เกร็ดย่อยจากพระไตรปิฏก เรื่อง การกวาด

ในห้อง 'พุทธศาสนา และ ธรรมะ' ตั้งกระทู้โดย พหุปราชญ์, 1 ธันวาคม 2010.

  1. พหุปราชญ์

    พหุปราชญ์ Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 กันยายน 2010
    โพสต์:
    85
    ค่าพลัง:
    +39
    กระผมมีความสงสัยที่ว่าการกวาดมีอานิสงส์ เป็นการกวาดลานวัดก็จริง แต่สงสัยว่า อาจจะรวมถึง การกวาดลานที่อยู่อาศัยต่างๆด้วยไหมครับ ขออนุญาตอ้างอิงจากพระวินัยปิฏกเล่มที่ 8 นะครับ ซึ่งอธิบายไว้ดังนี้
    พระไตรปิฎก เล่มที่ ๘ พระวินัยปิฎก เล่มที่ ๘
    ปริวาร

    การกวาดมีอานิสงส์ ๕ คือ จิตของตนเลื่อมใส ๑ จิตของผู้อื่นเลื่อมใส ๑ เทวดา
    ชื่นชม ๑ สั่งสมกรรมที่เป็นไปเพื่อให้เกิดความเลื่อมใส ๑ เบื้องหน้าแต่ตายเพราะกายแตก ย่อม
    เข้าถึงสุคติโลกสวรรค์ ๑.
    การกวาดมีอานิสงส์แม้อื่นอีก ๕ คือ จิตของตนเลื่อมใส ๑ จิตของผู้อื่นเลื่อมใส ๑
    เทวดาชื่นชม ๑ เป็นอันทำตามคำสั่งสอนของพระศาสดา ๑ ชุมชนมีในภายหลังถือเป็น
    ทิฏฐานุคติ ๑.
    ที่มา
     
  2. น้ำดี1

    น้ำดี1 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    2 พฤศจิกายน 2008
    โพสต์:
    13,402
    ค่าพลัง:
    +43,432
    ไม่รู้เหมือนกันค่ะ ไว้จะมาอ่านใหม่
     
  3. จันทโค

    จันทโค เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    30 กรกฎาคม 2009
    โพสต์:
    1,866
    ค่าพลัง:
    +35,603


    " ตถาคตเป็นมนุษย์ในชาติก่อน ภพก่อน เป็นผู้ไม่มีความโกรธ ไม่พยาบาท ไม่จองผลาญ ได้ถวายทานเครื่องลาดมีเนื้อละเอียดอ่อน ให้ผ้าโขมพัสตร์ ผ้าฝ้าย ผ้าไหม ผ้ากัมพลเนื้อละเอียด สำหรับลาดและนุ่งห่ม ( บางตำราได้กล่าวไว้ว่า พระองค์ทรง กวาดลานวิหาร ทำความสะอาดลานวิหาร ด้วยนะครับ ) เมื่อสิ้นชีพลงเข้าถึงสุคติโลกสวรรค์เสวยทิพย์สมบัติ จุติจากโลกสวรรค์มาอุบัติเป็นมนุษย์ ตถาคตได้มหาปุริสลักษณะนี้คือ พระฉวีวรรณดั่งสีทอง (ลักษณะที่ ๑๑) "<?xml:namespace prefix = o ns = "urn:schemas-microsoft-com:eek:ffice:eek:ffice" /><o:p></o:p>
     
  4. จันทโค

    จันทโค เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    30 กรกฎาคม 2009
    โพสต์:
    1,866
    ค่าพลัง:
    +35,603
    ถ้า..
    กวาดหรือทำความสะอาดบริเวณวัด(รวม ทุกอย่างในวัด) ก็ได้อานิสงส์ มากนะครับ(อ่านประวัติของพระเจ้ามิลินท์ ดูนะครับ อานิสงส์ยิ่งใหญ่มากครับ)

    ถ้า..
    กวาดลานที่อยู่อาศํยของตน ก็ได้อานิสงส์กับคนที่อยู่อาศัยเองนะครับ
     
  5. จันทโค

    จันทโค เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    30 กรกฎาคม 2009
    โพสต์:
    1,866
    ค่าพลัง:
    +35,603
    ต่อ..




    <TABLE style="BORDER-COLLAPSE: collapse" border=0 cellSpacing=0 borderColor=#111111 cellPadding=0 width=644><TBODY><TR><TD width=560>
    ๑๗. โกธวรรควรรณนา

    ๑. เรื่องเจ้าหญิงโรหิณี [๑๗๔]

    ข้อความเบื้องต้น

    พระศาสดา เมื่อประทับอยู่ในนิโครธาราม ทรงปรารภเจ้าหญิงโรหิณี ตรัสพระธรรมเทศนานี้ว่า " โกธํ ชเห " เป็นต้น. สร้างโรงฉันหายจากโรคผิวหนังได้


    ได้ยินว่า สมัยหนึ่ง พระอนุรุทธผู้มีอายุได้ไปเมืองกบิลพัสดุ์พร้อมด้วยภิกษุ ๕๐๐. ครั้งนั้น พวกพระญาติของท่าน ทรงสดับว่า พระเถระมาจึงได้ไปสู่สำนักพระเถระ เว้นเเต่พระน้องนางของพระเถระชื่อโรหิณี.พระเถระถามพวกพระญาติว่า " พระนางโรหิณีอยู่ไหน ? " พวกพระญาติ. อยู่ในตำหนัก เจ้าข้า. พระเถระ. เหตุไร ? จึงไม่เสด็จมา. พวกพระญาติ. พระนางไม่เสด็จมาเพราะทรงละอายว่า ' โรคผิวหนังเกิดที่สรีระของเขา ' เจ้าข้า. พระเถระ กล่าวว่า " ท่านทั้งหลายจงเชิญพระนางเสด็จมาเถิด "ให้ไปเชิญพระนางเสด็จมาแล้ว จึงกล่าวอย่างนี้ กะพระนางผู้ทรงฉลอง-พระองค์เสด็จมาแล้วว่า " โรหิณี เหตุไร ? เธอจึงไม่เสด็จมา. " พระนางโรหิณี. ท่านผู้เจริญ โรคผิวหนังเกิดขึ้นที่สรีระของหม่อมฉัน; เหตุนั้น หม่อมฉันจึงมิได้มาด้วยความละอาย. พระเถระ. ก็เธอทรงทำบุญไม่ควรหรือ ? พระนางโรหิณี. จะทำอะไร ? เจ้าข้า.[​IMG]

    </PRE></TD><TD vAlign=top width=100>หน้าที่ 426 [​IMG]


    </TD></TR></TBODY></TABLE><!--</p><table width='90 %' border=0 cellpadding=0><tr><td> ๑๗. โกธวรรควรรณนา

    ๑. เรื่องเจ้าหญิงโรหิณี [๑๗๔]

    ข้อความเบื้องต้น

    พระศาสดา เมื่อประทับอยู่ในนิโครธาราม ทรงปรารภเจ้าหญิงโรหิณี ตรัสพระธรรมเทศนานี้ว่า " โกธํ ชเห " เป็นต้น. สร้างโรงฉันหายจากโรคผิวหนังได้

    ได้ยินว่า สมัยหนึ่ง พระอนุรุทธผู้มีอายุได้ไปเมืองกบิลพัสดุ์พร้อมด้วยภิกษุ ๕๐๐. ครั้งนั้น พวกพระญาติของท่าน ทรงสดับว่า พระเถระมาจึงได้ไปสู่สำนักพระเถระ เว้นเเต่พระน้องนางของพระเถระชื่อโรหิณี.พระเถระถามพวกพระญาติว่า " พระนางโรหิณีอยู่ไหน ? " พวกพระญาติ. อยู่ในตำหนัก เจ้าข้า. พระเถระ. เหตุไร ? จึงไม่เสด็จมา. พวกพระญาติ. พระนางไม่เสด็จมาเพราะทรงละอายว่า ' โรคผิวหนังเกิดที่สรีระของเขา ' เจ้าข้า. พระเถระ กล่าวว่า " ท่านทั้งหลายจงเชิญพระนางเสด็จมาเถิด "ให้ไปเชิญพระนางเสด็จมาแล้ว จึงกล่าวอย่างนี้ กะพระนางผู้ทรงฉลอง-พระองค์เสด็จมาแล้วว่า " โรหิณี เหตุไร ? เธอจึงไม่เสด็จมา. " พระนางโรหิณี. ท่านผู้เจริญ โรคผิวหนังเกิดขึ้นที่สรีระของหม่อมฉัน; เหตุนั้น หม่อมฉันจึงมิได้มาด้วยความละอาย. พระเถระ. ก็เธอทรงทำบุญไม่ควรหรือ ? พระนางโรหิณี. จะทำอะไร ? เจ้าข้า.[คำวิจารณ์][โหวต] [​IMG]</td></tr><tr><td></td></tr><tr><td></td></tr></table>​
    <hr noshade color="#CCCCCC" align="right" width="60%" size="1"> -->

    <CENTER><TABLE style="BORDER-COLLAPSE: collapse" border=0 cellSpacing=0 borderColor=#111111 cellPadding=0 width=644><TBODY><TR><TD width=644 colSpan=2><HR color=#ebebeb SIZE=1 noShade></TD></TR><TR><TD width=560>

    พระเถระ. จงให้สร้างโรงฉัน. พระนางโรหิณี. หม่อมฉันจะเอาอะไรทำ ? พระเถระ. ก็เครื่องประดับของเธอไม่มีหรือ ? พระนางโรหิณี. มีอยู่ เจ้าข้า. พระเถระ. ราคาเท่าไร ? พระนางโรหิณี. จักมีราคาหมื่นหนึ่ง. พระเถระ. ถ้ากระนั้น จงขายเครื่องประดับนั้น ให้สร้างโรง-ฉันเถิด. พระนางโรหิณี. ใครเล่า ? จักทําให้หม่อมฉัน เจ้าข้า. พระเถระ. แลดูพระญาติซึ่งยืนอยู่ในที่ใกล้เเล้ว กล่าวว่า " ขอจงเป็นภาระของพวกท่านทั้งหลาย." พวกพระญาติ. ก็พระคุณเจ้าจักทำอะไรหรือ ? เจ้าข้า. พระเถระ. แม้อาตมภาพก็จักอยู่ในที่นี้เหมือนกัน, ถ้ากระนั้นพวกท่านจงนำทัพพสัมภาระมาเพื่อโรงฉันนี่. พวกพระญาตินั้น ตรัสว่า " ดีละ เจ้าข้า " จึงนำมาแล้ว. พระเถระ. เมื่อจะจัดโรงฉัน จึงกล่าวกะพระนางโรหิณีว่า " เธอจงให้ทำโรงฉันเป็น ๒ ชั้น จำเดิมแต่กาลที่ให้พื้นชั้นบนเรียบแล้วจงกวาดพื้นล่าง แล้วให้ปูอาสนะไว้เสมอ ๆ, จงให้ตั้งหม้อน้ำดื่มไว้เสมอๆ. "พระนางรับคำว่า " ดีละ เจ้าข้า " แล้วจำหน่ายเครื่องประดับ ให้ทำโรงฉัน ๒ ชั้น เริ่มแต่กาลที่ให้พื้นชั้นบนเรียบแล้ว ได้ทรงทำกิจมีการกวาดพื้นล่างเป็นต้นเนือง ๆ. พวกภิกษุก็นั่งเสมอ ๆ. ลำดับนั้น เมื่อพระนางกวาดโรงฉันอยู่นั่นแล. โรคผิวหนังก็ราบ[​IMG]

    </PRE></TD><TD vAlign=top width=100>หน้าที่ 427 [​IMG]


    </TD></TR></TBODY></TABLE></CENTER><!--</p><table width='90 %' border=0 cellpadding=0><tr><td> พระเถระ. จงให้สร้างโรงฉัน. พระนางโรหิณี. หม่อมฉันจะเอาอะไรทำ ? พระเถระ. ก็เครื่องประดับของเธอไม่มีหรือ ? พระนางโรหิณี. มีอยู่ เจ้าข้า. พระเถระ. ราคาเท่าไร ? พระนางโรหิณี. จักมีราคาหมื่นหนึ่ง. พระเถระ. ถ้ากระนั้น จงขายเครื่องประดับนั้น ให้สร้างโรง-ฉันเถิด. พระนางโรหิณี. ใครเล่า ? จักทําให้หม่อมฉัน เจ้าข้า. พระเถระ. แลดูพระญาติซึ่งยืนอยู่ในที่ใกล้เเล้ว กล่าวว่า " ขอจงเป็นภาระของพวกท่านทั้งหลาย." พวกพระญาติ. ก็พระคุณเจ้าจักทำอะไรหรือ ? เจ้าข้า. พระเถระ. แม้อาตมภาพก็จักอยู่ในที่นี้เหมือนกัน, ถ้ากระนั้นพวกท่านจงนำทัพพสัมภาระมาเพื่อโรงฉันนี่. พวกพระญาตินั้น ตรัสว่า " ดีละ เจ้าข้า " จึงนำมาแล้ว. พระเถระ. เมื่อจะจัดโรงฉัน จึงกล่าวกะพระนางโรหิณีว่า " เธอจงให้ทำโรงฉันเป็น ๒ ชั้น จำเดิมแต่กาลที่ให้พื้นชั้นบนเรียบแล้วจงกวาดพื้นล่าง แล้วให้ปูอาสนะไว้เสมอ ๆ, จงให้ตั้งหม้อน้ำดื่มไว้เสมอๆ. "พระนางรับคำว่า " ดีละ เจ้าข้า " แล้วจำหน่ายเครื่องประดับ ให้ทำโรงฉัน ๒ ชั้น เริ่มแต่กาลที่ให้พื้นชั้นบนเรียบแล้ว ได้ทรงทำกิจมีการกวาดพื้นล่างเป็นต้นเนือง ๆ. พวกภิกษุก็นั่งเสมอ ๆ. ลำดับนั้น เมื่อพระนางกวาดโรงฉันอยู่นั่นแล. โรคผิวหนังก็ราบ[คำวิจารณ์][โหวต] [​IMG]</td></tr><tr><td></td></tr><tr><td></td></tr></table>​


    <hr noshade color="#CCCCCC" align="right" width="60%" size="1"> --><CENTER><TABLE style="BORDER-COLLAPSE: collapse" border=0 cellSpacing=0 borderColor=#111111 cellPadding=0 width=644><TBODY><TR><TD width=644 colSpan=2><HR color=#ebebeb SIZE=1 noShade></TD></TR><TR><TD width=560>
    ไปแล้ว. เมื่อโรงฉันเสร็จ พระนางนิมนต์ภิกษุสงฆ์มีพระพุทธเจ้าเป็น ประมุขแล้ว ได้ถวายขาทนียะและโภชนียะที่ประณีตแด่ภิกษุสงฆ์มีพระ-พุทธเจ้าเป็นประมุขซึ่งนั่งเต็มโรงฉัน. พระศาสดา ทรงทำภัตกิจเสร็จแล้ว ตรัสถามว่า " นี่เป็นทานของใคร ? " พระอนุรุทธ. ของโรหิณีพระน้องนางของข้าพระองค์ พระเจ้าข้า. พระศาสดา. ก็นางไปไหน ? พระอนุรุทธ. อยู่ในตำหนัก พระเจ้าข้า. พระศาสดา. พวกท่านจงไปเรียกนางมา. พระนางไม่ประสงค์จะเสด็จมา. ทีนั้น พระศาสดารับสั่งให้เรียกพระนางแม้ไม่ปรารถนา (จะมา) จนได้. ก็แลพระศาสดาตรัสกะพระนางผู้เสด็จมาถวายบังคม ประทับนั่งแล้วว่า " โรหิณี เหตุไรเธอจึงไม่มา ? " พระนางโรหิณี. " โรคผิวหนังมีที่สรีระของหม่อมฉัน พระเจ้าข้า หม่อมฉันละอายด้วยโรคนั้น. จึงมิได้มา. " พระศาสดา. ก็เธอรู้ไหมว่า ่โรคนั้นอาศัยกรรมอะไรของเธอ จึงเกิดขึ้น ? " พระนางโรหิณี. หม่อมฉันไม่ทราบ พระเจ้าข้า. พระศาสดา. โรคนั้นอาศัยความโกรธของเธอ จึงเกิดขึ้นแล้ว. พระนางโรหิณี. ก็หม่อมฉันทำกรรมอะไรไว้ ? พระเจ้าข้า. บุรพกรรมของพระนางโรหิณี


    ลำดับนั้น พระศาสดาทรงนำอดีตนิทานมา (ตรัสแก่พระนาง)ว่า:-[​IMG]

    </PRE></TD><TD vAlign=top width=100>หน้าที่ 428 [​IMG]


    </TD></TR></TBODY></TABLE></CENTER><!--</p><table width='90 %' border=0 cellpadding=0><tr><td>ไปแล้ว. เมื่อโรงฉันเสร็จ พระนางนิมนต์ภิกษุสงฆ์มีพระพุทธเจ้าเป็น ประมุขแล้ว ได้ถวายขาทนียะและโภชนียะที่ประณีตแด่ภิกษุสงฆ์มีพระ-พุทธเจ้าเป็นประมุขซึ่งนั่งเต็มโรงฉัน. พระศาสดา ทรงทำภัตกิจเสร็จแล้ว ตรัสถามว่า " นี่เป็นทานของใคร ? " พระอนุรุทธ. ของโรหิณีพระน้องนางของข้าพระองค์ พระเจ้าข้า. พระศาสดา. ก็นางไปไหน ? พระอนุรุทธ. อยู่ในตำหนัก พระเจ้าข้า. พระศาสดา. พวกท่านจงไปเรียกนางมา. พระนางไม่ประสงค์จะเสด็จมา. ทีนั้น พระศาสดารับสั่งให้เรียกพระนางแม้ไม่ปรารถนา (จะมา) จนได้. ก็แลพระศาสดาตรัสกะพระนางผู้เสด็จมาถวายบังคม ประทับนั่งแล้วว่า " โรหิณี เหตุไรเธอจึงไม่มา ? " พระนางโรหิณี. " โรคผิวหนังมีที่สรีระของหม่อมฉัน พระเจ้าข้า หม่อมฉันละอายด้วยโรคนั้น. จึงมิได้มา. " พระศาสดา. ก็เธอรู้ไหมว่า ่โรคนั้นอาศัยกรรมอะไรของเธอ จึงเกิดขึ้น ? " พระนางโรหิณี. หม่อมฉันไม่ทราบ พระเจ้าข้า. พระศาสดา. โรคนั้นอาศัยความโกรธของเธอ จึงเกิดขึ้นแล้ว. พระนางโรหิณี. ก็หม่อมฉันทำกรรมอะไรไว้ ? พระเจ้าข้า. บุรพกรรมของพระนางโรหิณี

    ลำดับนั้น พระศาสดาทรงนำอดีตนิทานมา (ตรัสแก่พระนาง)ว่า:-[คำวิจารณ์][โหวต] [​IMG]</td></tr><tr><td></td></tr><tr><td></td></tr></table>​


    <hr noshade color="#CCCCCC" align="right" width="60%" size="1"> --><CENTER><TABLE style="BORDER-COLLAPSE: collapse" border=0 cellSpacing=0 borderColor=#111111 cellPadding=0 width=644><TBODY><TR><TD width=644 colSpan=2><HR color=#ebebeb SIZE=1 noShade></TD></TR><TR><TD width=560>

    ในอดีตกาล พระอัครมเหสีของพระเจ้าพาราณสี ผูกอาฆาตในหญิงนักฟ้อนของพระราชาองค์หนึ่ง ทรงดำริว่า " เราจักให้ทุกข์เกิดแก่หญิงนั้น " แล้วให้เขานำลูกเต่าร้างใหญ่มา<SUP>๑</SUP>รับสั่งให้เรียกหญิงนักฟ้อนนั้นมายังสำนักของตนแล้ว. ให้ใส่ผงเต่าร้างบนที่นอน ที่ผ้าห่ม และที่ระหว่างเครื่องใช้ มีผ้าปูที่นอนเป็นต้น ของหญิงนักฟ้อนนั้น โดยประการที่นางไม่ทันรู้ตัว. โปรยลงแม้ที่ตัวของนาง ราวกะทำความเย้ยหยันเล่น ทันใดนั้นเอง สรีระของหญิงนั้นได้พุพองขึ้นเป็นตุ่มน้อยตุ่มใหญ่. นางเกาอยู่ไปนอนบนที่นอน. เมื่อนางถูกผงเต่าร้างกัดแม้บนที่นอนนั้น เวทนากล้ายิ่งนักเกิดขึ้นแล้ว. พระอัครมเหสีในกาลนั้นได้เป็นพระนางโรหิณี. พระศาสดา ครั้นทรงนำอดีตนิทานั้นมาแล้ว ตรัสว่า " โรหิณี ก็กรรมนั่นที่เธอทำแล้วในกาลนั้น, ก็ความโกรธก็ดี ความริษยาก็ดี แม้มีประมาณเล็กน้อย ย่อมไม่ควรทำเลย " ดังนี้แล้ว จึงตรัสพระคาถานี้ว่า :- ๑. โกธํ ชเห วิปฺปชเหยฺย มานํ สญฺโ?ชนํ<SUP>๒</SUP> สพฺพมติกฺกเมยฺย ตนฺนามรูปสฺมึ อสชฺชมานํ อกิญฺจนํ นานุปตนฺติ ทุกฺขา. " บุคคลพึงละความโกรธ, สละความถือตัว ล่วงสังโยชน์ทั้งสิ้นได้ ทุกทั้งหลายย่อมไม่ตกต้อง, บุคคลนั้น ผู้ไม่ข้องในนามรูป ไม่มีกิเลสเครื่อง กังวล. "๑. แปลว่า หมามุ้ยใหญ่ ก็มี. ๒. อรรถกถา เป็น สํโยชนํ.[​IMG]

    </PRE></TD><TD vAlign=top width=100>หน้าที่ 429 [​IMG]


    </TD></TR></TBODY></TABLE></CENTER><!--</p><table width='90 %' border=0 cellpadding=0><tr><td> ในอดีตกาล พระอัครมเหสีของพระเจ้าพาราณสี ผูกอาฆาตในหญิงนักฟ้อนของพระราชาองค์หนึ่ง ทรงดำริว่า " เราจักให้ทุกข์เกิดแก่หญิงนั้น " แล้วให้เขานำลูกเต่าร้างใหญ่มา<SUP>๑</SUP>รับสั่งให้เรียกหญิงนักฟ้อนนั้นมายังสำนักของตนแล้ว. ให้ใส่ผงเต่าร้างบนที่นอน ที่ผ้าห่ม และที่ระหว่างเครื่องใช้ มีผ้าปูที่นอนเป็นต้น ของหญิงนักฟ้อนนั้น โดยประการที่นางไม่ทันรู้ตัว. โปรยลงแม้ที่ตัวของนาง ราวกะทำความเย้ยหยันเล่น ทันใดนั้นเอง สรีระของหญิงนั้นได้พุพองขึ้นเป็นตุ่มน้อยตุ่มใหญ่. นางเกาอยู่ไปนอนบนที่นอน. เมื่อนางถูกผงเต่าร้างกัดแม้บนที่นอนนั้น เวทนากล้ายิ่งนักเกิดขึ้นแล้ว. พระอัครมเหสีในกาลนั้นได้เป็นพระนางโรหิณี. พระศาสดา ครั้นทรงนำอดีตนิทานั้นมาแล้ว ตรัสว่า " โรหิณี ก็กรรมนั่นที่เธอทำแล้วในกาลนั้น, ก็ความโกรธก็ดี ความริษยาก็ดี แม้มีประมาณเล็กน้อย ย่อมไม่ควรทำเลย " ดังนี้แล้ว จึงตรัสพระคาถานี้ว่า :- ๑. โกธํ ชเห วิปฺปชเหยฺย มานํ สญฺโ?ชนํ<SUP>๒</SUP> สพฺพมติกฺกเมยฺย ตนฺนามรูปสฺมึ อสชฺชมานํ อกิญฺจนํ นานุปตนฺติ ทุกฺขา. " บุคคลพึงละความโกรธ, สละความถือตัว ล่วงสังโยชน์ทั้งสิ้นได้ ทุกทั้งหลายย่อมไม่ตกต้อง, บุคคลนั้น ผู้ไม่ข้องในนามรูป ไม่มีกิเลสเครื่อง กังวล. "๑. แปลว่า หมามุ้ยใหญ่ ก็มี. ๒. อรรถกถา เป็น สํโยชนํ.[คำวิจารณ์][โหวต] [​IMG]</td></tr><tr><td></td></tr><tr><td></td></tr></table>​


    <hr noshade color="#CCCCCC" align="right" width="60%" size="1"> --><CENTER><TABLE style="BORDER-COLLAPSE: collapse" border=0 cellSpacing=0 borderColor=#111111 cellPadding=0 width=644><TBODY><TR><TD width=644 colSpan=2><HR color=#ebebeb SIZE=1 noShade></TD></TR><TR><TD width=560>
    แก้อรรถ


    บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า โกธํ ความว่า พึงละความโกรธทุกๆอาการก็ดี มานะ ๙ อย่างก็ดี. บทว่า สํโยชนํ ความว่า พึงล่วงสังโยชน์ทั้ง ๑๐ อย่าง มีกามราคสังโยชน์เป็นต้น. บทว่า อสชฺชมานํ ความว่า ไม่ข้องอยู่. อธิบายว่า ก็ผู้ใดยึดถือนามรูปโดยนัยว่า " รูปของเรา, เวทนาของเรา เป็นต้น และเมื่อนามรูปนั้นแตกไป. ย่อมเศร้าโศกเดือดร้อน; ผู้นี้ชื่อว่าข้องอยู่ในนามรูป;ส่วนผู้ไม่ยึดถืออย่างนั้น ชื่อว่าย่อมไม่ขัดข้อง; ขึ้นชื่อว่าทุกข์ทั้งหลายย่อมไม่ตกต้องบุคคลนั้น ผู้ไม่ข้องอยู่อย่างนั้น ผู้ชื่อว่าไม่มีกิเลสเครื่องกังวล เพราะไม่มีราคะเป็นต้น. ในกาลจบเทศนา ชนเป็นอันมากบรรลุอริยผลทั้งหลาย มีโสดา-ปัตติผลเป็นต้น. แม้พระนางโรหิณี ก็ดำรงอยู่ในโสดาปัตติผล. สรีระของพระนางได้มีวรรณะดุจทองคำ ในขณะนั้นเอง. พระนางจุติจากอัตภาพนั้นแล้วเกิดในระหว่างเขตแดนของเทพบุตร ๔ องค์ ในภพดาวดึงส์ ได้เป็นผู้น่าเลื่อมใส ถึงความเป็นผู้มีรูปงามเลิศ เทพบุตรทั้ง ๔ องค์เห็นนางแล้วเป็นผู้เกิดความสิเนหา วิวาทกันว่า " นางเกิดภายในแดนของเรา, นางเกิดภายในแดนของเรา." ไปสู่สำนักของท้าวสักกเทวราช กราบทูลว่า" ข้าแต่เทพเจ้า ข้าพระองค์ทั้งสี่เกิดคดีขึ้น เพราะอาศัยเทพธิดานี้, ขอพระองค์ทรงวินิจฉัยคดีนั้น. " แม้ท้าวสักกะ แต่พอได้ทรงเห็นพระนางก็เป็นผู้เกิดสิเนหา ตรัสอย่างนั้นว่า " จําเดิมแต่กาลที่พวกท่านเห็นเทพธิดา[​IMG]

    </PRE></TD><TD vAlign=top width=100>หน้าที่ 430 [​IMG]


    </TD></TR></TBODY></TABLE></CENTER><!--</p><table width='90 %' border=0 cellpadding=0><tr><td> แก้อรรถ

    บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า โกธํ ความว่า พึงละความโกรธทุกๆอาการก็ดี มานะ ๙ อย่างก็ดี. บทว่า สํโยชนํ ความว่า พึงล่วงสังโยชน์ทั้ง ๑๐ อย่าง มีกามราคสังโยชน์เป็นต้น. บทว่า อสชฺชมานํ ความว่า ไม่ข้องอยู่. อธิบายว่า ก็ผู้ใดยึดถือนามรูปโดยนัยว่า " รูปของเรา, เวทนาของเรา เป็นต้น และเมื่อนามรูปนั้นแตกไป. ย่อมเศร้าโศกเดือดร้อน; ผู้นี้ชื่อว่าข้องอยู่ในนามรูป;ส่วนผู้ไม่ยึดถืออย่างนั้น ชื่อว่าย่อมไม่ขัดข้อง; ขึ้นชื่อว่าทุกข์ทั้งหลายย่อมไม่ตกต้องบุคคลนั้น ผู้ไม่ข้องอยู่อย่างนั้น ผู้ชื่อว่าไม่มีกิเลสเครื่องกังวล เพราะไม่มีราคะเป็นต้น. ในกาลจบเทศนา ชนเป็นอันมากบรรลุอริยผลทั้งหลาย มีโสดา-ปัตติผลเป็นต้น. แม้พระนางโรหิณี ก็ดำรงอยู่ในโสดาปัตติผล. สรีระของพระนางได้มีวรรณะดุจทองคำ ในขณะนั้นเอง. พระนางจุติจากอัตภาพนั้นแล้วเกิดในระหว่างเขตแดนของเทพบุตร ๔ องค์ ในภพดาวดึงส์ ได้เป็นผู้น่าเลื่อมใส ถึงความเป็นผู้มีรูปงามเลิศ เทพบุตรทั้ง ๔ องค์เห็นนางแล้วเป็นผู้เกิดความสิเนหา วิวาทกันว่า " นางเกิดภายในแดนของเรา, นางเกิดภายในแดนของเรา." ไปสู่สำนักของท้าวสักกเทวราช กราบทูลว่า" ข้าแต่เทพเจ้า ข้าพระองค์ทั้งสี่เกิดคดีขึ้น เพราะอาศัยเทพธิดานี้, ขอพระองค์ทรงวินิจฉัยคดีนั้น. " แม้ท้าวสักกะ แต่พอได้ทรงเห็นพระนางก็เป็นผู้เกิดสิเนหา ตรัสอย่างนั้นว่า " จําเดิมแต่กาลที่พวกท่านเห็นเทพธิดา[คำวิจารณ์][โหวต] [​IMG]</td></tr><tr><td></td></tr><tr><td></td></tr></table>​


    <hr noshade color="#CCCCCC" align="right" width="60%" size="1"> --><CENTER><TABLE style="BORDER-COLLAPSE: collapse" border=0 cellSpacing=0 borderColor=#111111 cellPadding=0 width=644><TBODY><TR><TD width=644 colSpan=2><HR color=#ebebeb SIZE=1 noShade></TD></TR><TR><TD width=560>

    นี้แล้ว จิตเกิดขึ้นอย่างไร. ? " ลำดับนั้น เทพบุตรองค์หนึ่งกราบทูลว่า " จิตของข้าพระองค์เกิดขึ้นดุจกลองในคราวสงครามก่อน ไม่อาจสงบลงได้เลย. " องค์ที่ ๒ จิตของข้าพระองค์ [เกิดขึ้น] เหมือนแม่น้ำตกจากภูเขาย่อมเป็นไปเร็วพลันทีเดียว. องค์ที่ ๓. จำเดิมแต่กาลที่ข้าพระองค์เห็นนางนี้แล้ว ตาทั้งสองถลนออกแล้ว ดุจตาของปู. องค์ที่ ๔. จิตของข้าพระองค์ประดุจธงที่เขายกขึ้นบนเจดีย์ ไม่สามารถจะดำรงนิ่งอยู่ได้. ครั้งนั้น ท้าวสักกะตรัสกะเทพบุตรทั้งสี่นั้นว่า " พ่อทั้งหลาย จิตของพวกท่านยังพอข่มได้ก่อน ส่วนเราเมื่อได้เห็นเทพธิดานี้ จึงจักเป็นอยู่ เมื่อเราไม่ได้ จักต้องตาย. " พวกเทพบุตรจึงทูลว่า " ข้าแต่มหาราช พวกข้าพระองค์ไม่มีความต้องการด้วยความตายของพระองค์ " แล้วต่างสละเทพธิดานั้นถวายท้าวสักกะแล้วหลีกไป. เทพธิดานั้นได้เป็นที่รักที่พอพระหฤทัยของท้าวสักกะ.เมื่อนางกราบทูลว่า " หม่อมฉันจักไปสู่สนามเล่นชื่อโน้น " ท้าวสักกะก็ไม่สามารถจะทรงขัดคำของนางได้เลย ดังนี้แล. เรื่องเจ้าหญิงโรหิณี จบ.[​IMG]


    </PRE></TD><TD vAlign=top width=100>



    </TD></TR></TBODY></TABLE></CENTER>
     
    แก้ไขครั้งล่าสุดโดยผู้ดูแล: 3 ธันวาคม 2010
  6. supatorn

    supatorn ผู้สนับสนุนเว็บพลังจิต ผู้สนับสนุนพิเศษ

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 กรกฎาคม 2010
    โพสต์:
    48,760
    กระทู้เรื่องเด่น:
    169
    ค่าพลัง:
    +33,051
    ขอบคุณในธรรมทานค่ะ
    บุญรักษาทุกท่านค่ะ




    ;k06
     

แชร์หน้านี้

Loading...