รวบรวมข้อมูลเตรียมตัวรับมือกับภัยพิบัติ

ในห้อง 'ภัยพิบัติและการเตรียมการ' ตั้งกระทู้โดย kananun, 28 กันยายน 2006.

  1. เกษม

    เกษม ผู้สนับสนุนเว็บพลังจิต ผู้สนับสนุนพิเศษ สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 พฤศจิกายน 2004
    โพสต์:
    24,696
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +77,193
    บ้านพลังงานแสงอาทิตย์
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top colSpan=3><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top width="100%" height=21>
    [​IMG]
    </TD></TR><TR><TD height=1></TD></TR></TBODY></TABLE>
    </TD><TD></TD></TR><TR><TD height=30><DIR><DIR>ส่วนประกอบของระบบ

    แผงเซลล์แสงอาทิตย์ 2 แผง ( แผงละ 60 วัตต์ )
    แบตเตอรี่ขนาด 120 Ahr
    เครื่องแปลงกระแสไฟฟ้า
    อุปกรณ์ควบคุมการประจุแบตเตอรี่
    โทรทัศน์สี 14 นิ้ว
    หลอดฟูลออเรสเซนต์ 10 วัตต์ 2 หลอด
    ระยะเวลาการใช้งาน 5 ชั่วโมง / วัน

    ลักษณะการทำงาน

    ในเวลากลางวันที่มีแสงแดด กระแสไฟฟ้าที่ผลิตได้จะถูกเก็บไว้ในแบตเตอรี่ ซึ่งแบตเตอรี่จะจ่ายกระแสไฟฟ้าผ่านอินเวอร์ทเตอร์ ทำให้สามารถชมรายการโทรทัศน์และเปิดไฟฟ้าได้เป็นเวลาประมาณ 5 ชั่วโมงต่อวัน กรณีที่ไม่มีแสงแดด ก็สามารถใช้พลังงานไฟฟ้าสำรองที่ประจุไว้ในแบตเตอรี่ได้

    งบประมาณ


    ราคาประมาณ 25,000.- บาท ( ไม่รวม โทรทัศน์ และโคมไฟฟ้า )
    </DIR></DIR>
    </TD><TD vAlign=top colSpan=3>
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" align=left border=0><!--DWLayoutTable--><TBODY></TBODY></TABLE>​
    </TD></TR></TBODY></TABLE>​
    รูปภาพ ตัวอย่างบ้านพลังงานแสงอาทิตย์

    [​IMG]
     
  2. เกษม

    เกษม ผู้สนับสนุนเว็บพลังจิต ผู้สนับสนุนพิเศษ สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 พฤศจิกายน 2004
    โพสต์:
    24,696
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +77,193
    <TABLE width="100%"><TBODY><TR><TD vAlign=center>
    อุปกรณ์แค้มปิ้ง
    </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE width="100%"><TBODY><TR><TD width=30></TD><TD align=left>ตรงนี้รวบรวมกระทู้น่าสนใจไว้ให้นะครับ บางอย่างก็เก่าไปบ้าง แต่ส่วนใหญ่เป็นความรู้ที่ใช้ได้ตลอดไปครับ แต่ถ้าสงสัย และอยากรู้อีกหลายพันอย่าง ไปถามเพิ่มเติมได้เลยใน ...... กระดานข่าว อุปกรณ์เดินป่า และเทคนิค ของเทรคกิ้งไทยดอทคอม คลิกเลยครับ ...มีอีกหลายพันกระทู้ และมีคนใจดีช่วยตอบเยอะมากครับ รับรองท่านเข้าไปแล้วจะติดหนึบ เพราะรวมคนรู้ด้าน เดินป่า แค้มปิ้ง เอาไว้เยอะจริง ๆ นะ ..

    [​IMG]ร้านจำหน่ายอุปกรณ์เดินป่าของเราเอง :
    [​IMG]
    ร้าน TKT Adventure (ปีที่ 8) อยู่ติดสถานีรถไฟฟ้าสนามเป้า เดินทางสะดวก |


    [​IMG]หมวดการเลือกใช้ / แหล่งหาซื้ออุปกรณ์ แค้มปิ้ง :
    [​IMG]
    เช็คลิสต์อุปกรณ์ก่อนเดินทาง |
    [​IMG]
    จัดของไป ท่องป่าหน้าฝน |
    [​IMG]
    สิ่งของที่ควรมีอยู่ใน เป้ |
    [​IMG]
    วิธีไปซื้อของที่ ตลาดโรงเกลือ |
    [​IMG]
    ร้าน แดงรัสเซีย ที่จตุจักร |
    [​IMG]
    ชอปปิ้ง คลองถม สะพานเหล็ก |
    [​IMG]
    ร้าน TKT Adventure จำหน่ายอุปกรณ์เดินป่า|
    [​IMG]
    List ร้านอื่น ๆ เพื่อ ชอปปิ้ง อุปกรณ์เดินป่า แค้มปิ้ง ออนไลน์ |
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE width="100%"><TBODY><TR><TD width=50></TD><TD align=left>[​IMG]รองเท้าเดินป่า / ถุงเท้า :
    [​IMG]
    ช่วยแนะนำ รองเท้า Sandal แบบดี ๆ ให้หน่อยสิครับ
    [​IMG]
    อยากได้ รองเท้าเดินป่า ดี ๆ สักคู่ไว้ใช้ |
    [​IMG]
    รองเท้าเดินป่า ครอบจักรวาล |
    [​IMG]
    กำจัดกลิ่นอับในรองเท้า |
    [​IMG]
    เท้านั้นสำคัญไฉน |
    [​IMG]
    วิธีทำให้รองเท้าแห้งเร็ว |
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE width="100%"><TBODY><TR><TD width=50></TD><TD align=left>[​IMG]เป้ / ผ้าคลุม เป้ :
    [​IMG]
    คู่มือเลือก เป้ สัมภาระ |
    [​IMG]
    ซื้อ เป้ ยี่ห้อไหนดีหว่า |
    [​IMG]
    แหล่งซื้อ เป้ ค่ะ |
    [​IMG]
    ต้องการซื้อ เป้ ที่จตุจักร |
    [​IMG]
    อยากได้ เป้ เดินทางมือสอง |
    [​IMG]
    หาซื้อ ผ้าคลุมเป้ |
    [​IMG]
    ผ้าที่ใช้ในการทำ เป้
    [​IMG]
    เป้ ยี่ห้ออะไร คนใช้เยอะที่สุดครับ
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE width="100%"><TBODY><TR><TD width=50></TD><TD align=left>[​IMG]เครื่องแต่งกาย / เสื้อ / กางเกง / เสื้อกันฝน :
    [​IMG]
    แจ๊คเก็ตเดินป่าหน้าหนาว |
    [​IMG]
    กางเกงเดินป่า หน้าฝน |
    [​IMG]
    ถามเรื่อง ผ้าปันโจ ค่ะ |
    [​IMG]
    หมวกกันแมลง |
    [​IMG]
    อุปกรณ์สีแสบตา |
    [​IMG]
    กางเกงอเมริกัน ทรงรถถัง|
    [​IMG]
    เลือก เสื้อกันฝน แจ๋ว ๆ สักตัว|
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE width="100%"><TBODY><TR><TD width=70></TD><TD align=left>[​IMG]เต้นท์ / อุปกรณ์ เต้นท์ ( เต็นท์ / เต๊นท์ ) :
    [​IMG]
    คู่มือเลือกเต็นท์ |
    [​IMG]
    ข้อมูลร้านที่รับซ่อม เต็นท์ |
    [​IMG]
    เต็นท์ รั่ว ซ่อมยังไงดี |
    [​IMG]
    วิธีกาง เต็นท์ หน้าฝน |
    [​IMG]
    กาง เต็นท์ หน้าฝนริมทะเล |
    [​IMG]
    มาออกแบบ+สร้าง เต็นท์ กันเถอะ |
    [​IMG]
    การเก็บ เต็นท์ สปริง |
    [​IMG]
    ทำยังไงถึงจะนอน เต็นท์ แล้วไม่ร้อน |
    [​IMG]
    แก้น้ำซึมตะเข็บ เต็นท์ ยังไงดี |
    [​IMG]
    วิธีการเก็บ เต็นท์ ให้ใช้ได้นานๆ |
    [​IMG]
    เลือกทำเลกาง เต็นท์ อย่างไรดี |
    [​IMG]
    ฟลายชีต เต็นท์ แบบคลุมหมด|
    [​IMG]
    Wave of Future Tents |
    [​IMG]
    Nylon 190T กับ 210T ต่างกันอย่างไร |
    [​IMG]
    เต็นท์ แบบซีลตะเข็บน้ำซึม
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE width="100%"><TBODY><TR><TD width=70></TD><TD align=left>[​IMG]เปล / ฟลายชีต :
    [​IMG]
    เปลนอนตอน 1 |
    [​IMG]
    เปลนอนตอน 2 |
    [​IMG]
    เปลนอนตอน 3 |
    [​IMG]
    วิธีผูก เปล และกันน้ำไหลเข้าเปล |
    [​IMG]
    นอน เปล หน้าหนาว..บรื่อส์ |
    [​IMG]
    ผูก เปล นอนกลางสายฝน |
    [​IMG]
    เวลาผูก เปล นอนเอาของเก็บไว้ไหน
    [​IMG] Fly Sheet แบบชั่วคราว |
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE width="100%"><TBODY><TR><TD align=left>[​IMG] ถุงนอน :
    [​IMG]
    คู่มือเลือก ถุงนอน |
    [​IMG]
    ถุงนอน นอก ตัวไหนเล็กสุด |
    [​IMG]
    ถุงนอน เกะกะในเป้ แก้ยังไงดี |
    [​IMG]
    แนะนำ ถุงนอน ไม่เกิน 1,000 บาทให้หน่อยค่ะ |
    [​IMG]
    เทคนิคสู้ความหนาวจัด |
    [​IMG]
    แก้หนาว ด้วยการอาบน้ำ |
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE width="100%"><TBODY><TR><TD align=left>[​IMG] มีด /Multi Tools :
    [​IMG]
    มีด ที่คุณประทับใจ |
    [​IMG]
    มีด พับคู่ใจ #1 |
    [​IMG]
    ประวัติ มีด VictoriNox |
    [​IMG]
    แนะนำอุปกรณ์ของ VictoriNox |
    [​IMG]
    อุปกรณ์ใน มีด Victorinox ที่คุณใช้มากที่สุด|
    [​IMG]
    วิธีลับ มีด Victorinox |
    [​IMG]
    วิธีลับ มีด กรูข่า |
    [​IMG]
    วิธีการควง มีด แบบผีเสื้อ |
    [​IMG]
    โครงการทำ มีด อีเหน็บ TKT |
    [​IMG]
    มีด AITOR |
    [​IMG]
    เว็บขาย มีด เดินป่าค่ายพระรามหก |
    [​IMG]
    ลับ มีด แล่ Buck ให้คมได้อย่างไร |
    [​IMG]
    รูปแบบของ มีด สารพัดประโยชน์ในอนาคต
    [​IMG]
    มีใครเล่น มีด ดาบซามูไรบ้าง
    [​IMG]
    LeatherMan Juice นี่ดีไหมคะ
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE width="100%"><TBODY><TR><TD align=left>[​IMG]เตา และ ตะเกียง :
    [​IMG]
    เตาน้ำมัน camping ของรัสเซีย |
    [​IMG]
    เตาน้ำมัน ทำเอง |
    [​IMG]
    เตาน้ำมัน แบบ Multi Fuel |
    [​IMG]
    White gas คืออะไร
    [​IMG]
    หาซื้อ White Gas จากที่ไหนได้บ้างครับ |
    [​IMG]
    หัวเตาแก๊ส แบบ 3 ขา |
    [​IMG]
    แก๊ส 250 กรัมใช้ได้นานกี่นาที |
    [​IMG]
    แก๊สกระป๋อง เติมได้หรือเปล่า ? |
    [​IMG]
    ตะเกียงแก๊ส ( ตะเกียงแกส ) ใช้ยังไงคะ |
    [​IMG]
    Lighting Box |
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE width="100%"><TBODY><TR><TD align=left>[​IMG]หม้อสนาม / ชุดทำครัว :
    [​IMG]
    การเลือกซื้อ หม้อสนาม | </TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE width="100%"><TBODY><TR><TD align=left>[​IMG]เข็มทิศ :
    [​IMG]
    เข็มทิศ #1 |
    [​IMG]
    เข็มทิศ # 2 |
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE width="100%"><TBODY><TR><TD align=left>[​IMG]ไฟฉาย :
    [​IMG]
    โมดิฟาย ไฟฉาย เดินป่าด้วยตัวคุณเอง |
    [​IMG]
    ใครเคยใช้ Surefire บ้าง ดีหรือไม่ดีอย่างไร
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE width="100%"><TBODY><TR><TD align=left>[​IMG]กระติก / เครื่องกรองน้ำ :
    [​IMG]
    อุปกรณ์ทำให้น้ำสะอาด |
    [​IMG]
    อุปกรณ์บรรจุน้ำ |
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE width="100%"><TBODY><TR><TD align=left>[​IMG]นาฬิกา :
    [​IMG]
    นาฬิกา เพื่อการ เดินป่า | </TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE width="100%"><TBODY><TR><TD align=left>[​IMG]อื่น ๆ :
    [​IMG]
    Ninja Grappling Hook |

    ที่มา http://www.trekkingthai.com/gear/gearinfo.htm
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  3. เกษม

    เกษม ผู้สนับสนุนเว็บพลังจิต ผู้สนับสนุนพิเศษ สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 พฤศจิกายน 2004
    โพสต์:
    24,696
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +77,193
    [​IMG]
    อีกนิยามนักเดินทาง
    <TABLE width="100%" border=0><TBODY><TR><TD width=650>เปลเต็นท์สยาม เป็นงานคิดค้นนวัตกรรมใหม่เพื่อคนเดินทาง โดยคนไทยอันเกิดจากประสบการณ์การใช้ชีวิตกลางแจ้งยาวนาน ผนวกกับแรงบันดาลใจที่อยากเห็นภูมิปัญญาไทยสู่ระดับสากล และปฎิวัติรูปแบบการใช้อุปกรณ์ งานคิดค้นเปลเต็นท์ของไทยจึงเกิดขึ้นตั้งแต่ปี 2530 และได้รับการคุ้มครองสิทธิบัตรโดยกรมทรัพย์สินทางปัญญา อนุสิทธิบัตรไทยเลขที่ 046/2543 เรียบร้อยแล้ว
    <TABLE width="100%" border=0><TBODY><TR><TD align=middle width="20%">[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE width="100%" border=0><TBODY><TR><TD width="20%">[​IMG]</TD><TD>เปลเต็นท์สยามเป็นทั้งเปลนอนและเต็นท์เดี่ยวในชุดเดียวกัน เบากว่า ประโยชน์ใช้สอยมากกว่า รับประกัน 5 ปี พัฒนาโดยคนรักการเดินป่าอย่างแท้จริง เพื่อนักเดินทางทุกคน เปลเต็นท์นี้จะมีมุ้งเย็บติดบนตัวเปลเต็นท์ ออกแบบเน้นความเรียบง่ายในการใช้งาน อาศัยหลักการธรรมชาติโดยใช้น้ำหนักตัวผู้ใช้เปลเป็นแรงดันยกผ้ามุ้งผ่านก้านพลาสติคที่สอดติดกับผ้ามุ้ง ตามหลักคานดีดคานงัด จากเดิมเราต้องแบกเต็นท์ใหญ่ ๆ หรือเปลมุ้งที่ต้องใช้อุปกรณ์กางเพิ่ม วันนี้เราขอเสนอทางเลือกใหม่ให้นักเดินทางทุกคน ในราคาคุ้มค่ากว่าการซื้อเต็นท์เดี่ยวแพง ๆ จากเมืองนอก ขณะนี้เรายังได้จัดจำหน่ายไปยังหลายประเทศ และได้รับการต้อนรับดีมาก เช่น ออสเตรเลีย เยอรมัน สวิสฯ สวีเดน โดยท่านสามารถเยี่ยมชมเว็บไซต์ภาคภาษาอังกฤษได้SiamHammock.Comครับ และเราได้จัดทำ SHM User Club แล้ว ท่านจึงแน่ใจได้ว่าจะมีการดูแลสินค้า และช่วยเหลือตลอดอายุการใช้งานของสินค้าเลยทีเดียว
    </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE width="100%" border=0><TBODY><TR><TD align=middle width="20%">[​IMG] </TD><TD align=middle width="20%">[​IMG] </TD><TD align=middle width="20%">[​IMG] </TD></TR></TBODY></TABLE>เปลเต็นท์สยามมีน้ำหนักเพียง 1.35 กิโลกรัม พับเก็บแล้วมีความกว้างศูนย์กลางแค่ 12 เซนติเมตร สูง
    32 เซนติเมตร
    แต่สามารถใช้ประโยชน์ได้เอนกประสงค์ ทั้งแบบผูกกับต้นไม้และแบบกางนอนแบบมุ้ง
    หรือเป็นเต็นท์ก็ได้ ภายในมุ้งเปลยังมีที่แขวนแว่นตา , ไฟฉายพร้อมช่องเก็บกระเป๋าเงินที่ใส่ถุงเปลเต็นท์สยามเพิ่มหูคู่
    ไว้สอดรัดเก็บเปลไว้นอกเป้เดินทางได้ พร้อมถุงเปลสยามสามารถดัดแปลงให้เป็นถุงเก็บน้ำสำรองได้อีกด้วย
    ในส่วนชุดประกอบเปลเต็นท์สยามส่วนของหลังคา (Rain Sheet) ยังออกแบบพิเศษให้ใช้ประโยชน์เป็น
    เสื้อกันฝนที่สามารถคลุม ทั้งกระเป๋าเดินทางและผู้ใช้พร้อมๆ ทีเดียวกัน
    วิธีใช้เปลเต็นท์สยาม
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD width="100%"><TABLE width="100%" border=0><TBODY><TR><TD width="50%">[​IMG]
    [​IMG] </TD><TD vAlign=top width="50%">แบบเปลนอนธรรมดา
    ผูกเปลไว้กับต้นไม้หรือเสาพลิกกลับด้านผ้าไนลอน
    เป็นเปลนอนให้ด้านที่มีผ้ามุ้งอยู่ด้านนอกทั้งนี้เพื่อรักษา
    ผ้ามุ้งให้ใช้งานนาน
    ต้องแน่ใจว่าเมื่อเปลแกว่งแล้ว ตัวเปลด้านผ้ามุ้ง
    ไม่ไปขูดหรือเกี่ยววัสดุใดๆ และท่านสามารถนอนหลับสบาย ๆ แน่นอนเพราะเราได้ขยายหน้ากว้างเป็น 120 เซนติเมตรแล้ว จึงได้พื้นที่ภายในเพิ่มมาอีกถึง 4 นิ้ว เรียกว่าไซต์ฝรั่งก็ไม่เกี่ยงนะครับ
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD width="100%">
    [​IMG]
    </TD></TR><TR><TD width="100%"><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top width="50%">แบบเปลกางมุ้งสยามทรงกระสวย
    [​IMG] นำเปลกางออกผูกไว้กับเสาหรือต้นไม้ด้วยเชือก
    ทั้งสองด้าน วิธีผูกควรผูกด้วยเงื่อนผูกเชือกที่สามารถ
    ดึงเชือกคืนกลับได้ง่ายหรือเงื่อนอื่นตามถนัดซึ่งสามารถ
    ให้ความแข็งแรงเมื่อน้ำหนักผู้ใช้ตกลงบนเปล

    </TD><TD width="50%">
    [​IMG]
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    [​IMG]
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top width="50%">
    [​IMG]
    </TD><TD width="50%">[​IMG] จัดแบ่งก้านพลาสติคยืดหยุ่นที่มีทั้งหมด 8 ท่อน
    ออกเป็น 2 ชุด ชุดละ 4 ท่อน แล้วนำต่อประกอบกัน
    แล้วสอดเข้าไปในซองผ้าที่อยู่บนผ้ามุ้ง ให้ปลายก้าน
    พลาสติคซุกอยู่ในซองริมผ้าเปล
    การสอดให้เร็วสะดวก ควรสอดสองอันแรกก่อน
    และค่อยๆ ดึงซองผ้าตามก้านพลาสติคและต่อก้าน
    พลาสติคจนครบ 4 ชิ้น
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD width="100%">
    [​IMG]
    </TD></TR><TR><TD width="100%"><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD width="50%">[​IMG] เมื่อปลายทั้งสองด้านของก้านพลาสติคซุกอยู่ใน
    ซองแล้วผ้ามุ้งจะโป่งพองออกตามแรงดีดของก้าน
    พลาสติคยืดหยุ่น
    กางผ้าพลาสติคออก สอดปูเข้าระหว่างผ้าเปล
    ไนลอนสองชั้น (การใช้ผ้าพลาสติคปูใช้ในกรณีที่
    ต้องการกันยุงหรือแมลงกัดจากด้านล่างผ้าเปล
    ไนลอน หรือกรณีที่ต้องการรักษาความอบอุ่นในตัวเปล)
    </TD><TD vAlign=top width="50%">[​IMG]</TD></TR><TR><TD width="100%" colSpan=2>[​IMG] ในกรณีที่ใช้เปลเต็นท์สยามในฤดูฝน เมื่อกางหลังคากันฝนคลุมเปลแล้ว ให้เอาเชือกฝ้ายมัดผุกปลายทั้ง
    สองด้าน ทำเป็นสายระบายน้ำที่จะไหลเข้ามากับสายเปลนอน
    ภายในมุ้งเปลสยามเมื่อกางออกแล้วจะมีหูสอดเล็กๆ ด้านบน เพื่อใช้แขวนไฟฉายเล็กหรือแขวนแว่นตา และภายในด้านข้างจะมีซองกระเป๋าเล็ก เพื่อไว้ใส่กระเป๋าเงินหรือใส่ของมีค่าหรือหนังสือพอคเก็ตบุ๊ค
    [​IMG]
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>แบบเป็นเต็นท์กางนอนบนพื้นราบหรือบนเตียง
    [​IMG] สำรวจพื้นที่วางเต็นท์ก่อนว่าไม่มีเศษวัสดุมีคมทำลายผ้าเต็นท์
    [​IMG] นำผ้าพลาสติควางรองพื้นก่อน เพื่อป้องกันผ้าเต็นท์ฉีกขาดจากวัสดุใต้พื้นเปลและกันไอเย็นจากพื้นเต็นท์
    [​IMG] ใช้ช่วงกลางของเชือกผูกเต็นท์สอดผูกในหูติดมุ้งทั้งสี่ด้าน ยกโยงปลายเชือกขึ้นผูกทั้งสี่ด้าน ให้ส่วน
    ผ้ามุ้งและผ้าเต็นท์สูงประมาณ 40-50 ซม.
    <TABLE width="100%" border=0><TBODY><TR><TD align=middle width="20%">[​IMG] </TD></TR></TBODY></TABLE>[​IMG]
    แบบเป็นเต็นท์กางนอนบนพื้นทรายหรือสนามหญ้า
    [​IMG] หากิ่งไม้ยาวประมาณ 70 ซ.ม. สองท่อน และด้านหนึ่งเป็นง่าม
    [​IMG] ปูผ้าพลาสติคก่อนปูผ้าเต็นท์ นำกิ่งไม้ปักลงดินราว 20 ซ.ม. ให้ด้านเป็นง่ามสอดอยู่ในหูสอดตัวกลาง
    บนตัวผ้ามุ้งแล้วหาเชือกมัดคล้องปลายง่ามดึงลงพื้น หรืออาจใช้ก้านพลาสติคเป็นหลักหมุดได้บางกรณี
    (กรณีนี้ต้องระวังความเสียหายเมื่อก้านพลาสติคปักลงพื้นและต้องวางองศาการปักหมุดให้รับแรงดึงด้วย)
    [​IMG] ส่วนปลายหูอีกสี่ด้านที่อยู่บนผ้ามุ้ง เอาช่วงกลางของเชือกผูกเต็นท์ผูกกดปลายลงพื้นหาหลักหมุด
    ผูกยึดไว้แบบกางเต็นท์สามเหลี่ยมทั่วไป
    <TABLE width="100%" border=0><TBODY><TR><TD align=middle width="20%">[​IMG]
    [​IMG] </TD></TR></TBODY></TABLE>[​IMG]
    ...ข้อมูลจำเพาะ...
    <CENTER><TABLE height=109 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="90%" bgColor=#0000ff border=1><TBODY><TR><TD class=yo vAlign=top align=middle width="33%" height=79><TABLE width="100%" border=0><TBODY><TR><TD align=middle width="100%" bgColor=#ffffff>รายการ</TD></TR><TR><TD align=middle width="100%" bgColor=#ccffff>น้ำหนักรวม</TD></TR><TR><TD align=middle width="100%" bgColor=#feffd9>ขนาดบรรจุถุงยาว</TD></TR><TR><TD align=middle width="100%" bgColor=#ccffff>ขนาดถุงบรรจุศูนย์กลาง</TD></TR><TR><TD align=middle width="100%" bgColor=#feffd9>ความยาว</TD></TR><TR><TD align=middle width="100%" bgColor=#ccffff>ความกว้าง</TD></TR><TR><TD align=middle width="100%" bgColor=#feffd9>รับน้ำหนักสูงสุด</TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD class=yo align=middle width="33%" height=79><TABLE width="100%" border=0><TBODY><TR><TD align=middle width="100%" bgColor=#ffffff>เปลนอน</TD></TR><TR><TD align=middle width="100%" bgColor=#ccffff>1.35 กิโลกรัม</TD></TR><TR><TD align=middle width="100%" bgColor=#feffd9>32 ซม.</TD></TR><TR><TD align=middle width="100%" bgColor=#ccffff>12 ซม.</TD></TR><TR><TD align=middle width="100%" bgColor=#feffd9>260 ซม.</TD></TR><TR><TD align=middle width="100%" bgColor=#ccffff>120 ซม.</TD></TR><TR><TD align=middle width="100%" bgColor=#feffd9>120 กิโลกรัม</TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD class=yo vAlign=top align=middle width="34%" height=79><TABLE width="100%" border=0><TBODY><TR><TD align=middle width="100%" bgColor=#ffffff>หลังคา/เสื้อกันฝน</TD></TR><TR><TD align=middle width="100%" bgColor=#ccffff>0.45 กิโลกรัม</TD></TR><TR><TD align=middle width="100%" bgColor=#feffd9>20 ซม.</TD></TR><TR><TD align=middle width="100%" bgColor=#ccffff>7 ซม.</TD></TR><TR><TD align=middle width="100%" bgColor=#feffd9>300 ซม.</TD></TR><TR><TD align=middle width="100%" bgColor=#ccffff>160 ซม.</TD></TR><TR><TD align=middle width="100%"></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></CENTER>

    เทคนิคการใช้เปลเต็นท์สยาม
    [​IMG] ก่อนใช้ควรตรวจสอบเชือกผูกว่าชำรุดหรือไม่และควรเปลี่ยนเชือกเปลทุกๆ 2 ปีหรือเมื่อเห็นว่าชำรุด
    [​IMG] ทุกๆ 6 เดือน ควรนำเทียนไขลูบบริเวณร่องซิปตลอดแนว เพื่อให้ซิปมีความลื่นและใช้งานนาน
    [​IMG] การนอนบนเปลขณะไม่ใช้มุ้ง ควรพลิกตัวเปล และนอนบนด้านที่เป็นผ้าไนลอน อย่านอนทับด้านผ้ามุ้ง
    [​IMG] ในที่ที่คิดว่าอาจมีมดหรือแมลงอาจไต่เข้าเปลตามเชือกเปลที่ผูกไว้กับต้นไม้ ให้ทายากันยุงแบบน้ำ
    หรือพ่นบริเวณเชือกหัวเปลยาวประมาณ 2-3 นิ้ว
    หรืออาจใช้ยาเส้นบุหรี่ชุบน้ำกำใส่มือนำมาลูบบนเชือก
    เหนือเปลทั้งสองด้านหรืออาจใช้ยาหม่องทาก็ได้
    [​IMG] การลงบนเปล ควรใช้ส่วนก้นนั่งลงในเปลก่อน ไม่ควรใช้ขาก้าวลงในเปลทันที อาจทำพลิกพลัด
    ตกลงได้ง่าย
    [​IMG] ควรใช้เปลตามขนาดความสูงของผู้ใช้ โดยใช้วิธีคำนวณคร่าวๆ เอาความสูงของตัวผู้ใช้บวกเพิ่ม
    ด้วยความยาว 80 เซนติเมตร จะเท่ากับความยาวโดยประมาณของเปลนอนที่ควรใช้
    [​IMG] ที่ถุงเปลเต็นท์สยาม มีหูสอดสองช่องด้านข้าง ไว้สำหรับสอดรัดถุงเปลไว้กับเป้เดินทางภายนอก ไม่ควร
    สอดไว้ในลักษณะแขวนตัวถุงเปล เพราะอาจทำให้ถุงเปลเต็นท์สยามฉีกขาด
    [​IMG] ถุงเปลเต็นท์สยาม สามารถดัดแปลงให้เป็นถุงเก็บน้ำใช้สำรอง โดยนำถุงพลาสติคที่อยู่ในซองเล็กๆ หน้า
    ถุงเปล มาสอดใส่ในถุงตัวเปลอีกที และใส่น้ำเพื่อใช้เป็นถังสำรองน้ำได้ ก่อนใส่น้ำควรตรวจสอบว่ามี
    เศษหินทรายหรือของมีคมที่อาจตำถุงพลาสติคในถุงเปลได้
    [​IMG] หลังคากันฝนของชุดเปลสยามสามารถนำมาประกอบกับของผู้ใช้ที่เป็นแบบเดียวกันได้ โดยจะทำให้
    พื้นที่ใช้สอยภายในหลังคากว้างมากขึ้น สามารถผูกเปลได้ 2-3 ชั้น
    การดูแลรักษาเปลสยาม
    [​IMG] ห้ามซักเปลสยามด้วยเครื่องซักผ้า ควรซักด้วยมือ
    [​IMG] ซักในน้ำอุณหภูมิปกติ ไม่ควรใช้ผงซักฟอกมากเกินไป
    [​IMG] ตากผึ่งลมในที่ร่ม ไม่ควรตากกลางแดดเป็นเวลานานๆ
    [​IMG] ก่อนลงนอนบนเปล ควรตรวจสอบภายในเปลและในกระเป๋าหรือเสื้อผ้าผู้ใช้ว่ามีวัสดุที่มีคมหรือแหลม
    ที่อาจจะทำให้ไปเกี่ยวหรือตำผ้าเปลและมุ้งหรือไม่
    [​IMG] ไม่ควรกางเปลใกล้กองไฟหรือวัสดุที่มีความร้อนมากเกินไป และไม่ควรสูบบุหรี่เมื่อนอนอยู่ในมุ้งเปล
    [​IMG] การใช้ซิปรูดเข้าออกเปล ควรใช้ด้วยความระมัดระวัง ไม่ให้ผ้ามุ้งและผ้าเปลขวางเข้าไปติดในร่องซิป
    [​IMG]
    [​IMG]
    </TD></TR><TR><TD width=125> ที่มา http://www.trekkingthai.com/shop/sh/siamhammock.htm</TD><TD width=650>
    <CENTER><TABLE border=0><TBODY><TR><TD></TD></TR></TBODY></TABLE></CENTER>​
    </TD></TR></TBODY></TABLE>​
     
  4. kananun

    kananun เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    11 พฤษภาคม 2006
    โพสต์:
    10,282
    ค่าพลัง:
    +114,775
    ขอบคุณคุณเกษมอีกครั้งครับ ผมทำกระทู้นี้หายเพราะล้างเครื่องคอมครับ พอนึกถึงกระทู้นี้ก็พอดี คุณเกษมมาช่วยอัพเดทข้อมูลพอดี ครับ

    ผมขออนุญาตให้ข้อสังเกตุจากการใช้งานจริงว่า ขอให้เลือกอุปกรณ์ที่มีนำหนักเบาที่สุดเข้าไว้ เท่าที่ปัจจัยจะเอื้ออำนวย (เพราะยิ่งเบายิ่งแพงครับ) เพราะอุปกรณ์ที่เบากว่า จะทำให้เราไปได้ไกลกว่า เหนื่อยน้อยกว่า (โดยเฉพาะอย่างยิ่งการเดินขึ้นเขา) การเลือกรองเท้าก็เป็นสิ่งสำคัญครับถ้าเบาและพื้นรองเท้าเหมาะสมกับภูมิประเทศที่จะไปก็ดีครับ
     
  5. เกษม

    เกษม ผู้สนับสนุนเว็บพลังจิต ผู้สนับสนุนพิเศษ สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 พฤศจิกายน 2004
    โพสต์:
    24,696
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +77,193
    ขอบคุณ คุณคนานันท์ที่คอยมาดูแลและให้ความรู้ดีๆ กับชาวเว็บพลังจิตแห่งนี้เช่นเดียวกันครับ ปัญหาเรื่องคอมพิวเตอร์ข้อมูลหายเพราะติดไวรัสผมก็เจอมาบ่อยๆ เหมือนกันครับ วิธีแก้ปัญหานี้ที่ผมใช้ได้ผลมาแล้วก็คือ แบ่งฮาร์ดดิสก์เป็น 2 ไดรฟ์ คือไดรฟ์ C กับไดรฟ์ D เวลาจะเซฟเก็บข้อมูลต่างๆ ก็จะเซฟเก็บไว้ในไดรฟ์ D แห่งเดียวอย่าเซฟเก็บใน My Documents เพราะข้อมูลจะหายหมดเวลาล้างเครื่องลงโปรแกรมวินโดวส์ใหม่ แต่อย่าลืมบอกช่างคอมฯ ให้เก็บข้อมูลในไดรฟ์ D เอาไว้ครับ
     
  6. Nakamura

    Nakamura Moderator ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    20 กันยายน 2005
    โพสต์:
    2,002
    ค่าพลัง:
    +17,625
    ผมแนะนำให้ backup ข้อมูลที่สำคัญๆโดยการไร้ข้อมูลใส่แผ่น CD เก็บไว้อาิทิตย์ละครั้งหรือเดือนละครั้งตามความเหมาะสมนะครับ
    หรืออาจใช้ gmail drive ในการ upload files เข้า server เพื่อสำรองข้อมูลครับ เนื้อที่เก็บข้อมูล 2.7GB
    อย่างของผมก็จะสำรองข้อมูลสำคัญๆหลายๆที่ทั้ง server ส่วนตัว, gmail drive, ไร้ใส่ CD กระจายความเสี่ยง

    เพราะปัจจุบันข้อมูลมีความสำคัญยิ่งกว่าอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ ^^
     
  7. เกษม

    เกษม ผู้สนับสนุนเว็บพลังจิต ผู้สนับสนุนพิเศษ สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 พฤศจิกายน 2004
    โพสต์:
    24,696
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +77,193
    คุณประโยชน์ของเชื้อจุลินทรีย์ EM

    <TABLE id=table4 style="BORDER-TOP-WIDTH: 0px; BORDER-LEFT-WIDTH: 0px; BORDER-RIGHT-WIDTH: 0px" height=229 cellSpacing=0 cellPadding=2 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD style="BORDER-TOP: medium none" vAlign=top width="99%" height=16>
    จุดเด่นสำคัญของ EM คือ ใช้ได้หลากหลาย ไม่ว่าจะเป็นในด้าน
    </TD></TR><TR><TD style="BORDER-TOP: medium none" vAlign=top width="99%" height=16></TD></TR><TR><TD style="BORDER-TOP: medium none" vAlign=top width="99%" height=16>
    [​IMG]
    </TD></TR><TR><TD style="BORDER-TOP: medium none" vAlign=top width="99%" height=16></TD></TR><TR><TD style="BORDER-TOP: medium none" vAlign=top width="99%" height=16>

    o ปลูกพืช การปลูกผัก ไม้ผล พืชไร่ และการทำนา
    o ปศุสัตว์ ไก่ สุกร โคเนื้อ โคนม รวมไปถึงการทำฟาร์มขนาดเล็ก และขนาดใหญ่
    o ประมง การเลี้ยงปลา กุ้ง กบ ตะพาบ รวมถึงสัตว์น้ำทุกประเภท
    o สิ่งแวดล้อม การใช้ EM ในครัวเรือน ชุมชน ตลาด แหล่งขยะ และโรงงานอุตสาหกรรม

    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    บริษัท อี เอ็ม คิวเซ จำกัด ได้รับลิขสิทธิ์จาก .ดร.เทรูโอะ ฮิหงะ ในการผลิต EM แต่เพียงผู้เดียวในประเทศไทย ปัจจุบันบริษัทได้ร่วมมือกับทาง EMRO ปรับปรุงสูตรการผลิตใหม่ที่พิเศษยิ่งขึ้นภายใต้การควบคุมดูแลอย่างใกล้ชิดจากผู้เชี่ยวชาญ ทำให้สามารถผลิต EM ที่มีคุณภาพและประสิทธิภาพตรงตามมาตรฐานสากล จนได้รับเครื่องหมายรับรองคุณภาพมาตรฐานการผลิตจาก EMRO เพื่อให้ผู้ใช้มีความมั่นใจในประสิทธิภาพและคุณภาพของ EM มากขึ้น ทางบริษัทหวังเป็นอย่างยิ่งว่า EM ที่ได้รับเครื่องหมายรับรองคุณภาพจาก EMRO นี้ จะสามารถเพิ่มประสิทธิภาพในการนำไปใช้ประโยชน์ในด้านต่างๆ รวมถึงการรักษาสิ่งแวดล้อมและสุขภาพของทุกท่านได้ และเป็นพลังในการสร้างสรรค์สังคมให้มีความน่าอยู่ยิ่งๆ ขึ้น

    EMRO (EM Research Organization) หรือที่เรามักเรียกกันว่า
     
  8. เกษม

    เกษม ผู้สนับสนุนเว็บพลังจิต ผู้สนับสนุนพิเศษ สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 พฤศจิกายน 2004
    โพสต์:
    24,696
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +77,193
    สุขาลอยน้ำ โดยวิทยาลัยเทคนิคนครสวรรค์

    [​IMG]

    [​IMG]

    [​IMG]

    [​IMG]

    [​IMG]

    [​IMG]

    [​IMG]

    [​IMG]
    ที่มา http://www.nkstec.ac.th/images/tol/index.html

    หมายเหตุ

    เมื่อยามเกิดน้ำท่วม ปัญหาที่ต้องประสบกันก็คือ ไม่สามารถใช้งานห้องสุขาภายในที่พักอาศัยได้ เพราะน้ำท่วมห้องสุขา หากมีห้องสุขาลอยน้ำไว้ในแหล่งชุมชนที่มีน้ำท่วมสูง ก็จะช่วยบรรเทาความเดือดร้อนไปได้ แต่ปัญหาที่จะตามมาก็คือกลิ่นเหม็น และเชื้อโรคต่าง ๆ เพราะต้องใช้ร่วมกันหลายคน เชื้อจุลินทรีย์ EM จึงได้เข้ามามีบทบาทสำคัญในตอนนี้ เพราะเมื่อเรานำน้ำเชื้อจุลินทรีย์ตัวนี้ไปใส่ในโถส้วมลอยน้ำนี้ มันก็จะสร้างกระบวนการย่อยสลายสิ่งปฎิกูลไปอย่างรวดเร็ว ทำให้ไม่เกิดกลิ่นเหม็นและไม่เกิดเชื้อโรคต่างๆ อีกด้วย
    ดังที่เราได้เห็นตัวอย่างเมื่อตอนเกิดน้ำท่วมใหญ่ที่ผ่านมานี้ ที่นักศึกษามหาวิทยาลัยเทคนิคฯ ได้ใช้เชื้อจุลินทรีย์ EM กับสุขาลอยน้ำได้อย่างมีประสิทธิภาพจนเป็นที่ยอมรับกันโดยทั่วไป​
     
  9. เกษม

    เกษม ผู้สนับสนุนเว็บพลังจิต ผู้สนับสนุนพิเศษ สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 พฤศจิกายน 2004
    โพสต์:
    24,696
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +77,193
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR vAlign=top><TD align=middle colSpan=2>[SIZE=+1]พืชมีพิษ <HR width="100%" color=#000000 noShade>[/SIZE]</TD></TR><TR vAlign=top><TD align=right colSpan=2>นาย สุรศักดิ์ พุ่มมณี</TD></TR><TR><TD colSpan=2></TD></TR><TR vAlign=top><TD colSpan=2>
    เห็ดพิษ
    <TABLE border=1><TBODY><TR><TD>[​IMG] </TD></TR></TBODY></TABLE>


    [​IMG]

    เห็ดพิษ มีสารพิษซี่งความร้อนที่ใช้ในการหุงต้มไม่สามารถทำลายได้

    [​IMG]

    เห็ดพิษ- เห็ดละโงกป่าที่ชาวบ้านอ.ท่าลี่ จ.เลย เก็บมาต้มกินทำให้มีผู้เสียชีวิต 2 ราย ได้รับพิษอาการสาหัสอีก 3 ราย จนต้องมีการถ่ายเลือดพิษออกจากร่างกายจำนวนมาก โดยเห็ดชนิดนี้มีวางขายในตลาดด้วย


    </TD></TR><TR vAlign=top><TD colSpan=2>- เห็ดพิษ มีลักษณะดังนี้
    1. สีเข้มจัด เช่น แดง ส้ม ดำ หรือมีสีฉูดฉาด
    2. มีแผ่นหรือเกล็ดขรุขระบนหมวกเห็ด
    3. มีวงแหวนพันรอบบนก้านดอกเห็ด วงแหวนนี้จะเป็นตัวเชื่อมเนื้อเยื่อของหมวกเห็ด และก้านดอกให้ติดกันเมื่อดอกเห็ดบาน
    4. มีขนหรือหนามเล็กๆ กระจายอยู่ทั่วไป
    5. มีกลิ่น
    6. มีน้ำเมือก หรือมีน้ำยางสีขาวออกมาเมื่อกรีดที่หมวกเห็ด
    7. ครีบที่อยู่ใต้หมวกมีสีขาว สปอร์ในครีบมีสีขาวเช่นกัน

    - เห็ดพิษ แบ่งได้เป็น 4 ชนิดดังนี้

    1. เห็ดพันธ์อะมานิตา มัสคาเรีย (Amanita muscaria)
    เห็ดชนิดนี้คล้ายกับเห็ดโคนทั้งเวลาตูมและบาน เส้นผ่าศูนย์กลางของหมวกเห็ดเมื่อบานเต็มที่มีขนาด 2- เซนติเมตร สูง 10-12 เซนติเมตร เส้นผ่าศูนย์กลางของลำต้น ระหว่าง1-2 เซนติเมตร
    สารเป็นพิษที่สำคัญในเห็ดชนิดนี้คือ มัสคารีน(muscarine)
    เห็ดชนิดนี้มีพิษรุนแรง เมื่อรับประทานเข้าไป 15-30 นาที จะมีอาการตัวร้อน ใจสั่น หัวใจเต้นช้าลง เส้นเลือดขยาย มีอาการผิดปกติเกี่ยวกับการเห็นภาพม่านตาหรี่ เหงื่อ น้ำลายและน้ำตาถูกขับออกมามาก ปวดบริเวณช่องท้อง คลื่นไส้ อาเจียน แน่นหน้าอก หายใจขัดและถึงตายในที่สุด

    2. เห็ดพันธ์อะมานิตา ฟัลลอยเดส(Amanita phalloides)
    เห็ดชนิดนี้มีวงแหวนบอบบาง ถ้วยเห็ดคล้ายเห็ดฟาง มีสปอร์สีขาว เส้นผ่าศูนย์กลางของหมวกเห็ดกว้างประมาณ 5-15 เซนติเมตร ลำต้นกว้างประมาณ 0.6-1.5 เซนติเมตร
    เห็ดชนิดนี้มีสารเป็นพิษฟัลโลท็อกซิน(phollotoxin)ซึ่งมีพิษต่อตับ และสารเป็นพิษอะมาโตท็อกซิน(amatotoxin)
    อาการเป็นพิษจะเห็นชัดภายใน 6-12 ชั่วโมง อย่างช้าไม่เกิน 24 ชั่วโมง จะมีอาการอาเจียน ปวดท้องอย่างแรง ท้องเดิน เป็นตะคริว ความดันเลือดต่ำ ตับบวม และถึงแก่ความตายในที่สุด หากรับประทานจำนวนมาก คนไข้จะตายภายใน 2-3 วัน

    3. เห็ดพันธุ์อีโนไซบ์(Inocybe)
    มีลักษณะของหมวกเห็ดเป็นรูปทรงกระบอก สปอร์สีน้ำตาลอ่อน ถ้ารับประทานเห็ดชนิดนี้ จะมีอาการปวดท้อง เนื่องจากกระเพราะอาหารและลำไส้หดเกร็ง

    4. เห็ดพันธุ์โคปรีนัส อาทราเมนทาเรียส(Coprinus atramentarius)
    หรือเห็ดหมึก มีสารที่รวมตัวกับแอลกอฮอล์แล้วจะเกิดพิษ คนดื่มสุราพร้อมกับรับประทานเห็ดชนิดนี้ จะมีอาการใจสั่น หายใจหอบ หายใจลำบาก แน่นหน้าอก คลื่นไส้ อาเจียน ปวดศรีษะ
    เห็ดทั้ง 4 ชนิดนี้ จะมีขึ้นเป็นดงในป่าที่มีความชื้นสูง



    </TD></TR><TR vAlign=top><TD colSpan=2>ขี้หนอน
    [​IMG]

    </TD></TR><TR vAlign=top><TD colSpan=2>เป็นไม้ไม่ผลัดใบ สูงราว 3-6 เมตร พบทั่วไปในป่าดงดิบที่แล้งและในป่าไม้ผลัดใบผสม ใบของมันมีลักษณะคล้ายผักหวาน แต่แผ่นใบหนากว่า ผิวใบไม่มัน สีเขียวอมเทา มีหนามแหลมยาวประปรายตามกิ่ง ลำต้นและใบ ดอกอ่อนเป็นพิษ เมื่อกินเข้าไปทำให้เกิดอาการมึนเมา อาเจียนและอาจทำให้ถึงตายได้
    วิธีการรักษา ควรล้างท้องทันที และให้น้ำเกลือถ้าจำเป็น ในกรณีที่อาเจียนมากๆ ควรปล่อยให้ผู้ป่วยนอนพักผ่อน


    </TD></TR><TR vAlign=top><TD colSpan=2>กลอย
    [​IMG]

    </TD></TR><TR vAlign=top><TD colSpan=2>เป็นพืชไม้ล้มลุก ลักษณะเป็นเถาเลื้อยไปตามดินหรือพาดพันต้นไม้ใหญ่ มีกิ่งก้านออกตามเถา มีใบย่อย 3 ใบ คล้ายพืชตระกูลถั่ว เส้นใบถี่และต้นมีหนามแหลมสั้นๆ ขึ้นตามป่ารกร้างและไหล่เขาทั่วไปในป่าผสม ป่าเต็งรัง และป่าดงดิบ กลอยมีหัวอยู่ใต้ดินลึกประมาณ10-15 เซนติเมตร ลักษณะกลมแบนข้างๆเป็นกลีบเล็กน้อย เปลือกบางมีขนแข็งขึ้นอยู่ขรุขระ รูปร่างคล้ายมันมือเสือ หัวกลอยเจริญและแตกเถาออกจากเหง้าในฤดูฝน และเจริญเติบโตเต็มที่ในฤดูแล้ง หัวจะโตและโผล่ขึ้นมาพ้นดิน ส่วนเถาจะแห้งตายไป ถ้าหัวยังอยู่ในดินจะเริ่มเน่าเหลือแต่เหง้า ซึ่งเมื่อถึงฤดูฝนจะแตกหน่อและงอกหัวเล็กๆ ต่อไปอีกเรื่อยๆ
    ชาวบ้านนิยมเก็บหัวกลอยในฤดูร้อน ระหว่างเดือนเมษายนถึงพฤษภาคม หัวโผล่พ้นดินเก็บง่าย เชื่อกันว่ายังมีพิษน้อยกว่ากลอยที่เก็บในฤดูอื่น ได้มีการทดลองเปรียบเทียบพิษของกลอยที่ขุดมาแต่ละฤดู พบว่าในเดือนสิงหาคมมีสารเป็นพิษสูงที่สุด หัวกลอยมีแป้งมาก มีสารเป็นพิษประเภทอัลคาลอยด์ ชื่อ ไดออสซิน (dioscin) ซึ่งมีคุณสมบัติทางเภสัชวิทยาคล้ายกับพิโครท็อกซิน (picrotoxic) มีฤทธิ์ต่อระบบประสาทส่วนกลาง
    อาการเป็นพิษเนื่องจากรับประทานกลอยคือ คันปาก ลิ้น คอ ม่านตาขยาย และระบบประสาทส่วนกลางถูกกระตุ้น คลื่นไส้ อาเจียน มึนเมา วิงเวียน ใจสั่น ตาพร่า อึดอัด เป็นลม และตัวเย็น นอกจากนั้นบางรายมีอาการประสาทหลอนคล้ายกับอาการของคนบ้าลำโพง และอาจมีอาการกระตุกของกล้ามเนื้อด้วย แต่ยังไม่พบรายงานว่าถึงตาย การรักษาพิษจะรักษาไปตามอาการและโดยการล้างท้อง

    </TD></TR><TR vAlign=top><TD colSpan=2>ลูกเนียง, ชะเนียง
    [​IMG]


    </TD></TR><TR vAlign=top><TD colSpan=2>เป็นพืชตระกูลถั่ว พันธ์ไม้ยืนต้นขนาดกลาง ผลเป็นฝักใหญ่ ในหนึ่งฝักอาจมี 10-14 เมล็ดเนื้อในเมล็ดใช้บริโภค เมื่อแก่จัดเป็นสีเหลืองนวล มีรสมันกรอบ กลิ่นฉุน ธาตุและสารต่างๆ ที่เป็นประโยชน์แก่ร่างกาย ในลูกเนียงประกอบด้วยแป้งร้อยละ 70 โปรตีนร้อยละ 15 นอกจากนี้ประกอบด้วยธาตุเหล็ก แคลเซียม วิตามินบี 1 บี 12 วิตามินซี ฟอสฟอรัส กำมะถัน กรดโฟลิค กรดอะมิโน 12 ชนิด และกรดแจงโคลิค(djenkolic acid) ซึ่งเป็นกรดอะมิโนที่มีกรดกำมะถันสูงมาก และเป็นพิษต่อร่างกาย สารเป็นพิษชนิดนี้จะทำลายระบบประสาทของไตให้เสื่อมลง ถ้ารับประทานลูกเนียงดิบเป็นจำนวนมาก จะทำให้ปัสสาวะไม่ออก หรือปัสสาวะไม่สะดวก ปัสสาวะขุ่นขาวเป็นสีน้ำนม อาจมีอาการปวดท้อง คลื่นไส้ อาเจียนอย่างรุนแรง ถ้าอาการมากระบบไตจะล้มเหลว และถึงตายในที่สุด

    - การป้องกันพิษของลูกเนียง ก่อนที่จะนำมารับประทาน

    1. ให้นำลูกเนียงมาเพาะในทรายให้หน่องอกแล้วตัดหน่อทิ้งเสีย พิษของลูกเนียงจะลดน้อยลง
    2. หั่นลูกเนียงเป็นแผ่นบางๆ ตากแดดให้มาดก่อนจะนำมารับประทาน พิษของมันจะลดลง
    3. ต้มลูกเนียงในน้ำที่ผสมด้วยโซเดียมไบคาร์บอเนตนาน 10 นาที จะทำให้กรดแจงโคลิคลดลงครึ่งหนึ่ง
    วิธีรักษาผู้ป่วยที่แพ้พิษลูกเนียง ปัจจุบันให้ผู้ป่วยรับประทานโซเดียมไบคาร์บอเนต ดื่มน้ำมากๆ หากปัสสาวะออกน้อย หรือปัสสาวะไม่ออก ใช้สายยางสวนปัสสาวะ
    พืชอื่นที่มีลักษณะและรสใกล้เคียงกัน ซึ่งนิยมรับประทานได้แก่ สะตอ ลูกเหรียง ชะเนียงนก แต่การเกิดพิษยังไม่ค่อยมี


    </TD></TR><TR vAlign=top><TD colSpan=2>มันสำปะหลัง และมันสำโรง
    [​IMG]


    </TD></TR><TR vAlign=top><TD colSpan=2>มันทั้งสองชนิดนี้ มีลักษณะที่แตกต่างกันดังนี้



    </TD></TR><TR vAlign=top><TD colSpan=2>ตารางแสดงลักษณะที่แตกต่างของมันสำประหลัง และมันสำโรง</TD></TR><TR vAlign=top><TD colSpan=2><TABLE cellSpacing=2 cellPadding=4 border=0><TBODY><TR bgColor=#cccccc><TD align=middle>ส่วนประกอบ</TD><TD align=middle>มันสำประหลังแดง</TD><TD align=middle>มันสำโรง</TD></TR><TR vAlign=top bgColor=#f3f3f3><TD>ก้านใบ</TD><TD>สีแดง</TD><TD>สีเขียว</TD></TR><TR vAlign=top bgColor=#f3f3f3><TD>ยอดอ่อน</TD><TD>สีเขียวอ่อน,สีน้ำตาลแดง</TD><TD>สีน้ำตาลแก่อมเขียวเล็กน้อย</TD></TR><TR vAlign=top bgColor=#f3f3f3><TD>จำนวนหัว</TD><TD>น้อย</TD><TD>มาก</TD></TR><TR vAlign=top bgColor=#f3f3f3><TD>กรดไฮโดรไซยานิค</TD><TD>ปริมาณน้อยกว่า</TD><TD>ปริมาณมากกว่า</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR vAlign=top><TD colSpan=2></TD></TR><TR vAlign=top><TD colSpan=2></TD></TR><TR vAlign=top><TD colSpan=2>

    </TD></TR><TR vAlign=top><TD colSpan=2>มันทั้ง 2 ชนิดนี้ ถ้านำมาบริโภคดิบๆ จะมีพิษถึงตายได้ ส่วนที่มีพิษมากที่สุดคือเปลือกและหัว พบว่าเปลือกแห้งมีกรดไฮโดรไซยานิคอยู่ราวร้อยละ 0.035 ในหัวแห้งมีร้อยละ 0.009 เปลือกสดมีอยู่ 5-10 เท่าของเนื้อในหัว ในน้ำคั้นหัวสดมีร้อยละ 1.66 ดังนั้นถ้าเด็กที่มีน้ำหนัก 15 กิโลกรัม รับประทานหัวมันดิบ 20-40 กรัม ก็อาจทำให้ตายได้
    อาการเป็นพิษเนื่องจากมันทั้ง 2 ชนิดคือ คลื่นไส้ อาเจียน ปวดท้อง ชัก หอบ มึนงง หายใจขัด หมดสติ อาจตายภายใน 2-4 ชั่วโมง
    วิธีการรักษา ให้สูดดมเอมิลไนไตรท์(amyl nitrite) ประมาณ 0.2 มิลลิลิตร นาน 3 นาที ทุกๆ 5 นาที ทำให้อาเจียน โดยใช้นิ้วล้วงคอ แล้วรีบนำส่งแพทย์ทันที


    </TD></TR><TR vAlign=top><TD colSpan=2>ลำโพงหรือมะเขือบ้า

    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=725 border=0><TBODY><TR><TD>

    </TD><TD></B>

    </TD><TD></B>

    </TD><TD></B>

    </TD><TD></B>

    </TD><TD></B>

    </TD><TD></B>

    </TD><TD></B>

    </TD><TD></B>

    </TD><TD></B>

    </TD><TD></B>

    </TD><TD></B>

    </TD><TD></B>

    </TD><TD></B>

    </TD><TD></B>

    </TD><TD></B>

    </TD><TD></B>

    </TD></TR><TR><TD height=165></B>

    </TD><TD></B>

    </TD><TD></B>

    </TD><TD></B>

    </TD><TD></B>

    </TD><TD></B>

    </TD><TD></B>

    </TD><TD></B>

    </TD><TD></B>
    </TD><TD vAlign=top colSpan=5 rowSpan=2></B>
    [​IMG]
    </TD></TR></TBODY></TABLE></B>

    </TD></TR><TR vAlign=top><TD colSpan=2>เป็นไม้พุ่มชนิดหนึ่ง พบตามที่โล่งๆ หรือตามสวนมีอยู่ทั่วไปเรียกชื่อต่างๆ กัน เช่น มะเขือบ้า เพราะลักษณะใบและผลคล้ายมะเขือ ผลเป็นหนามขรุขระ ขนาดโต 4-5 เซนติเมตร มีเมล็ดเล็กๆ ขนาด 2-3 มิลลิเมตรอยู่ข้างในจำนวนมาก ส่วนที่เป็นพิษมากที่สุดคือ เมล็ดและใบซึ่งมีสารเป็นพิษประเภทอัลคาลอยด์ คือ สโคโปลามีน (scopolamine) ไฮออสไซยามีน (hyoscyamine) และอะโทรปีน (atropine)
    อาการพิษ ถ้ากินเข้าไปจะทำให้คอแห้ง ลิ้นแข็ง หัวใจเต้นเร็ว เสียสติคล้ายคนบ้า อาการจะปรากฏภายในเวลา 5-10 นาทีหลังจากกินเข้าไป แต่ไม่ถึงกับทำให้เสียชีวิต เพราะพิษจะเกิดกับระบบประสาทส่วนกลางและระบบประสาทอัตโนมัติ โดยจะแสดงอาการอยู่ราว 2-3 วัน

    ที่มา http://webdb.dmsc.moph.go.th/ifc_toxic/a_tx_1_001c.asp?info_id=23



    </TD></TR></TBODY></TABLE>
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 17 ธันวาคม 2006
  10. เกษม

    เกษม ผู้สนับสนุนเว็บพลังจิต ผู้สนับสนุนพิเศษ สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 พฤศจิกายน 2004
    โพสต์:
    24,696
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +77,193
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD width=1>[​IMG]</TD><TD vAlign=top width="100%"><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD>
    ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสิ่งเป็นพิษ

    [​IMG]
    </TD></TR><TR><TD><TABLE cellSpacing=2 cellPadding=0 width="100%" border=0><!-- <tr valign="Top"> <td width="100%" align="left" bgcolor="#AAAAAA"> <center>บทความ</center></td></tr> --><TBODY><TR vAlign=top bgColor=#f3f3f3><!-- <td align="center" width="30"> 1</td> --><TD align=left>สารเสพติด <NOBR> Last Updated : 13/12/2549</NOBR></TD></TR><TR vAlign=top bgColor=#ffffff><!-- <td align="center" width="30"> 2</td> --><TD align=left>กรมวิทย์ฯ เตือนภัยประชาชน ระวังชาผงผสมสี <NOBR> Last Updated : 1/12/2549</NOBR></TD></TR><TR vAlign=top bgColor=#f3f3f3><!-- <td align="center" width="30"> 3</td> --><TD align=left>กรมวิทย์ฯผลิตชุดตรวจน้ำมันทอดซ้ำให้ชุมชนเฝ้าระวังกันเป็นมะเร็ง <NOBR> Last Updated : 25/10/2549</NOBR></TD></TR><TR vAlign=top bgColor=#ffffff><!-- <td align="center" width="30"> 4</td> --><TD align=left>สุราและการขับรถ <NOBR> Last Updated : 20/10/2549</NOBR></TD></TR><TR vAlign=top bgColor=#f3f3f3><!-- <td align="center" width="30"> 5</td> --><TD align=left>การใช้สารเคมีกำจัดแมลงในบ้านเรือน <NOBR> Last Updated : 16/10/2549</NOBR></TD></TR><TR vAlign=top bgColor=#ffffff><!-- <td align="center" width="30"> 6</td> --><TD align=left>กรมวิทย์ ฯ เตืยนภัยจากแมลงมีพิษ <NOBR> Last Updated : 30/8/2549</NOBR></TD></TR><TR vAlign=top bgColor=#f3f3f3><!-- <td align="center" width="30"> 7</td> --><TD align=left>เตือนพิษร้ายแรงจากการบริโภคเมล็ดสบู่ดำ <NOBR> Last Updated : 24/7/2549</NOBR></TD></TR><TR vAlign=top bgColor=#ffffff><!-- <td align="center" width="30"> 8</td> --><TD align=left>ภัย"โบท็อกซ์" เสริมสวยด้วย"ยาพิษ!" <NOBR> Last Updated : 24/5/2549</NOBR></TD></TR><TR vAlign=top bgColor=#f3f3f3><!-- <td align="center" width="30"> 9</td> --><TD align=left>สิงห์อมควันระวังภัยบุหรี่ <NOBR> Last Updated : 1/5/2549</NOBR></TD></TR><TR vAlign=top bgColor=#ffffff><!-- <td align="center" width="30"> 10</td> --><TD align=left>
     
  11. เกษม

    เกษม ผู้สนับสนุนเว็บพลังจิต ผู้สนับสนุนพิเศษ สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 พฤศจิกายน 2004
    โพสต์:
    24,696
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +77,193
    มหันตภัยร้ายและประโยชน์ที่ได้รับจากแมลงพิษ

    10 กรกฎาคม 2548 กองบรรณาธิการหนังสือพิมพ์ไทยโพสต์

    <DD>
    [​IMG]


    [​IMG]
    รังต่อหัวเสือขนาดใหญ่


    <DD>แมลงที่มีพิษก็พบว่ามีอยู่ทั่วโลกและมีอยู่มากมายหลายชนิด เช่น ต่อ แตน ผึ้ง แมงป่อง แมงมุม มดตะนอย และยุง แต่กลุ่มที่ดูจะมีอันตราย เนื่องจากทำให้เสียชีวิตในระยะเวลาอันสั้น ก็เห็นจะเป็นแมลงกลุ่มที่มีเหล็กใน (sting) พวกผึ้ง แตนและต่อ เหล็กในคือส่วนที่อยู่ตรงปลายสุดของลำตัว มีลักษณะคล้ายเข็มฉีดยา เมื่อพิจารณาถึงอันตรายจากพิษที่ได้รับ ตัวที่อันตรายที่สุดเห็นจะเป็นต่อ โดยเฉพาะต่อหัวเสือ เนื่องจากต่อมีลักษณะการต่อยคือ เมื่อต่อยลงบนผิวหนังแล้วจะถอนเหล็กในออกได้อย่างรวดเร็ว และต่อยซ้ำๆ กันได้หลายๆ ครั้งติดต่อกัน ซึ่งต่างจากผึ้งจะต่อยได้แค่ครั้งเดียวแล้วก็ฝังเหล็กในไว้บนผิวหนังและตัวมันเองก็ตาย

    <DD>สำหรับอาการของผู้ที่ได้รับพิษจากต่อก็จะมีความแตกต่างกันไป ตั้งแต่คันตรงบริเวณผิวหนังที่ถูกพิษ ไปจนถึงขั้นเสียชีวิต ซึ่งอาการเหล่านี้ก็ขึ้นอยู่กับชนิดของต่อที่ต่อย ปริมาณพิษที่ได้รับ และจำนวนครั้งที่โดนต่อต่อย รวมถึงปฏิกิริยาของผู้ที่ถูกต่อยด้วยว่าแพ้หรือไม่ ส่วนใหญ่แล้วผู้ที่ถูกตัวต่อต่อยก็จะเป็นลักษณะการถูกรุมต่อยโดยต่อหลายๆ ตัว ซึ่งก็จะยิ่งเพิ่มปริมาณพิษให้กับผู้ถูกต่อย โอกาสที่ผู้ถูกต่อต่อยจะเสียชีวิตก็จะมีมากขึ้น


    <DD>อาการเมื่อถูกต่อต่อยก็จะแสดงออกได้ 2 ลักษณะ คือ


    <DD>1.อาการเฉพาะที่ ได้แก่ ปวด บวม แดง ร้อน หรือเป็นผื่นแพ้ ลมพิษตรงบริเวณที่ถูกต่อย ในคนที่ได้รับอยู่บ่อยๆ พิษจะไปกระตุ้นการหลั่งฮีสตามีนจากเนื้อเยื่อ ทำให้บริเวณที่ถูกต่อยเกิดรอยไหม้ ในกรณีที่ถูกตาอาจมีอาการมากกว่าปกติได้

    <DD>2.พิษที่ไปตามกระแสโลหิต ทำให้เกิดอาการทั่วร่างกาย เช่น คัน ลมพิษ หลอมลมบวม หายใจขัด ความดันโลหิตต่ำ และท้องบวม

    <DD>บางรายอาจมีอาการหน้ามืดเป็นลม มีเหงื่อออกมาก ตัวสั่น หาวบ่อย ซึ่งอาการเหล่านี้เป็นอาการช็อกนั่นเอง ในบางรายอาจมีอาการมีลมพิษขึ้นตามตัว คัน เจ็บ และมีไข้ ส่วนในรายที่เกิดปฏิกิริยาอย่างรุนแรง ผู้ป่วยจะมีอาการหายใจลำบาก เขียวคล้ำ ความดันโลหิตต่ำจนช็อก เกิดภาวะการไหวเวียนของโลหิตล้มเหลวและเสียชีวิตในเวลาต่อมา

    <DD>ในประเทศไทยพบว่ามีต่ออยู่หลายชนิดด้วยกัน เช่น ต่อหัวเสือ ต่อป่า ต่อหลวง ต่อรัง ต่อหมาร่า และต่อขายาว ซึ่งการเรียกชื่อนั้นจะเรียกตามลักษณะการทำรัง พฤติกรรมและที่อยู่อาศัย อาหารของต่อส่วนใหญ่จะเป็นพวกเนื้อสัตว์ แต่มันก็ยังกินน้ำหวานเพิ่มเติมด้วยเพื่อใช้ในการเผาผลาญให้เกิดพลังงานแก่ร่างกาย แหล่งที่เป็นพลังงานสำคัญของต่อคือ น้ำหวานจากผลไม้สุกและเกสรดอกไม้ ในการกินเกสรดอกไม้ของต่อหรือผึ้งก็จะเป็นประโยชน์กับต้นไม้ เพราะเป็นการช่วยผสมเกสรให้ดอกไม้ไปในตัว

    <DD>อย่างไรก็ตาม ผึ้งและต่อก็จัดเป็นแมลงที่ช่วยทำประโยชน์ให้กับมนุษย์ได้ทั้งทางตรงและทางอ้อม ในการกินซากเนื้อสัตว์ของต่อก็เป็นการสร้างสมดุลให้กับระบบนิเวศน์ ส่วนในภาคการเกษตรกรรม ต่อเป็นประโยชน์อยู่ไม่น้อยเลยทีเดียว เนื่องจากมันช่วยเกษตรกรในการกำจัดศัตรูของพืชผักที่ปลูก เช่น หนอนผีเสื้อ ตัวอ่อนตั๊กแตน และเพลี้ยอ่อน โดยมันจะจับแมลงเหล่านี้กินเป็นอาหารและยังขนกลับไปกินที่รัง แต่มันจะไม่มีพฤติกรรมการสะสมอาหาร เนื่องจากอาหารที่กินส่วนใหญ่จะเป็นเนื้อสัตว์ ก็จะทำให้เกิดการเน่าเสียขึ้นในรังได้ ส่วนประโยชน์ของผึ้งจะเห็นได้ชัดเจนกว่า เนื่องจากมันมีผลผลิตที่มนุษย์รู้จักและนำมาเป็นอาหาร รวมถึงยารักษาโรคมาเป็นเวลานานนับพันปีมาแล้ว นั่นคือ น้ำผึ้งนั่นเอง นอกจากนี้มนุษย์ยังได้นำตัวอ่อนของต่อและผึ้งมาเป็นอาหาร โดยการนำมาคั่ว นึ่งและทำเป็นน้ำพริก

    <DD>สำหรับเกษตรกรผู้เลี้ยงผึ้งก็ดูจะไม่ถูกกับต่อสักเท่าใดนัก เนื่องจากต่อจะจับผึ้งกินเป็นอาหารโดยการโจมตีรัง แล้วนำตัวอ่อนและน้ำผึ้งไปเป็นอาหาร ดังนั้นต่อจึงเป็นศัตรูตัวฉกาจของเกษตรกรผู้เลี้ยงผึ้ง

    <DD>การป้องกันกำจัดต่อสามารถทำได้โดยใช้สารเคมีบางชนิด เช่น Bendiocarb Carbaryl Diazinon ฉีดพ่นเข้าไปในรัง หรืออาจใช้วิธีการจุดไฟสุมให้เกิดควัน เมื่อได้รับควันไฟต่อก็จะสลบ ซึ่งทุกวิธีต้องทำด้วยความระมัดระวัง และส่วนใหญ่แล้วจะทำกันในเวลากลางคืน ซึ่งต่อทุกตัวจะอยู่ในรัง แต่ไม่จำเป็นก็ไม่ควรไปทำลาย หากมีความจำเป็นต้องกำจัดก็ต้องทำโดยผู้เชี่ยวชาญ


    <DD>ข้อควรปฏิบัติเมื่อถูกแมลงที่มีพิษต่อย


    <DD>1.เมื่อถูกแมลงเหล่านี้ต่อย ควรรีบเขี่ยออกทันทีก็จะช่วยลดปริมาณพิษลง และยังป้องกันไม่ให้เกิดอาการแพ้อย่างรุนแรงได้

    <DD>2.อย่าแหย่หรือทำลายรังของแมลง เพราะจะเป็นการเสี่ยงต่อการถูกต่อย โดยแมลงทีละจำนวนมากๆ เกิดอาการแพ้อย่างรุนแรง หรืออาจทำได้โดยผู้ที่มีความชำนาญ

    <DD>การรักษาเมื่อได้รับพิษจากแมลงกัดต่อย หากพิษไม่มีความรุนแรง เช่น มีอาการผื่นคัน มีตุ่มน้ำ เป็นจุดแดงๆ เล็กๆ หรือมีอาการคัน ก็อาจใช้สมุนไพรบรรเทาอาการได้ แต่ก็ไม่ควรใช้สมุนไพรอย่างเดียวในการรักษา สมุนไพรที่นำมาใช้ เช่น

    <DD>ขมิ้นชัน โดยนำเหง้ายาวประมาณ 2 นิ้ว ฝนกับน้ำต้มสุกทาบริเวณที่เป็น หรือใช้ผงขมิ้นโรยบริเวณที่มีอาการแพ้อักเสบ

    <DD>ตำลึง นำใบสดประมาณ 1 กำมือ ตำคั้นน้ำและนำน้ำมาทาบริเวณที่มีอาการปวดแสบปวดร้อนและคัน เมื่อแห้งแล้วให้ทาซ้ำอีกจนกว่าจะหาย

    <DD>ผักบุ้งทะเล นำใบและเถาสดต้มน้ำอาบแก้อาการคันและบวม

    <DD>พญายอ นำใบสด 10-15 ใบ ตำให้ละเอียด เติมเหล้าขาวพอชุ่มยา แล้วนำมาพอกบริเวณที่มีอาการปวด บวม แดง ร้อน และทาซ้ำบ่อยๆ จนกว่าจะหาย ในการรักษาด้วยพญายอนั้นต้องมีความแน่ใจว่าผู้ถูกพิษไม่มีอาการไข้

    <DD>เสลดพังพอน นำใบ 1 กำมือ ตำให้ละเอียด คั้นเอาน้ำทาบริเวณที่มีอาการแพ้อักเสบ

    <DD>ในรายที่ได้รับพิษแล้วมีอาการแพ้อย่างรุนแรงนั้น ไม่แนะนำให้ใช้สมุนไพรมารักษา เนื่องจากมีความเสี่ยงเกินไป และทางที่ดีที่สุดคือ ให้รีบนำผู้ป่วยส่งโรงพยาบาลให้เร็วที่สุด มิเช่นนั้นแล้วผู้ป่วยอาจเสียชีวิตได้

    <DD>อย่างไรก็ตาม ขอฝากถึงผู้ที่มีความจำเป็นต้องเข้าป่า หรือผู้ที่มีโอกาสเสี่ยงต่อการถูกแมลงต่อย เช่น พนักงานป่าไม้ นักเดินป่า ก็ควรเตรียมอุปกรณ์สำหรับการปฐมพยาบาลเมื่อถูกแมลงกัดต่อยไว้ให้พร้อม ส่วนผู้ที่ชื่นชอบการทานตัวอ่อนของต่อก็ต้องระวังเช่นกัน ต้องดูสถานที่ซื้อที่เชื่อถือได้ว่ามีความปลอดภัย เนื่องจากผู้ที่มีอาชีพหาตัวอ่อนของต่อและผึ้งมาขายนั้นอาจใช้วิธีการที่ได้มาของตัวอ่อนที่เป็นอันตรายกับผู้บริโภคได้ คือนำยาฆ่าแมลงฉีดเข้าไปในรังเพื่อฆ่าตัวแก่ แล้วนำตัวอ่อนมาขาย ผู้บริโภคก็จะได้รับสารพิษไปด้วย ซึ่งก็มีอันตรายมากทีเดียว ดังนั้นเรามาเลิกกินต่อแล้วไปกินอย่างอื่นแทนดีกว่าหรือไม่.<DD>ที่มา http://www.thaipost.net/index.asp?bk=tabloid&post_date=10/Jul/2548&news_id=109746&cat_id=220400
    </DD>
     
  12. kananun

    kananun เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    11 พฤษภาคม 2006
    โพสต์:
    10,282
    ค่าพลัง:
    +114,775
    ขอฝากข้อมูลเรื่อง EM. เพิ่มเติมด้วยครับ เพราะความสำคัญ ต่อการแก้ปัญหาสิ่งแวดล้อมในปัจจุบันอย่างมาก รวมทั้งเมื่อเกิดภัยพิบัติ EM. จะสามารถนำมาใช้ป้องกันการเกิดโรคระบาดได้เป็นอย่างดี รวมทั้งการช่วยเร่งการสลายตัวของสิ่งปฏิกูลต่างๆไม่ให้เป็นที่เพาะเชื้อโรค

    ที่ญี่ปุ่นมีงานวิจัย เรื่องการนำEM. มาใช้สลายกัมมันตภาพรังสีได้ โดยมีการนำไปใช้ที่เชอโนบิล หลังเกิดโรงงานไฟฟ้านิวเคลียร์ ระเบิดครับ

    ส่วนข้อมูลการนำไปใช้อื่นๆ ลองเข้าเวบนี้http://www.emamerica.com/data/environment/research/
    แล้วคลิกหาดูครับ Em. เป็นเทคโนโลยี่ที่มีประสิทธิภาพสูงแต่มีราคาถูกที่สุดจนแทบจะเป็นเทคโนโลยี่ให้เปล่า โดยเฉพาะประเทศไทยมีภูมิอากาศเหมาะสมกับการใช้ EM. ที่สุด

    ที่ผมสนับสนุน เพราะเคยไปช่วยคนรู้จักกัน เขาขุดบ่อเลี้ยงปลาดุกขาย แล้วน้ำเน่าจนเป็นสีดำ แบบน้ำครำ มีก๊าซขึ้นปุดๆแล้ว (ปริมาณ ไนโตรเจนสูงจนเกิดแก๊ซมีเทน ) ปลาดุกที่ว่าอึดๆเริ่มตาย ไปเรื่อยๆ ผมเอาEM. ไปราดให้สอง แกลลอน เท่านั้น (บ่อขนาดเป็นไร่ๆ) ไม่กี่วันน้ำกลับมาใส ปลารอดเกือบหมด เราได้ช่วยชีวิตปลา ฝูงใหญ่ (ส่วนเขาจะเอามันไปทำอะไรต่อ ไป เราไม่รับรู้ )

    ส่วนอีกเรื่องหนึ่งก็คือ ต่อไปกทม. จะเก็บค่าบำบัดน้ำเสียในทุกๆบ้าน ตามปริมาณน้ำปะปาที่ใช้ เพราะระบบ กำจัดน้ำเสียของกทม. แพงมากราคาหลาย หมื่นล้านบาท แต่ที่ผมเห็นที่ท่าน้ำสี่พระยา น้ำที่ปล่อยจาก โรงบำบัด ลงสู่แม่น้ำเจ้าพระยาก็ยังดำปิ๊ดปี๋ อยู่ดีครับ คือแพงและไม่ได้ผลดีเท่าที่ควร

    ข้อแนะนำคือถ้าแต่ละบ้านช่วยกัน ทำEM. เองในบ้าน และใช้ราด ห้องน้ำ ท่อน้ำทิ้งในครัว ชักโครก ใต้ต้นไม้ ซักอาทิตย์ละครั้งแล้ว นอกจากที่จะทำให้ห้องน้ำไม่เหม็น ต้นไม้งามขึ้น แมลงรบกวนน้อยลงแล้ว น้ำที่ไหลต่อไปในท่อระบายน้ำรวมก็จะมีคุณสมบัติช่วยบำบัดน้ำเสียรวมทั้งระบบด้วย หากมีการรณรงค์กันอย่างจริงจังและทำใช้เอง บ้าง แบ่งปันกันใช้บ้าง จะมีค่าใช้จ่ายเพียงบ้านละ ไม่เกิน 5บาทต่อเดือน ดีกว่า ที่จะต้องมาจ่ายค่าบำบัดน้ำเสียอีกเดือนละ 3-400 บาทอีกทุกๆเดือน

    ลองเริ่มต้นกันจากชุมชนเล็กๆ ก่อนก็ได้ครับ ไม่จำเป็นต้องเป็นกรุงเทพ

    EM. มีแจกฟรีที่การไฟฟ้าบางกรวย มีการส่งวิทยากรออกไปบรรยายให้ความรู้แก่ปชช.ตามที่ต่างๆตามแต่ที่จะทำเรื่องร้องขอมาครับ
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 19 ธันวาคม 2006
  13. เกษม

    เกษม ผู้สนับสนุนเว็บพลังจิต ผู้สนับสนุนพิเศษ สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 พฤศจิกายน 2004
    โพสต์:
    24,696
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +77,193
    "ภัยมนุษย์"
    บทเรียนจากเมืองนิวออร์ลีนส์

    [​IMG]
    ศพหลายพันเน่าอืดอยู่ในบ้านและท้องถนนเมืองนิวออร์ลีนส์

    [​IMG]
    ทั่วโลกประกาศให้ความช่วยเหลือสหรัฐ


    นิวออร์ลีนส์ 5 ก.ย.48​
     
  14. aew.st

    aew.st เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 ธันวาคม 2006
    โพสต์:
    66
    ค่าพลัง:
    +461
    โดยส่วนตัวแล้วเชื่อเรื่องภัยพิบัติแต่อยากจะทราบกรอบระยะเวลาว่าอีกนานแค่ไหนเพราะว่าจะต้องมีการเตรียมการ(อาหาร อุปกรณ์ต่าง ๆ )ไม่ทราบว่าท่านผู้รู้พอจะบอกได้หรือเปล่าค่ะ หรือเอาพอที่บอกได้ก็ได้ค่ะ ขอบคุณมากคะ
     
  15. kananun

    kananun เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    11 พฤษภาคม 2006
    โพสต์:
    10,282
    ค่าพลัง:
    +114,775
    สำหรับผมวางแผนเคร่าๆว่าจะเริ่มทะยอยเก็บของตั้งแต่ช่วงต้นปีหน้าครับ

    โดยจะเริ่มต้นโดยการ
    ทำลิสต์ของใช้จำเป็นที่ควรจะต้องมีบ้าง เริ่มคำนวนอัตราการกินอาหาร น้ำ ของครอบครัวเพื่อคำนวณหาปริมาณอาหารที่ต้องเก็บสะสม

    สำรวจของในบ้านก่อนว่า มีสิ่งใดที่สามารถนำไปใช้ในเวลาช่วงการเกิดเหตุการณ์ภัยพิบัติบ้าง จากนั้นแยกหมวดหมู่ไว้ โดยไม่ต้องซื้อหาเพิ่ม

    ดูว่าสิ่งใดขาดเหลือต้องซื้อหาเพิ่ม ก็ทะยอยซื้อโดยไม่ลำบากตัวเอง พยายามซื้อในช่วงลดราคา ในร้านขายส่ง ให้ถูกที่สุด

    อาหารเริ่มทะยอยเก็บทีละน้อย เพิ่มนำหนักการสะสมตามข่าวที่ปรากฏ
    ส่วนของที่เก็บก่อนก็ทะยอยนำมากินมาใช้ก่อนหมดอายุ

    วางแผนการเก็บอาหารที่สะดวกกินได้เลยไม่ต้องหุงหา น้ำหนักเบา คุณค่าทางอาหารสูง ราคาไม่แพง ทางที่ดีทำเป็นธัญญพืชอัดแท่งแบบเพาเวอร์บาร์ก็ดี ถ้าพอมีฝีมือทางการทำอาหารบ้างก็ทำเองได้เลยครับ ถ้าให้ดีต้องใส่วิตตามินอีเพื่อกันหืนรา รวมทั้งเก็บในพาชนะสูญญากาศ

    จากนั้นเริ่มประชุมกันในครอบครัวโดย โยนหินถามทางก่อนว่ามีความเห็นอย่างไรเรื่องนี้ ถ้าเชื่อ เนื่องจากมีความเป็นไปได้จากเหตุการณ์ต่างๆที่ปรากฏ ก็เริ่มประชุมต่อไป ถ้าคนไหนไม่เชื่อหรือขัดแย้งเราก็เงียบเสีย แอบไปประชุมกับคนที่เชื่อต่อ

    หาข้อสรุปว่า
    -ถ้าเกิดเหตุการณ์ขึ้นจะทำอย่างไร และถ้าไม่เกิดเหตุการณ์ขึ้นจะทำอย่างไร

    -ประเมินเหตุการณ์ด้วยวิจารณะญาณของครอบครัวตัวเองว่า เหตุการณ์มันน่าจะรุนแรงเพียงใด ข้อมูลในเวบไซท์นี้เป็นข้อมูลที่แจ้งให้ทราบ คุณต้องกลั่นกรองข่าวสารเหล่านี้เอง อย่างมีสติ อย่าได้ตื่นตระหนก อาจจะประเมินไว้ในสามระดับคือ
    เกิดอย่างเบาๆ
    เกิด อย่างกลางๆ
    เกิดภัยพิบัติอย่างรุนแรง

    จากนั้นวางแผนว่าเรารับมือได้ ในระดับไหน คาดการณ์ว่าแต่ละสถานการณ์จะมีเหตุการณ์อะไรบ้าง เราจะทำอย่างไรบ้าง

    ปรึกษากันว่าเมื่อเกิดเหตุการณ์นี้ขึ้นเราจะไปอาศัยอยู่ที่ไหน ระยะทางไกลเท่าไหร่ จะเดินทางไปอย่างไร และจุดสำคัญที่สุดคือ เราจะตัดสินใจไปเมื่อไหร่ ใช้สัญญานใดของเหตุการณ์ที่เกืดขึ้น

    ค้นหาว่าตนเองมีความสามารถอะไร และมีความสามารถอะไรของเราที่จะเป็นประโยชน์ในยามภัยพิบัติบ้าง พยายามหาความรู้เพิ่มเติม พัฒนาตนเอง ให้รอบรู้เรื่องการดำรงชีวิตและการช่วยเหลือผู้อื่นให้มากขึ้น ฝึกสมาธิให้สูงที่สุดเท่าที่จะทำได้

    ฝึกฝนร่างกายของตนเองและครอบครัวให้แข็งแกร่ง ขึ้นทนทานขึ้น เรียนรู้การใช้สมุนไพรง่ายๆเบื้องต้นไว้บ้าง การดูแลสุขภาพตัวเองให้แข็งแรงเสมอ เลิกเหล้า เบียร์ บุหรี่

    ประสานงานกับกลุ่มอื่น ครอบครัวอื่น ให้ร่วมมือกัน ช่วยเหลือกันด้วยความสามัคคี เพื่อความอยู่รอดของทุกคนครับ ต่างคน ต่างอยู่ หรือเห็นแก่ตัวไม่รอดแน่นอนครับ ที่น่ากลัวที่สุดคือในช่วงเวลาที่ไม่มีกฏหมายครับตอนนี้จิตใจคนตกต่ำมากๆแล้วครับอันตรายอย่างยิ่ง โดยเฉพาะเมื่อตื่นตระหนก

    ขอให้รอดปลอดภัยทุกท่านนะครับ อย่าลืมสติครับสำคัญที่สุด ใช้เหตุผลใช้ปัญญาให้มาก
     
  16. aew.st

    aew.st เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 ธันวาคม 2006
    โพสต์:
    66
    ค่าพลัง:
    +461
    ขอบคุณ คุณ KANANUN มากนะคะที่กรุณาตอบ ในครอบครัวดิฉันเองก็พยายามพูดให้เขาฟังบ่อย ๆ เพื่อว่าเวลาเกิดเหตุการณ์จริง จะได้รู้ตัวว่าควรจะทำอย่างไร
     
  17. เกษม

    เกษม ผู้สนับสนุนเว็บพลังจิต ผู้สนับสนุนพิเศษ สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 พฤศจิกายน 2004
    โพสต์:
    24,696
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +77,193
    เห็นด้วยอย่างยิ่ง กับความคิดเห็นของคุณคนานันท์ครับ คำถามเรื่องเวลาที่จะเกิดภัยพิบัติที่แน่นอนนั้น เป็นคำถามปราบเซียนจริง ๆ เพราะแม้แต่ผู้ที่มีญาณวิเศษรู้เหตุการณ์ล่วงหน้าได้ ก็ไม่กล้าที่จะบอกออกมาตรง ๆ เพราะเวลาที่จะเกิดเหตุการณ์มันสามารถเลื่อนออกไปได้ ขึ้นอยู่กับเหตุและปัจจัยในปัจจุบันเป็นตัวกำหนด ทางที่ดีที่สุดจึงควรทำอย่างที่คุณคนานันท์บอกมาครับ คอยติดตามข่าวสารที่เกิดขึ้นในแต่ละวัน จากนั้นวางแผนว่าเรารับมือได้ ในระดับไหน คาดการณ์ว่าในแต่ละสถานการณ์นั้น จะมีเหตุการณ์อะไรบ้าง และเราควรจะทำอย่างไรต่อไป

    ในเรื่องการเตรียมตัวเพื่อรับมือกับภัยพิบัติ ควรเตรียมพร้อมได้แล้วนับตั้งแต่วันนี้ โดยค่อย ๆ สะสมอุปกรณ์ยังชีพที่จำเป็นไปเรื่อย ๆ เพราะเมื่อใกล้จะเกิดเหตุการณ์แล้ว ช่วงนั้นจะเป็นช่วงที่อยู่ในภาวะสงครามขั้นรุนแรง ข้าวของเครื่องใช้จะหายาก และมีราคาแพงมาก ถึงเวลานั้นคิดจะซื้อหามาใช้ก็ไม่อาจจะทำได้เพราะค่าของเงินจะตกต่ำมาก ต่างคนต่างก็คิดแต่จะเอาชีวิตของตัวเองให้รอด จึงพยายามแย่งกันกักตุนอาหารและของใช้ที่จะเป็นในการดำรงชีวิต
    จึงทำให้ทุกอย่างขาดแคลนไปหมด ( ให้ไปอ่านคำพยากรณ์โลกของหลวงพ่อฤาษีลิงดำ ที่ท่านได้เทศน์บอกเอาไว้ก็จะเข้าใจดีขึ้นครับ)
     
  18. ice_jade

    ice_jade เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    26 กันยายน 2005
    โพสต์:
    68
    ค่าพลัง:
    +311
    พุทธภาษิตน่ารู้:
    "ขอท่านทั้งหลายจงตั้งอยู่ในความไม่ประมาท เพราะความประมาทเป็นหนทางแห่งความตาย"

    "พึงระแวงสิ่งที่ควรระแวง พึงป้องกันภัยที่ยังไม่มาถึง"

    "จงใช้สติตามรักษาจิตใจของตน"

    "จงรีบกระทำความเพียรเสียแต่ในวันนี้ ใครเล่าจะรู้ว่าความตายจะบังเกิดในวันพรุ่งนี้"

    "เตรียมกิจกรรมสำหรับอนาคตให้พร้อมเพรียงก่อน อย่าให้กิจกรรมนั้นบีบคั้นตัวเอง เมื่อถึงกาลเวลาต้องกระทำเฉพาะหน้า"

    "ทำกรรมแล้วไม่ร้อนใจภายหลัง กรรมนั้นดี"

    "ทำกรรมใดแล้วร้อนใจภายหลัง กรรมนั้นย่อมไม่ดี"

    "ผู้ใดไม่บำเพ็ญ ไม่เจริญอานาปานสติ กายและจิตของผู้นั้น ย่อมสั่นสะเทือนน่าวิตก"

    "ปัญญาไม่เกิดแก่ผู้ไม่พิจารณา"
     
  19. ลุงคนเชียงใหม่

    ลุงคนเชียงใหม่ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 พฤศจิกายน 2004
    โพสต์:
    139
    ค่าพลัง:
    +2,521
    การเตรียมพร้อมที่ดีที่สุดคือเตรียมจิตใจ
    เราคงไม่ทราบว่าจะเกิดเหตุการณ์อะไรขึ้น
    ลองสมมุติเหตุการณ์ว่าเกิดแผ่นดินไหวครั้งใหญ่ทุกอย่างพินาศหมด
    อาหารการกินสำรองเราก็พอมี แต่
    การเตรียมพร้อมในเรื่องอาหารอุปกรณ์ต่างควรต้องคำนวนเผื่อเหตุการณ์
    ที่ว่าข้างบ้านเรากำลังมีการอดอยากคลุ้มคลั่งกันใหญ่เข้ามาแย่งอาหารหรือทุกอย่างที่ประทังความหิวได้ เราจะทำอย่างไร
    ควรจะมีการรวมกลุ่มลักษณะของหมู่บ้านกันที่มีความเข้าใจและเต็มใจที่จะเตรียมความพร้อมไปด้วยกันน่าจะช่วยได้มากกว่า
    ผมชวนขึ้นมาอยู่จังหวัดเชียงใหม่ด้วยกันนะ
     
  20. เกษม

    เกษม ผู้สนับสนุนเว็บพลังจิต ผู้สนับสนุนพิเศษ สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 พฤศจิกายน 2004
    โพสต์:
    24,696
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +77,193
    สถานที่ปลอดภัย ในยามเกิดภัยพิบัติ
    โดย ลุงคนเชียงใหม่

    [​IMG]

    มากมายหลายกระแสทั้งผู้รู้จริงและผู้ที่คาดเดาเอาตามกระแส จนถึงทุกวันนี้ก็มีเพียงกลุ่มคนเล็กๆ เท่านั้นที่มีการเตรียมตัวกันอย่างจริงจัง ลุงพบมีคนญี่ปุ่นกลุ่มหนึ่งมาตั้งหมู่บ้านเล็กๆ ของเขาในเขตชนบท ห่างจากหมู่บ้านอื่นๆ พอสมควร ช่วงรอยต่อของอำเภอสะเมิงกับอำเภอแม่ริม ใช้ชีวิตกันแบบพึ่งพาภายนอกชุมชนน้อยมาก

    พื้นที่บริเวณหมู่บ้านมีการปลูกพืชอาหาร ที่เพียงพอกับคนในกลุ่มบ้านนั้น(ประมาณ 20 หลังคาเรือน) เช่นพวกกันแกว มันฝรั่ง เผือก(เขาเน้นอาหารที่มีหัวในดิน คิดว่าเพราะถ้าเกิดอะไรขึ้นจะมีเพียงอาหารพวกนี้แหละที่ปลอดภัยอยู่ในดินไม่ต้องมาเก็บไว้ในบ้าน นานหลายเดือน)

    ลุงไปเที่ยวพูดคุยกับเขา พบว่าเป็นช่วงที่เขากำลังจัดงานปิดไฟฟ้าไม่พึ่งพาอาหารนอกชุมชน ประทับใจมากเพราะเขาสามารถอยู่กันได้โดยไม่ต้องอาศัยไฟฟ้า และไม่ไปซื้ออาหารจากนอกชุมชน เลย เป็นเวลา 7 วัน (คงเป็นการทดสอบระบบ)ทุกบ้านมีแท้งPVC ขนาดใหญ่ที่เก็บน้ำที่พอใช้บริโภคได้เป็นเดือน รวมทั้งมีโรงพยาบาลเล็กๆในชุมชนที่มีความพร้อมขนาดที่ลุงเห็นแล้วตกใจ

    บ้านเก็บทุกหลังสร้างจากไม้ หลังคามุงสังกะสีทับด้วยหญ้าคา (คงป้องกันการพังทลายจากเหตุแผ่นดินไหว) มีห้องประชุมกลางของหมู่บ้านที่ทำเป็นเหมือนหลุม ขนาดใหญ่และใช้ซุงทำเป็นคล้ายกระโจมร้อยด้วยเชือกสลิงทำเป็นหลังคา (คงเอาไว้หลบภัยถ้ามีอะไรตกจากท้องฟ้าลุงเดาเอา)

    ทุกหลังคาเรือนมีระบบไฟสำรองคือแบตเตอรี่บ้านละ 5-10 ลูกไม่นับไฟฉาย มีถ่านฟื้นทุกบ้านกองเบ้อเริ่ม และอะไรๆ อีกมากมายเล่าไม่จบ สิ่งที่ทุกคนในชุมชนเล็กๆ นี้ พูดคุยกันตลอดก็คือBEST PLACE หรือบ้านที่ปลอดภัยทั้งร่างกายและจิตใจเขาอนุญาตให้คนนอกชุมชนเข้าไปน้อยครั้งอย่างที่รู้เรื่องนะ แต่เวลาขับรถผ่านถ้าไม่ลงไปถามลักษณะภายนอกก็ดูเหมือนชุมชนชนบทบ้านเราหมู่บ้านเล็ก ๆ หมู่บ้านหนึ่งเท่านั้นเอง

    ลุงไปเจอและรู้จักเขาเพราะบังเอิญเจอกันที่วัดเลย รู้เรื่องเอา(ขออนุญาตไม่ระบุที่ชัดเจนนะเพราะรับปากเขาไว้แล้ว เขาขี้เกียจมีคนไปรบกวนและตอบคำถามคนที่ไปเยาะเย้ยถางถางว่าบ้าอะไรพรรณ์นี้) คนจากประเทศอื่นกว่าครึ่งร้อยกำลังมาเตรียมพร้อมในบ้านเรา

    ลุงถามว่าทำไมเลือกตรงนี้ เขาตอบว่ามีคนคำนวนทั้งทางธรณีวิทยา และศาสตร์ต่างๆแล้วที่นี่ปลอดภัยที่สุดทั้งจากภัยทางธรรมชาติทางน้ำ ทางแผ่นดินไหว(อันนี้ไม่แน่ใจบ้านลุงไหวมา หลายครั้งแล้วในช่วงนี้แรงด้วย แต่คงน้อยกว่าที่ญี่ปุ่น ) และความมีน้ำใจของคนที่จะไม่ฆ่าฟันกันเองในขณะที่เกิดความอดอยาก เพราะมีทางเลือกด้านอาหารมากกว่าภาคอื่นๆ

    ที่สำคัญคือ เขามีการเตรียมตัวกันอย่างจริงจัง และเป็นกลุ่มที่มีอะไรจะได้ช่วยกันได้เต็มที่ มากกว่าคนที่รู้แล้วต่างคนต่างเตรียม ลุงอยากจะชวนให้มีกลุ่มคนที่มีความเชื่อมั่นและพร้อมที่จะเลือกชุมชนใหม่ ด้วยกันมาคิดร่วมกันมาทำชุมชนอย่างนี้ด้วยกันจะดีใหมครับ มีใครสนใจบ้างครับ

    เราลองมาจับกลุ่มใหญ่ ๆ คุยกันและหาหมู่บ้านเพื่อการอยู่รอดกันดีใหมครับ



    <!-- / message --><!-- attachments -->​
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 20 ธันวาคม 2006

แชร์หน้านี้

Loading...