประดับที่ลดหลั่นกันไปตามไหล่เขาอย่างงดงาม

    ด้านหน้าของสวนแปดสิบมีกะหล่ำประดับดอกยักษ์สีม่วง และขาว ปลูกเรียงรายเป็นกลุ่มล้อไปกับทางเดินชมสวนที่แซมด้วยดอกไม้เล็กๆหลากหลายสี ส่วนสูงขึ้นไปก็จะเป็นดอกไม้ที่ขึ้นเป็นช่อเป็นพุ่มให้สีแดง เหลือง ชมพู และอีกสารพัดสีขึ้นดารดาษทั่วไป หากมองขึ้นไปก็จะเห็นที่ประทับของพระราชินีที่เรือนไม้แบบสวิสตั้งโดดเด่น โดยมีดอกไม้สวยงามและต้นเปาโลเนียเป็นฉากหน้า ส่วนถ้าเรามองย้อนหลังกลับมาก็จะเห็นดงดอกไม้ขึ้นอยู่มากมายโดยมีฉากหลัง เป็นหุบเขาที่กว้างไกล ซึ่งไม่ว่ามองขึ้นหรือมองลงก็สวยงามทั้งนั้น และหากใครไปเยือนที่สวนแปดสิบในวันหยุดก็จะได้พบกับชาวไทยภูเขานำของที่ ระลึกทำมือมาวางขาย ใครที่ชอบช้อปสินค้าพื้นเมืองหรือใครอยากกระจายรายได้ก็เลือกจับจ่ายกันได้ ซึ่งระหว่างที่ผมกำลังเพลินกับการหามุมถ่ายรูปดอกไม้หลากสีสันในสวนแปด สิบอยู่นั้น ก็มีเสียงพูดอย่างภาคภูมิใจดังมาจากข้างหลังว่า

    “นี่ถ้าพ่อหลวงของคนไทยไม่มาทรงสร้างไว้ ป่านนี้ก็ไม่รู้ว่าดอยอ่างขางจะเป็นอย่างไรบ้าง”

    แม้ดอยอ่างขาง ณ เวลานั้นจะหนาวเย็นเอาเรื่อง แต่คำพูดนี้กลับทำให้ผมรู้สึกอบอุ่นใจอย่างบอกไม่ถูก

    ครั้นเมื่อยิ่งหวนคิดไปถึงพระราชกรณียกิจต่างๆของในหลวง ที่เสด็จพระราชดำเนินไปทั่วทุกหัวระแหงในผืนแผ่นดินไทยเพื่อช่วยเหลือ พสกนิกรชาวไทย ผมก็ยิ่งเกิดความรู้สึกอบอุ่นใจมากขึ้น

    ...เป็นความอบอุ่นใจจากภายในที่ได้เกิดมาเป็นคนไทยภายใต้พระบารมีของพระองค์ท่าน...
    </td></tr></tbody></table>

    http://www.manager.co.th/Travel/ViewNews.aspx?NewsID=9530000164132

    .




    .
     
  12. ปฐม

    ปฐม เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    20 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    638
    ค่าพลัง:
    +1,618
    nongnooo, sithiphong+ สวัสดียามดึกครับพี่ท่านทั้ง2
     
  13. :::เพชร:::

    :::เพชร::: เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    8,584
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +36,137
    quote=:::เพชร:::;4079262][​IMG]
    ข้อคิดดี ๆ จากชายที่จากไป
    แง่คิดดีๆ จากชายชราผู้จากไป
    โดย พิษณุ นิลกลัด

    สัปดาห์ สุดท้ายของปี 2548
    ผมไป งานสวดและงานเผาศพผู้ชายวัย 81 ปีที่ผมรู้จักเขา มา
    ยาว นาน 30 ปี ไม่ใช่ญาติ แต่ สนิทกันรักใคร่เสมือนญาติ

    ก่อน เสียชีวิตไม่กี่วันเขาสั่งลูกและภรรยาแบบคนไม่ครั่นคร้ามความตายว่า
    สวด 3 วันแล้วเผา
    ไม่ ต้องบอกใครให้วุ่นวาย
    อย่า เศร้า
    อย่า ร้องไห้
    ทุกคน ต้องมีวันนี้
    เพียง แต่เขาอยู่หัวแถวเลยต้องไปก่อน
    แล้ว ลูกเมียก็ทำตามคำสั่ง
    สวด 3 วันเผา
    งาน สวด 3 คืนมีคนฟังพระสวดคืนละ 14 คน
    คือเมีย ลูก หลาน เขย สะใภ้ และผม ซึ่งเป็นคนนอก

    เป็น งานศพที่มีคนไปร่วมงานน้อยที่สุดเท่าที่ผมเคยไปฟังสวด

    วันเผามีเพิ่มเป็น 17 คน
    สามคน ที่เพิ่มเป็นเพื่อนบ้านที่เคยคุยด้วยเกือบทุกเย็น
    คน หนึ่งเป็นแม่ค้าล็อตเตอรี่ที่เคยยืมเงินแล้วไม่มีสตังค์จ่าย
    เลย เอาล็อตเตอรี่ทยอยผ่อนใช้หนี้แทนเงินงวดละสองใบคนหนึ่ง
    และคนสุดท้ายเป็นหญิงที่ผู้ตายเคยผูกปิ่นโตทุกมื้อเย็น
    ทั้ง สามคนบอกว่าเกือบมาไม่ทันเผา
    เคราะห์ ดีที่แวะไปเยี่ยมที่โรงพยาบาล
    เจ้าหน้าที่บอกว่าเสียชีวิตไปแล้ว 3 วัน

    หลังฌาปนกิจพระกระซิบถามเจ้าหน้าที่วัดว่าเจ้าของงานจ่ายเงินค่าศาลาสวดพระ อภิธรรมแล้วหรือยัง
    พระท่านคงไม่เคยเห็นงานศพที่มีคนน้อยแบบที่ผมก็รู้สึกตั้งแต่สวดคืนแรก

    จริงๆ แล้วผู้ตายเป็นคนค่อนข้างมีสตังค์
    ทำงาน ธนาคารแห่งประเทศไทยจนเกษียณอายุที่ ตำแหน่ง หัวหน้าหน่วย
    แต่ ด้วยความที่รักและศรัทธา อาจารย์ป๋วย อึ๊งภากรณ์

    อดีต ผู้ว่าการแบงค์ชาติ [​IMG]
    จึง ดำเนินชีวิตแบบไม่ปรารถนาให้ใครเดือนร้อน - แม้กระทั่งวันตาย

    ผมสนิทกับเขาเพราะเขามีความฝันในวัยเด็กอยากเป็นนักประพันธ์แบบไม้เมืองเดิม
    ที่ เขาเคยนั่งเหลาดินสอและวิ่งซื้อโอเลี้ยงให้
    เมื่อ ตัวเองเป็นนักเขียนไม่ได้ พอมาเจอะผมที่เป็น นักข่าวก็เลยถูกชะตาและให้ความเมตตา
    การมีโอกาสได้พูดได้คุยกับเขาตามวาระโอกาสตลอด 30 ปี
    ทำให้ได้แง่คิดดีๆมา ใช้ในการดำรงชีวิต

    วันหนึ่งเขารู้ว่าขโมยยกชุดกอล์ฟของผมไปสองชุดราคา 4 แสนกว่าบาท
    เขาปลอบใจผมว่า ของที่หายเป็นของฟุ่มเฟือยของเรา
    แต่มันอาจเป็นของจำเป็นสำหรับลูกเมียครอบครัวเขา
    คิดซะว่าได้ทำบุญ จะได้ไม่ทุกข์

    เขามี วิธีคิด ' เท่ๆ '
    แบบผม คิดไม่ได้มากมาย
    เป็น ต้นว่า
    สุขและทุกข์อยู่รอบตัวเรา
    อยู่ที่ว่าเราจะเลือกหยิบเลือกคว้าอะไร
    คงเป็นเพราะเขาเลือกคว้าแต่ความสุข
    ช่วงปีสุดท้ายของชีวิตเขาต่อสู้กับโรคชรา
    เบา หวาน หัวใจ ความดัน เกาต์
    และไต ทำงานเพียง 5 เปอร์เซ็นต์โดยไม่ปริปากบ่น
    แถม ยังสามารถให้ลูกชายขับรถพาเที่ยวในวัน หยุดสุดสัปดาห์
    โดยที่ตัวเองต้อง หิ้วถุง ปัสสาวะ ไป ด้วยตลอดเวลา
    เนื่อง จากไตไม่ทำงาน ปัสสาวะเองไม่ได้
    6 เดือน สุดท้ายของชีวิตต้องนอนโรงพยาบาลสามวันนอนบ้านสี่วันสลับกันไป
    เวลา ลูกหลาน หรือเพื่อนของลูกรวมทั้ง ผมด้วยไปเยี่ยมที่โรงพยาบาล
    เขามี แรงพูดติดต่อกันไม่เกิน 10 นาที
    แต่ 10 นาที ที่พูด มีแต่เรื่องสนุกสนาน
    เรียก รอยยิ้มและเสียงหัวเราะจากคนไป เยี่ยม ไข้
    ทุกคน พูดตรงกันว่า
    ' คุณตาไม่เห็นเหมือนคนป่วยเลย
    ตลกเหมือนเดิม '
    พอ แขกกลับ ลูก หลานถามว่าทำไมคุยแต่เรื่องตลก เขาตอบว่า

    ' ถ้าคุยแต่เรื่องเจ็บป่วย
    วันหลังใครเขาจะอยากมาเยี่ยมอีก '

    เขาเป็นคนชอบคุยกับผู้คนไม่ว่าจะอยู่บนเตียงคนไข้หรืออยู่บนรถแท็กซี่
    บ่อยครั้งที่นั่งรถถึงหน้าบ้านแล้ว
    แต่สั่งให้โชเฟอร์ขับวนรอบหมู่บ้านเพราะยังคุย
    ไม่จบเรื่อง แล้วจ่ายเงินตามมิเตอร์ !

    4 เดือน สุดท้ายของชีวิตแพทย์ที่รักษาโรคไตมาตั้งแต่สมัย เป็นแพทย์อินเทิร์น
    จนกระทั่งเป็นหัวหน้าแผนกแนะนำให้พักรักษาตัวในโรงพยาบาลให้แข็งแรงแล้วค่อย กลับบ้าน

    แต่ อยู่ได้ 4 วันเขาวิงวอนหมอว่าขอกลับบ้าน
    หมอ ซึ่งรักษากันมา 16 ปีไม่ยอม
    เขา พูดกับหมอด้วยความสุภาพว่า
    ' ขอให้ผมกลับบ้าน เถอะ
    ผมอยากฟังเสียงนกร้อง'
    คุณ หมอไม่รู้หรอกว่าคนคิดถึงบ้านมันเป็นอย่างไร
    เพราะ พอเสร็จงานหมอก็กลับบ้าน '
    หมอ ได้ฟังแล้วหมดทางสู้
    ยอม ให้คนไข้กลับบ้าน
    แต่ กำชับให้มาตรวจตรงตามเวลานัดทุกครั้ง

    1 เดือน ถึงวาระสุดท้ายของชีวิต
    เขา สูญเสียการควบคุมอวัยวะของร่างกายเกือบทั้งหมด
    เคลื่อน ไหวได้อย่างเดียวคือกะพริบตา
    แต่ แพทย์บอกว่าสมองของเขายังดีมาก
    เวลา ลูก เมียพูดคุยด้วยต้องบอกว่า
    ' ถ้าได้ยินพ่อกะพริบตาสองที '
    เขา กะพริบตาสองทีทุกครั้ง !
    เห็น แล้วทั้งดีใจและใจหาย

    เขา ยังรับรู้
    แต่ พูดไม่ได้
    นี่ กระมังที่เรียกว่าถูกขังในร่างของตนเอง

    สิบ วันก่อนพลัดพราก
    ภรรยา กระซิบข้างหูว่า
    ' พ่อสู้นะ '
    เขา ไม่กะพริบตาซะแล้ว
    ทั้ง ๆ ที่ก่อนหน้านี้สองเดือนเคยตอบว่า ' สู้ '

    เขา สู้กับสารพัดโรคด้วยความเข้าใจโรค
    สู้ ชนิดที่หมอออกปากว่า
    ' คุณลุงแกสู้จริงๆ '

    ตอน ที่วางดอกไม้จันทน์
    ผมนึก ถึงประโยคที่แกพูดกับลูกเมื่อสี่เดือนก่อนว่า

    ' โรค ภัยมันเอาร่างกายของพ่อไปแล้ว
    อย่าให้มันเอาใจของเราไปด้วย '
    ' แง่คิดดีๆ จากชายชราที่จากไป '
    สอน ให้เรารู้ว่า...

    เราเกิดมาพร้อมกับจิตใจบริสุทธิ์
    และมันสมองมหัศจรรย์
    ที่จะสามารถเรียนรู้
    แยกแยะเรื่องดีๆและสิ่งร้ายๆในชีวิต
    จงใช้โอกาสดีๆที่ร่างกายและจิตใจของเรา
    ยังทำอะไรๆได้อย่างที่สมองสั่ง

    จงเรียนรู้
    และสร้างประโยชน์สุข
    ให้กับตนเองและผู้อื่นอย่างพอเพียง
    และดำรงชีวิตอย่างพอเพียงทางเศรษฐกิจ!

    หากทุกๆครั้งที่เรียนรู้ เราล้ม
    เราพลาดอาจจะรู้สึกท้อบ้างในบางที
    แม้ไม่มีกำลังกายที่จะลุกในทันที..แต่ข้อให้มีกำลังใจที่จะสู้ ต่อไป
    ถ้าเราเรียนรู้...ก็จะทำให้เราพบว่า

    การล้มหรือพลาดครั้งต่อไป
    เราจะไม่เจ็บเท่าเดิม<O:p</O:p[/quote]

    ขอบคุณคุณ pink.. ที่ท้วงติงนะครับ แรกเริ่มผมก็สงสัยมากหากกล่าวถึงบุคคลอื่นที่ไม่ใช่อ.ป๋วย ก็น่าจะนำภาพของบุคคลนั้นมาประกอบ แต่ปรากฎว่า ไม่มีภาพบุคคลที่กล่าวถึง แต่เป็นภาพอ.ป๋วยไป 2 ภาพแล้ว แถมที่ภาพยังมีลายเซ็นต์ท่านกำกับลางๆ ผมกลัวผิดพลาดก็อุตส่าห์เช็คข้อมูลเรื่องวันถึงแก่กรรมของท่านก็พบว่า มันแย้งกันทั้ง 6 ปี แต่ผมก็เห็นว่า สาระสำคัญน่าจะอยู่ที่เรื่องราวภายใน เรื่องประวัติกลับเป็นเรื่องรอง ก็พยายามแก้ไขข้อผิดพลาดแล้ว ก็ยังอาจจะผิด หรือถูกในข้อมูลประวัติ และภาพ แต่เค้าโครงใบหน้า ผมก็ว่าคล้ายนะครับ

    เรื่องราวข้างล่างนี้ก็มีความสับสนพอๆกับเรื่องราวข้างบนนี้ครับ เป็นสมเด็จโต???? กับ ร.๕???? หรือสมเด็จพระวันรัต(ทับ พุทธสิริ)????? กับกรมหมื่นพิทยาลงกรณ์???? หรือ........

    ภาพปริศนา ? "พระสงฆ์สอนหนังสือเด็ก" ความเข้าใจผิดอันคลาดเคลื่อน
    http://palungjit.org/showthrea...2445&page=1268

    [​IMG]

    ใครก็ตามที่ผ่านสายตาไปยังหนังสือซึ่งรวบรวมเรียบเรียงเรื่องราวของสมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พฺรหฺมรํสี) แห่งวัดระฆังโฆสิตาราม มาบ้างแล้ว อย่างน้อยต้องพบภาพพระสงฆ์สอนหนังสือเด็ก

    ภาพที่เข้าใจกันว่าเป็นภาพพระบรมฉายาลักษณ์พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พฺรหฺมรํสี)

    อันเป็นภาพที่ปรากฏบนหน้าหนังสือเกี่ยวกับอัตโนประวัติสมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พฺรหฺมรํสี) อยู่บ่อยๆ จนมีบางท่านเข้าใจคลาดเคลื่อนตลอดมา แท้จริงภาพนี้มีการเข้าใจผิดมาอย่างเนิ่นนาน

    ในนิตยสาร "ชุมนุมจุฬาฯ" ปีที่ 14 เล่มที่ 3 ฉบับ 23 ตุลาคม พ.ศ.2503 ปรากฏการตีพิมพ์ภาพนี้ทั้งบรรยายว่า

    "พระบรมฉายาลักษณ์ของสมเด็จพระปิยมหาราช เมื่อทรงพระเยาว์กำลังทรงพระอักษรกับสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (โต) วัดระฆังโฆสิตาราม

    ภาพโดยความเอื้อเฟื้อของ พล.ร.ต.หลวงสุวิชาแพทย์"

    หากสังเกตจะพบว่าสมณศักดิ์ของท่านนั้นผิด สมณศักดิ์ของท่านซึ่งได้รับพระราชทานจากพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงแต่งตั้งเป็นพระราชาคณะที่ "พระธรรมกิติ" ในปี พ.ศ.2395 ขณะนั้นท่านมีอายุได้ 64 ปีแล้ว

    ในปี พ.ศ.2397 ทรงแต่งตั้งเป็นพระราชาคณะที่ "พระเทพกวี" จนกระทั่งปี พ.ศ.2407 ทรงสถาปนาเป็น "สมเด็จพระพุฒาจารย์"

    ขณะเดียวกัน ในคำแถลงจากสาราณียกรของหนังสือ "ชุมนุมจุฬาฯ" ดังกล่าว ก็ว่า "พระบรมฉายาลักษณ์ขององค์สมเด็จพระปิยมหาราชในสมัยยังทรงพระเยาว์อันเป็นพระบรมฉายาลักษณ์ที่หาดูได้ยาก อัญเชิญมาประดับเป็นศรีแก่เล่ม เนื่องในวาระสำคัญนี้ด้วย" ยิ่งเสริมความเชื่อเป็นอันมากว่า คือ พระบรมฉายาลักษณ์ ร.5 ครั้งทรงพระเยาว์

    แท้จริงภาพนี้มีที่มาในนิตยสาร "ศิลปวัฒนธรรม" ปีที่ 2 ฉบับที่ 7 เดือนพฤษภาคม พ.ศ.2524 หน้า 33 ปรากฏการตีพิมพ์ภาพใบนี้ พร้อมคำอธิบายจาก "นิวัติ กองเพียร" ว่า รูปนี้ไม่ใช่รัชกาลที่ 5 กับสมเด็จพระพุฒาจารย์ เหตุผลประกอบดังนี้

    1. รูปนี้ได้มาจากหนังสือฝรั่งชื่อ "SIAM"

    2. พัดรองที่วางพิงผนังอยู่นั้น เป็นพัดที่นิยมทำก่อนสมัยรัชกาลที่ 5 ต่อมาไม่มีความนิยมในการทำพัดรองอีกเลย

    3. ถ้ารูปนั้นเป็นสมเด็จพระพุฒาจารย์จริง ท่านต้องห่มดองและรัดประคดอก มิใช่อย่างที่เห็นในรูป แม้แต่พระรุ่นเก่าที่วัดระฆังโฆสิตาราม ที่เคยเห็นสมเด็จพระพุฒาจารย์ก็ยืนยันว่ามิใช่สมเด็จแน่

    4. เจ้านายหลายพระองค์ ที่เป็นพระธิดาหรือพระโอรสก็ยืนยันว่า มิใช่พระราชบิดาแน่นอน

    หนังสือฝรั่ง "SIAM" ที่ว่า ก็คือ หนังสือชื่อยาวเฟื้อยว่า "TWENTIETH CENTURY IMPRESSION OF SIAM : ITS HISTORY, PEOPLE COMMERCE, INDUSTRIES, AND RESOURCES WITH WHICH IS INCORPORATED AN ABRIDGED EDITION OF TWENTIETH CENTURY IMPRESSIONS OF BRITISH MALAYA"

    แปลชื่อเป็นไทยว่า "เรื่องน่ารู้ของสยามในศตวรรษที่ 20 ว่าด้วยประวัติศาสตร์ พลเมือง พาณิชยกรรม อุตสาหกรรม และทรัพยากร รวมเรื่องน่ารู้ของบริติชมลายาในศตวรรษที่ 20 โดยสังเขป" อันเป็นหนังสือที่ตีพิมพ์จากลอนดอน ประเทศอังกฤษ ในปี พ.ศ.2452 อันเป็นช่วงปลายรัชกาลที่ 5 ทั้งยังให้คำอธิบายรูปนี้ไว้ว่า "Buddhist Priest and Disciple"



    นอกจากนี้ ในการจัดทำหนังสือเล่มดังกล่าว สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ ทรงพระกรุณาประทานภาพส่วนพระองค์ อันเกี่ยวเนื่องกับประเทศสยามให้กับผู้จัดทำหนังสือเล่มนี้ด้วย

    อย่างไรก็ตามแต่ ในหนังสือที่ระลึกงานสงกรานต์ชลบุรี ประจำปี พ.ศ.2507 ในเรื่อง "สมเด็จพระพุทธเจ้าหลวง สมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต)" อันเขียนโดย อธึก สวัสดิมงคล ยืนยันได้เป็นอย่างดีว่า ภาพพระสงฆ์สอนหนังสือเป็นภาพที่เข้าใจผิดและคลาดเคลื่อน ดังในหน้า 11 ที่ให้ข้อมูลความเป็นมาของภาพใบนี้จากลายพระหัตถ์หม่อมเจ้าหญิงพูนพิศมัย ดิศกุล พระธิดาสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ ทรงตอบคำถามของ อธึก สวัสดิมงคล ว่า

    "สมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต) นั้นไม่ช้าจะเป็นอะไรๆ สักร้อยอย่างเป็นเรื่องหากินทั้งนั้น เดี๋ยวนี้ใครอยากรู้อะไร ก็นั่งวิปัสสนาเอาได้ ไม่ช้าคงต้องร้อนถึงทางการเข้าเล่นด้วยเป็นแน่ มีผู้เอาภาพพระแก่กับเด็กลูกศิษย์สอนหนังสือกัน ฉันจำได้ว่า "โรเบิร์ต เลนส์" ขอประทานให้เสด็จพ่อทรงช่วยทำโปสการ์ดเผยแพร่เมืองไทย และท่านได้ถ่ายรูปฉันแต่งลาวน่าน หญิงเหลือส่องกระจก พร้อมกับทำรูปนี้ด้วย แต่บัดนี้กลายเป็นรูปสมเด็จโตสอนหนังสือพระพุทธเจ้าหลวง แย่จริงๆ น่ากลัวพงศาวดารจะเลอะเทอะกันใหญ่เสียแล้ว"

    สำหรับ โรเบิร์ต เลนส์ เป็นช่างภาพชาวเยอรมัน เจ้าของห้องถ่ายรูปโรเบิร์ต เลสน์ ดำเนินธุรกิจถ่ายรูป เมื่อ พ.ศ.2437 ได้รับพระบรมราชานุญาตให้เป็นช่างภาพราชสำนักรัชกาลที่ 5

    นอกจากนี้ ยังมีผู้กล่าวว่า พระภิกษุในภาพคือ พระครูวิมลคุณากร (ศุข เกสโร) วัดปากคลองมะขามเฒ่า จังหวัดชัยนาท ซึ่งภาพดังกล่าวอาจจะไม่ได้ถ่ายที่ชัยนาท ถ้าหากเป็นหลวงปู่ศุขจริง อาจจะถ่าย ณ ตำหนักเหลืองในวังพลเรือเอกสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์ ก็เป็นไปได้

    ทั้งนี้ เพราะหลวงปู่ศุข จะมาพำนักที่ตำหนักเหลืองเป็นประจำทุกปี เพื่อมาร่วมงานในพิธีไหว้ครูประจำปีของพลเรือเอกพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์ ซึ่งทรงเป็นศิษย์หลวงปู่ศุข

    อย่างไรก็ตาม ไม่อาจสรุปได้ว่าเป็นภาพของหลวงปู่ศุข ทั้งนี้ หม่อมเจ้าหญิงพูนพิศมัย ดิสกุล เมื่อครั้งทรงตอบคำถามของ อธึก สวัสดิมงคล ก็มิได้เอ่ยถึงว่าเป็นพระภิกษุรูปใด

    .......บทความคัดลอกจาก มติชนสุดสัปดาห์ วันที่ 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2548 ปีที่ 25 ฉบับที่ 1302
     
  14. :::เพชร:::

    :::เพชร::: เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    8,584
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +36,137
    [​IMG]
    พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว


    <TABLE style="TEXT-ALIGN: left; PADDING-BOTTOM: 0px; PADDING-LEFT: 0px; PADDING-RIGHT: 0px; BORDER-COLLAPSE: collapse; BACKGROUND: none transparent scroll repeat 0% 0%; TABLE-LAYOUT: auto; FONT-SIZE: 100%; PADDING-TOP: 0px" cellSpacing=0 cellPadding=0 width=246><TBODY><TR><TD style="TEXT-ALIGN: left; PADDING-BOTTOM: 0.4em; PADDING-LEFT: 5px; PADDING-RIGHT: 0px; VERTICAL-ALIGN: top; PADDING-TOP: 0.4em" bgColor=#f3f3f4 vAlign=top width=93 noWrap>พระบรมนามาภิไธย</TD><TD style="TEXT-ALIGN: left; PADDING-BOTTOM: 0.4em; PADDING-LEFT: 3px; PADDING-RIGHT: 0px; VERTICAL-ALIGN: top; PADDING-TOP: 0.4em" bgColor=#f9f9f9 vAlign=top>สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้ามหาวชิราวุธ เอกอรรคมหาบุรุษย์บรมนราธิราช จุฬาลงกรณนาถราชวโรรส มหาสมมติขัตติยพิสุทธิ์ บรมมกุฎสุริยสันตติวงศ์ อดิศัยพงศ์วโรภโตสุชาติคุณสังกาศวิมลรัตน ทฤฆชนมสวัสดิ ขัตติยราชกุมาร
    สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิราวุธ สยามมกุฎราชกุมาร
    </TD></TR><TR><TD style="TEXT-ALIGN: left; PADDING-BOTTOM: 0.4em; PADDING-LEFT: 5px; PADDING-RIGHT: 0px; VERTICAL-ALIGN: top; PADDING-TOP: 0.4em" bgColor=#f3f3f4 vAlign=top width=93 noWrap>ราชวงศ์</TD><TD style="TEXT-ALIGN: left; PADDING-BOTTOM: 0.4em; PADDING-LEFT: 3px; PADDING-RIGHT: 0px; VERTICAL-ALIGN: top; PADDING-TOP: 0.4em" bgColor=#f9f9f9 vAlign=top>ราชวงศ์จักรี</TD></TR><TR><TD style="TEXT-ALIGN: left; PADDING-BOTTOM: 0.4em; PADDING-LEFT: 5px; PADDING-RIGHT: 0px; VERTICAL-ALIGN: top; PADDING-TOP: 0.4em" bgColor=#f3f3f4 vAlign=top width=93 noWrap>ครองราชย์</TD><TD style="TEXT-ALIGN: left; PADDING-BOTTOM: 0.4em; PADDING-LEFT: 3px; PADDING-RIGHT: 0px; VERTICAL-ALIGN: top; PADDING-TOP: 0.4em" bgColor=#f9f9f9 vAlign=top>23 ตุลาคม พ.ศ. 2453</TD></TR><TR><TD style="TEXT-ALIGN: left; PADDING-BOTTOM: 0.4em; PADDING-LEFT: 5px; PADDING-RIGHT: 0px; VERTICAL-ALIGN: top; PADDING-TOP: 0.4em" bgColor=#f3f3f4 vAlign=top width=93 noWrap>ระยะครองราชย์</TD><TD style="TEXT-ALIGN: left; PADDING-BOTTOM: 0.4em; PADDING-LEFT: 3px; PADDING-RIGHT: 0px; VERTICAL-ALIGN: top; PADDING-TOP: 0.4em" bgColor=#f9f9f9 vAlign=top>15ปี</TD></TR><TR><TD style="TEXT-ALIGN: left; PADDING-BOTTOM: 0.4em; PADDING-LEFT: 5px; PADDING-RIGHT: 0px; VERTICAL-ALIGN: top; PADDING-TOP: 0.4em" bgColor=#f3f3f4 vAlign=top width=93 noWrap>รัชกาลก่อนหน้า</TD><TD style="TEXT-ALIGN: left; PADDING-BOTTOM: 0.4em; PADDING-LEFT: 3px; PADDING-RIGHT: 0px; VERTICAL-ALIGN: top; PADDING-TOP: 0.4em" bgColor=#f9f9f9 vAlign=top>พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว</TD></TR><TR><TD style="TEXT-ALIGN: left; PADDING-BOTTOM: 0.4em; PADDING-LEFT: 5px; PADDING-RIGHT: 0px; VERTICAL-ALIGN: top; PADDING-TOP: 0.4em" bgColor=#f3f3f4 vAlign=top width=93 noWrap>รัชกาลถัดไป</TD><TD style="TEXT-ALIGN: left; PADDING-BOTTOM: 0.4em; PADDING-LEFT: 3px; PADDING-RIGHT: 0px; VERTICAL-ALIGN: top; PADDING-TOP: 0.4em" bgColor=#f9f9f9 vAlign=top>พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว</TD></TR><TR><TD style="TEXT-ALIGN: left; PADDING-BOTTOM: 0.4em; PADDING-LEFT: 5px; PADDING-RIGHT: 0px; VERTICAL-ALIGN: top; PADDING-TOP: 0.4em" bgColor=#f3f3f4 vAlign=top width=93 noWrap>วัดประจำรัชกาล</TD><TD style="TEXT-ALIGN: left; PADDING-BOTTOM: 0.4em; PADDING-LEFT: 3px; PADDING-RIGHT: 0px; VERTICAL-ALIGN: top; PADDING-TOP: 0.4em" bgColor=#f9f9f9 vAlign=top>สร้าง วชิราวุธวิทยาลัย แทนวัดประจำรัชกาล <SUP id=cite_ref-0 class=reference>[1]</SUP></TD></TR></TBODY></TABLE>​

    ข้อมูลส่วนพระองค์[ซ่อน]
    <TABLE style="TEXT-ALIGN: left; PADDING-BOTTOM: 0px; PADDING-LEFT: 0px; PADDING-RIGHT: 0px; BORDER-COLLAPSE: collapse; BACKGROUND: none transparent scroll repeat 0% 0%; TABLE-LAYOUT: auto; FONT-SIZE: 100%; PADDING-TOP: 0px" cellSpacing=0 cellPadding=0 width=246><TBODY><TR><TD style="TEXT-ALIGN: left; PADDING-BOTTOM: 0.4em; PADDING-LEFT: 5px; PADDING-RIGHT: 0px; VERTICAL-ALIGN: top; PADDING-TOP: 0.4em" bgColor=#f3f3f4 vAlign=top width=93 noWrap>พระราชสมภพ</TD><TD style="TEXT-ALIGN: left; PADDING-BOTTOM: 0.4em; PADDING-LEFT: 3px; PADDING-RIGHT: 0px; VERTICAL-ALIGN: top; PADDING-TOP: 0.4em" bgColor=#f9f9f9 vAlign=top>1 มกราคม พ.ศ. 2423
    วันเสาร์ เดือนยี่ ขึ้น 2 ค่ำ ปีมะโรง​
    </TD></TR><TR><TD style="TEXT-ALIGN: left; PADDING-BOTTOM: 0.4em; PADDING-LEFT: 5px; PADDING-RIGHT: 0px; VERTICAL-ALIGN: top; PADDING-TOP: 0.4em" bgColor=#f3f3f4 vAlign=top width=93 noWrap>สวรรคต</TD><TD style="TEXT-ALIGN: left; PADDING-BOTTOM: 0.4em; PADDING-LEFT: 3px; PADDING-RIGHT: 0px; VERTICAL-ALIGN: top; PADDING-TOP: 0.4em" bgColor=#f9f9f9 vAlign=top>26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2468
    รวมพระชนมพรรษา 45 พรรษา​
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE style="TEXT-ALIGN: left; PADDING-BOTTOM: 0px; PADDING-LEFT: 0px; PADDING-RIGHT: 0px; BORDER-COLLAPSE: collapse; BACKGROUND: none transparent scroll repeat 0% 0%; TABLE-LAYOUT: auto; FONT-SIZE: 100%; PADDING-TOP: 0px" cellSpacing=0 cellPadding=0 width=246><TBODY><TR><TD style="TEXT-ALIGN: left; PADDING-BOTTOM: 0.4em; PADDING-LEFT: 5px; PADDING-RIGHT: 0px; VERTICAL-ALIGN: top; PADDING-TOP: 0.4em" bgColor=#f3f3f4 vAlign=top width=93 noWrap>พระราชบิดา</TD><TD style="TEXT-ALIGN: left; PADDING-BOTTOM: 0.4em; PADDING-LEFT: 3px; PADDING-RIGHT: 0px; VERTICAL-ALIGN: top; PADDING-TOP: 0.4em" bgColor=#f9f9f9 vAlign=top>พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว</TD></TR><TR><TD style="TEXT-ALIGN: left; PADDING-BOTTOM: 0.4em; PADDING-LEFT: 5px; PADDING-RIGHT: 0px; VERTICAL-ALIGN: top; PADDING-TOP: 0.4em" bgColor=#f3f3f4 vAlign=top width=93 noWrap>พระราชมารดา</TD><TD style="TEXT-ALIGN: left; PADDING-BOTTOM: 0.4em; PADDING-LEFT: 3px; PADDING-RIGHT: 0px; VERTICAL-ALIGN: top; PADDING-TOP: 0.4em" bgColor=#f9f9f9 vAlign=top>สมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนี พระพันปีหลวง</TD></TR><TR><TD style="TEXT-ALIGN: left; PADDING-BOTTOM: 0.4em; PADDING-LEFT: 5px; PADDING-RIGHT: 0px; VERTICAL-ALIGN: top; PADDING-TOP: 0.4em" bgColor=#f3f3f4 vAlign=top width=93 noWrap>พระราชโอรส/ธิดา</TD><TD style="TEXT-ALIGN: left; PADDING-BOTTOM: 0.4em; PADDING-LEFT: 3px; PADDING-RIGHT: 0px; VERTICAL-ALIGN: top; PADDING-TOP: 0.4em" bgColor=#f9f9f9 vAlign=top>สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี</TD></TR></TBODY></TABLE>​


    เลยเที่ยงคืนคืนนี้ไป 1 ช.ม. 45 นาที ก็เป็นเวลาถวายการระลึกถึงวันสวรรคตของพระองค์ท่าน
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 25 พฤศจิกายน 2010
  15. :::เพชร:::

    :::เพชร::: เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    8,584
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +36,137
    [​IMG]
    พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว



    <TABLE style="TEXT-ALIGN: left; PADDING-BOTTOM: 0px; PADDING-LEFT: 0px; PADDING-RIGHT: 0px; BORDER-COLLAPSE: collapse; BACKGROUND: none transparent scroll repeat 0% 0%; TABLE-LAYOUT: auto; FONT-SIZE: 100%; PADDING-TOP: 0px" cellSpacing=0 cellPadding=0 width=246><TBODY><TR><TD style="TEXT-ALIGN: left; PADDING-BOTTOM: 0.4em; PADDING-LEFT: 5px; PADDING-RIGHT: 0px; VERTICAL-ALIGN: top; PADDING-TOP: 0.4em" bgColor=#f3f3f4 vAlign=top width=93 noWrap>พระบรมนามาภิไธย</TD><TD style="TEXT-ALIGN: left; PADDING-BOTTOM: 0.4em; PADDING-LEFT: 3px; PADDING-RIGHT: 0px; VERTICAL-ALIGN: top; PADDING-TOP: 0.4em" bgColor=#f9f9f9 vAlign=top>สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้ามหาวชิราวุธ เอกอรรคมหาบุรุษย์บรมนราธิราช จุฬาลงกรณนาถราชวโรรส มหาสมมติขัตติยพิสุทธิ์ บรมมกุฎสุริยสันตติวงศ์ อดิศัยพงศ์วโรภโตสุชาติคุณสังกาศวิมลรัตน ทฤฆชนมสวัสดิ ขัตติยราชกุมาร
    สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิราวุธ สยามมกุฎราชกุมาร



    </TD></TR><TR><TD style="TEXT-ALIGN: left; PADDING-BOTTOM: 0.4em; PADDING-LEFT: 5px; PADDING-RIGHT: 0px; VERTICAL-ALIGN: top; PADDING-TOP: 0.4em" bgColor=#f3f3f4 vAlign=top width=93 noWrap>ราชวงศ์</TD><TD style="TEXT-ALIGN: left; PADDING-BOTTOM: 0.4em; PADDING-LEFT: 3px; PADDING-RIGHT: 0px; VERTICAL-ALIGN: top; PADDING-TOP: 0.4em" bgColor=#f9f9f9 vAlign=top>ราชวงศ์จักรี</TD></TR><TR><TD style="TEXT-ALIGN: left; PADDING-BOTTOM: 0.4em; PADDING-LEFT: 5px; PADDING-RIGHT: 0px; VERTICAL-ALIGN: top; PADDING-TOP: 0.4em" bgColor=#f3f3f4 vAlign=top width=93 noWrap>ครองราชย์</TD><TD style="TEXT-ALIGN: left; PADDING-BOTTOM: 0.4em; PADDING-LEFT: 3px; PADDING-RIGHT: 0px; VERTICAL-ALIGN: top; PADDING-TOP: 0.4em" bgColor=#f9f9f9 vAlign=top>23 ตุลาคม พ.ศ. 2453</TD></TR><TR><TD style="TEXT-ALIGN: left; PADDING-BOTTOM: 0.4em; PADDING-LEFT: 5px; PADDING-RIGHT: 0px; VERTICAL-ALIGN: top; PADDING-TOP: 0.4em" bgColor=#f3f3f4 vAlign=top width=93 noWrap>ระยะครองราชย์</TD><TD style="TEXT-ALIGN: left; PADDING-BOTTOM: 0.4em; PADDING-LEFT: 3px; PADDING-RIGHT: 0px; VERTICAL-ALIGN: top; PADDING-TOP: 0.4em" bgColor=#f9f9f9 vAlign=top>15ปี</TD></TR><TR><TD style="TEXT-ALIGN: left; PADDING-BOTTOM: 0.4em; PADDING-LEFT: 5px; PADDING-RIGHT: 0px; VERTICAL-ALIGN: top; PADDING-TOP: 0.4em" bgColor=#f3f3f4 vAlign=top width=93 noWrap>รัชกาลก่อนหน้า</TD><TD style="TEXT-ALIGN: left; PADDING-BOTTOM: 0.4em; PADDING-LEFT: 3px; PADDING-RIGHT: 0px; VERTICAL-ALIGN: top; PADDING-TOP: 0.4em" bgColor=#f9f9f9 vAlign=top>พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว</TD></TR><TR><TD style="TEXT-ALIGN: left; PADDING-BOTTOM: 0.4em; PADDING-LEFT: 5px; PADDING-RIGHT: 0px; VERTICAL-ALIGN: top; PADDING-TOP: 0.4em" bgColor=#f3f3f4 vAlign=top width=93 noWrap>รัชกาลถัดไป</TD><TD style="TEXT-ALIGN: left; PADDING-BOTTOM: 0.4em; PADDING-LEFT: 3px; PADDING-RIGHT: 0px; VERTICAL-ALIGN: top; PADDING-TOP: 0.4em" bgColor=#f9f9f9 vAlign=top>พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว</TD></TR><TR><TD style="TEXT-ALIGN: left; PADDING-BOTTOM: 0.4em; PADDING-LEFT: 5px; PADDING-RIGHT: 0px; VERTICAL-ALIGN: top; PADDING-TOP: 0.4em" bgColor=#f3f3f4 vAlign=top width=93 noWrap>วัดประจำรัชกาล</TD><TD style="TEXT-ALIGN: left; PADDING-BOTTOM: 0.4em; PADDING-LEFT: 3px; PADDING-RIGHT: 0px; VERTICAL-ALIGN: top; PADDING-TOP: 0.4em" bgColor=#f9f9f9 vAlign=top>สร้าง วชิราวุธวิทยาลัย แทนวัดประจำรัชกาล <SUP id=cite_ref-0 class=reference>[1]</SUP></TD></TR></TBODY></TABLE>​

    ข้อมูลส่วนพระองค์[ซ่อน]

    <TABLE style="TEXT-ALIGN: left; PADDING-BOTTOM: 0px; PADDING-LEFT: 0px; PADDING-RIGHT: 0px; BORDER-COLLAPSE: collapse; BACKGROUND: none transparent scroll repeat 0% 0%; TABLE-LAYOUT: auto; FONT-SIZE: 100%; PADDING-TOP: 0px" cellSpacing=0 cellPadding=0 width=246><TBODY><TR><TD style="TEXT-ALIGN: left; PADDING-BOTTOM: 0.4em; PADDING-LEFT: 5px; PADDING-RIGHT: 0px; VERTICAL-ALIGN: top; PADDING-TOP: 0.4em" bgColor=#f3f3f4 vAlign=top width=93 noWrap>พระราชสมภพ</TD><TD style="TEXT-ALIGN: left; PADDING-BOTTOM: 0.4em; PADDING-LEFT: 3px; PADDING-RIGHT: 0px; VERTICAL-ALIGN: top; PADDING-TOP: 0.4em" bgColor=#f9f9f9 vAlign=top>1 มกราคม พ.ศ. 2423

    วันเสาร์ เดือนยี่ ขึ้น 2 ค่ำ ปีมะโรง

    </TD></TR><TR><TD style="TEXT-ALIGN: left; PADDING-BOTTOM: 0.4em; PADDING-LEFT: 5px; PADDING-RIGHT: 0px; VERTICAL-ALIGN: top; PADDING-TOP: 0.4em" bgColor=#f3f3f4 vAlign=top width=93 noWrap>สวรรคต</TD><TD style="TEXT-ALIGN: left; PADDING-BOTTOM: 0.4em; PADDING-LEFT: 3px; PADDING-RIGHT: 0px; VERTICAL-ALIGN: top; PADDING-TOP: 0.4em" bgColor=#f9f9f9 vAlign=top>26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2468
    รวมพระชนมพรรษา 45 พรรษา

    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE style="TEXT-ALIGN: left; PADDING-BOTTOM: 0px; PADDING-LEFT: 0px; PADDING-RIGHT: 0px; BORDER-COLLAPSE: collapse; BACKGROUND: none transparent scroll repeat 0% 0%; TABLE-LAYOUT: auto; FONT-SIZE: 100%; PADDING-TOP: 0px" cellSpacing=0 cellPadding=0 width=246><TBODY><TR><TD style="TEXT-ALIGN: left; PADDING-BOTTOM: 0.4em; PADDING-LEFT: 5px; PADDING-RIGHT: 0px; VERTICAL-ALIGN: top; PADDING-TOP: 0.4em" bgColor=#f3f3f4 vAlign=top width=93 noWrap>พระราชบิดา</TD><TD style="TEXT-ALIGN: left; PADDING-BOTTOM: 0.4em; PADDING-LEFT: 3px; PADDING-RIGHT: 0px; VERTICAL-ALIGN: top; PADDING-TOP: 0.4em" bgColor=#f9f9f9 vAlign=top>พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว</TD></TR><TR><TD style="TEXT-ALIGN: left; PADDING-BOTTOM: 0.4em; PADDING-LEFT: 5px; PADDING-RIGHT: 0px; VERTICAL-ALIGN: top; PADDING-TOP: 0.4em" bgColor=#f3f3f4 vAlign=top width=93 noWrap>พระราชมารดา</TD><TD style="TEXT-ALIGN: left; PADDING-BOTTOM: 0.4em; PADDING-LEFT: 3px; PADDING-RIGHT: 0px; VERTICAL-ALIGN: top; PADDING-TOP: 0.4em" bgColor=#f9f9f9 vAlign=top>สมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนี พระพันปีหลวง</TD></TR><TR><TD style="TEXT-ALIGN: left; PADDING-BOTTOM: 0.4em; PADDING-LEFT: 5px; PADDING-RIGHT: 0px; VERTICAL-ALIGN: top; PADDING-TOP: 0.4em" bgColor=#f3f3f4 vAlign=top width=93 noWrap>พระราชโอรส/ธิดา</TD><TD style="TEXT-ALIGN: left; PADDING-BOTTOM: 0.4em; PADDING-LEFT: 3px; PADDING-RIGHT: 0px; VERTICAL-ALIGN: top; PADDING-TOP: 0.4em" bgColor=#f9f9f9 vAlign=top>สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี</TD></TR></TBODY></TABLE>​


    เลยเที่ยงคืนคืนนี้ไป 1 ช.ม. 45 นาที ก็เป็นเวลาถวายการระลึกถึงวันสวรรคตของพระองค์ท่าน
     
  16. :::เพชร:::

    :::เพชร::: เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    8,584
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +36,137
    พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว

    <!-- /firstHeading --><!-- bodyContent --><!-- tagline -->จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
    <!-- /tagline --><!-- subtitle -->
    <!-- /subtitle --><!-- jumpto -->ไปที่: ป้ายบอกทาง, ค้นหา
    <!-- /jumpto --><!-- bodytext -->[​IMG]
    พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว



    <TABLE style="TEXT-ALIGN: left; PADDING-BOTTOM: 0px; PADDING-LEFT: 0px; PADDING-RIGHT: 0px; BORDER-COLLAPSE: collapse; BACKGROUND: none transparent scroll repeat 0% 0%; TABLE-LAYOUT: auto; FONT-SIZE: 100%; PADDING-TOP: 0px" cellSpacing=0 cellPadding=0 width=246><TBODY><TR><TD style="TEXT-ALIGN: left; PADDING-BOTTOM: 0.4em; PADDING-LEFT: 5px; PADDING-RIGHT: 0px; VERTICAL-ALIGN: top; PADDING-TOP: 0.4em" bgColor=#f3f3f4 vAlign=top width=93 noWrap>พระบรมนามาภิไธย</TD><TD style="TEXT-ALIGN: left; PADDING-BOTTOM: 0.4em; PADDING-LEFT: 3px; PADDING-RIGHT: 0px; VERTICAL-ALIGN: top; PADDING-TOP: 0.4em" bgColor=#f9f9f9 vAlign=top>สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้ามหาวชิราวุธ เอกอรรคมหาบุรุษย์บรมนราธิราช จุฬาลงกรณนาถราชวโรรส มหาสมมติขัตติยพิสุทธิ์ บรมมกุฎสุริยสันตติวงศ์ อดิศัยพงศ์วโรภโตสุชาติคุณสังกาศวิมลรัตน ทฤฆชนมสวัสดิ ขัตติยราชกุมาร ​

    สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิราวุธ สยามมกุฎราชกุมาร
    </TD></TR><TR><TD style="TEXT-ALIGN: left; PADDING-BOTTOM: 0.4em; PADDING-LEFT: 5px; PADDING-RIGHT: 0px; VERTICAL-ALIGN: top; PADDING-TOP: 0.4em" bgColor=#f3f3f4 vAlign=top width=93 noWrap>ราชวงศ์</TD><TD style="TEXT-ALIGN: left; PADDING-BOTTOM: 0.4em; PADDING-LEFT: 3px; PADDING-RIGHT: 0px; VERTICAL-ALIGN: top; PADDING-TOP: 0.4em" bgColor=#f9f9f9 vAlign=top>ราชวงศ์จักรี</TD></TR><TR><TD style="TEXT-ALIGN: left; PADDING-BOTTOM: 0.4em; PADDING-LEFT: 5px; PADDING-RIGHT: 0px; VERTICAL-ALIGN: top; PADDING-TOP: 0.4em" bgColor=#f3f3f4 vAlign=top width=93 noWrap>ครองราชย์</TD><TD style="TEXT-ALIGN: left; PADDING-BOTTOM: 0.4em; PADDING-LEFT: 3px; PADDING-RIGHT: 0px; VERTICAL-ALIGN: top; PADDING-TOP: 0.4em" bgColor=#f9f9f9 vAlign=top>23 ตุลาคม พ.ศ. 2453</TD></TR><TR><TD style="TEXT-ALIGN: left; PADDING-BOTTOM: 0.4em; PADDING-LEFT: 5px; PADDING-RIGHT: 0px; VERTICAL-ALIGN: top; PADDING-TOP: 0.4em" bgColor=#f3f3f4 vAlign=top width=93 noWrap>ระยะครองราชย์</TD><TD style="TEXT-ALIGN: left; PADDING-BOTTOM: 0.4em; PADDING-LEFT: 3px; PADDING-RIGHT: 0px; VERTICAL-ALIGN: top; PADDING-TOP: 0.4em" bgColor=#f9f9f9 vAlign=top>15ปี</TD></TR><TR><TD style="TEXT-ALIGN: left; PADDING-BOTTOM: 0.4em; PADDING-LEFT: 5px; PADDING-RIGHT: 0px; VERTICAL-ALIGN: top; PADDING-TOP: 0.4em" bgColor=#f3f3f4 vAlign=top width=93 noWrap>รัชกาลก่อนหน้า</TD><TD style="TEXT-ALIGN: left; PADDING-BOTTOM: 0.4em; PADDING-LEFT: 3px; PADDING-RIGHT: 0px; VERTICAL-ALIGN: top; PADDING-TOP: 0.4em" bgColor=#f9f9f9 vAlign=top>พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว</TD></TR><TR><TD style="TEXT-ALIGN: left; PADDING-BOTTOM: 0.4em; PADDING-LEFT: 5px; PADDING-RIGHT: 0px; VERTICAL-ALIGN: top; PADDING-TOP: 0.4em" bgColor=#f3f3f4 vAlign=top width=93 noWrap>รัชกาลถัดไป</TD><TD style="TEXT-ALIGN: left; PADDING-BOTTOM: 0.4em; PADDING-LEFT: 3px; PADDING-RIGHT: 0px; VERTICAL-ALIGN: top; PADDING-TOP: 0.4em" bgColor=#f9f9f9 vAlign=top>พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว</TD></TR><TR><TD style="TEXT-ALIGN: left; PADDING-BOTTOM: 0.4em; PADDING-LEFT: 5px; PADDING-RIGHT: 0px; VERTICAL-ALIGN: top; PADDING-TOP: 0.4em" bgColor=#f3f3f4 vAlign=top width=93 noWrap>วัดประจำรัชกาล</TD><TD style="TEXT-ALIGN: left; PADDING-BOTTOM: 0.4em; PADDING-LEFT: 3px; PADDING-RIGHT: 0px; VERTICAL-ALIGN: top; PADDING-TOP: 0.4em" bgColor=#f9f9f9 vAlign=top>สร้าง วชิราวุธวิทยาลัย แทนวัดประจำรัชกาล <SUP id=cite_ref-0 class=reference>[1]</SUP></TD></TR></TBODY></TABLE>​


    ข้อมูลส่วนพระองค์[ซ่อน]

    <TABLE style="TEXT-ALIGN: left; PADDING-BOTTOM: 0px; PADDING-LEFT: 0px; PADDING-RIGHT: 0px; BORDER-COLLAPSE: collapse; BACKGROUND: none transparent scroll repeat 0% 0%; TABLE-LAYOUT: auto; FONT-SIZE: 100%; PADDING-TOP: 0px" cellSpacing=0 cellPadding=0 width=246><TBODY><TR><TD style="TEXT-ALIGN: left; PADDING-BOTTOM: 0.4em; PADDING-LEFT: 5px; PADDING-RIGHT: 0px; VERTICAL-ALIGN: top; PADDING-TOP: 0.4em" bgColor=#f3f3f4 vAlign=top width=93 noWrap>พระราชสมภพ</TD><TD style="TEXT-ALIGN: left; PADDING-BOTTOM: 0.4em; PADDING-LEFT: 3px; PADDING-RIGHT: 0px; VERTICAL-ALIGN: top; PADDING-TOP: 0.4em" bgColor=#f9f9f9 vAlign=top>1 มกราคม พ.ศ. 2423

    วันเสาร์ เดือนยี่ ขึ้น 2 ค่ำ ปีมะโรง
    </TD></TR><TR><TD style="TEXT-ALIGN: left; PADDING-BOTTOM: 0.4em; PADDING-LEFT: 5px; PADDING-RIGHT: 0px; VERTICAL-ALIGN: top; PADDING-TOP: 0.4em" bgColor=#f3f3f4 vAlign=top width=93 noWrap>สวรรคต</TD><TD style="TEXT-ALIGN: left; PADDING-BOTTOM: 0.4em; PADDING-LEFT: 3px; PADDING-RIGHT: 0px; VERTICAL-ALIGN: top; PADDING-TOP: 0.4em" bgColor=#f9f9f9 vAlign=top>26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2468
    รวมพระชนมพรรษา 45 พรรษา
    </TD></TR></TBODY></TABLE>​


    <TABLE style="TEXT-ALIGN: left; PADDING-BOTTOM: 0px; PADDING-LEFT: 0px; PADDING-RIGHT: 0px; BORDER-COLLAPSE: collapse; BACKGROUND: none transparent scroll repeat 0% 0%; TABLE-LAYOUT: auto; FONT-SIZE: 100%; PADDING-TOP: 0px" cellSpacing=0 cellPadding=0 width=246><TBODY><TR><TD style="TEXT-ALIGN: left; PADDING-BOTTOM: 0.4em; PADDING-LEFT: 5px; PADDING-RIGHT: 0px; VERTICAL-ALIGN: top; PADDING-TOP: 0.4em" bgColor=#f3f3f4 vAlign=top width=93 noWrap>พระราชบิดา</TD><TD style="TEXT-ALIGN: left; PADDING-BOTTOM: 0.4em; PADDING-LEFT: 3px; PADDING-RIGHT: 0px; VERTICAL-ALIGN: top; PADDING-TOP: 0.4em" bgColor=#f9f9f9 vAlign=top>พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว</TD></TR><TR><TD style="TEXT-ALIGN: left; PADDING-BOTTOM: 0.4em; PADDING-LEFT: 5px; PADDING-RIGHT: 0px; VERTICAL-ALIGN: top; PADDING-TOP: 0.4em" bgColor=#f3f3f4 vAlign=top width=93 noWrap>พระราชมารดา</TD><TD style="TEXT-ALIGN: left; PADDING-BOTTOM: 0.4em; PADDING-LEFT: 3px; PADDING-RIGHT: 0px; VERTICAL-ALIGN: top; PADDING-TOP: 0.4em" bgColor=#f9f9f9 vAlign=top>สมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนี พระพันปีหลวง</TD></TR><TR><TD style="TEXT-ALIGN: left; PADDING-BOTTOM: 0.4em; PADDING-LEFT: 5px; PADDING-RIGHT: 0px; VERTICAL-ALIGN: top; PADDING-TOP: 0.4em" bgColor=#f3f3f4 vAlign=top width=93 noWrap>พระราชโอรส/ธิดา</TD><TD style="TEXT-ALIGN: left; PADDING-BOTTOM: 0.4em; PADDING-LEFT: 3px; PADDING-RIGHT: 0px; VERTICAL-ALIGN: top; PADDING-TOP: 0.4em" bgColor=#f9f9f9 vAlign=top>สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี</TD></TR></TBODY></TABLE>​


    <TABLE style="TEXT-ALIGN: left; PADDING-BOTTOM: 0px; PADDING-LEFT: 0px; PADDING-RIGHT: 0px; BORDER-COLLAPSE: collapse; BACKGROUND: none transparent scroll repeat 0% 0%; TABLE-LAYOUT: auto; FONT-SIZE: 100%; PADDING-TOP: 0px" cellSpacing=0 cellPadding=0 width=246><TBODY><TR><TD style="TEXT-ALIGN: left; PADDING-BOTTOM: 0.4em; PADDING-LEFT: 5px; PADDING-RIGHT: 0px; VERTICAL-ALIGN: top; PADDING-TOP: 0.4em" bgColor=#f3f3f4 vAlign=top width=93 noWrap></TD><TD style="TEXT-ALIGN: left; PADDING-BOTTOM: 0.4em; PADDING-LEFT: 3px; PADDING-RIGHT: 0px; VERTICAL-ALIGN: top; PADDING-TOP: 0.4em" bgColor=#f9f9f9 vAlign=top></TD></TR></TBODY></TABLE>​




    พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาวชิราวุธฯ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นพระมหากษัตริย์รัชกาลที่ 6 แห่งพระบรมราชจักรีวงศ์ เสด็จพระราชสมภพเมื่อ วันเสาร์ เดือนยี่ ขึ้น 2 ค่ำ ปีมะโรง ตรงกับวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2423 เป็นพระราชโอรสพระองค์ที่ 29 ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เสวยราชสมบัติเมื่อวันเสาร์ที่ 23 ตุลาคม ปีจอ พุทธศักราช 2453 และเสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2468 รวมพระชนมพรรษา 45 พรรษา เสด็จดำรงราชสมบัติรวม 15 ปี
    พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระราชอัจฉริยภาพและทรงบำเพ็ญพระราชกรณียกิจในหลายสาขา ทั้งด้านการเมืองการปกครอง การทหาร การศึกษา การสาธารณสุข การต่างประเทศ และที่สำคัญที่สุดคือด้านวรรณกรรมและอักษรศาสตร์ ได้ทรงพระราชนิพนธ์บทร้อยแก้วและร้อยกรองไว้นับพันเรื่อง กระทั่งทรงได้รับการถวายพระราชสมัญญาเมื่อเสด็จสวรรคตแล้วว่า "สมเด็จพระมหาธีรราชเจ้า" พระองค์เป็นพระมหากษัตริย์ใน พระราชวงศ์จักรีพระองค์แรกที่ไม่มีวัดประจำรัชกาล แต่ได้ทรงมีการการสถาปนาโรงเรียนมหาดเล็กหลวง หรือวชิราวุธวิทยาลัยในปัจจุบัน ขึ้นแทน ด้วยทรงพระราชดำริว่าพระอารามนั้นมีมากแล้ว และการสร้างอารามในสมัยก่อนนั้นก็เพื่อบำรุงการศึกษาของเยาวชนของชาติ จึงทรงพระราชดำริให้สร้างโรงเรียนขึ้นแทน
    พระบรมราชานุสาวรีย์แห่งแรกของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว สร้างแล้วเสร็จเมื่อพ.ศ. 2485 ประดิษฐาน ณ สวนลุมพินี ซึ่งเป็นบริเวณที่ดินส่วนพระองค์ ที่พระราชทานไว้เป็นสมบัติของประชาชน เพื่อจัดงานสยามรัฐพิพิธภัณฑ์แสดงสินค้าไทยแก่ชาวโลกเป็นครั้งแรก เพื่อบำรุงเศรษฐกิจและพาณิชยกรรมของประเทศ (แต่มิทันได้จัดก็เสด็จสวรรคตเสียก่อน) และทรงตั้งพระราชหฤทัยว่าเมื่อเสร็จงานแล้ว จะพระราชทานเป็นสวนสาธารณะพักผ่อนหย่อนใจแห่งแรกในกรุงเทพฯ ทั้งนี้ ในวันคล้ายวันสวรรคตของทุกปี วันที่ 25 พฤศจิกายน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว หรือผู้แทนพระองค์ จะเสด็จพระราชดำเนินไปทรงวางพวงมาลา ถวายบังคมพระบรมราชานุสรณ์ ณ สวนลุมพินีแห่งนี้ ในวันนั้นมีหน่วยราชการ หน่วยงานเอกชน นิสิตนักศึกษา พ่อค้าประชาชนจำนวนมากไปวางพวงมาลาถวายราชสักการะ และยังทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้บำเพ็ญพระราชกุศลอุทิศถวาย ณ วชิราวุธวิทยาลัย อีกด้วย
    ใน พ.ศ. 2524 องค์การการศึกษาวิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (UNESCO) ได้ยกย่องพระเกียรติคุณของ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ว่าทรงเป็นบุคคลสำคัญของโลก ผู้มีผลงานดีเด่นด้านวัฒนธรรม ในฐานะที่ทรงเป็นนักปราชญ์ นักประพันธ์ กวี และนักแต่งบทละครไว้เป็นจำนวนมาก

    <TABLE id=toc class=toc><TBODY><TR><TD>เนื้อหา

    [ซ่อน]
    </TD></TR></TBODY></TABLE><SCRIPT type=text/javascript>//<![CDATA[if (window.showTocToggle) { var tocShowText = "แสดง"; var tocHideText = "ซ่อน"; showTocToggle(); } //]]></SCRIPT>[แก้] พระนามเต็ม

    พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว มีพระนามเต็มว่า "พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาวชิราวุธ เอกอรรคมหาบุรุษบรมนราธิราช พินิตประชานาถมหาสมมตวงศ์ อดิศัยพงศ์วิมลรัตน์วรขัตติราชนิกโรดม จาตุรันตบรมมหาจักรพรรดิราชสังกาศ อุภโตสุชาตสังสุทธเคราะหณีจักรีบรมนาถ จุฬาลงกรณราชวรางกูร บรมมกุฏนเรนทร์สูรสันตติวงศวิสิฐ สุสาธิตบุรพาธิการ อดุลยกฤษฎาภินิหาร อดิเรกบุญฤทธิ ธัญลักษณวิจิตรโสภาคยสรรพางค์ มหาชโนตมางคประณตบาทบงกชยุคล ประสิทธิสรรพศุภผลอุดม บรมสุขุมาลย์ทิพยเทพาวตาร ไพศาลเกียรติคุณ อดุลยวิเศษสรรพเทเวศรานุรักษ์ บุริมศักดิสมญาเทพวาราวดี ศรีมหาบุรุษสุทธสมบัติ เสนางคนิกรรัตนอัศวโกศล ประพนธปรีชา มัทวสมาจาร บริบูรณคุณสารสยามาทินคร วรุตเมกราชดิลก มหาปริวารนายกอนันต์มหันตวรฤทธิเดช สรรพวิเศษศิรินธร บรมชนกาดิศรสมมต ประสิทธิวรยศมโหดมบรมราชสมบัติ นพปฎลเศวตฉัตราดิฉัตร สิริรัตโนปลักษณมหาบรมราชาภิเษฏาภิสิต สรรพทศทิศวิชิตไชย สกลมไหศวริยมหาสวามินทร์ มเหศวรมหินทรมหารามาธิราชวโรดม บรมนาถชาติอาชาวศรัยพุทธาธิไตรรัตนสรณารักษ์ อดุลยศักดิ์ อรรคนเรศราธิบดี เมตตากรุณา สีตลหฤทัย อโนมัยบุญการสกลไพศาล มหารัษฎาธิบดินทร์ ปรเมนทรธรรมิกมหาราชาธิราช บรมนาถบพิตร พระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว"
    ต่อมาใน พ.ศ. 2459 ได้ทรงเปลี่ยนคำนำหน้าพระปรมาภิไธยของพระองค์เองใหม่ว่า "พระบาทสมเด็จพระรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราวุธ อรรคมหาบุรุษบรมนราธิราช พินิตประชานาถมหาสมมตวงศ์ ฯลฯ พระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว"<SUP id=cite_ref-1 class=reference>[2]</SUP>
    [แก้] พระราชประวัติ

    [แก้] พระราชสมภพ

    [​IMG] [​IMG]
    สมเด็จเจ้าฟ้ากรมขุนเทพทวารวดี


    [​IMG] [​IMG]
    เจ้าฟ้ากรมขุนเทพทวาราวดี ในพระราชพิธีโสกัณฑ์ พ.ศ. 2435



    พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นพระราชโอรสองค์ที่ 29 ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และเป็นสมเด็จเจ้าฟ้าองค์ที่ 2 ในจำนวน 8 พระองค์ที่ประสูติแต่สมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนี พระพันปีหลวง พระราชสมภพเมื่อวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2423 ณ พระที่นั่งในพระบรมมหาราชวังชั้นใน<SUP id=cite_ref-2 class=reference>[3]</SUP> มีพระเชษฐภคินีและพระอนุชาร่วมพระมารดา คือ
    1. สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าพาหุรัดมณีมัย กรมพระเทพนารีรัตน์ (พ.ศ. 2421-2430)
    2. พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว (พ.ศ. 2423-2468)
    3. สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าตรีเพ็ชรุตม์ธำรง (พ.ศ. 2424-2430)
    4. จอมพล สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถ (พ.ศ. 2425-2463)
    5. สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าศิริราชกกุธภัณฑ์ (พ.ศ. 2428-2430)
    6. พลเรือเอก สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าอัษฎางค์เดชาวุธ กรมหลวงนครราชสีมา (พ.ศ. 2432-2467)
    7. สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจุฑาธุชธราดิลก กรมขุนเพ็ชรบูรณ์อินทราชัย (พ.ศ. 2435-2466) และ
    8. พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว (พ.ศ. 2436-2484)
    แม้ตอนประสูติ สมเด็จพระบรมราชชนนียังดำรงพระยศเป็น พระองค์เจ้าเสาวภาผ่องศรี พระราชเทวีอยู่ ยังมิได้ดำรงตำแหน่งสมเด็จพระอัครมเหสี แต่ตามขัตติยราชประเพณีในรัชกาลที่ 5 พระราชโอรสธิดาดำรงพระยศเป็นเจ้าฟ้าชั้นทูลกระหม่อมทุกพระองค์ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 6 พระอิสริยยศเดิมทรงเป็นสมเด็จเจ้าฟ้าชั้นทูลกระหม่อม เมื่อพระชนมพรรษาเจริญครบเดือน สมเด็จพระบรมชนกนาถทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตั้งการพระราชพิธีสมโภชเดือนและขึ้นพระอู่ พระราชทานพระนามว่า มหาวชิราวุธ แต่ยังมิได้พระราชทานพระสุพรรณบัฏเฉลิมพระนามาภิไธย สมเด็จพระบรมชนกนาถและสมเด็จพระบรมราชชนนี ทรงเรียกว่า "ลูกโต" พระประยูรญาติในพระราชสำนักดำเนินรอยตามพระบรมราชอัธยาศัยเรียกพระองค์ท่านว่า "ทูลกระหม่อมโต"<SUP id=cite_ref-3 class=reference>[4]</SUP>
    ต่อมาเมื่อพระชนมพรรษาย่างขึ้น 9 พรรษาในปี พ.ศ. 2431 สมเด็จพระบรมชนกนาถโปรดให้ตั้งพระราชพิธีพระราชทานพระสุพรรณบัฏตามขัตติยราชประเพณี โดยได้รับพระราชทานพระนามว่า "สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้ามหาวชิราวุธ เอกอรรคมหาบุรุษยบรมนราธิราช จุฬาลงกรณ์นาถราชวโรรส มหาสมมติขัตติยพิสุทธิ บรมมกุฎสุริยสันตติวงษ อดิศัยพงษวโรภโตสุชาติ คุณสังกาศวิมลรัตน ทฤฆชนมสวัสดิ ขัตติยราชกุมาร" และทรงสถาปนาขึ้นเป็นเจ้าฟ้าต่างกรมด้วยพระนามกรมในครั้งนั้นคือ "กรมขุนเทพทวาราวดี"<SUP id=cite_ref-4 class=reference>[5]</SUP><SUP id=cite_ref-5 class=reference>[6]</SUP>
    [แก้] การศึกษา

    เมื่อทรงพระเยาว์ ทรงได้รับการศึกษาอยู่ในพระบรมมหาราชวัง และโรงเรียนสวนกุหลาบ ทรงเริ่มต้นการศึกษาภาษาไทยครั้งแรกกับพระยาอิสรพันธ์โสภณ (หนู อิศรางกูร ณ อยุธยา) เจ้าพระยายมราช (ปั้น สุขุม) และพระยาศรีสุนทรโวหาร (น้อย อาจารยางกูร) ทรงเริ่มเรียนภาษาอังกฤษเมื่อพระชนม์ 8 พรรษากับพระอาจารย์ชื่อโรเบิร์ต มอแรนต์<SUP id=cite_ref-6 class=reference>[7]</SUP>
    สมเด็จพระบรมชนกนาถทรงวางหนทางพระราชทานไว้ เพื่อความสถาวรแก่ประเทศชาติและราชบัลลังก์ โดยจัดส่งให้เสด็จไปทรงศึกษา ณ ประเทศอังกฤษเมื่อปี พ.ศ. 2436 แต่ขณะทรงศึกษาอยู่ ณ ประเทศอังกฤษ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิรุณหิศ สยามมกุฎราชกุมาร ก็เสด็จสวรรคตลง พระองค์จึงทรงได้รับการสถาปนาเฉลิมพระอิสริยยศขึ้นเป็น สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร สืบแทนสมเด็จพระเชษฐา<SUP id=cite_ref-7 class=reference>[8]</SUP>
    พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวได้ทรงศึกษาวิชาอยู่ ณ ประเทศอังกฤษหลายแขนง ทางทหารทรงสำเร็จการศึกษาจากแซนเฮิสต์แล้วเข้ารับราชการในกรมทหารราบเบาเดอรัม ทางด้านพลเรือนทรงศึกษาวิชาประวัติศาสตร์และกฎหมาย ที่วิทยาลัยไครสต์เชิช มหาวิทยาลัยอ๊อกซฟอร์ด ระหว่างปี พ.ศ. 2442 - พ.ศ. 2444<SUP id=cite_ref-8 class=reference>[9]</SUP> แต่เนื่องด้วยทรงพระประชวรด้วยพระโรคอันตะ (ไส้ติ่ง) อักเสบ มีพระอาการมากต้องเข้ารับการผ่าตัดทันที ทำให้ทรงพลาดโอกาสที่ได้รับปริญญา ระหว่างการศึกษาในต่างประเทศ ทรงปฏิบัติพระราชภารกิจแทนพระองค์สมเด็จพระบรมชนกนาถ โดยเสด็จในฐานะผู้แทนพระองค์ไปในงานพระราชพิธีสำคัญต่าง ๆ ทั้งในประเทศอังกฤษและประเทศใกล้เคียง เสด็จนิวัตพระนครตามพระราชประสงค์ของสมเด็จพระบรมชนกนาถโดยเสด็จผ่านประเทศสหรัฐอเมริกาและญี่ปุ่น ถึงกรุงเทพมหานครเมื่อ 29 ตุลาคม พ.ศ. 2445<SUP id=cite_ref-9 class=reference>[10]</SUP>
    [แก้] ทรงเป็นผู้สำเร็จราชการต่างพระองค์

    จนปี พ.ศ. 2447 เสด็จออกทรงพระผนวชตามราชประเพณี ณ พระอุโบสถวัดพระศรีรัตนศาสดาราม ประทับอยู่ประจำวัด ณ วัดบวรนิเวศวิหาร ต่อมาเมื่อพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเสด็จพระราชดำเนินยุโรปครั้งที่ 2 ระหว่างวันที่ 27 มีนาคม พ.ศ. 2449 - 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2450 ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานอำนาจในราชกิจที่จะรักษาพระนครไว้แด่พระองค์ เป็นการรับสนองพระเดชพระมหากรุณาธิคุณในสมเด็จพระบรมชนกนาถในหน้าที่อันสำคัญที่สุดสิ่งหนึ่ง และได้รับความไว้วางพระราชหฤทัยเป็นที่สุดด้วยระหว่างทรงเป็นผู้สำเร็จราชการแผ่นดินต่างพระองค์นี้ ทรงรับเป็นประธานการจัดสร้างพระบรมราชานุสรณ์เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระบรมชนกนาถ ซึ่งงานสำคัญบรรลุโดยพระราชประสงค์อย่างดีเลิศ<SUP id=cite_ref-10 class=reference>[11]</SUP>
    [แก้] การขึ้นครองราชย์

    เมื่อสมเด็จพระบรมชนกนาถเสด็จสวรรคตลงเมื่อวันที่ 23 ตุลาคม พ.ศ. 2453 ทั้ง ๆ ที่พระองค์นั้นได้รับการสถาปนาตั้งไว้ในพระรัชทายาทสืบพระราชสันตติวงศ์มาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2437 แต่ก็ทรงเศร้าสลด ไม่มีพระราชประสงค์ที่จะแลกสิริราชสมบัติสำหรับพระองค์เองกับการสูญเสียพระชนมชีพของสมเด็จพระบรมชนกนาถ จนกระทั่งสมเด็จเจ้าฟ้าฯ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช ซึ่งทรงเป็นทูลกระหม่อมอาแท้ ๆ ทูลเชิญเสด็จลงที่ห้องแป๊ะเต๋งบนชั้น 2 พระที่นั่งอัมพรสถาน และท่ามกลางพระบรมวงศานุวงศ์ เสนาบดี ผู้ใหญ่ องคมนตรี และข้าราชการผู้ใหญ่ผู้น้อย ที่ชุมนุมอยู่ ทูลกระหม่อมอา ได้คุกพระชงฆ์ลงกับพื้นกราบถวายบังคมอัญเชิญเสด็จขึ้นเถลิงถวัลยราชสมเด็จเป็นพระเจ้าแผ่นดินสืบสนองพระองค์สมเด็จพระบรมชนกนาถ และทันใดทุกท่านที่ชุมนุมอยู่ที่นั้น ก็ได้คุกเข่าลงกราบถวายบังคมทั่วกัน<SUP id=cite_ref-11 class=reference>[12]</SUP>
    [แก้] สวรรคต

    พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระประชวรพระโรคพระโลหิตเป็นพิษในพระอุทรตั้งแต่วันที่ 12 พฤศจิกายน พ.ศ. 2468 และเสด็จสวรรคต ณ พระที่นั่งจักรพรรดิพิมาน ภายในพระบรมมหาราชวัง เมื่อวันที่ 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2468 เวลา 1 นาฬิกา 45 นาที โดยได้อัญเชิญพระบรมศพไปประดิษฐาน ณ พระที่นั่งดุสิตมหาปราสาทรวมพระชนมพรรษาได้ 45 พรรษา และเสด็จดำรงสิริราชสมบัติได้ 15 พรรษา แต่รัชกาลที่ 7 ทรงมีพระราชประสงค์กำหนดวันสวรรคตของรัชกาลที่ 6 เป็นวันที่ 25 พฤศจิกายน และถือว่าวันพระมหาธีราชเจ้าตรงกับวันที่ 25 พฤศจิกายนด้วย <SUP id=cite_ref-12 class=reference>[13]</SUP>
    [แก้] พระมเหสี พระสนม และพระคู่หมั้น

    1. หม่อมเจ้าหญิงวัลลภาเทวี วรวรรณ พระคู่หมั้น ได้สถาปนาเป็น "พระวรกัญญาปทาน พระองค์เจ้าวัลลภาเทวี" แต่ภายหลังทรงถอนหมั้น และโปรดเกล้าฯ ให้ออกพระนามว่า "พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวัลลภาเทวี"
    2. หม่อมเจ้าหญิงลักษมีลาวัณ (นามเดิม ม.จ.หญิง วรรณวิมล วรวรรณ) พระขนิษฐาของพระองค์เจ้าวัลลภาเทวี หลังอภิเษกสมรส ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ สถาปนาเป็น "พระนางเธอลักษมีลาวัณ" แต่สุดท้ายประทับแยกกัน
    3. คุณเปรื่อง สุจริตกุล ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ดำรงตำแหน่งพระสนมเอกที่ "พระสุจริตสุดา"
    4. คุณประไพ สุจริตกุล (น้องของคุณเปรื่อง) ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เป็น "พระอินทราณี" พระสนมเอก ต่อมาได้รับสถาปนาพระอิสริยยศเป็น "สมเด็จพระนางเจ้าอินทรศักดิศจี พระบรมราชินี" ต่อมาทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ออกพระนามว่า "สมเด็จพระนางเจ้าอินทรศักดิศจี พระวรราชชายา"
    5. คุณเครือแก้ว อภัยวงศ์ ได้รับพระราชทานสถาปนาเป็น เจ้าจอมสุวัทนา และได้รับพระราชทานสถาปนาเป็น "พระนางเจ้าสุวัทนา พระวรราชเทวี" ในที่สุด
    [แก้] พระราชธิดา

    มีเพียง 1 พระองค์ ประสูติแต่พระนางเจ้าสุวัทนา พระวรราชเทวี คือ สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี ประสูติ ณ วันอังคารที่ 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2468 ก่อนรัชกาลที่ 6 จะเสด็จสวรรคตเพียงหนึ่งวัน ณ พระที่นั่งเทพสถานพิลาส ในหมู่พระมหามณเฑียร พระบรมมหาราชวัง
    [แก้] พระราชลัญจกรประจำพระองค์

    [​IMG] [​IMG]
    พระราชลัญจกรประจำรัชกาลที่ 6


    พระราชลัญจกรประจำพระองค์พระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้แก่ พระวชิระ ซึ่งมาจากพระบรมนามาภิไธยก่อนทรงราชย์ นั่นคือ "มหาวชิราวุธ" ซึ่งหมายถึง สายฟ้าอันเป็นศาตราวุธของพระอินทร์ พระราชลัญจกรพระวชิระนั้น เป็นตรางา รูปรี กว้าง 5.5 ซ.ม. ยาว 6.8 ซ.ม. มีรูปวชิราวุธเปล่งรัศมีที่ยอด ประดิษฐานบนพานแว่นฟ้า 2 ชั้น มีฉัตรบริวารตั้งขนาบทั้ง 2 ข้าง <SUP id=cite_ref-13 class=reference>[14]</SUP> <SUP id=cite_ref-14 class=reference>[15]</SUP>
    [แก้] พระราชกรณียกิจ


    <DL><DD>ดูบทความหลักที่ เหตุการณ์สำคัญในรัชกาลที่ 6

    </DD></DL>[แก้] ด้านการศึกษา

    ในด้านการศึกษา ทรงริเริ่มสร้างโรงเรียนขึ้นแทนวัดประจำรัชกาล ได้แก่ โรงเรียนมหาดเล็กหลวง ซึ่งในปัจจุบันคือโรงเรียนวชิราวุธวิทยาลัย ทั้งยังทรงสนับสนุนกิจการของโรงเรียนราชวิทยาลัยซึ่งพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ ให้สถาปนาขึ้นในปี พ.ศ. 2440 (ปัจจุบันคือโรงเรียน ภ.ป.ร. ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์) และในปี พ.ศ. 2459 ได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ประดิษฐาน “โรงเรียนข้าราชการพลเรือนของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว” ขึ้นเป็น “จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย” ซึ่งเป็นมหาวิทยาลัยแห่งแรกของประเทศไทย
    [แก้] ด้านการเศรษฐกิจ

    ได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตราพระราชบัญญัติคลังออมสิน พ.ศ. 2456 ขึ้น เพื่อให้ประชาชนรู้จักออมทรัพย์และเพื่อความมั่นคงในด้านเศรษฐกิจของประเทศ อีกทั้งยังทรงริเริ่มก่อตั้งบริษัทปูนซิเมนต์ไทยขึ้น
    [แก้] ด้านการคมนาคม

    ในปี พ.ศ. 2460 ทรงตั้งกรมรถไฟหลวง และเริ่มเปิดการเดินรถไฟสายกรุงเทพฯ ถึงเชียงใหม่ สายใต้จากธนบุรีเชื่อมกับปีนังและสิงคโปร์ อีกทั้งยังทรงโปรดเกล้าฯ ให้สร้างสะพานพระราม 6 เพี่อเชื่อมทางรถไฟไปยังภูมิภาคอื่น
    [แก้] ด้านศิลปวัฒนธรรมไทย

    ทรงตั้งกรมมหรสพ เพื่อฟื้นฟูศิลปวัฒนธรรมไทย และยังได้ทรงสร้างโรงละครหลวงไว้ในพระราชวังทุกแห่ง นอกจากนี้ ยังทรงสนพระราชหฤทัยด้านจิตรกรรมและสถาปัตยกรรมไทย
    [แก้] ด้านการต่างประเทศ

    พระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัวได้ทรงมีพระบรมราชโองการประกาศสงครามกับประเทศฝ่ายเยอรมัน ในสงครามโลกครั้งที่ 1 เมื่อวันที่ 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2460 โดยประเทศไทยได้เข้าร่วมกับประเทศฝ่ายสัมพันธมิตร ซึ่งประกอบด้วยประเทศอังกฤษ ฝรั่งเศส และรัสเซียเป็นผู้นำ พร้อมทั้งได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ส่งทหารไทยอาสาสมัครไปร่วมรบในสมรภูมิยุโรปด้วย ผลของสงครามประเทศฝ่ายสัมพันธมิตรได้ชัยชนะ ทำให้ประเทศไทยมีโอกาสเจรจากับประเทศมหาอำนาจหลายประเทศ ในการแก้ไขสนธิสัญญาที่ไม่เป็นธรรม เช่น สนธิสัญญาสิทธิสภาพนอกอาณาเขต สนธิสัญญาจำกัดอำนาจการเก็บภาษีของพระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว และ สนธิสัญญาจำกัดอำนาจกลางประเทศไทย
    [แก้] ด้านการแพทย์และการสาธารณสุข

    ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตั้งโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์และวชิรพยาบาล และทรงเปิดการประปากรุงเทพฯ เมื่อวันที่ 14 พฤศจิกายน พ.ศ. 2457
    [แก้] ด้านกิจการเสือป่าและลูกเสือ

    ทรงจัดตั้งกองเสือป่าเมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2454 และทรงจัดตั้งกองลูกเสือกองแรกขึ้นที่โรงเรียนมหาดเล็กหลวง (วชิราวุธวิทยาลัย ในปัจจุบัน) ด้านการฝึกสอนระบอบประชาธิปไตย ทรงทดลองตั้ง "เมืองมัง" หลังพระตำหนักจิตรลดาเดิม ทรงจัดให้เมืองมัง มีระบอบการปกครองของตนเองตามวิถีทางประชาธิปไตย รวมถึงเมืองจำลอง "ดุสิตธานี" ในพระราชวังดุสิต (ต่อมาทรงย้ายไปที่พระราชวังพญาไท)
    [แก้] ด้านวรรณกรรมและหนังสือพิมพ์

    ทรงส่งเสริมให้มีการแต่งหนังสือ โดยทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตราพระราชบัญญัติวรรณคดีสโมสร สำหรับในด้านงานหนังสือพิมพ์ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตราพระราชบัญญัติสมุด เอกสาร พ.ศ. 2465 ขึ้น
    [แก้] ราชตระกูล
     
  17. :::เพชร:::

    :::เพชร::: เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    8,584
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +36,137
    <CENTER>พระราชตระกูลในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว

    </CENTER><CENTER><TABLE style="LINE-HEIGHT: 110%; FONT-SIZE: 90%" border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0><TBODY><TR align=middle><TD rowSpan=62>

    </TD><TD rowSpan=62>

    </TD><TD rowSpan=62>

    </TD><TD rowSpan=30>

    </TD><TD rowSpan=30>

    </TD><TD rowSpan=30>

    </TD><TD rowSpan=14>

    </TD><TD rowSpan=14>

    </TD><TD rowSpan=14>

    </TD><TD rowSpan=6>

    </TD><TD rowSpan=6>

    </TD><TD rowSpan=6>

    </TD><TD rowSpan=2>

    </TD><TD rowSpan=2>

    </TD><TD rowSpan=2>

    </TD><TD rowSpan=2>

    </TD><TD rowSpan=2>

    </TD></TR><TR align=middle><TD></TD></TR><TR align=middle><TD>

    </TD><TD style="BORDER-BOTTOM: black 1px solid; BORDER-LEFT: black 1px solid; PADDING-BOTTOM: 0px; BACKGROUND-COLOR: #9fe; PADDING-LEFT: 0.2em; PADDING-RIGHT: 0.2em; BORDER-TOP: black 1px solid; BORDER-RIGHT: black 1px solid; PADDING-TOP: 0px" rowSpan=2 colSpan=4>พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช</TD></TR><TR align=middle><TD style="BORDER-LEFT: black 1px solid; BORDER-TOP: black 1px solid">

    </TD></TR><TR align=middle><TD style="BORDER-LEFT: black 1px solid" rowSpan=2>

    </TD><TD rowSpan=2>

    </TD><TD rowSpan=2>

    </TD><TD rowSpan=2>

    </TD><TD rowSpan=2>

    </TD></TR><TR align=middle><TD></TD></TR><TR align=middle><TD>

    </TD><TD style="BORDER-BOTTOM: black 1px solid; BORDER-LEFT: black 1px solid; PADDING-BOTTOM: 0px; BACKGROUND-COLOR: #bfc; PADDING-LEFT: 0.2em; PADDING-RIGHT: 0.2em; BORDER-TOP: black 1px solid; BORDER-RIGHT: black 1px solid; PADDING-TOP: 0px" rowSpan=2 colSpan=4>พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย</TD><TD rowSpan=2 colSpan=3>

    </TD></TR><TR align=middle><TD style="BORDER-LEFT: black 1px solid; BORDER-TOP: black 1px solid">

    </TD></TR><TR align=middle><TD style="BORDER-LEFT: black 1px solid" rowSpan=6>

    </TD><TD rowSpan=6>

    </TD><TD rowSpan=6>

    </TD><TD style="BORDER-LEFT: black 1px solid" rowSpan=2>

    </TD><TD rowSpan=2>

    </TD><TD rowSpan=2>

    </TD><TD rowSpan=2>

    </TD><TD rowSpan=2>

    </TD></TR><TR align=middle><TD></TD></TR><TR align=middle><TD style="BORDER-BOTTOM: black 1px solid; BORDER-LEFT: black 1px solid">

    </TD><TD style="BORDER-BOTTOM: black 1px solid; BORDER-LEFT: black 1px solid; PADDING-BOTTOM: 0px; BACKGROUND-COLOR: #9fe; PADDING-LEFT: 0.2em; PADDING-RIGHT: 0.2em; BORDER-TOP: black 1px solid; BORDER-RIGHT: black 1px solid; PADDING-TOP: 0px" rowSpan=2 colSpan=4>สมเด็จพระอมรินทราบรมราชินี</TD></TR><TR align=middle><TD>

    </TD></TR><TR align=middle><TD rowSpan=2>

    </TD><TD rowSpan=2>

    </TD><TD rowSpan=2>

    </TD><TD rowSpan=2>

    </TD><TD rowSpan=2>

    </TD></TR><TR align=middle><TD></TD></TR><TR align=middle><TD>

    </TD><TD style="BORDER-BOTTOM: black 1px solid; BORDER-LEFT: black 1px solid; PADDING-BOTTOM: 0px; BACKGROUND-COLOR: #ffc; PADDING-LEFT: 0.2em; PADDING-RIGHT: 0.2em; BORDER-TOP: black 1px solid; BORDER-RIGHT: black 1px solid; PADDING-TOP: 0px" rowSpan=2 colSpan=4>พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว</TD><TD rowSpan=2 colSpan=6>

    </TD></TR><TR align=middle><TD style="BORDER-LEFT: black 1px solid; BORDER-TOP: black 1px solid">

    </TD></TR><TR align=middle><TD style="BORDER-LEFT: black 1px solid" rowSpan=14>

    </TD><TD rowSpan=14>

    </TD><TD rowSpan=14>

    </TD><TD style="BORDER-LEFT: black 1px solid" rowSpan=6>

    </TD><TD rowSpan=6>

    </TD><TD rowSpan=6>

    </TD><TD rowSpan=2>

    </TD><TD rowSpan=2>

    </TD><TD rowSpan=2>

    </TD><TD rowSpan=2>

    </TD><TD rowSpan=2>

    </TD></TR><TR align=middle><TD></TD></TR><TR align=middle><TD>

    </TD><TD style="BORDER-BOTTOM: black 1px solid; BORDER-LEFT: black 1px solid; PADDING-BOTTOM: 0px; BACKGROUND-COLOR: #9fe; PADDING-LEFT: 0.2em; PADDING-RIGHT: 0.2em; BORDER-TOP: black 1px solid; BORDER-RIGHT: black 1px solid; PADDING-TOP: 0px" rowSpan=2 colSpan=4>เจ้าขรัวเงิน</TD></TR><TR align=middle><TD style="BORDER-LEFT: black 1px solid; BORDER-TOP: black 1px solid">

    </TD></TR><TR align=middle><TD style="BORDER-LEFT: black 1px solid" rowSpan=2>

    </TD><TD rowSpan=2>

    </TD><TD rowSpan=2>

    </TD><TD rowSpan=2>

    </TD><TD rowSpan=2>

    </TD></TR><TR align=middle><TD></TD></TR><TR align=middle><TD style="BORDER-BOTTOM: black 1px solid; BORDER-LEFT: black 1px solid">

    </TD><TD style="BORDER-BOTTOM: black 1px solid; BORDER-LEFT: black 1px solid; PADDING-BOTTOM: 0px; BACKGROUND-COLOR: #bfc; PADDING-LEFT: 0.2em; PADDING-RIGHT: 0.2em; BORDER-TOP: black 1px solid; BORDER-RIGHT: black 1px solid; PADDING-TOP: 0px" rowSpan=2 colSpan=4>สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินี</TD><TD rowSpan=2 colSpan=3>

    </TD></TR><TR align=middle><TD>

    </TD></TR><TR align=middle><TD rowSpan=6>

    </TD><TD rowSpan=6>

    </TD><TD rowSpan=6>

    </TD><TD style="BORDER-LEFT: black 1px solid" rowSpan=2>

    </TD><TD rowSpan=2>

    </TD><TD rowSpan=2>

    </TD><TD rowSpan=2>

    </TD><TD rowSpan=2>

    </TD></TR><TR align=middle><TD></TD></TR><TR align=middle><TD style="BORDER-BOTTOM: black 1px solid; BORDER-LEFT: black 1px solid">

    </TD><TD style="BORDER-BOTTOM: black 1px solid; BORDER-LEFT: black 1px solid; PADDING-BOTTOM: 0px; BACKGROUND-COLOR: #9fe; PADDING-LEFT: 0.2em; PADDING-RIGHT: 0.2em; BORDER-TOP: black 1px solid; BORDER-RIGHT: black 1px solid; PADDING-TOP: 0px" rowSpan=2 colSpan=4>สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระศรีสุดารักษ์</TD></TR><TR align=middle><TD>

    </TD></TR><TR align=middle><TD rowSpan=2>

    </TD><TD rowSpan=2>

    </TD><TD rowSpan=2>

    </TD><TD rowSpan=2>

    </TD><TD rowSpan=2>

    </TD></TR><TR align=middle><TD></TD></TR><TR align=middle><TD>

    </TD><TD style="BORDER-BOTTOM: black 1px solid; BORDER-LEFT: black 1px solid; PADDING-BOTTOM: 0px; BACKGROUND-COLOR: #fb9; PADDING-LEFT: 0.2em; PADDING-RIGHT: 0.2em; BORDER-TOP: black 1px solid; BORDER-RIGHT: black 1px solid; PADDING-TOP: 0px" rowSpan=2 colSpan=4>พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว</TD><TD rowSpan=2 colSpan=9>

    </TD></TR><TR align=middle><TD style="BORDER-LEFT: black 1px solid; BORDER-TOP: black 1px solid">

    </TD></TR><TR align=middle><TD style="BORDER-LEFT: black 1px solid" rowSpan=30>

    </TD><TD rowSpan=30>

    </TD><TD rowSpan=30>

    </TD><TD style="BORDER-LEFT: black 1px solid" rowSpan=14>

    </TD><TD rowSpan=14>

    </TD><TD rowSpan=14>

    </TD><TD rowSpan=6>

    </TD><TD rowSpan=6>

    </TD><TD rowSpan=6>

    </TD><TD rowSpan=2>

    </TD><TD rowSpan=2>

    </TD><TD rowSpan=2>

    </TD><TD rowSpan=2>

    </TD><TD rowSpan=2>

    </TD></TR><TR align=middle><TD></TD></TR><TR align=middle><TD>

    </TD><TD style="BORDER-BOTTOM: black 1px solid; BORDER-LEFT: black 1px solid; PADDING-BOTTOM: 0px; BACKGROUND-COLOR: #9fe; PADDING-LEFT: 0.2em; PADDING-RIGHT: 0.2em; BORDER-TOP: black 1px solid; BORDER-RIGHT: black 1px solid; PADDING-TOP: 0px" rowSpan=2 colSpan=4>พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว</TD></TR><TR align=middle><TD style="BORDER-LEFT: black 1px solid; BORDER-TOP: black 1px solid">

    </TD></TR><TR align=middle><TD style="BORDER-LEFT: black 1px solid">

    </TD><TD rowSpan=2>

    </TD><TD rowSpan=2>

    </TD><TD rowSpan=2>

    </TD><TD rowSpan=2>

    </TD></TR><TR align=middle><TD></TD></TR><TR align=middle><TD>

    </TD><TD style="BORDER-BOTTOM: black 1px solid; BORDER-LEFT: black 1px solid; PADDING-BOTTOM: 0px; BACKGROUND-COLOR: #bfc; PADDING-LEFT: 0.2em; PADDING-RIGHT: 0.2em; BORDER-TOP: black 1px solid; BORDER-RIGHT: black 1px solid; PADDING-TOP: 0px" rowSpan=2 colSpan=4>สมเด็จพระบรมราชมาตามหัยกาเธอ พระองค์เจ้าศิริวงศ์
    กรมหมื่นมาตยาพิทักษ์

    </TD><TD rowSpan=2 colSpan=3>

    </TD></TR><TR align=middle><TD style="BORDER-LEFT: black 1px solid; BORDER-TOP: black 1px solid">

    </TD></TR><TR align=middle><TD style="BORDER-LEFT: black 1px solid" rowSpan=6>

    </TD><TD rowSpan=6>

    </TD><TD rowSpan=6>

    </TD><TD style="BORDER-LEFT: black 1px solid" rowSpan=2>

    </TD><TD rowSpan=2>

    </TD><TD rowSpan=2>

    </TD><TD rowSpan=2>

    </TD><TD rowSpan=2>

    </TD></TR><TR align=middle><TD></TD></TR><TR align=middle><TD style="BORDER-BOTTOM: black 1px solid; BORDER-LEFT: black 1px solid">

    </TD><TD style="BORDER-BOTTOM: black 1px solid; BORDER-LEFT: black 1px solid; PADDING-BOTTOM: 0px; BACKGROUND-COLOR: #9fe; PADDING-LEFT: 0.2em; PADDING-RIGHT: 0.2em; BORDER-TOP: black 1px solid; BORDER-RIGHT: black 1px solid; PADDING-TOP: 0px" rowSpan=2 colSpan=4>เจ้าจอมมารดาทรัพย์</TD></TR><TR align=middle><TD>

    </TD></TR><TR align=middle><TD rowSpan=2>

    </TD><TD rowSpan=2>

    </TD><TD rowSpan=2>

    </TD><TD rowSpan=2>

    </TD><TD rowSpan=2>

    </TD></TR><TR align=middle><TD></TD></TR><TR align=middle><TD style="BORDER-BOTTOM: black 1px solid; BORDER-LEFT: black 1px solid">

    </TD><TD style="BORDER-BOTTOM: black 1px solid; BORDER-LEFT: black 1px solid; PADDING-BOTTOM: 0px; BACKGROUND-COLOR: #ffc; PADDING-LEFT: 0.2em; PADDING-RIGHT: 0.2em; BORDER-TOP: black 1px solid; BORDER-RIGHT: black 1px solid; PADDING-TOP: 0px" rowSpan=2 colSpan=4>สมเด็จพระเทพศิรินทรามาตย์</TD><TD rowSpan=2 colSpan=6>

    </TD></TR><TR align=middle><TD>

    </TD></TR><TR align=middle><TD rowSpan=14>

    </TD><TD rowSpan=14>

    </TD><TD rowSpan=14>

    </TD><TD style="BORDER-LEFT: black 1px solid" rowSpan=6>

    </TD><TD rowSpan=6>

    </TD><TD rowSpan=6>

    </TD><TD rowSpan=2>

    </TD><TD rowSpan=2>

    </TD><TD rowSpan=2>

    </TD><TD rowSpan=2>

    </TD><TD rowSpan=2>

    </TD></TR><TR align=middle><TD></TD></TR><TR align=middle><TD>

    </TD><TD style="BORDER-BOTTOM: black 1px solid; BORDER-LEFT: black 1px solid; PADDING-BOTTOM: 0px; BACKGROUND-COLOR: #9fe; PADDING-LEFT: 0.2em; PADDING-RIGHT: 0.2em; BORDER-TOP: black 1px solid; BORDER-RIGHT: black 1px solid; PADDING-TOP: 0px" rowSpan=2 colSpan=4>เจ้าพระยาราชมนตรี (ภู่)</TD></TR><TR align=middle><TD style="BORDER-LEFT: black 1px solid; BORDER-TOP: black 1px solid">

    </TD></TR><TR align=middle><TD style="BORDER-LEFT: black 1px solid" rowSpan=2>

    </TD><TD rowSpan=2>

    </TD><TD rowSpan=2>

    </TD><TD rowSpan=2>

    </TD><TD rowSpan=2>

    </TD></TR><TR align=middle><TD></TD></TR><TR align=middle><TD style="BORDER-BOTTOM: black 1px solid; BORDER-LEFT: black 1px solid">

    </TD><TD style="BORDER-BOTTOM: black 1px solid; BORDER-LEFT: black 1px solid; PADDING-BOTTOM: 0px; BACKGROUND-COLOR: #bfc; PADDING-LEFT: 0.2em; PADDING-RIGHT: 0.2em; BORDER-TOP: black 1px solid; BORDER-RIGHT: black 1px solid; PADDING-TOP: 0px" rowSpan=2 colSpan=4>หม่อมน้อย ศิริวงศ์ ณ อยุธยา</TD><TD rowSpan=2 colSpan=3>

    </TD></TR><TR align=middle><TD>

    </TD></TR><TR align=middle><TD rowSpan=6>

    </TD><TD rowSpan=6>

    </TD><TD rowSpan=6>

    </TD><TD style="BORDER-LEFT: black 1px solid" rowSpan=2>

    </TD><TD rowSpan=2>

    </TD><TD rowSpan=2>

    </TD><TD rowSpan=2>

    </TD><TD rowSpan=2>

    </TD></TR><TR align=middle><TD></TD></TR><TR align=middle><TD style="BORDER-BOTTOM: black 1px solid; BORDER-LEFT: black 1px solid">

    </TD><TD style="BORDER-BOTTOM: black 1px solid; BORDER-LEFT: black 1px solid; PADDING-BOTTOM: 0px; BACKGROUND-COLOR: #9fe; PADDING-LEFT: 0.2em; PADDING-RIGHT: 0.2em; BORDER-TOP: black 1px solid; BORDER-RIGHT: black 1px solid; PADDING-TOP: 0px" rowSpan=2 colSpan=4>คุณม่วง</TD></TR><TR align=middle><TD>

    </TD></TR><TR align=middle><TD rowSpan=2>

    </TD><TD rowSpan=2>

    </TD><TD rowSpan=2>

    </TD><TD rowSpan=2>

    </TD><TD rowSpan=2>

    </TD></TR><TR align=middle><TD></TD></TR><TR align=middle><TD>

    </TD><TD style="BORDER-BOTTOM: black 1px solid; BORDER-LEFT: black 1px solid; PADDING-BOTTOM: 0px; BACKGROUND-COLOR: #fcc; PADDING-LEFT: 0.2em; PADDING-RIGHT: 0.2em; BORDER-TOP: black 1px solid; BORDER-RIGHT: black 1px solid; PADDING-TOP: 0px" rowSpan=2 colSpan=4>พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว</TD><TD rowSpan=2 colSpan=12>

    </TD></TR><TR align=middle><TD>

    </TD></TR><TR align=middle><TD rowSpan=62>

    </TD><TD rowSpan=62>

    </TD><TD rowSpan=62>

    </TD><TD style="BORDER-LEFT: black 1px solid" rowSpan=30>

    </TD><TD rowSpan=30>

    </TD><TD rowSpan=30>

    </TD><TD rowSpan=14>

    </TD><TD rowSpan=14>

    </TD><TD rowSpan=14>

    </TD><TD rowSpan=6>

    </TD><TD rowSpan=6>

    </TD><TD rowSpan=6>

    </TD><TD rowSpan=2>

    </TD><TD rowSpan=2>

    </TD><TD rowSpan=2>

    </TD><TD rowSpan=2>

    </TD><TD rowSpan=2>

    </TD></TR><TR align=middle><TD></TD></TR><TR align=middle><TD>

    </TD><TD style="BORDER-BOTTOM: black 1px solid; BORDER-LEFT: black 1px solid; PADDING-BOTTOM: 0px; BACKGROUND-COLOR: #9fe; PADDING-LEFT: 0.2em; PADDING-RIGHT: 0.2em; BORDER-TOP: black 1px solid; BORDER-RIGHT: black 1px solid; PADDING-TOP: 0px" rowSpan=2 colSpan=4>พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช</TD></TR><TR align=middle><TD style="BORDER-LEFT: black 1px solid; BORDER-TOP: black 1px solid">

    </TD></TR><TR align=middle><TD style="BORDER-LEFT: black 1px solid" rowSpan=2>

    </TD><TD rowSpan=2>

    </TD><TD rowSpan=2>

    </TD><TD rowSpan=2>

    </TD><TD rowSpan=2>

    </TD></TR><TR align=middle><TD></TD></TR><TR align=middle><TD>

    </TD><TD style="BORDER-BOTTOM: black 1px solid; BORDER-LEFT: black 1px solid; PADDING-BOTTOM: 0px; BACKGROUND-COLOR: #bfc; PADDING-LEFT: 0.2em; PADDING-RIGHT: 0.2em; BORDER-TOP: black 1px solid; BORDER-RIGHT: black 1px solid; PADDING-TOP: 0px" rowSpan=2 colSpan=4>พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย</TD><TD rowSpan=2 colSpan=3>

    </TD></TR><TR align=middle><TD style="BORDER-LEFT: black 1px solid; BORDER-TOP: black 1px solid">

    </TD></TR><TR align=middle><TD style="BORDER-LEFT: black 1px solid" rowSpan=6>

    </TD><TD rowSpan=6>

    </TD><TD rowSpan=6>

    </TD><TD style="BORDER-LEFT: black 1px solid" rowSpan=2>

    </TD><TD rowSpan=2>

    </TD><TD rowSpan=2>

    </TD><TD rowSpan=2>

    </TD><TD rowSpan=2>

    </TD></TR><TR align=middle><TD></TD></TR><TR align=middle><TD style="BORDER-BOTTOM: black 1px solid; BORDER-LEFT: black 1px solid">

    </TD><TD style="BORDER-BOTTOM: black 1px solid; BORDER-LEFT: black 1px solid; PADDING-BOTTOM: 0px; BACKGROUND-COLOR: #9fe; PADDING-LEFT: 0.2em; PADDING-RIGHT: 0.2em; BORDER-TOP: black 1px solid; BORDER-RIGHT: black 1px solid; PADDING-TOP: 0px" rowSpan=2 colSpan=4>สมเด็จพระอมรินทราบรมราชินี</TD></TR><TR align=middle><TD>

    </TD></TR><TR align=middle><TD rowSpan=2>

    </TD><TD rowSpan=2>

    </TD><TD rowSpan=2>

    </TD><TD rowSpan=2>

    </TD><TD rowSpan=2>

    </TD></TR><TR align=middle><TD></TD></TR><TR align=middle><TD>

    </TD><TD style="BORDER-BOTTOM: black 1px solid; BORDER-LEFT: black 1px solid; PADDING-BOTTOM: 0px; BACKGROUND-COLOR: #ffc; PADDING-LEFT: 0.2em; PADDING-RIGHT: 0.2em; BORDER-TOP: black 1px solid; BORDER-RIGHT: black 1px solid; PADDING-TOP: 0px" rowSpan=2 colSpan=4>พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว</TD><TD rowSpan=2 colSpan=6>

    </TD></TR><TR align=middle><TD style="BORDER-LEFT: black 1px solid; BORDER-TOP: black 1px solid">

    </TD></TR><TR align=middle><TD style="BORDER-LEFT: black 1px solid" rowSpan=14>

    </TD><TD rowSpan=14>

    </TD><TD rowSpan=14>

    </TD><TD style="BORDER-LEFT: black 1px solid" rowSpan=6>

    </TD><TD rowSpan=6>

    </TD><TD rowSpan=6>

    </TD><TD rowSpan=2>

    </TD><TD rowSpan=2>

    </TD><TD rowSpan=2>

    </TD><TD rowSpan=2>

    </TD><TD rowSpan=2>

    </TD></TR><TR align=middle><TD></TD></TR><TR align=middle><TD>

    </TD><TD style="BORDER-BOTTOM: black 1px solid; BORDER-LEFT: black 1px solid; PADDING-BOTTOM: 0px; BACKGROUND-COLOR: #9fe; PADDING-LEFT: 0.2em; PADDING-RIGHT: 0.2em; BORDER-TOP: black 1px solid; BORDER-RIGHT: black 1px solid; PADDING-TOP: 0px" rowSpan=2 colSpan=4>เจ้าขรัวเงิน</TD></TR><TR align=middle><TD style="BORDER-LEFT: black 1px solid; BORDER-TOP: black 1px solid">

    </TD></TR><TR align=middle><TD style="BORDER-LEFT: black 1px solid" rowSpan=2>

    </TD><TD rowSpan=2>

    </TD><TD rowSpan=2>

    </TD><TD rowSpan=2>

    </TD><TD rowSpan=2>

    </TD></TR><TR align=middle><TD></TD></TR><TR align=middle><TD style="BORDER-BOTTOM: black 1px solid; BORDER-LEFT: black 1px solid">

    </TD><TD style="BORDER-BOTTOM: black 1px solid; BORDER-LEFT: black 1px solid; PADDING-BOTTOM: 0px; BACKGROUND-COLOR: #bfc; PADDING-LEFT: 0.2em; PADDING-RIGHT: 0.2em; BORDER-TOP: black 1px solid; BORDER-RIGHT: black 1px solid; PADDING-TOP: 0px" rowSpan=2 colSpan=4>สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินี</TD><TD rowSpan=2 colSpan=3>

    </TD></TR><TR align=middle><TD>

    </TD></TR><TR align=middle><TD rowSpan=6>

    </TD><TD rowSpan=6>

    </TD><TD rowSpan=6>

    </TD><TD style="BORDER-LEFT: black 1px solid" rowSpan=2>

    </TD><TD rowSpan=2>

    </TD><TD rowSpan=2>

    </TD><TD rowSpan=2>

    </TD><TD rowSpan=2>

    </TD></TR><TR align=middle><TD></TD></TR><TR align=middle><TD style="BORDER-BOTTOM: black 1px solid; BORDER-LEFT: black 1px solid">

    </TD><TD style="BORDER-BOTTOM: black 1px solid; BORDER-LEFT: black 1px solid; PADDING-BOTTOM: 0px; BACKGROUND-COLOR: #9fe; PADDING-LEFT: 0.2em; PADDING-RIGHT: 0.2em; BORDER-TOP: black 1px solid; BORDER-RIGHT: black 1px solid; PADDING-TOP: 0px" rowSpan=2 colSpan=4>สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระศรีสุดารักษ์</TD></TR><TR align=middle><TD>

    </TD></TR><TR align=middle><TD rowSpan=2>

    </TD><TD rowSpan=2>

    </TD><TD rowSpan=2>

    </TD><TD rowSpan=2>

    </TD><TD rowSpan=2>

    </TD></TR><TR align=middle><TD></TD></TR><TR align=middle><TD style="BORDER-BOTTOM: black 1px solid; BORDER-LEFT: black 1px solid">

    </TD><TD style="BORDER-BOTTOM: black 1px solid; BORDER-LEFT: black 1px solid; PADDING-BOTTOM: 0px; BACKGROUND-COLOR: #fb9; PADDING-LEFT: 0.2em; PADDING-RIGHT: 0.2em; BORDER-TOP: black 1px solid; BORDER-RIGHT: black 1px solid; PADDING-TOP: 0px" rowSpan=2 colSpan=4>สมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ
    พระบรมราชชนนี พระพันปีหลวง

    </TD><TD rowSpan=2 colSpan=9>

    </TD></TR><TR align=middle><TD>

    </TD></TR><TR align=middle><TD rowSpan=30>

    </TD><TD rowSpan=30>

    </TD><TD rowSpan=30>

    </TD><TD style="BORDER-LEFT: black 1px solid" rowSpan=14>

    </TD><TD rowSpan=14>

    </TD><TD rowSpan=14>

    </TD><TD rowSpan=6>

    </TD><TD rowSpan=6>

    </TD><TD rowSpan=6>

    </TD><TD rowSpan=6>

    </TD><TD rowSpan=6>

    </TD><TD rowSpan=6>

    </TD><TD rowSpan=6>

    </TD><TD rowSpan=6>

    </TD></TR><TR align=middle><TD></TD></TR><TR align=middle><TD></TD></TR><TR align=middle><TD></TD></TR><TR align=middle><TD></TD></TR><TR align=middle><TD></TD></TR><TR align=middle><TD>

    </TD><TD style="BORDER-BOTTOM: black 1px solid; BORDER-LEFT: black 1px solid; PADDING-BOTTOM: 0px; BACKGROUND-COLOR: #bfc; PADDING-LEFT: 0.2em; PADDING-RIGHT: 0.2em; BORDER-TOP: black 1px solid; BORDER-RIGHT: black 1px solid; PADDING-TOP: 0px" rowSpan=2 colSpan=4>หลวงอาสาสำแดง (แตง)</TD><TD rowSpan=2 colSpan=3>

    </TD></TR><TR align=middle><TD style="BORDER-LEFT: black 1px solid; BORDER-TOP: black 1px solid">

    </TD></TR><TR align=middle><TD style="BORDER-LEFT: black 1px solid" rowSpan=6>

    </TD><TD rowSpan=6>

    </TD><TD rowSpan=6>

    </TD><TD rowSpan=6>

    </TD><TD rowSpan=6>

    </TD><TD rowSpan=6>

    </TD><TD rowSpan=6>

    </TD><TD>

    </TD></TR><TR align=middle><TD></TD></TR><TR align=middle><TD></TD></TR><TR align=middle><TD></TD></TR><TR align=middle><TD></TD></TR><TR align=middle><TD></TD></TR><TR align=middle><TD style="BORDER-BOTTOM: black 1px solid; BORDER-LEFT: black 1px solid">

    </TD><TD style="BORDER-BOTTOM: black 1px solid; BORDER-LEFT: black 1px solid; PADDING-BOTTOM: 0px; BACKGROUND-COLOR: #ffc; PADDING-LEFT: 0.2em; PADDING-RIGHT: 0.2em; BORDER-TOP: black 1px solid; BORDER-RIGHT: black 1px solid; PADDING-TOP: 0px" rowSpan=2 colSpan=4>สมเด็จพระปิยมาวดี ศรีพัชรินทรมาตา
    (เจ้าคุณจอมมารดาเปี่ยม)

    </TD><TD rowSpan=2 colSpan=6>

    </TD></TR><TR align=middle><TD>

    </TD></TR><TR align=middle><TD rowSpan=14>

    </TD><TD rowSpan=14>

    </TD><TD rowSpan=14>

    </TD><TD style="BORDER-LEFT: black 1px solid" rowSpan=6>

    </TD><TD rowSpan=6>

    </TD><TD rowSpan=6>

    </TD><TD rowSpan=6>

    </TD><TD rowSpan=6>

    </TD><TD rowSpan=6>

    </TD><TD rowSpan=6>

    </TD><TD rowSpan=6>

    </TD></TR><TR align=middle><TD></TD></TR><TR align=middle><TD></TD></TR><TR align=middle><TD></TD></TR><TR align=middle><TD></TD></TR><TR align=middle><TD></TD></TR><TR align=middle><TD style="BORDER-BOTTOM: black 1px solid; BORDER-LEFT: black 1px solid">

    </TD><TD style="BORDER-BOTTOM: black 1px solid; BORDER-LEFT: black 1px solid; PADDING-BOTTOM: 0px; BACKGROUND-COLOR: #bfc; PADDING-LEFT: 0.2em; PADDING-RIGHT: 0.2em; BORDER-TOP: black 1px solid; BORDER-RIGHT: black 1px solid; PADDING-TOP: 0px" rowSpan=2 colSpan=4>ท้าวสุจริตธำรง (นาค)</TD><TD rowSpan=2 colSpan=3>

    </TD></TR><TR align=middle><TD>

    </TD></TR><TR align=middle><TD rowSpan=6>

    </TD><TD rowSpan=6>

    </TD><TD rowSpan=6>

    </TD><TD rowSpan=6>

    </TD><TD rowSpan=6>

    </TD><TD rowSpan=6>

    </TD><TD rowSpan=6>

    </TD><TD rowSpan=6>

    </TD></TR><TR align=middle><TD></TD></TR><TR align=middle><TD></TD></TR><TR align=middle><TD></TD></TR><TR align=middle><TD></TD></TR><TR align=middle><TD></TD></TR></TBODY></TABLE></CENTER>[แก้] อ้างอิง


    1. ^ การก่อพระฤกษ์โรงเรียนมหาดเล็กหลวง
    2. ^ ราชกิจจานุเบกษา, พระบรมราชโองการ ประกาศ เฉลิมพระปรมาภิไธย, เล่ม 33, ตอน 0ก, 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2459, หน้า 212
    3. ^ พระราชประวัติพระบาทสมเด็จพระศรีสินทรมหามงกุฎเกล้าเจ้ากรุงสยาม (บางตอน) และพระราชนิพนธ์อันเป็นสุดที่รัก เรื่อง พระนล คำหลวง, หน้า 17
    4. ^ พระราชประวัติพระบาทสมเด็จพระศรีสินทรมหาวชิราวุธ พระมงกุฎเกล้าเจ้ากรุงสยาม (บางตอน) และพระราชนิพนธ์อันเป็นสุดที่รัก เรื่อง พระนล คำหลวง, หน้า 18
    5. ^ ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศการรับพระสุพรรณบัตร สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้ามหาวชิราวุธ, เล่ม ๕, ตอน ๕๐, ๓๐ เมษายน พ.ศ. ๑๘๘๘, หน้า ๔๔๐
    6. ^ พระราชประวัติพระบาทสมเด็จพระศรีสินทรมหาวชิราวุธ พระมงกุฎเกล้าเจ้ากรุงสยาม (บางตอน) และพระราชนิพนธ์อันเป็นสุดที่รัก เรื่อง พระนล คำหลวง, หน้า 19
    7. ^ สุกัญญา ตีระวนิช. พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวกับการหนังสือพิมพ์ --: โรงพิมพ์ชวนพิมพ์ กรุงเทพฯ, ISBN 974-7442-60-4
    8. ^ พระราชประวัติพระบาทสมเด็จพระศรีสินทรมหาวชิราวุธ พระมงกุฎเกล้าเจ้ากรุงสยาม (บางตอน) และพระราชนิพนธ์อันเป็นสุดที่รัก เรื่อง พระนล คำหลวง, หน้า 20
    9. ^ พระราชประวัติพระบาทสมเด็จพระศรีสินทรมหาวชิราวุธ พระมงกุฎเกล้าเจ้ากรุงสยาม (บางตอน) และพระราชนิพนธ์อันเป็นสุดที่รัก เรื่อง พระนล คำหลวง, หน้า 39
    10. ^ พระราชประวัติพระบาทสมเด็จพระศรีสินทรมหาวชิราวุธ พระมงกุฎเกล้าเจ้ากรุงสยาม (บางตอน) และพระราชนิพนธ์อันเป็นสุดที่รัก เรื่อง พระนล คำหลวง, หน้า 21
    11. ^ พระราชประวัติพระบาทสมเด็จพระศรีสินทรมหาวชิราวุธ พระมงกุฎเกล้าเจ้ากรุงสยาม (บางตอน) และพระราชนิพนธ์อันเป็นสุดที่รัก เรื่อง พระนล คำหลวง, หน้า 22
    12. ^ พระราชประวัติพระบาทสมเด็จพระศรีสินทรมหาวชิราวุธ พระมงกุฎเกล้าเจ้ากรุงสยาม (บางตอน) และพระราชนิพนธ์อันเป็นสุดที่รัก เรื่อง พระนล คำหลวง, หน้า 23
    13. ^ ราชกิจจานุเบกษา, ข่าวพระบาทสมเด็จพระรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราวุธ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว เสด็จสวรรคต, เล่ม 42, ตอน 0 ง, 6 ธันวาคม พ.ศ. 2468, หน้า 2703
    14. ^ ตราราชวงศ์จักรี และพระราชลัญจกร ประจำพระมหากษัตริย์ในรัชกาลต่าง ๆ จากเว็บไซต์ บ้านฝันดอตคอม
    15. ^ สนเทศน่ารู้ : พระราชลัญจกรประจำรัชกาล, สำนักหอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยรามคำแหง
    [แก้] บรรณานุกรม


    • สำนักพิมพ์จดหมายเหตุ. พระราชประวัติพระบาทสมเด็จพระศรีสินทรมหาวชิราวุธ พระมงกุฎเกล้าเจ้ากรุงสยาม (บางตอน) และพระราชนิพนธ์อันเป็นสุดที่รัก เรื่อง พระนล คำหลวง -- : สำนักพิมพ์จดหมายเหตุ, ISBN 974-91328-6-3
    • รายงานประจำปี กรมรถไฟหลวง พ.ศ. 2460, โรงพิมพ์กรมรถไฟหลวง, พ.ศ. 2461 (เก็บรักษาไว้ที่หอจดหมายเหตุแห่งชาติ)
    • รายงานประจำปี กรมรถไฟหลวง พ.ศ. 2461, โรงพิมพ์กรมรถไฟหลวง, พ.ศ. 2462 (เก็บรักษาไว้ที่หอจดหมายเหตุแห่งชาติ)
    • รายงานประจำปี กรมรถไฟหลวง พ.ศ. 2462, โรงพิมพ์กรมรถไฟหลวง, พ.ศ. 2463 (เก็บรักษาไว้ที่หอจดหมายเหตุแห่งชาติ)
    • รายงานประจำปี กรมรถไฟหลวง พ.ศ. 2463, โรงพิมพ์กรมรถไฟหลวง, พ.ศ. 2464 (เก็บรักษาไว้ที่หอจดหมายเหตุแห่งชาติ)
    • รายงานประจำปี กรมรถไฟหลวง พ.ศ. 2464, โรงพิมพ์กรมรถไฟแผ่นดิน, พ.ศ. 2465 (เก็บรักษาไว้ที่หอจดหมายเหตุแห่งชาติ)
    • รายงานประจำปี กรมรถไฟหลวง พ.ศ. 2467, , โรงพิมพ์กรมรถไฟแผ่นดิน, พ.ศ. 2468 (เก็บรักษาไว้ที่หอจดหมายเหตุแห่งชาติ)
    • เพื่อระฦกถึงพระคุณพระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมพระกำแพงเพ็ชรอัครโยธิน, โรงพิมพ์กรมรถไฟ, พ.ศ. 2480
    • ที่ระลึกสยามรัฐพิพิธภัณฑ์ สวนลุมพินี พ.ศ. 2468 โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, พ.ศ. 2550 (Reprint จากฉบับพิมพ์โรงพิมพ์กรุงเทพเดลิเมล์ พ.ศ. 2470)
    • จดหมายเหตุพระราชกิจรายวันในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาประชาธิปก พระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 7 ภาคต้น พิมพ์โดยสำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี, กรุงเทพ 2537
    • จดหมายเหตุพระราชกิจรายวันในพระบาทสมเด็จพระปรเมทรมหาวชิราวุธ พระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว ฉบับปี ค.ศ. 1925 (เก็บรักษาไว้ที่หอสมุดแห่งชาติ)
    • พระบาทสมเด็จพระปรเมทรมหาวชิราวุธ พระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว, ประวัติต้นรัชกาลที่ 6, สำนักพิมพ์มติชน พ.ศ. 2545
    • พระบาทสมเด็จพระปรเมทรมหาวชิราวุธ พระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว, จดหมายเหตุรายวัน ของ พระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว พระพุทธศักราช ๒๔๖๖ เป็นปีที่ ๑๔ ในรัชกาล, มานวสาร ปีที่ ๑๒ ฉบับที่ ๕ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๓๒ ถึง ปีที่ ๑๔ ฉบับที่ ๓ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๓๔
    [แก้] ดูเพิ่ม


    [แก้] แหล่งข้อมูลอื่น


    [​IMG]


    <TABLE style="BORDER-BOTTOM: #aaa 1px solid; BORDER-LEFT: #aaa 1px solid; BACKGROUND-COLOR: #f7f8ff; MARGIN: 0px auto; WIDTH: 80%; BORDER-COLLAPSE: collapse; FONT-SIZE: 95%; BORDER-TOP: #aaa 1px solid; BORDER-RIGHT: #aaa 1px solid" class=wikitable><TBODY><TR><TH>สมัยก่อนหน้า</TH><TH></TH><TH>พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว</TH><TH></TH><TH>สมัยถัดไป</TH></TR><TR style="TEXT-ALIGN: center; VERTICAL-ALIGN: middle"><TD style="BACKGROUND-COLOR: #ffcc00; WIDTH: 26%">สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิรุณหิศ สยามมกุฎราชกุมาร</TD><TD style="WIDTH: 4%">[​IMG]</TD><TD style="PADDING-BOTTOM: 0.5em; PADDING-LEFT: 0px; WIDTH: 40%; PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-TOP: 0.5em">[​IMG]
    สยามมกุฎราชกุมาร
    (พ.ศ. 2437-พ.ศ. 2453)
    </TD><TD style="WIDTH: 4%">[​IMG]</TD><TD style="BACKGROUND-COLOR: #ffcc00; WIDTH: 26%">สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิราลงกรณ สยามมกุฎราชกุมาร</TD></TR><TR style="TEXT-ALIGN: center; VERTICAL-ALIGN: middle"><TD style="BACKGROUND-COLOR: #ffcc00; WIDTH: 26%">พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว</TD><TD style="WIDTH: 4%">[​IMG]</TD><TD style="PADDING-BOTTOM: 0.5em; PADDING-LEFT: 0px; WIDTH: 40%; PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-TOP: 0.5em">[​IMG]
    พระมหากษัตริย์แห่งราชอาณาจักรสยาม
    (ราชวงศ์จักรี)
    (พ.ศ. 2453 - พ.ศ. 2468)
    </TD><TD style="WIDTH: 4%">[​IMG]</TD><TD style="BACKGROUND-COLOR: #ffcc00; WIDTH: 26%">พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว</TD></TR></TBODY></TABLE>

    <TABLE class=navbox cellSpacing=0><TBODY><TR><TD style="PADDING-BOTTOM: 2px; PADDING-LEFT: 2px; PADDING-RIGHT: 2px; PADDING-TOP: 2px"><TABLE style="WIDTH: 100%; BACKGROUND: none transparent scroll repeat 0% 0%" id=collapsibleTable0 class="nowraplinks collapsible autocollapse" cellSpacing=0><TBODY><TR><TH style="BACKGROUND: #0000ff" class=navbox-title colSpan=3>[แสดง]
    </TH></TR><TR style="DISPLAY: none; HEIGHT: 2px"><TD></TD></TR><TR style="DISPLAY: none"><TH style="WHITE-SPACE: nowrap" class=navbox-group>สมัยกรุงสุโขทัย</TH><TD style="TEXT-ALIGN: left; BORDER-LEFT: #fdfdfd 2px solid; PADDING-BOTTOM: 0px; PADDING-LEFT: 0px; WIDTH: 100%; PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-TOP: 0px" class="navbox-list navbox-odd">พ่อขุนศรีอินทราทิตย์พ่อขุนบานเมืองพ่อขุนรามคำแหงมหาราชพระยาเลอไทพระยางั่วนำถมพระมหาธรรมราชาที่ 1พระมหาธรรมราชาที่ 2พระมหาธรรมราชาที่ 3พระมหาธรรมราชาที่ 4

    </TD><TD style="PADDING-BOTTOM: 0px; PADDING-LEFT: 2px; WIDTH: 0%; PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-TOP: 0px" rowSpan=7>[​IMG]</TD></TR><TR style="DISPLAY: none; HEIGHT: 2px"><TD></TD></TR><TR style="DISPLAY: none"><TH style="WHITE-SPACE: nowrap" class=navbox-group>สมัยกรุงศรีอยุธยา</TH><TD style="TEXT-ALIGN: left; BORDER-LEFT: #fdfdfd 2px solid; PADDING-BOTTOM: 0px; PADDING-LEFT: 0px; WIDTH: 100%; PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-TOP: 0px" class="navbox-list navbox-even">สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1สมเด็จพระราเมศวรสมเด็จพระรามราชาธิราชสมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 1สมเด็จพระเจ้าทองลันสมเด็จพระราเมศวรสมเด็จพระอินทราชาสมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 2สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถสมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 3สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 2สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 4สมเด็จพระรัษฎาธิราชกุมารสมเด็จพระไชยราชาธิราชสมเด็จพระยอดฟ้าขุนวรวงศาธิราช <SMALL>(มิได้เทียบเทียมเท่าพระมหากษัตริย์พระองค์อื่น)</SMALL> •สมเด็จพระมหาจักรพรรดิสมเด็จพระมหินทราธิราชสมเด็จพระมหาธรรมราชาธิราชสมเด็จพระนเรศวรมหาราชสมเด็จพระเอกาทศรถสมเด็จพระศรีเสาวภาคย์สมเด็จพระเจ้าทรงธรรมสมเด็จพระเชษฐาธิราชสมเด็จพระอาทิตยวงศ์สมเด็จพระเจ้าปราสาททองสมเด็จเจ้าฟ้าไชยสมเด็จพระศรีสุธรรมราชาสมเด็จพระนารายณ์มหาราชสมเด็จพระเพทราชาสมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 8สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวท้ายสระสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศสมเด็จพระเจ้าอุทุมพรสมเด็จพระที่นั่งสุริยาสน์อมรินทร์

    </TD></TR><TR style="DISPLAY: none; HEIGHT: 2px"><TD></TD></TR><TR style="DISPLAY: none"><TH style="WHITE-SPACE: nowrap" class=navbox-group>สมัยกรุงธนบุรี</TH><TD style="TEXT-ALIGN: left; BORDER-LEFT: #fdfdfd 2px solid; PADDING-BOTTOM: 0px; PADDING-LEFT: 0px; WIDTH: 100%; PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-TOP: 0px" class="navbox-list navbox-odd">สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี

    </TD></TR><TR style="DISPLAY: none; HEIGHT: 2px"><TD></TD></TR><TR style="DISPLAY: none"><TH style="WHITE-SPACE: nowrap" class=navbox-group>สมัยกรุงรัตนโกสินทร์</TH><TD style="TEXT-ALIGN: left; BORDER-LEFT: #fdfdfd 2px solid; PADDING-BOTTOM: 0px; PADDING-LEFT: 0px; WIDTH: 100%; PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-TOP: 0px" class="navbox-list navbox-even">พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดลพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช <SMALL>(รัชกาลปัจจุบัน)</SMALL>

    </TD></TR><TR style="DISPLAY: none; HEIGHT: 2px"><TD></TD></TR><TR style="DISPLAY: none"><TH class=navbox-abovebelow colSpan=3><SMALL>พระนามที่เป็นตัวหนา คือ พระองค์ที่ได้รับการทูลเกล้าฯ ถวายพระราชสมัญญานามว่า มหาราช</SMALL></TH></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE class=navbox cellSpacing=0><TBODY><TR><TD style="PADDING-BOTTOM: 2px; PADDING-LEFT: 2px; PADDING-RIGHT: 2px; PADDING-TOP: 2px"><TABLE style="WIDTH: 100%; BACKGROUND: none transparent scroll repeat 0% 0%" id=collapsibleTable1 class="nowraplinks collapsible autocollapse" cellSpacing=0><TBODY><TR><TH style="BACKGROUND: #ffcc00" class=navbox-title colSpan=3>


    สยามมกุฎราชกุมาร
    </TH></TR><TR style="DISPLAY: none; HEIGHT: 2px"><TD></TD></TR><TR style="DISPLAY: none"><TH style="BACKGROUND-COLOR: antiquewhite; WHITE-SPACE: nowrap" class=navbox-group>สมัยรัชกาลที่ 5</TH><TD style="TEXT-ALIGN: left; BORDER-LEFT: #fdfdfd 2px solid; PADDING-BOTTOM: 0px; PADDING-LEFT: 0px; WIDTH: 100%; PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-TOP: 0px" class="navbox-list navbox-odd">สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิรุณหิศ สยามมกุฎราชกุมาร (สวรรคต) • สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิราวุธ สยามมกุฎราชกุมาร (รัชกาลที่ 6)

    </TD><TD style="PADDING-BOTTOM: 0px; PADDING-LEFT: 2px; WIDTH: 0%; PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-TOP: 0px" rowSpan=3>[​IMG]</TD></TR><TR style="DISPLAY: none; HEIGHT: 2px"><TD></TD></TR><TR style="DISPLAY: none"><TH style="BACKGROUND-COLOR: antiquewhite; WHITE-SPACE: nowrap" class=navbox-group>สมัยรัชกาลที่ 9</TH><TD style="TEXT-ALIGN: left; BORDER-LEFT: #fdfdfd 2px solid; PADDING-BOTTOM: 0px; PADDING-LEFT: 0px; WIDTH: 100%; PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-TOP: 0px" class="navbox-list navbox-even">สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิราลงกรณ สยามมกุฎราชกุมาร (ปัจจุบัน)
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE class=navbox cellSpacing=0><TBODY><TR><TD style="PADDING-BOTTOM: 2px; PADDING-LEFT: 2px; PADDING-RIGHT: 2px; PADDING-TOP: 2px"><TABLE style="WIDTH: 100%; BACKGROUND: none transparent scroll repeat 0% 0%" id=collapsibleTable2 class="nowraplinks collapsible autocollapse" cellSpacing=0><TBODY><TR><TH style="BACKGROUND: #817565; COLOR: #fefefe" class=navbox-title colSpan=3>[แสดง]
    </TH></TR><TR style="DISPLAY: none; HEIGHT: 2px"><TD></TD></TR><TR style="DISPLAY: none"><TH style="WHITE-SPACE: nowrap" class=navbox-group>พระมหากษัตริย์</TH><TD style="TEXT-ALIGN: left; BORDER-LEFT: #fdfdfd 2px solid; PADDING-BOTTOM: 0px; PADDING-LEFT: 0px; WIDTH: 100%; PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-TOP: 0px" class="navbox-list navbox-odd">พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช

    </TD><TD style="PADDING-BOTTOM: 0px; PADDING-LEFT: 2px; WIDTH: 0%; PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-TOP: 0px" rowSpan=5>[​IMG]</TD></TR><TR style="DISPLAY: none; HEIGHT: 2px"><TD></TD></TR><TR style="DISPLAY: none"><TH style="WHITE-SPACE: nowrap" class=navbox-group>พระบรมวงศานุวงศ์</TH><TD style="TEXT-ALIGN: left; BORDER-LEFT: #fdfdfd 2px solid; PADDING-BOTTOM: 0px; PADDING-LEFT: 0px; WIDTH: 100%; PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-TOP: 0px" class="navbox-list navbox-even">สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอฯ กรมพระยาดำรงราชานุภาพสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอฯ กรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระปรมานุชิตชิโนรสพระเจ้าวรวงศ์เธอ กรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนกสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนีพระเจ้าบรมวงศ์เธอฯ กรมหลวงวงศาธิราชสนิท

    </TD></TR><TR style="DISPLAY: none; HEIGHT: 2px"><TD></TD></TR><TR style="DISPLAY: none"><TH style="WHITE-SPACE: nowrap" class=navbox-group>บุคคลสำคัญ</TH><TD style="TEXT-ALIGN: left; BORDER-LEFT: #fdfdfd 2px solid; PADDING-BOTTOM: 0px; PADDING-LEFT: 0px; WIDTH: 100%; PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-TOP: 0px" class="navbox-list navbox-odd">สุนทรภู่พระยาอนุมานราชธนปรีดี พนมยงค์หม่อมหลวงปิ่น มาลากุลกุหลาบ สายประดิษฐ์พุทธทาสภิกขุเอื้อ สุนทรสนานหม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช

    </TD></TR><TR style="DISPLAY: none; HEIGHT: 2px"><TD></TD></TR><TR style="DISPLAY: none"><TH class=navbox-abovebelow colSpan=3>ดูเพิ่ม: สถานีย่อยมรดกโลกในไทย</TH></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE class=navbox cellSpacing=0><TBODY><TR><TD style="PADDING-BOTTOM: 2px; PADDING-LEFT: 2px; PADDING-RIGHT: 2px; PADDING-TOP: 2px"><TABLE style="WIDTH: 100%; BACKGROUND: none transparent scroll repeat 0% 0%" id=collapsibleTable3 class="nowraplinks collapsible autocollapse" cellSpacing=0><TBODY><TR><TH style="BACKGROUND: pink" class=navbox-title colSpan=3>


    พระราชโอรสและพระราชธิดาในรัชกาลที่ 5 ที่ได้ทรงกรม
    </TH></TR><TR style="DISPLAY: none; HEIGHT: 2px"><TD></TD></TR><TR style="DISPLAY: none"><TH style="BACKGROUND-COLOR: mistyrose; WHITE-SPACE: nowrap" class=navbox-group>พระราชโอรส</TH><TD style="TEXT-ALIGN: left; BORDER-LEFT: #fdfdfd 2px solid; PADDING-BOTTOM: 0px; PADDING-LEFT: 0px; WIDTH: 100%; PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-TOP: 0px" class="navbox-list navbox-odd">กรมพระกำแพงเพ็ชรอัครโยธิน · กรมพระจันทบุรีนฤนาถ · กรมพระยาชัยนาทนเรนทร · กรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์ · กรมหมื่นไชยาศรีสุริโยภาส · กรมขุนเทพทวาราวดี · กรมหลวงนครไชยศรีสุรเดช · กรมหลวงนครราชสีมา · กรมพระนครสวรรค์วรพินิต · กรมหลวงปราจิณกิติบดี · กรมหมื่นพิไชยมหินทโรดม · กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถ · กรมขุนเพ็ชรบูรณ์อินทราชัย · กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์ · กรมหลวงลพบุรีราเมศร์ · กรมขุนศรีธรรมราชธำรงฤทธิ์ · กรมหลวงสงขลานครินทร์ · กรมหมื่นสรรควิสัยนรบดี · กรมหลวงสิงหวิกรมเกรียงไกร · กรมหลวงสุโขทัยธรรมราชา


    </TD><TD style="PADDING-BOTTOM: 0px; PADDING-LEFT: 2px; WIDTH: 0%; PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-TOP: 0px" rowSpan=3>[​IMG]</TD></TR><TR style="DISPLAY: none; HEIGHT: 2px"><TD></TD></TR><TR style="DISPLAY: none"><TH style="BACKGROUND-COLOR: mistyrose; WHITE-SPACE: nowrap" class=navbox-group>พระราชธิดา</TH><TD style="TEXT-ALIGN: left; BORDER-LEFT: #fdfdfd 2px solid; PADDING-BOTTOM: 0px; PADDING-LEFT: 0px; WIDTH: 100%; PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-TOP: 0px" class="navbox-list navbox-even">กรมพระเทพนารีรัตน์ · กรมขุนพิจิตรเจษฎ์จันทร์ · กรมหลวงเพชรบุรีราชสิรินธร · กรมหลวงศรีรัตนโกสินทร · กรมขุนศรีสัชนาลัยสุรกัญญา · กรมขุนสวรรคโลกลักษณวดี · กรมขุนสุพรรณภาควดี · กรมขุนอู่ทองเขตขัตติยนารี


    </TD></TR><TR style="DISPLAY: none; HEIGHT: 2px"><TD></TD></TR><TR style="DISPLAY: none"><TH style="BACKGROUND: pink" class=navbox-abovebelow colSpan=3>เจ้าต่างกรม ใน รัชกาลที่ 1รัชกาลที่ 2รัชกาลที่ 3รัชกาลที่ 4รัชกาลที่ 5วังหน้าและวังหลัง</TH></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE><!-- NewPP limit reportPreprocessor node count: 5178/1000000Post-expand include size: 210857/2048000 bytesTemplate argument size: 134598/2048000 bytesExpensive parser function count: 5/500--><!-- Saved in parser cache with key thwiki:pcache:idhash:4261-0!1!0!!th!4 and timestamp 20101124135919 -->ดึงข้อมูลจาก "http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%9A%E0%B8%B2%E0%B8%97%E0%B8%AA%E0%B8%A1%E0%B9%80%E0%B8%94%E0%B9%87%E0%B8%88%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%A1%E0%B8%87%E0%B8%81%E0%B8%B8%E0%B8%8E%E0%B9%80%E0%B8%81%E0%B8%A5%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B9%80%E0%B8%88%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%AD%E0%B8%A2%E0%B8%B9%E0%B9%88%E0%B8%AB%E0%B8%B1%E0%B8%A7".​
    <!-- /bodytext --><!-- catlinks -->หมวดหมู่: บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 2423 | บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2468 | รัชกาลที่ 6 | พระมหากษัตริย์ไทย | พระราชปนัดดาในรัชกาลที่ 2 | พระราชนัดดาในรัชกาลที่ 4 | พระราชโอรสในรัชกาลที่ 5 | พระราชบุตรในสมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนี พระพันปีหลวง | ฐานันดรศักดิ์ชั้นเจ้าฟ้า | สยามมกุฎราชกุมาร | ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ของไทย | นักเขียนชาวไทย | กวีชาวไทย

    <!-- /catlinks -->

    <!-- /bodyContent --><!-- /content --><!-- header --><!-- 0 -->เครื่องมือส่วนตัว

    <!-- /0 --><!-- 0 -->เนมสเปซ


    <!-- /0 --><!-- 1 -->สิ่งที่แตกต่าง


    <!-- /1 -->
    <!-- 0 -->ดู

    <!-- /0 --><!-- 1 -->การกระทำ


    <!-- /1 --><!-- 2 --><LABEL for=searchInput>สืบค้น</LABEL>

    <FORM id=searchform action=/w/index.php jQuery1290700979765="11"><INPUT value=พิเศษ:ค้นหา type=hidden name=title> <INPUT accessKey=f id=searchInput class=placeholder title="ค้นหาวิกิ [alt-f]" tabIndex=1 value=ค้นหา name=search jQuery1290700979765="10" autocomplete="off"><BUTTON id=searchButton title=ค้นหาหน้าที่มีข้อความนี้ name=button type=submit>[​IMG]</BUTTON>
    </FORM>
    <!-- /2 -->

    <!-- /header --><!-- panel --><!-- logo -->
    <!-- /logo --><!-- navigation -->ป้ายบอกทาง

    <!-- /navigation --><!-- SEARCH --><!-- /SEARCH --><!-- มีส่วนร่วม -->มีส่วนร่วม

    <!-- /มีส่วนร่วม --><!-- coll-print_export -->พิมพ์/ส่งออก

    <!-- /coll-print_export --><!-- TOOLBOX -->เครื่องมือ

    <!-- /TOOLBOX --><!-- LANGUAGES -->ภาษาอื่น

    <!-- /LANGUAGES -->

    <!-- /panel --><!-- footer -->
     
  18. :::เพชร:::

    :::เพชร::: เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    8,584
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +36,137
    ผมได้บันทึกภาพพระบรมรุปของพระองค์ท่านที่หอวชิราวุธเมื่อหลายปีก่อน มีโอกาสได้ไปก็ไปกราบถวายบังคมพระบรมรูปพระองค์ท่านนะครับ ตลอดพระชนม์ชีพพระองค์ท่านทรงพระปรีชาทั้งศาสตร์ และศิลป์ทุกด้าน การถือเคล็ดลางต่างๆก็สามารถจะเห็นได้จากพระบรมรูปของพระองค์ท่าน ....
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

  19. :::เพชร:::

    :::เพชร::: เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    8,584
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +36,137
    พระบรมรูปจำลองของพระองค์ท่านที่บ้านผม..
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • P1030402.JPG
      P1030402.JPG
      ขนาดไฟล์:
      285.1 KB
      เปิดดู:
      44
    • P1030408.JPG
      P1030408.JPG
      ขนาดไฟล์:
      247.8 KB
      เปิดดู:
      35
    • P1030403.JPG
      P1030403.JPG
      ขนาดไฟล์:
      266.1 KB
      เปิดดู:
      39
    • P1030404.JPG
      P1030404.JPG
      ขนาดไฟล์:
      271.9 KB
      เปิดดู:
      35
    • P1030405.JPG
      P1030405.JPG
      ขนาดไฟล์:
      301.1 KB
      เปิดดู:
      37
  20. :::เพชร:::

    :::เพชร::: เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    8,584
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +36,137
    มีเทพอยู่องค์หนึ่งที่มีความเกี่ยวพันกับพระองค์ท่าน นั่นคือ ท้าวหิรัญพนาสูร ลองชมบันทึกลี้ลับ จากทีวีย้อนหลัง 7 ตอนกันครับ หากชมแล้ว เกิดความสนใจก็ลองไปที่ร.พ.พระมงกุฏ ไปกราบท้าวหิรัญพนาสูรกัน ครั้งหนึ่งที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวองค์ปัจจุบันประชวร ก็มีผู้ถวายรูปหล่อท่านท้าวหิรัญพนาสูรไว้ที่เหนือเตียงพระบรรทม หลังจากนั้น อาการพระประชวรของพระองค์ท่านก็หายวันและคืน..

    อ่านประวัติความเป็นมาของท่านท้าวหิรัญพนาสูร ผมได้เดินทางไปก่อนวันพิธี ๑ วัน เพราะวันรุ่งขึ้นติดเรียนครับ

    <TABLE border=0 cellSpacing=5 cellPadding=1 width="20%" align=left><TBODY><TR bgColor=#400040><TD>[​IMG]
    </TD></TR></TBODY></TABLE>"ท้าวหิรัญพนาสูร" เป็นเทพอสูรที่เป็นคติความเชื่อจากอินเดีย ปรากฏขึ้นในแผ่นดินพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 6) คำว่า "หิรัญ" หมายถึง เงิน สีเงิน หรือ บางแห่งแปลความหมายว่า ทอง ส่วน "พนาสูร" เป็นคำเชื่อมกันระหว่าง "พนา" แปลว่า "ป่า" กับ "อสูร" ดังนั้น จึงสื่อความหมายถึง เทพาสูรผู้เป็นใหญ่แห่งป่า

    พระบาทสมเด็จพระ มงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงโปรดเกล้าฯ ให้หล่อขึ้น และประดิษฐาน ณ สวนเสนารักษ์ พระราชวังพญาไท เนื่องจากใน พ.ศ.2449 ขณะที่ยังทรงพระอิสริยยศเป็นสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร ได้เสด็จประพาสมณฑลพายัพ เพื่อทรงงานค้นคว้าทางโบราณคดี ในฐานะที่พระองค์ทรงดำรงตำแหน่งอุปนายกของโบราณคดีสโมสร

    เส้นทาง เสด็จพระราชดำเนินในสมัยนั้นเต็มไปด้วยป่าเขา ภยันตราย และโรคภัยไข้เจ็บ ขณะเมื่อทรงจะออกจากอุตรดิตถ์ ข้าราชบริพารที่ตามเสด็จ รู้สึกหวั่นวิตกต่อ ภยันตราย พระองค์จึงมีพระราชดำรัสว่า "ธรรมดาเจ้าใหญ่นายโต จะเสด็จ ณ ที่แห่งใดๆ ก็ดี คงจะมีทั้งเทวดาและปีศาจฤๅอสูร อันเป็นสัมมาทิฐิ คอยติดตามป้องกันภยันตรายทั้งปวง มิให้มากล้ำกรายพระองค์และบริวารผู้โดยเสด็จได้ถึงในการเสด็จครั้งนี้ก็มี เหมือนกัน อย่าให้ผู้หนึ่งผู้ใดมีความวิตกไปเลย" <TABLE border=0 cellSpacing=5 cellPadding=1 width="20%" align=right><TBODY><TR bgColor=#400040><TD>[​IMG]
    </TD></TR></TBODY></TABLE>

    ด้วย กระแสพระราชดำรัสดังกล่าว ทำให้บรรดาข้าราชบริพารขุนนางใหญ่น้อยอุ่นใจคลายความกังวล ในขณะเสด็จประพาสนั้น ปรากฏมีข้าราชบริพารชั้นผู้ใหญ่ท่านหนึ่งเกิดนิมิตฝันเห็นบุรุษผู้หนึ่งร่าง สูงใหญ่ล่ำสันบอกนามว่า "หิรัญ" และแจ้งว่าตนเป็นอสูรแห่งป่า เป็นผู้ตั้งอยู่ในสัมมาปฏิบัติ จะคอยดูแลปกป้ององค์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและข้าราชบริพารในขณะเดินทาง พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว จึงทรงโปรด ฯ ให้ตั้งเครื่องสังเวยในป่าริมพลับพลานั้น และเมื่อพระองค์ทรงเสวยก็จะแบ่งพระกระยาหารไปตั้งเป็นเครื่องเซ่นเสมอๆ ปรากฏว่าการเสด็จพระราชดำเนินหัวเมืองพายัพครั้งนั้นปราศจากเภทภัย อันตราย ไม่มีใครเจ็บไข้ได้ป่วย และประ สบความสำเร็จสมดังตั้งพระราชหฤทัยไว้ทุกประการ

    ด้วยเหตุดังกล่าว การเสด็จประพาสในคราวต่อๆ มา ข้าราชบริพารจึงทำพิธีอัญเชิญ "เทพาสูร" ที่ปรากฏในนิมิตตามเสด็จไปด้วยทุกครั้ง และมีผู้คนมากมายพบเห็นบุรุษในลักษณาการอย่างโบราณ รูปร่างสูงใหญ่ นั่งบ้าง ยืนบ้าง ตามขบวนเสด็จไปด้วยเป็นอันมาก จนข่าวคราวร่ำลือถึงข้าหลวงมณฑลเทศาภิบาลต่างๆ ทำให้ผู้คนเลื่อมใส เคารพ "ท้าวหิรัญพนาสูร" กันแต่ครั้งนั้น <TABLE border=0 cellSpacing=5 cellPadding=1 width="20%" align=left><TBODY><TR bgColor=#400040><TD>[​IMG]
    </TD></TR></TBODY></TABLE>

    เมื่อ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว เสด็จขึ้นครองราชสมบัติ พระองค์ทรงดำริถึงท้าวหิรัญพนาสูร จึงทรงโปรดเกล้าฯ ให้หล่อด้วยทองสำริด มีศิราภรณ์เป็นชฎาทรงเทริดอย่างไทยโบราณ มีไม้เท้าประดับเป็นเครื่องเกียรติยศ เสร็จสมบูรณ์ในเดือนเมษายน ปี พ.ศ.2454 และทรงโปรดเกล้าฯ ให้นำไปประดิษฐานในสวนเสนารักษ์ พระราชวังพญาไท ในปีต่อมา และทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานพระนามเทพาสูรองค์นี้ว่า "ท้าวหิรัญพนาสูร" แต่ตรัสเรียกเป็นการส่วนพระองค์ว่า "ท้าวหิรัญฮู" มีผู้อธิบายว่า "ฮู" หมายถึง "Who" ในภาษาอังกฤษ อันเป็นพระราชนิยมของพระองค์ และรูปท้าวหิรัญพนาสูรก็กลายเป็นสิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่ผู้คนเคารพกราบไหว้ให้ ป้องกันภยันตราย ให้ปราศจากโรคภัยไข้เจ็บ และประสบความสำเร็จในกิจการงานต่างๆ ตั้งแต่นั้นจนบัดนี้

    ปัจจุบัน "พระราชวังพญาไทพัฒนา" เป็นโรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ความศักดิ์สิทธิ์ของท้าวหิรัญพนาสูรยิ่งเลื่องลือไปทั่ว ข้าราชการและประชาชนที่เจ็บป่วยเข้ารับการรักษา มักมากราบสักการะเพื่อขอพรให้อาการป่วยทุเลาลง และประสบผลเป็นที่น่าอัศจรรย์ จนมีการจัดสร้าง "รูปเคารพของท่านท้าวหิรัญพนาสูร" เป็นเนื้อโลหะสำริด (บรอนซ์) ตามมาตรฐานสากล เพื่อนำรายได้สมทบโครงการศูนย์โรคหัวใจสิรินธร โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า สำหรับนำไปจัดซื้อเครื่องมือและอุปกรณ์ทางการแพทย์และบูรณะพระราชวังพญาไท ซึ่งได้ประกอบพิธีเททอง หล่อองค์นำฤกษ์ไปเมื่อวันเสาร์ที่ 30 มกราคม 2553 โดยมีสมเด็จพระมหาธีราจารย์ เจ้าอาวาสวัดชนะสงครามมหาวรวิหาร เป็นประธานพิธีฝ่ายสงฆ์ และพระราชครูวามเทพมุนี ประกอบพิธีบวงสรวง

    กำหนดพิธีมหาเทวาภิเษกในเดือนเมษายน 2553 ร่วมสมทบทุนบูชาได้ที่โทร.08-3016-5162, 08-9220-3666, 0-2158-0781

    นับเป็นการร่วมบุญและบูชาท่านท้าวให้ปกปักรักษาอวยชัยให้พรทุกท่านทุกคน



    ท้าวหิรัญพนาสูร บันทึกลึกลับ ดูย้อนหลัง | อ่านข่าวใหม่ อับเดจล่าสุด
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 26 พฤศจิกายน 2010

แชร์หน้านี้

Loading...