สนทนาภาคปฏิบัติธรรมที่ควรรู้ของ "หลวงปู่ดู่ พรหมปัญโญ" สำหรับอนุชนรุ่นหลังๆ

ในห้อง 'ประสบการณ์ เรื่องเล่า' ตั้งกระทู้โดย Follower007, 15 สิงหาคม 2011.

  1. Follower007

    Follower007 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กุมภาพันธ์ 2010
    โพสต์:
    201
    ค่าพลัง:
    +303
    รักเคารพหลวงปู่ แต่ทำไมไม่เชื่อหลวงปู่

    รักเคารพหลวงปู่ แต่ทำไมไม่เชื่อหลวงปู่

    <!--[if gte mso 9]><xml> <w:WordDocument> <w:View>Normal</w:View> <w:Zoom>0</w:Zoom> <w:TrackMoves/> <w:TrackFormatting/> <w:punctuationKerning/> <w:ValidateAgainstSchemas/> <w:SaveIfXMLInvalid>false</w:SaveIfXMLInvalid> <w:IgnoreMixedContent>false</w:IgnoreMixedContent> <w:AlwaysShowPlaceholderText>false</w:AlwaysShowPlaceholderText> <w:DoNotPromoteQF/> <w:LidThemeOther>EN-GB</w:LidThemeOther> <w:LidThemeAsian>X-NONE</w:LidThemeAsian> <w:LidThemeComplexScript>X-NONE</w:LidThemeComplexScript> <w:Compatibility> <w:BreakWrappedTables/> <w:SnapToGridInCell/> <w:WrapTextWithPunct/> <w:UseAsianBreakRules/> <w:DontGrowAutofit/> <w:SplitPgBreakAndParaMark/> <w:DontVertAlignCellWithSp/> <w:DontBreakConstrainedForcedTables/> <w:DontVertAlignInTxbx/> <w:Word11KerningPairs/> <w:CachedColBalance/> </w:Compatibility> <w:BrowserLevel>MicrosoftInternetExplorer4</w:BrowserLevel> <m:mathPr> <m:mathFont m:val="Cambria Math"/> <m:brkBin m:val="before"/> <m:brkBinSub m:val="--"/> <m:smallFrac m:val="off"/> <m:dispDef/> <m:lMargin m:val="0"/> <m:rMargin m:val="0"/> <m:defJc m:val="centerGroup"/> <m:wrapIndent m:val="1440"/> <m:intLim m:val="subSup"/> <m:naryLim m:val="undOvr"/> </m:mathPr></w:WordDocument> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml> <w:LatentStyles DefLockedState="false" DefUnhideWhenUsed="true" DefSemiHidden="true" DefQFormat="false" DefPriority="99" LatentStyleCount="267"> <w:LsdException Locked="false" Priority="0" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Normal"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="heading 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 7"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 8"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 9"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 7"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 8"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 9"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="35" QFormat="true" Name="caption"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="10" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Title"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="1" Name="Default Paragraph Font"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="11" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Subtitle"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="22" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Strong"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="20" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Emphasis"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="59" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Table Grid"/> <w:LsdException Locked="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Placeholder Text"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="1" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="No Spacing"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="60" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Shading"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="61" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light List"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="62" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Grid"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="63" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="64" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="65" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="66" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="67" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="68" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="69" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="70" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Dark List"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="71" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Shading"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="72" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful List"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="73" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Grid"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="60" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Shading Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="61" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light List Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="62" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Grid Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="63" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 1 Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="64" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 2 Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="65" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 1 Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Revision"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="34" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="List Paragraph"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="29" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Quote"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="30" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Intense Quote"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="66" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 2 Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="67" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 1 Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="68" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 2 Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="69" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 3 Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="70" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Dark List Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="71" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Shading Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="72" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful List Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="73" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Grid Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="60" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Shading Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="61" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light List Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="62" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Grid Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="63" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 1 Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="64" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 2 Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="65" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 1 Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="66" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 2 Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="67" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 1 Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="68" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 2 Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="69" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 3 Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="70" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Dark List Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="71" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Shading Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="72" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful List Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="73" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Grid Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="60" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Shading Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="61" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light List Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="62" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Grid Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="63" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 1 Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="64" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 2 Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="65" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 1 Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="66" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 2 Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="67" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 1 Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="68" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 2 Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="69" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 3 Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="70" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Dark List Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="71" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Shading Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="72" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful List Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="73" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Grid Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="60" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Shading Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="61" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light List Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="62" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Grid Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="63" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 1 Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="64" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 2 Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="65" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 1 Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="66" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 2 Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="67" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 1 Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="68" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 2 Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="69" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 3 Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="70" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Dark List Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="71" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Shading Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="72" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful List Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="73" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Grid Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="60" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Shading Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="61" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light List Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="62" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Grid Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="63" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 1 Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="64" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 2 Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="65" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 1 Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="66" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 2 Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="67" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 1 Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="68" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 2 Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="69" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 3 Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="70" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Dark List Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="71" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Shading Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="72" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful List Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="73" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Grid Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="60" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Shading Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="61" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light List Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="62" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Grid Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="63" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 1 Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="64" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 2 Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="65" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 1 Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="66" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 2 Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="67" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 1 Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="68" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 2 Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="69" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 3 Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="70" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Dark List Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="71" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Shading Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="72" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful List Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="73" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Grid Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="19" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Subtle Emphasis"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="21" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Intense Emphasis"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="31" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Subtle Reference"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="32" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Intense Reference"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="33" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Book Title"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="37" Name="Bibliography"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" QFormat="true" Name="TOC Heading"/> </w:LatentStyles> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 10]> <style> /* Style Definitions */ table.MsoNormalTable {mso-style-name:"Table Normal"; mso-tstyle-rowband-size:0; mso-tstyle-colband-size:0; mso-style-noshow:yes; mso-style-priority:99; mso-style-qformat:yes; mso-style-parent:""; mso-padding-alt:0cm 5.4pt 0cm 5.4pt; mso-para-margin-top:0cm; mso-para-margin-right:0cm; mso-para-margin-bottom:10.0pt; mso-para-margin-left:0cm; line-height:115%; mso-pagination:widow-orphan; font-size:11.0pt; font-family:"Calibri","sans-serif"; mso-ascii-font-family:Calibri; mso-ascii-theme-font:minor-latin; mso-fareast-font-family:"Times New Roman"; mso-fareast-theme-font:minor-fareast; mso-hansi-font-family:Calibri; mso-hansi-theme-font:minor-latin;} </style> <![endif]--> [FONT=&quot]นานๆครั้งถึงจะได้มีโอกาสไปกราบหลวงปู่ที่วัดสะแก และทุกครั้งที่ไป ก็ได้เห็น[/FONT][FONT=&quot]ความเปลี่ยนแปลงเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ(อย่างน่าใจหาย)[/FONT][FONT=&quot] คำถามหนึ่งที่เกิดขึ้นในใจก็คือ พวกเรามักพูดกันเสมอๆว่า [/FONT][FONT=&quot]“รักและเคารพหลวงปู่" แต่ทำไมกลับไม่เชื่อหลวงปู่ กลับทำในสิ่งตรงกันข้ามกับที่ท่านได้สอนพวกเราเสมอมา [/FONT][FONT=&quot]กระทู้ นี้มีวัตถุประสงค์ก็เพื่ออยากจะให้ศิษย์พี่ๆน้องๆรุ่นหลังได้ทราบถึงสิ่งที่ เป็นคำสั่งคำสอนของหลวงปู่ดู่ ที่พวกเรา (ทั้งศิษย์เก่าและศิษย์ใหม่) ควรเห็นความสำคัญและตั้งใจที่จะไม่ประพฤติล่วงคำสั่งคำสอนของท่าน ที่ขอยกมา ณ ที่นี้ คือบางส่วนของ[/FONT][FONT=&quot]คำสั่ง[/FONT][FONT=&quot]หรือดำริของหลวงปู่ที่พวกเราควรตระหนัก ได้แก่[/FONT][FONT=&quot][/FONT]
    [FONT=&quot] [/FONT][FONT=&quot]๑. หลวงปู่สั่งห้ามเรี่ยไรเงิน[/FONT][FONT=&quot] (ทุกวันนี้ยังมีประกาศห้ามเรี่ยไรเงิน – ลายมือของหลวงลุงยวง ติดไว้ที่เสาตรงข้ามกุฏิของหลวงปู่) แต่ก็ยังมีคนไม่น้อยที่ชอบมาเรี่ยไรที่หน้ากุฏิหลวงปู่อีก เหมือนจะท้าทายที่หน้าหุ้นขี้ผึ้งรูปเหมือนหลวงปู่ ว่าบัดนี้หลวงปู่ละสังขารไปแล้ว ไม่มีใครมาห้ามฉันได้หรอก [/FONT][FONT=&quot][/FONT]
    [FONT=&quot]๒. หลวงปู่สั่งไม่ให้จับกลุ่มคุยในขณะที่กำลังภาวนากัน[/FONT][FONT=&quot] ก็ยังพากันจับกลุ่มคุยส่งเสียงรบกวน จะนั่งสมาธิก็มีเสียงคุยรบกวน ออกไปเดินจงกรมยามค่ำมืดก็ยังมีเสียงจับกลุ่มคุยกันอีก หากหาความสงบในวัดไม่ได้แล้ว จะไปหาความสงบ ณ ที่ใด ที่ว่าภาวนาที่ใดก็ได้นั่น หมายถึงผู้ที่ทำได้ทำถึงมาก่อนหน้านี้แล้ว จากนั้นจะไปภาวนาที่ไหน ๆ ก็ได้ แต่ผู้กำลังฝึกหัดตน สภาพแวดล้อมย่อมมีผลอย่างมาก ไม่อย่างนั้นหลวงปู่จะกล่าวหรือว่าภาวนาที่วัดกับที่บ้านนั้นย่อมไม่เหมือน กัน นี้ยังไม่นับรวมที่คุยข้ามหัวคนนั่งภาวนาก็ยังมีให้เห็น หากหลวงปู่ยังมีชีวิต ท่านจะสลดสังเวชใจเพียงใด [/FONT][FONT=&quot][/FONT]
    [FONT=&quot]๓. หลวงปู่บอกว่าท่านไม่เคยวางและจะไม่วางหลักปฏิบัติใหม่[/FONT][FONT=&quot] ที่เกินเลยแบบที่พระพุทธเจ้าวางไว้เด็ดขาด ก็ยังพากันอุปโลกน์สร้างวิชาพิสดารอะไรขึ้นมาอีก ทำให้คนเข้าใจผิดคิดว่าหลวงปู่ต้องการจะเก่งเกินพระพุทธเจ้า รู้เทคนิควิธีที่ดีกว่าพระพุทธเจ้าสอนเสียอีก[/FONT][FONT=&quot][/FONT]
    [FONT=&quot]๔. หลวงปู่สอนให้จริงจังและสม่ำเสมอต่อการปฏิบัติ[/FONT][FONT=&quot] ก็ยังพากันสอนให้ปฏิบัติแบบง่าย ๆ สบาย ๆ ทั้ง ๆ ที่หลวงปู่ครูบาอาจารย์ปฏิบัติแทบล้มแทบตายกว่าจะได้ธรรม ทำเหมือนว่าจะมีบารมีธรรมที่สั่งสมอบรมมามากกว่าหลวงปู่และครูบาอาจารย์ เหล่านั้น คำว่าสบาย ๆ นั้นหมายความถึงการวางใจมิให้เกิดความเคร่งเครียดหรือเต็มไปด้วยการคาดหวังผลว่าเมื่อไหร่จิตจะสงบหรือเกิดปัญญาสักที พูดอีกอย่างว่า “วางใจสบาย ๆ” หมายความว่าให้จิตมีฉันทะหรือยินดีต่อการปฏิบัติ เห็นคุณค่าของการปฏิบัติซึ่งเป็นส่วนของเหตุ (มิใช่ผล) เหมือนเราเป็นช่างสร้างบ้าน ก็ให้ทำการสร้างบ้านอย่างมีความสุขและเห็นคุณค่าของการปฏิบัติในทุกขั้นตอน มิใช่ทำไปหน่อยหนึ่งแล้วก็อู้งาน มัวแต่นั่งบ่นนั่งกังวลว่าเมื่อไหร่บ้านจะเสร็จสักที [/FONT][FONT=&quot][/FONT]
    [FONT=&quot]๕. หลวงปู่สอนให้ทำตามแบบพระพุทธเจ้า[/FONT][FONT=&quot] (คือ ศีล สมาธิ ปัญญา) เราก็ยังพากันหาทางลัดกว่านี้ เช่น ละศีลออกบ้าง ละสมาธิออกบ้าง มุ่งจับยอดคือตัวปัญญา (หรือที่นิยมเรียกว่าวิปัสสนา) เสียเลยดีกว่า ผลก็เลยเป็นเหมือนข้าวโพดปิ้งที่ไม่มีไฟ ปิ้งเท่าไร ๆ ก็ไม่สุกไม่หอม เพราะไม่มีศีลและสมาธิ องค์ประกอบจึงไม่ครบสมบูรณ์ หากบอกว่าอยู่เฉย ๆ ก็เป็นศีล วางใจเฉย ๆ ก็เป็นสมาธิ หากสิ่งเหล่านี้จะมีมาได้โดยปราศจากความเพียรชอบ ปราศจากการฝึกการฝืน ปราศจากการอบรมดัดจิตใจให้ตรง เป็นของมีได้ตามธรรมชาติหรือมีมาได้โดยง่าย ๆ พระองค์ก็คงไม่ต้องเหนื่อยสอนและวางหลักวิธีปฏิบัติมากมายเพียงนี้ [/FONT][FONT=&quot][/FONT]
    [FONT=&quot]จึง ว่าหากบอกว่ารักและเคารพหลวงปู่ ก็ขอได้โปรดเชื่อท่านและปฏิบัติตามที่ท่านอบรมสั่งสอน อย่าได้ปฏิบัติอย่างที่เรียกว่า "ท้าทาย" ท่าน ก็จะได้ชื่อว่ารักเคารพท่านจริง และเป็นการปฏิบัติธรรมโดยใจเคารพเอื้อเฟื้อ เพื่อความยืนยาวของคำสั่งคำสอนของหลวงปู่ และประโยชน์ที่จะเกิดกับตัวเราเองและผู้มาภายหลังทั้งในปัจจุบันและใน อนาคต...จึงขอฝากมาให้พวกเราช่วยกันนำเอาบรรยากาศเก่าๆ เมื่อครั้งหลวงปู่ท่านยังดำรงค์ขันธ์อยู่กับพวกเรากลับคืนมาสู่วัดสะแก[/FONT][FONT=&quot][/FONT]
    [FONT=&quot]เมื่อ ครั้งพระพุทธองค์เสด็จดับขันธปรินิพพานได้เพียงไม่กี่วัน ก็มีพระสาวกบวชใหม่ผู้เป็นพาลบางรูปกล่าวทำนองดีใจว่าต่อแต่นี้ไปก็จะไม่มี ใครมาคอยห้ามนั่นห้ามนี่อีกแล้ว พวกเขาจักทำอะไร ๆ ได้ตามชอบใจ จึงเป็นเหตุนำมาซึ่งการสังคายนาเพื่อให้เกิดพระธรรมวินัยที่เป็นหมวดหมู่ สะดวกต่อการจดจำและเผยแพร่ โดยให้มีความสมบูรณ์บริบูรณ์เพียงพอต่อการใช้อ้างอิง และที่สำคัญอย่างยิ่งคือใช้เป็นศาสดาแทนพระองค์ พระมหากัสสปะ ทั้ง ๆ ที่ท่านอยู่แต่ในป่า แต่ เมื่อมีเหตุเกิดขึ้นซึ่งมีผลกระทบด้านลบต่อพระพุทธศาสนา ท่านก็ออกจากป่ามาเป็นผู้นำในการทำการสังคายนาพระไตรปิฎก และในระหว่างแห่งการสังคายนาก็มีประเด็นเรื่องอาบัติเล็กน้อย ที่พระพุทธองค์อนุโลมว่าพระภิกษุสงฆ์สามารถถอนสิกขาบทที่เห็นว่าเป็นประเด็น เล็กน้อยบางข้อออกได้ อย่าง ไรก็ดี พระภิกษุสงฆ์ (ซึ่งล้วนเป็นพระอรหันต์) มีทัศนะไม่เป็นเอกฉันท์ว่าสิกขาบทอะไรบ้างที่จะอยู่ในข่ายที่พระพุทธองค์ ประสงค์ให้อนุโลมว่าเป็นประเด็นเล็กน้อยที่สามารถถอนออกได้ (คือไม่ต้องปฏิบัติตาม) [/FONT][FONT=&quot][/FONT]
    ดังนั้น พระมหากัสสปะในฐานะประธานการสังคายนา จึง กล่าวในท่ามกลางสงฆ์ว่า เมื่อไม่มีข้อยุติว่าอะไรคือสิ่งที่เรียกว่าอาบัติเล็กน้อย เช่นนี้แล้ว เหล่าพระภิกษุสงฆ์ก็ไม่ควรประพฤติให้ชนทั้งหลายกล่าวได้ว่า สิกขาบทที่พระพุทธองค์ทรงบัญญัติขึ้นนั้นจักอยู่ได้เพียงแค่ชั่วระยะเวลาที่ พระพุทธองค์ยังทรงพระชนมาชีพอยู่เท่านั้น เปรียบเหมือนการยึดถือคำสั่งคำสอนแค่เพียงชั่วระยะกาลแห่งควันไฟเท่านั้น
    ขอให้พวกเรามาช่วยกันรักษาและยึดถือคำสั่งสอนของหลวงปู่ที่เรารักและเคารพ อย่าให้คำสั่งสอนของท่านเลือนหายหรือดำรงค์อยู่ได้แค่เพียงชั่วระยะกาลแห่ง ควันไฟเท่านั้น เลย...


    ที่มา: Luangpudu.com / Luangpordu.com



    [FONT=&quot][/FONT][FONT=&quot][/FONT]
     
  2. pojjj

    pojjj เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    13 สิงหาคม 2010
    โพสต์:
    75
    ค่าพลัง:
    +264
    ปัจจุบันนี้มีลูกศิษย์องค์ไหน ของหลวงปู่บ้างที่ยังสอนนั่งสมาธิ เหมือนเมื่อสมัยหลวงปู่ยังอยู่ และพระกำนั่งสมาธิของหลวงปู่พอจะหามาบูชาได้ที่ไหนบ้างครับ (จะเอาไว้นั่งสมาธิครับ) ถ้าไม่เป็นการรบกวน ขอรายละเอียดทางpmก็ได้ครับ
     
  3. Follower007

    Follower007 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กุมภาพันธ์ 2010
    โพสต์:
    201
    ค่าพลัง:
    +303
    อันนี้ คุณpojjj ลองแวะไปดูหรือถามที่เว๊ป www.wadsakae.com หรือ www.luangpordu.com
    ส่วนตัวแล้วแนวการปฏิบัติกรรมฐานที่หลวงปู่ดู่ท่านสอนก็น่าจะตามนี้
    นอกเหนือจากนั้นก็ต้องใช้วิจารณญานเอาว่าเป็นไปได้หรือไม่สาเหตุที่กล่าว เช่นนี้ก็เพราะบางที่บางแห่ง ก็บอกว่าหลวงปู่สอนมาแต่ขอให้ใช้สติไตร่ตรองดู

    [FONT=&quot]1). หลวงปู่ไม่เคยสร้างแบบฉบับหรือเอกลักษณ์เฉพาะตัว เพราะอะไร เพราะท่านเคารพพระพุทธเจ้า เคารพในพระธรรม เคารพในสังฆะโดยรวม [/FONT]
    [FONT=&quot]หลวงปู่สอนในสิ่งที่พระพุทธเจ้าสอนอยู่แล้ว วางแบบไว้แล้ว ...เราควรจับหลักตรงนี้ให้ได้ก่อนเป็นเบื้องต้น
    [/FONT]
    [FONT=&quot]2).[/FONT]
    [FONT=&quot] [/FONT]
    หลวงปู่ไม่แบ่งแยกลูกศิษย์
    [FONT=&quot]3).[/FONT][FONT=&quot] [/FONT][FONT=&quot]รู้จักว่าอะไรเป็น "ธรรมส่วนบุคคล" อะไรเป็น "สาธารณธรรม"[/FONT]
    ส่วนเรื่อง "พระกำนั่งสมาธิของหลวงปู่พอจะหามาบูชาได้ที่ไหนบ้าง" ลองดูในเว๊ปพลังจิต หัวข้อ"พระเครื่อง วัตถุมงคล" เห็นมีประมาณ 4/5 กระทู้ที่ให้เช่า
    ขออนุโมทนาและขอให้กุศลผลบุญช่วยให้ คุณpojjj เจริญในธรรมยิ่งๆ ขึ้นไป
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 5 กันยายน 2011
  4. Follower007

    Follower007 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กุมภาพันธ์ 2010
    โพสต์:
    201
    ค่าพลัง:
    +303
    บทอาราธนากรรมฐาน

    [FONT=&quot]1). หลวงปู่ไม่เคยสร้างแบบฉบับหรือเอกลักษณ์เฉพาะตัว เพราะอะไร เพราะท่านเคารพพระพุทธเจ้า เคารพในพระธรรม เคารพในสังฆะโดยรวม [/FONT]
    [FONT=&quot]หลวงปู่สอนในสิ่งที่พระพุทธเจ้าสอนอยู่แล้ว วางแบบไว้แล้ว ...เราควรจับหลักตรงนี้ให้ได้ก่อนเป็นเบื้องต้น
    [/FONT]
    [FONT=&quot]2).[/FONT]
    หลวงปู่ไม่แบ่งแยกลูกศิษย์
    [FONT=&quot]3).[/FONT][FONT=&quot]รู้จักว่าอะไรเป็น "ธรรมส่วนบุคคล" อะไรเป็น "สาธารณธรรม"

    [/FONT]
    บทอาราธนากรรมฐาน

    ข้อพึงสังวรในเบื้องต้น
    บทอาราธนากรรมฐานและแนวทางการปฏิบัติกรรมฐานที่เผยแพร่นี้
    หลวงปู่ดู่ท่านมิให้ใช้คำว่า “แบบปฏิบัติธรรมวัดสะแก ”
    ท่านว่าการเรียกเช่นนั้นไม่ถูกต้อง ไม่ควรใช้คำว่าแบบปฏิบัติของวัดใดๆ
    มีแต่แบบปฏิบัติของพระพุทธเจ้า

    เพราะ...ธรรมของพระพุทธเจ้านั้นมีความไพเราะงดงาม
    ทั้งในเบื้องต้น ในท่ามกลาง และในที่สุด
    พระองค์ทรงประกาศพรหมจรรย์ คือ แบบแห่งการปฏิบัติอันประเสริฐ
    บริสุทธิ์ บริบูรณ์ โดยสิ้นเชิง ทั้งอรรถะ ทั้งพยัญชนะ นั่นเอง

    คำสมาทานพระกรรมฐาน

    บทบูชาพระ
    นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ ( ๓ จบ )

    พุทธัง ชีวิตัง เม ปูเช มิ
    ธัมมัง ชีวิตัง เม ปูเช มิ
    สังฆัง ชีวิตัง เม ปูเช มิ

    กราบพระ ๖ ครั้ง
    ๑. พุทธัง วันทามิ
    ๒. ธัมมัง วันทามิ
    ๓. สังฆัง วันทามิ
    ๔. อุปัชฌาย์ อาจาริยะ คุณัง วันทามิ (สำหรับผู้ชาย) /
    คุณครูบาอาจารย์ วันทามิ (สำหรับผู้หญิง)
    ๕. มาตาปิตุคุณัง วันทามิ
    ๖. พระไตรสิกขาคุณัง วันทามิ

    สมาทาน ศีล ๕
    นะโมตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ ( ๓ จบ )
    • พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
    ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
    สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ
    • ทุติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
    ทุติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
    ทุติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ
    • ตะติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
    ตะติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
    ตะติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ

    ๑. ปาณาติปาตา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
    ๒. อะทินนาทานา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
    ๓. กาเมสุมิจฉาจารา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
    ๔. มุสาวาทา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
    ๕. สุราเมระยะ มัชชะปะมาทัฏฐานา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
    อิมานิ ปัญจะ สิกขา ปะทานิ สะมาทิยามิ ( ๓ ครั้ง )
    สีเลนะ สุคะติงยันติ สีเลนะ โภคะสัมปะทา สีเลนะ นิพพุติงยันติ ตัสฺมา สีลัง วิโสธะเย

    คำอาราธนาพระ
    พุทธัง อาราธะนัง กะโรมิ
    ธัมมัง อาราธะนัง กะโรมิ
    สังฆัง อาราธะนัง กะโรมิ
    น้อมระลึกถึงหลวงปู่ทวด แล้วว่า
    นะโม โพธิสัตโต อาคันติมายะ อิติภะคะวา (๓ ครั้ง)
    น้อมระลึกถึงหลวงปู่ดู่ โดยว่าคาถาดังนี้
    นะโม พรหมปัญโญ (๓ ครั้ง)
    คำอนุโมทนาบุญที่ผู้อื่นกระทำไว้ดีแล้ว
    สัทธา ทานัง อนุโมทามิ (๓ ครั้ง)

    คำขอขมาพระรัตนตรัย
    โยโทโส โมหะจิตเต นะ พุทธัสมิง ปาปะกะโต มะยา
    ขะมะถะเม กะตัง โทสัง สัพพะปาปัง วินัสสันตุ
    โยโทโส โมหะจิตเต นะ ธัมมัสมิง ปาปะกะโต มะยา
    ขะมะถะเม กะตัง โทสัง สัพพะปาปัง วินัสสันตุ
    โยโทโส โมหะจิตเต นะ สังฆัสมิง ปาปะกะโต มะยา
    ขะมะถะเม กะตัง โทสัง สัพพะปาปัง วินัสสันตุ

    คำอธิษฐานแผ่เมตตา
    ให้ตั้งใจเจริญพรหมวิหาร ๔ แล้ววกล่าวคำอธิษฐานว่า
    “พุทธัง อะนันตัง
    ธัมมัง จักกะวาฬัง
    สังฆัง นิพพานะ ปัจจะโยโหตุ ”

    คำอธิษฐานพระเข้าตัว
    (คำอธิษฐานขออัญเชิญคุณพระมาไว้ที่จิต
    เพื่อความสำรวมระวังและการภาวนาต่อ แม้จะออกจากการนั่งกรรมฐาน
    รวมทั้งขอคุณพระคุ้มครองรักษาในระหว่างวัน)

    สัพเพ พุทธา สัพเพ ธัมมา สัพเพ สังฆา
    พะลัปปัตตา ปัจเจกานัญ จะยังพะลัง
    อะระหันตานัญ จะ เต เชนะรักขัง พันธามิ สัพพะโส
    พุทธัง อธิษฐามิ ธัมมัง อธิษฐามิ สังฆัง อธิษฐามิ

    ตัวอย่างแนวทางการปฏิบัติสำหรับผู้เริ่มต้น

    ๑. เริ่มต้นด้วยการกล่าวคำบูชาพระ สมาทานศีล (เปลี่ยนศีลข้อกาเมสุมิจฉาจาร เป็น อะพรัหมะจะริยาฯ เพื่อเตรียมจิตก่อนอธิษฐานบวชจิต) จากนั้น ก็กล่าวคำอาราธนากรรมฐาน ว่า “พุทธัง อาราธะนัง กะโรมิ, ธัมมัง อาราธะนัง กะโรมิ, สังฆัง อาราธะนัง กะโรมิ” เป็นต้น

    ๒. เบื้องต้น ยังไม่ต้องรีบร้อนบริกรรมภาวนา หรือนึกนิมิตใดๆ หากแต่ให้ปรับท่านั่งให้เข้าเป็นที่สบาย โดยตั้งกายให้ตรง ผ่อนคลายความตึงเครียดของกล้ามเนื้อทุกส่วน สูดลมหายใจลึกๆ สักสองสามครั้ง พร้อมกับทำจิตใจของเราให้ปลอดโปร่งโล่งว่าง สร้างฉันทะที่จะปฏิบัติกรรมฐาน ระลึกว่าเรากำลังใช้เวลาที่มีคุณค่าแก่ชีวิต คือการพัฒนาจิตใจ ซึ่งเป็นสมบัติล้ำค่ากว่าสมบัติอย่างอื่น ไม่ว่าจะเป็นร่างกาย หรือทรัพย์สมบัติ

    ๓. กล่าวอาราธนาขอให้พระพุทธเจ้า หลวงปู่ทวด หลวงปู่ดู่ หลวงปู่เกษม ได้โปรดมาเป็นผู้นำและอุปการะจิตในการปฏิบัติธรรมครั้งนี้ จากนั้น ก็น้อมจิตกราบพระว่า พุทธังวันทามิ ธัมมังวันทามิ สังฆังวันทามิ

    ๔. สำรวจ อารมณ์ที่ค้างคาอยู่ในใจเรา แล้วชำระมันออกไป ทั้งเรื่องน่าสนุกเพลิดเพลิน หรือเรื่องชวนให้ขุ่นมัวต่าง ๆ ตลอดถึงความง่วงเหงาหาวนอน และความฟุ้งซ่านรำคาญใจต่าง ๆ รวมทั้งปล่อยวางความลังเลสงสัยเสียก่อน

    ๕. เมื่อ ชำระนิวรณ์อันเป็นอุปสรรคของการเจริญสมาธิออกไปในระดับหนึ่งแล้ว กระทั่งรู้สึกปลอดโปร่งโล่งว่างตามสมควร จึงค่อยบริกรรมภาวนาในใจว่า “พุทธัง สรณัง คัจฉามิ, ธัมมัง สรณัง คัจฉามิ, สังฆัง สรณัง คัจฉามิ”

    ๖. มีหลักอยู่ว่าต้องบริกรรมภาวนาด้วยใจที่สบายๆ (ยิ้มน้อยๆ ในดวงใจ) ไม่เคร่งเครียด หรือจี้จ้องบังคับใจจนเกินไป

    ๗. ทำความรู้สึกว่าร่างกายของเราโปร่ง กระทั่งว่าลมที่พัดผ่านร่างกายเรา คล้ายๆ กับว่าจะทะลุผ่านร่างของเราออกไปได้

    ๘. ให้มีจิตยินดีในทุกๆ คำบริกรรมภาวนา ว่าทุกๆ คำบริกรรมภาวนา จะกลั่นจิตของเราให้ใสสว่างขึ้นๆ

    ๙. เอาจิตที่เป็นสมาธิพอประมาณนี้มาพิจารณาร่างกายว่ามันเป็นก้อนทุกข์ ยามจะแก่ จะเจ็บ จะตาย เราก็ไม่อาจบังคับบัญชา หรือห้ามปรามมันได้ ถึงแม้ว่าเราจะดูแลมันดีอย่างไร มันก็จะทรยศเรา มันจะไม่เชื่อฟังเรา ให้พิจารณาให้ละเอียดลงไปซ้ำๆ จนกว่าจิตจะเห็นและยอมรับความจริง เมื่อจิตยอมรับจิตก็จะคลายจากความยึดมั่นถือมั่นว่ากายนี้เป็นเราหรือเป็น ของเรา (การปฏิบัติกรรมฐานครั้งต่อไป ก็อาจเปลี่ยนเป็นการพิจารณาอย่างอื่น ผม ขน เล็บ ฟัน หนัง เป็นต้น หรือพิจารณาโดยรวมว่าร่างกายเราหรือคนอื่นก็สักแต่ว่าเป็นโครงกระดูก แม้ภายนอกจะดูแตกต่าง มีทั้งที่ผิวพรรณงาม หรือทรามอย่างไร แต่เบื้องลึกภายในก็ไม่แตกต่างกันในความเป็นกระดูก ที่ไม่น่าดูน่าชม เสมอกันหมด ให้พิจารณาให้จิตยอมรับความจริง เพื่อให้คลายความหลงยึดในร่างกาย ฯลฯ)

    ๑๐. เมื่อรู้สึกว่าจิตเริ่มขาดกำลังหรือความแจ่มชัด ก็ให้หันกลับมาบริกรรมภาวนาเพื่อสร้างสมาธิขึ้นอีก

    ๑๑. ในบางครั้งที่จิตขาดกำลัง หรือขาดศรัทธา ก็ให้นึกนิมิต (นอกเหนือจากคำบริกรรมภาวนา) เช่น นึกนิมิตหลวงปู่ดู่ อยู่เบื้องหน้าเรา นึกง่ายๆ สบายๆ ให้คำบริกรรมดังก้องกังวานมาจากองค์นิมิตนั้น ทำไปเรื่อยๆ เวลาเผลอสติไปคิดนึกเรื่องอื่น ก็พยายามมีสติระลึกรู้เท่าทัน ดึงจิตกลับมาอยู่ในองค์บริกรรมภาวนาดังเดิม

    ๑๒. เมื่อจิตมีกำลัง หรือรู้สึกถึงปีติและความสว่าง ก็ให้พิจารณาทบทวนในเรื่องกาย หรือเรื่องความตาย หรือเรื่องความพลัดพราก ฯลฯ หรือเรื่องอื่นใด โดยมีหลักว่าต้องอยู่ในกรอบของเรื่องความไม่เที่ยง ความเป็นทุกข์ และความที่ไม่ใช่ตัวไม่ใช่ตนที่เที่ยงแท้แน่นอน (อนัตตา)

    ๑๓. ก่อนจะเลิก (หากจิตยังไม่รวม หรือไม่โปร่งเบา หรือไม่สว่าง ก็ควรเพียรรวมจิตอีกครั้ง โดยให้เลิกตอนที่จิตดีที่สุด) จากนั้นให้อาราธนาพระเข้าตัวว่า สัพเพพุทธา สัพเพธัมมา สัพเพสังฆา พะลัปปัตตา ปัจเจกานัญ จะยังพะลัง อะระหัน ตานัญ จะเต เชนะรักขัง พันธามิสัพพะโส พุทธัง อธิษฐามิ ธัมมังอธิษฐามิ สังฆัง อธิษฐามิ (นึกอาราธนาคุณพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ มาไว้ที่จิตเรา หรืออาจจะนึกเป็นนิมิตองค์พระมาตั้งไว้ในตัวเรา

    ๑๔. สุดท้าย ให้นึกแผ่เมตตา โดยนึกเป็นแสงสว่างออกจากใจเรา พร้อมๆ กับว่า พุทธัง อนันตัง ธัมมัง จักรวาลัง สังฆัง นิพพานะ ป?จจะโยโหตุ โดย น้อมนึกถึงบุญอันมากมายไม่มีประมาณของพระพุทธเจ้าและพระอริยสงฆ์ทั้งหลาย อีกทั้งบุญกุศลที่เราสั่งสมมาดีแล้ว รวมทั้งบุญจากการภาวนาในครั้งนี้ ไปให้กับเทพผู้ปกปักรักษาเรา ให้กับเจ้ากรรมนายเวร ให้กับบิดามารดา ครูบาอาจารย์ ผีเหย้าผีเรือน พระภูมิเจ้าที่ เทพ พรหม ทั้งหลาย แลสรรพสัตว์ทั้งหลายไม่มีประมาณ ท่านทั้งหลายที่ยังทุกข์ ขอจงพ้นทุกข์ ท่านทั้งหลายที่มีความสุขอยู่แล้ว ขอจงมีความสุขยิ่งๆ ขึ้นไป

    หมาย เหตุ การอาราธนาพระเข้าตัว (บทสัพเพฯ) ก็เพื่อว่าเมื่อเวลาเลิกนั่งสมาธิไปแล้ว จะได้ระมัดระวังรักษาองค์พระในตัว โดยการสำรวมระวังรักษากาย วาจา ใจ ตลอดวัน ซึ่งการสำรวมระวัง หรือที่เรียกว่าอินทรียสังวรนี้ จะช่วยให้การปฏิบัติกรรมฐานครั้งต่อๆ ไป จิตจะเข้าถึงความสงบได้โดยง่าย

    ที่มา: http://www.luangpordu.com/?cid=453601


     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 5 กันยายน 2011
  5. motana2008

    motana2008 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 พฤศจิกายน 2008
    โพสต์:
    4,929
    ค่าพลัง:
    +10,336
    ขอบคุณพี่ <!-- google_ad_section_start(weight=ignore) -->Follower007<!-- google_ad_section_end --><SCRIPT type=text/javascript> vbmenu_register("postmenu_5077392", true); </SCRIPT> ที่แนะนำหลายๆอย่างครับ

    บริกรรมภาวนาในใจว่า “พุทธัง สรณัง คัจฉามิ, ธัมมัง สรณัง คัจฉามิ, สังฆัง สรณัง คัจฉามิ”
    ขอถามนิดครับ ปกติหากนั่ง พุทโธ อยู่ จะบริกรรมเหมือนเดิม ได้ไหมครับ
    เรื่องพระนั่งกำจะลองเพิ่งตนเองดูก่อนครับ จะได้ไม่ยึดติดตามคำหลวงปู่
    (หากมาถูกทาง ท่านคงมาเมตตา)
    ขอบคุณครับ
    “ทำบุญกับพ่อแม่ก็เหมือนทำบุญกับพระอรหันต์” เห็นด้วยอย่างยิ่งครับ
     
  6. Follower007

    Follower007 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กุมภาพันธ์ 2010
    โพสต์:
    201
    ค่าพลัง:
    +303
    คุณ motana2008 ถ้าคุ้นเคยกับพุทโธอยู่แล้ว ก็ไม่จำเป็นต้องเปลี่ยนมาเป็<wbr>นไตรสรณคมน์หรอก
    คำบริกรรมเป็นเหมือนเรือเอาไว้
    <wbr>ให้เราเกาะเพื่อย้อนทวนกระแส เข้<wbr>ามาหาจิตข้างใน
    เรือจะสีเขียว สีเหลือง หรือจะเป็นเรือไม้ เรือพลาสติก เรือสแตนเลส ฯลฯ ก็ใช้ได้ทั้งนั้น
    ความสำคัญคือ เอาที่เราพายถนัด
     
  7. ปะจะขะ

    ปะจะขะ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 พฤศจิกายน 2010
    โพสต์:
    647
    ค่าพลัง:
    +4,409
    *** อนุโมทามิ ***
    กราบพ่อ - แม่ ครูบาอาจารย์
    เคารพ และ บูชา อย่างสุดซึ้ง
     
  8. Follower007

    Follower007 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กุมภาพันธ์ 2010
    โพสต์:
    201
    ค่าพลัง:
    +303
    ความเข้าใจผิดในการภาวนา

    [FONT=&quot]ความเข้าใจผิดในการภาวนา[/FONT]
    [FONT=&quot]๑.[/FONT][FONT=&quot]ภาวนาจนถูกรถชน![/FONT][FONT=&quot]
    [/FONT]
    [FONT=&quot]จำ มาว่าหลวงปู่สอนให้ภาวนาให้ได้ทั้งวัน ผมก็เลยบริกรรมภาวนาไตรสรณคมณ์ทั้งวัน ไม่ว่าในระหว่างการทำงาน ในขณะขับรถ ในขณะเดินข้ามถนน ฯลฯ[/FONT][FONT=&quot]

    [/FONT]ไม่ถูกต้อง เพราะการปฏิบัติภาวนา (การเจริญสติและปัญญา) ต้องเลือกรูปแบบหรือวิธีการปฏิบัติให้เหมาะกับสถานการณ์และกาละเทศะ เช่น ในยามปลอดภาระ มานั่งหลับตาทำสมาธิ การบริกรรมภาวนา (ท่องบ่นในใจ) ก็เป็นเรื่องที่ควร แต่ขณะลืมตาทำกิจกรรมอื่นอยู่ ก็ควรปฏิบัติภาวนาด้วยการทำความรู้ตัวทั่วพร้อม คือมีสติและพิจารณาในกิจกรรมที่อยู่จำเพาะหน้า มิใช่มามัวบริกรรมภาวนาจนสูญเสียความสามารถในการรับรู้สิ่งภายนอก ซึ่งเรื่องนี้เคยมีตัวอย่างความผิดพลาดให้เห็น เช่น
    · คนที่เดินท่องบ่นคำบริกรรมภาวนาขณะเดินกลับบ้านในซอย แล้วไม่ทันระวังก็เลยโดนรถจักรยานยนต์ เฉี่ยวชนเอา
    · คนที่โหนรถสองแถว แล้วหลับตาบริกรรมภาวนาจนจิตอยากปล่อยวางกาย ปล่อยวางมือที่โหนรถอยู่ ทำเอาเกือบตกรถ ซึ่งอันตรายอาจถึงชีวิต
    · คนที่บริกรรมภาวนาขณะขับรถจนเกือบไปชนท้ายรถคันหน้า
    [FONT=&quot]จริง ๆ แล้ว การบริกรรมภาวนานั้น หากกระทำไว้ในใจสัก ๑๐-๒๐ % แล้วให้มีความรับรู้กับสิ่งภายนอกสัก ๘๐-๙๐ % ก็คงไม่เป็นอะไร มิใช่มุ่งบริกรรมในใจเสีย ๘๐-๙๐ % หรือกระทั่ง ๑๐๐% อย่างนี้อันตราย ถือว่าปฏิบัติธรรมไม่เหมาะกับสถานการณ์และกาละเทศะ[/FONT]
    ที่มา: [FONT=&quot]Luangpudu.com / Luangpordu.com[/FONT]

    [FONT=&quot]๒. [/FONT][FONT=&quot]เริ่มภาวนานับหนึ่งทุกครั้ง [/FONT]
    [FONT=&quot]ครูบาอาจารย์สอนว่าการปฏิบัติภาวนาแต่ละครั้ง ห้ามติดของเก่า ผมก็เลยเริ่มต้นลำดับไปตามขั้นตอนคือนับหนึ่งใหม่ทุกครั้ง[/FONT][FONT=&quot]

    [/FONT][FONT=&quot]ไม่ถูกต้อง[/FONT][FONT=&quot] เพราะสำหรับผู้ที่เคยทำภาวนามาบ้างแล้ว หลวงปู่สอนให้จำอารมณ์เดิมที่เป็นจริตนิสัยหรือการสั่งสมของเรามาใช้ได้ เพื่อให้เกิดความสงบได้เร็ว เช่น บางคนแค่นึกถึงภาพและบรรยากาศขณะที่ตนกำลังนั่งสมาธิหรือเดินจงกรมในป่า ใจก็สงบระงับในทันที บางคนทำความรู้สึกว่าตนกำลังนั่งปฏิบัติอยู่บนยอดเขาบ้าง ริมสระน้ำบ้าง จิตก็สงบ [/FONT]
    [FONT=&quot]การ ปรุงแต่งจิตในเบื้องต้นแห่งการภาวนา ท่านถือเป็นสิ่งที่ดี ไม่ขัดอะไร เพราะเรายังไม่ถึงขึ้นเหนือการปรุงแต่ง หากแต่อยู่ในขั้นของการปรุงแต่งในทางกุศล[/FONT]

    [FONT=&quot]หลวง ปู่มุ่งหวังให้เราสร้างความชำนาญในการเข้าสู่ความสงบ จนแทบจะให้เป็นอัตโนมัติ เช่น กำหนดองค์พระปุ๊บ จิตก็สงบตั้งมั่นทรงตัวทันที เพราะเวลาจวนตัว ก็มีแต่การทำงานของจิตใต้สำนักเท่านั้น ที่จะพาให้เราเอาตัวรอดได้[/FONT]
    [FONT=&quot]นอก จากนี้ หากมีอะไรมาแทรกคั่นหรือขัดจังหวะการปฏิบัติของเรา เราก็ไม่ต้องรออุ่นเครื่องนาน สามารถวางจิตเข้าสู่ความสงบหรือการพิจารณาได้ต่อเนื่องดังเดิมภายในเวลาที่ สั้นที่สุดได้[/FONT]

    [FONT=&quot]การที่สอนว่าไม่ให้ยึดติดกับของเก่านั้น หมายถึงส่วนผลต่างหาก มิใช่ส่วนเหตุ กล่าวคือ อย่าไปยึดติดว่าปฏิบัติครั้งนี้ว่าต้องสงบเหมือนคราวก่อน [/FONT]
    [FONT=&quot]อย่างไรก็ดี การหาอุบายทำความสงบใจสำหรับกรณีของผู้ใหม่ หากจะเริ่มนับหนึ่งใหม่ทุกครั้งก็ไม่แปลกอะไร เพราะถือเป็นการสร้างความชำนาญในช่วงต้น [/FONT]
    [FONT=&quot]แต่ถ้าว่าถึงอุบายการพิจารณาแล้ว อย่างไรเสียก็ต้องตระหนักว่า ถ้าใช้อุบายเดิม ๆ เชื้อโรคมันจะดื้อยา จึงจำต้องหาอุบายสด ๆ ร้อน ๆ มาใช้แก้กิเลสจึงจะได้ผล[/FONT]
    [FONT=&quot]
    [/FONT]
    ที่มา: [FONT=&quot]Luangpudu.com / Luangpordu.com[/FONT]
    [FONT=&quot]
    [/FONT]
    [FONT=&quot]๓. [/FONT][FONT=&quot]ห่วงว่าจะทำแต่สมาธิแล้วไม่ได้เจริญปัญญา[/FONT]
    [FONT=&quot]หลวง ปู่สอนให้ทำทั้งส่วนของความสงบตั้งมั่นของใจ (สมาธิ) และทำทั้งส่วนของการพิจารณาทางด้านปัญญา ดังนั้น ผมจึงคอยระวัง เมื่อเห็นว่าจิตสงบเล็กน้อย ผมก็จะพิจารณาธรรมทุกครั้งที่นั่งปฏิบัติ[/FONT][FONT=&quot]

    [/FONT][FONT=&quot]ไม่ถูกต้อง[/FONT][FONT=&quot] เพราะแม้ผู้ปฏิบัติจะต้องทำให้ครบทั้งสองส่วนคือส่วนของสมาธิและปัญญา แต่ก็ทำให้ถูกจังหวะ การพิจารณาทางด้านปัญญาควรทำภายหลังที่จิตได้พักตัวเต็มที่และเริ่มถอนตัว ออกมารับรู้ทางด้านอารมณ์ต่าง ๆ ดังนั้น ในยามที่ทำความสงบก็อย่าเพิ่งห่วงการเจริญปัญญา ในทางตรงกันข้าม ในยามที่เจริญปัญญา ก็อย่าเพิ่งห่วงการทำความสงบ หาก พิจารณาไป ๆ จิตเริ่มซัดส่าย พิจารณาก็ไม่ได้ความลึกซึ้งถึงใจ จึงจะเป็นสัญญาณบอกว่าควรกลับมาทำความสงบเพื่อสร้างกำลังก่อนออกทำงานทาง ด้านปัญญาต่อ [/FONT]
    [FONT=&quot]อย่าง ไรก็ดี ภายหลังที่จิตได้พักอยู่กับความสงบมากแล้ว หากไม่ขวนขวายใช้ความเพียรในการพิจารณา หลวงปู่ท่านใช้คำอุปมาว่าเหมือนต้มน้ำร้อนทิ้งเปล่า ๆ ไม่ได้เอาไปชงไมโล-โอวัลติน น้ำร้อนที่ตั้งไว้ก็กลับเย็นตัวลงอีก ไม่ได้ใช้ประโยชน์อะไร ดังนั้น เราจึงต้องมีเป้าหมายที่ชัดเจนว่าการที่เราทำความสงบก็เพื่อสิ่งนี้ คือเพื่อให้จิตของเราพร้อมหรือเอื้อต่อการเจริญปัญญาต่อไป
    [/FONT]


    ที่มา: [FONT=&quot]Luangpudu.com / Luangpordu.com[/FONT]
     
  9. ก ฯลฯ ฮ

    ก ฯลฯ ฮ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    7 มิถุนายน 2011
    โพสต์:
    856
    ค่าพลัง:
    +1,172

    ขออนุโมทนาครับ.............
     
  10. Follower007

    Follower007 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กุมภาพันธ์ 2010
    โพสต์:
    201
    ค่าพลัง:
    +303
    อย่าสับสนเรื่องบทสัพเพฯ และบทแผ่เมตตา

    อย่าสับสนเรื่องบทสัพเพฯ และบทแผ่เมตตา

    <table align="center" border="0" cellpadding="2" cellspacing="0" width="500"><tbody><tr><td>PP63 Talk: </td> </tr> <tr> <td><table bgcolor="#d1d7dc" border="0" cellpadding="6" cellspacing="1" width="100%"> <tbody><tr> <td bgcolor="#fafafa" height="50" valign="top"> ค่อนข้างสับสนครับ จึงขอรบกวนถามคุณสิทธิ์ ครับ ว่า
    1. การ “สัพเพฯ” ให้ผู้อื่น คือ การอาราธนาพระคุ้มครองผู้อื่น หรือ เป็นการแผ่เมตตาให้ผู้อื่น หรือมิใช่ทั้งสองอย่าง
    2. การแผ่เมตตาด้วยบท “พุทธัง อนันตังฯ” นั้น คือ การอุทิศส่วนกุศล ใช่ไหมครับ
    เพราะ โดยปกติ ผมใช้บทแผ่เมตตา “สัพเพ สัตตา อเวรา โหนตุฯ” แล้ว จึงอุทิศส่วนกุศล เช่น บท “อิมินา ปุญญกัมเมนะ ฯ”

    ขอบคุณครับ
    </td> </tr> </tbody></table></td> </tr> </tbody></table>
    ก็น่าเห็นใจที่คนที่มาภายหลัง จะสับสนในเรื่องบทสัพเพฯ และบทแผ่เมตตา ของหลวงปู่ เพราะภายหลังไปกำหนดหรือให้ความหมายต่างจากยุคสมัยของหลวงปู่ใน สมัยหลวงปู่นั้น เมื่อนั่งสมาธิได้ดี ท่านก็ให้นึกอาราธนาบารมีพระเข้าตัวทีหนึ่ง โดยว่า สัพเพ พุทธา พะลับปัตตาฯ พอจะเลิกก็ให้ว่าอย่างนี้อีกครั้ง พร้อมกับอธิษฐานจิตแผ่เมตตาโดยว่า "พุทธัง อนันตัง ฯ"
    สังเกตว่าจะใช้คำว่า อธิษฐานจิต เพราะพุทธังอนันตังฯ ไม่ใช่การแผ่เมตตาโดยตรง หากแต่เป็นการอาราธนาบารมีพระทั้งอนันตจักรวาล มาเพื่อเป็นเหมือนงบประมาณ ก่อนจะตั้งจิตแผ่เมตตาต่อไป
    ดังนั้นเมื่อว่า พุทธัง อนันตังฯ แล้ว จึงควรที่จะน้อมกระแสจิตเป็นความชุ่มเย็นใจหรือแสงสว่างออกไปให้กับผู้ที่ เราต้องการจะแผ่เมตตาให้
    ส่วนการแผ่เมตตาด้วย บท "สัพเพ สัตตาฯ" นั้นนิยมใช้ตอนหลังสวดมนต์ทำวัตรเช้าเย็น เรียกว่าสวดไปตามแบบ ซึ่งวางแนวหรือสอนเราให้แผ่เมตตาได้อย่างทั่วถึง รวมทั้งเกิดเป็นความพร้อมเพรียงในการแผ่เมตตาของหมู่คณะที่มาปฏิบัติร่วมกัน มากกว่าที่จะเน้นในทางสมาธิจิตที่มุ่งแผ่เมตตาด้วยจิตที่มีกำลังเต็มเปี่ยม จากการทำภาวนามาสด ๆ ร้อน ๆ
    นึกไม่ถึงเหมือน กันว่าบทสวดที่ใคร ๆ ที่วัดสะแกเคยสวดกันมายาวนานเป็นเรื่องปกติธรรมดา จะมาเกิดเป็นความสับสนได้ในยุคนี้ นี่ก็เพราะไม่ช่วยกันรักษาของเดิมไว้
    บ้างก็อ้างว่าหลวงปู่สอนไม่เหมือนกัน... อันนี้ก็ฟังไม่ขึ้น เพราะครูบาอาจารย์คงไม่สอนให้ลูกศิษย์สับสนเป็นแน่
    ที่ ว่าสอนไม่เหมือนกันก็น่าจะเป็นเรื่องกุศโลบายที่ท่านใช้ต่างหาก เช่น คนไหนมีจิตใจนักเลง ท่านก็จะสอนดุดัน คนไหนมาแบบเรียบร้อย ท่านก็จะสอนแบบนุ่มนวล เป็นต้น แต่ไม่ว่าจะแบบใด ท่านก็มุ่งจุดเดียวกันคือ คือให้เกิดสติปัญญา เรื่องที่จะสอนให้สับสน โดยเฉพาะบทสวดพื้นฐานเช่นนี้ ท่านจะทำไปทำไม
    เดี๋ยวนี้เห็นมีความพยายามนำ บทสวดที่จำมาผิด ๆ นั้นมาพิมพ์เผยแพร่แทนที่ของเดิมถึงที่วัดสะแก เห็นแล้วก็รู้สึกอึดอัดใจมาก ว่านี่เป็นการทำเพื่อเผยแพร่และอนุรักษ์สิ่งที่ครูบาอาจารย์สอน หรือจะเผยแพร่บทสวดของตนเองกันแน่ ยิ่งเผยแพร่มากเท่าใด คนก็จะสับสนมากขึ้นเท่านั้น
    อันที่จริง บทสวดนั้นเป็นเรื่องประกอบหรือเรื่องรอง สิ่งที่สำคัญที่สุดคือเรื่องการตั้งจิตและเจตนาของผู้สวด บางครั้งสวดผิดแต่ก็ยังได้ผล ก็เพราะจิตเจตนาไปอย่างที่ปรารถนา
    แต่ถึงแม้ว่าบทสวดจะเป็นเรื่องประกอบ แต่มันก็เป็นสมมุติบัญญัติที่ใช้สื่อสารให้เข้าใจตรงกัน รวมทั้งเกิดความพร้อมเพรียงกัน
    แต่มีความนัยเกี่ยวกับบทสวดที่ยังไม่เคยกล่าวไว้ที่ไหนให้ทราบ ณ ที่นี้ว่า หลวงปู่เคยบอกว่า ความ ศักดิ์สิทธิ์ของบทสวดย่อมมีมาแต่ครั้งผู้ที่บัญญัติบทสวดได้อธิษฐานให้บทสวด นั้น ๆ มีความศักดิ์สิทธิ์ขึ้นมา นั่นก็เพราะอาศัยอำนาจจิตและสัจจะบารมีของผู้บัญญัตินั้นเอง
    ด้วย เหตุนี้ หากเราหวังความศักดิ์สิทธิ์จากบทสวดจริง ๆ จะมิดีกว่าหรือที่จะสวดตามบทที่หลวงปู่ได้บัญญัติไว้ดีแล้วด้วยสัจจะบารมี และความบริสุทธ์แห่งดวงจิตขององค์หลวงปู่

    ที่มา: Luangpudu.com / Luangpordu.com

     
  11. Follower007

    Follower007 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กุมภาพันธ์ 2010
    โพสต์:
    201
    ค่าพลัง:
    +303
    ความเข้าใจผิดเรื่อง บทสวดจักรพรรดิ์

    บทบูชาพระ

    นะโมพุทธายะ พระพุทธะ ไตรรัตนะญาณ
    มณีนพรัตน์ สีสะหัสสะ สุธรรมา
    พุทโธ ธัมโม สังโฆ ยะธาพุทโมนะ
    พุทธะบูชา ธัมมะบูชา สังฆะบูชา
    อัคคีทานัง วะรังคันธัง สีวลี จะมหาเถรัง
    อะหังวันทามิ ทูระโต อะหังวันทามิ ธาตุโย
    อะหังวันทามิ สัพพะโส
    พุทธะ ธัมมะ สังฆะ ปูเชมิ


    อีกหลายๆ ท่านที่ยังเข้าใจผิดเรื่อง บทสวดจักรพรรดิ์ จากการตามศึกษาค้นคว้าหาข้อมูล จากบุคคลใกล้ชิดและทันหลวงปู่ท่าน
    ล่าวเป็นสีงเดียวกันว่า (ข้อมูลและทัศนะส่วนตัว )
    หลวงปู่ไม่เคยกล่าวว่าบทบูชาพระ ชื่อว่าบทสวดจักรพรรดิ์และท่านก็ไม่เคยกล่าวไว้ว่า จะต้องสวดเท่านั้นจบ เท่านี้จบ ท่านเพียงแต่กล่าวไว้ว่า [FONT=verdana,geneva]ท่านได้มาสมัยที่เล่าเรียนศึกษาที่วัดประดูโรงธรรม (ปัจจุบันคือวัดประดู่ทรงธรรม) จังหวัดพระนครศรีอยุธยา

    XXXXXXXXXXXXXXXXXXXXX

    [/FONT]
    พลายแก้ว: เคยได้ยินจากรุ่นก่อนๆ มาว่า หลวงปู่ท่านไม่ได้แปลคำแปลบทบูชาพระ(บทสวดจักรพรรดิ์) แต่เป็นฆาราวาสที่ เป็นโหร เป็นผู้แปล เรียนถามผู้รู้ครับ ขอบคุณครับ

    สิทธิ์ : [FONT=verdana,geneva]บทบูชาพระ (นะโมพุทธายะฯ) นั้นหลวงปู่เคยเล่าว่าท่านได้มาสมัยที่เล่าเรียนศึกษาที่วัดประดูโรงธรรม (ปัจจุบันคือวัดประดู่ทรงธรรม) จังหวัดพระนครศรีอยุธยา [/FONT]หลวงปู่ไม่ได้แปลไว้ ดังที่ท่านว่า "คาถา เขาไม่ให้แปล"
    ส่วน คำแปลที่ปรากฏนั้น เป็นการแปลของศิษย์ฆราวาสท่านหนึ่ง (ไม่ใช่โหร) เพราะต้องการรู้ความหมายเป็นการส่วนตัวครับ ซึ่งผู้แปลก็ไม่ใช่ผู้ชำนาญด้านบาลี เป็นเพียงให้รู้ความหมายในระดับหนึ่งเท่านั้นครับ



    สิทธิ์ :
    <table align="center" border="0" cellpadding="2" cellspacing="0" width="500"><tbody><tr><td>LPDstudent Talk:</td> </tr> <tr> <td><table bgcolor="#d1d7dc" border="0" cellpadding="6" cellspacing="1" width="100%"> <tbody><tr> <td bgcolor="#fafafa" height="50" valign="top"> [FONT=verdana,geneva]ทำไม บทสวดที่หลวงน้าสาย[/FONT]หยุด[FONT=verdana,geneva]ท่านให้มา จึงมีบทเพิ่มมาด้วยคะ ไม่ทราบว่ามีใครท่องแบบนี้หรืเปล่าคะ สงสัยมากนานแล้วคะ แต่ยังคงท่องอยู่ตามที่ท่านบอกให้จดคะ[/FONT]
    [FONT=verdana,geneva]นะโมพุทธายะ พระพุทธไตรรัตนญาณ มณีนพรัตน์
    สีสะหัสสะ สุธรรมา พุทโธ ธัมโม สังโฆ ยะธาพุทโมนะ
    พุทธะบูชา ธัมมะบูชา สังฆะบูชา อัคคีธานัง วะรังคันธัง
    สีวลีจะมหาเถรัง ชีวิตตังเมปูเชมิ มหาลาภังภะวันตุเม อะหังวันทามิ ทูระโต
    อะหังวันทามิ ธาตุโย อะหังวันทามิ สัพพะโส
    พุทธะ ธัมมะ สังฆะ
    ปูเชมิ
    [/FONT]
    </td> </tr> </tbody></table></td> </tr> </tbody></table> ก็คงเหมือนกับธรรมะ มีทั้งส่วนที่เป็นสาธารณะ และอสาธารณะ (คือเฉพาะบุคคล)

    ก็อาจเป็นไปได้ว่าสิ่งที่หลวงน้าท่านบอก ท่านอาจหาสิ่งที่เหมาะกับเราเป็นการเฉพาะตัวน่ะครับ
    ถ้าเรารู้อย่างนี้แล้วก็จะไม่เกิดความขัดแย้งครับ


    ที่มา: Luangpudu.com / Luangpordu.com


    XXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXX


    วิชชุ (Admin): เมื่อเอ่ยถึงคาถามหาจักรพรรดิขึ้นมา ก็ถือโอกาสให้ข้อมูลและแสดงทัศนะให้ทราบเสียเลย
    เท่าที่สัมผัสหลวงปู่อยู่หลายปี ก็ได้ยินท่านพูดถึงคาถาที่ว่านี้ แต่ท่านเรียกว่า คาถาหรือบทบูชาพระ ไม่ใช่คาถาจักรพรรดิอย่างที่นิยมรียก ๆ กันในบางที่ ซึ่งทั้งผมและลูกศิษย์ที่วัดก็รู้สึกว่ามีอะไรกันหรือกับบทนี้ เพราะหลวงปู่ก็บอกเพียงบทบูชาพระที่ดีบทหนึ่ง (เนื้อหาครอบคลุมพระพุทธเจ้าทั้ง ๕ พระองค์ แถมยังบูชาไปถึงพระสีวลีและพระธาตุอีกด้วย) แต่ก็ไม่ได้มีใครให้ความสำคัญยิ่งไปกว่าการปฏิบัติสมาธิภาวนา เพราะเจอหลวงปู่ทีไร ทานก็ไล่ให้ไปทำงาน (หมายถึงนั่งสมาธิ) ไม่เคยแม้แต่ครั้งเดียวที่ท่านจะบอกให้ไปหาที่สวดมนต์อะไรนี่ นี้ก็จัดเป็นความคลาดเคลื่อนของปฏิปทาท่านอย่างหนึ่ง
    อย่างไรก็ดี ก็มีเหมือนกันที่ศิษย์ที่กำลังทุกข์ยากทางเศรษฐกิจบางคนมาปรารภให้ท่านฟัง ท่านก็แนะนำให้สวดบทบูชาพระนี้ควบคู่กับการทำความดีอย่างอื่น ๆ เพราะท่านว่าสวดแล้วจะไม่อดอยาก แต่หากจะเอาพ้นทุกข์หรือให้มีตนเป็นที่พึ่งแก่ตน ท่านก็วกมาที่การเจริญสติและการนั่งสมาธิทุกทีไป
    ดังนั้น จึงไม่เห็นจุดที่จะต้องยกการสวดบทบูชาพระนี้แต่อย่างใดเลย เพราะหลวงปู่ไม่เคยเน้น สิ่งที่ท่านเน้นคือการปฏิบัติภาวนา ดูจิต รักษาจิต
    ถ้าเราวางใจเป็นกลาง พิจารณาคำสอนโดยรวมของหลวงปู่ เราก็จะพอเข้าใจเรื่องนี้ได้ เช่น คำสอนที่ว่าสวดมนต์เป็นยาทา ภาวนาเป็นยากิน, ศาสนาพุทธไม่ใช่การสวดมนต์อ้อนวอนเรียกร้องความสำเร็จ แต่เป็นศาสนาของการประพฤติปฏิบัติ (ในหลักศีล สมาธิ และปัญญา), หมั่นดูจิต รักษาจิต เป็นต้น
    ดังนั้น เราจึงไม่ควรนำสิ่งที่ชอบใจส่วนตัวคือการสวดมนต์ (ซึ่งส่วนตัวของผมก็เป็นคนหนึ่งที่ชอบเหมือนกัน) มาทำให้คนส่วนใหญ่สับสนกับปฏิปทาของหลวงปู่ เพราะจะทำให้เสียประโยชน์คนหมู่มากและทำให้ไม่เข้าถึงธรรมอันประณีตที่หลวง ปู่บอกว่า "จะได้อาศัยเป็นที่พึ่งในภายหน้า"
    คณะผู้ดูแลเวปยังคอยสอบทานและบอกตัว เองเสมอ ๆ ว่า เราจะต้องคิด พูด ทำ (ในการเผยแพร่คำสอนหลวงปู่) ด้วยเมตตา มีความซื่อตรงต่อหลวงปู่ ถ่ายทอดคำสอนและปฏิปทาของหลวงปู่ชนิดที่ว่าหากหลวงปู่ยังมีชีวิต ท่านจะนึกโมทนากับพวกเรา มิใช่ทำในสิ่งที่จะเก้อเขินหรืออายหลวงปู่ครับ


    ที่มา: Luangpudu.com / Luangpordu.com
     
  12. wiraphat1

    wiraphat1 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    20 กรกฎาคม 2005
    โพสต์:
    508
    ค่าพลัง:
    +3,348
    ไม่ทราบว่า..มีการบันทึกเสียงหลวงปู่ ตอนสอนลูกศิษไว้บ้างไหมครับ หน้าจะเอามาเผยแพร่บ้างน่ะครับ......
     
  13. Aimee2500

    Aimee2500 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 มิถุนายน 2009
    โพสต์:
    1,703
    ค่าพลัง:
    +1,765
    นะโม โพธิสัตโต อาคันติมายะ อิติภะคะวา
    นะโม โพธิสัตโต อาคันติมายะ อิติภะคะวา
    นะโม โพธิสัตโต อาคันติมายะ อิติภะคะวา


    นะโม พรหมปัญโญ
    นะโม พรหมปัญโญ
    นะโม พรหมปัญโญ


    สัทธา ทานัง อนุโมทามิ
    _/|\_ _/|\_ _/|\_ _/|\_
     
  14. namo_2009

    namo_2009 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    5 มิถุนายน 2010
    โพสต์:
    2,432
    ค่าพลัง:
    +10,228
    กราบหลวงปู่ดู่ด้วยหัวใจครับ
     
  15. motana2008

    motana2008 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 พฤศจิกายน 2008
    โพสต์:
    4,929
    ค่าพลัง:
    +10,336
    มาแอบหาความรู้กับหลวงปู่ดู่ครับ

    เคยอ่านประสบการณ์ของท่านครับ สาธุ

    กราบหลวงปู่ดู่
     
  16. Follower007

    Follower007 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กุมภาพันธ์ 2010
    โพสต์:
    201
    ค่าพลัง:
    +303
    อุทาหรณ์จากผู้ปฏิบัติธรรมด้วยตัณหา

    อุทาหรณ์จากผู้ปฏิบัติธรรมด้วยตัณหา:
    มีตัวอย่างเรื่องจริงที่เป็นอุทาหรณ์ อย่างดียิ่งให้นักปฏิบัติพึงสังวรระวังไม่ปฏิบัติธรรมเพื่อความได้ ความมี ความเป็น หรืออยากเก่งเหนือผู้อื่น ฯลฯ
    ย้อนเวลาไปเมื่อกว่า ๒๐ ปีก่อน มีหนุ่มคนหนึ่ง เป็นคนทำงานเก่ง มีบุคลิกภาพที่มั่นใจตนเอง เสียงดังฟังชัด มีเพื่อนมาก ได้หันเหชีวิตจากที่ชอบเที่ยวกลางคืน ฯลฯ มาสนใจทางวัดวาและทำสมาธิภาวนา
    ทำสมาธิครั้งแรก ๆ ก็เกิดปีติเป็นที่อัศจรรย์ จึงทำมากเข้า ๆ ประกอบกับการได้ยินได้ฟังได้อ่านเรื่องราวประสบการณ์ครูบาอาจารย์หลาย ๆ ท่าน เขาก็เลยปฏิบัติเพื่อให้ได้ให้เป็นอย่างครูอาจารย์ได้ ครูอาจารย์เป็น
    เขาปฏิบัติกระทั่งเชื่อว่าตนเองได้ บรรลุฌาน ๔ เพราะเขาสามารถเข้าสมาธิแล้ว แล้วให้เพื่อน ๆ ตรวจดูลมหายใจ ซึ่งก็ปรากฏว่าแทบไม่มีหรือไม่มี เป็นเวลาหลายสิบนาที
    จากนั้น เขาก็เริ่มรู้เห็นวิญญาณตามข้างถนน บางครั้งต้องหยุดรถเพื่อตั้งใจแผ่เมตตาให้จริงจัง
    เขาเที่ยวเสาะแสวงหาลูกศิษย์หลวงปูดู่ว่าคนไหนเก่ง เพื่อเรียนรู้และทำให้ได้อย่างนั้นบ้าง
    ด้วยความที่จิตของเขาฟูมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งจากกำลังศรัทธาและกำลังแห่งสมาธิ ดังนั้น เขาจึงปรารภที่จะบวชตลอดชีวิต แต่เพื่อน ๆ ที่เป็นลูกศิษย์หลวงปู่ก็พากันทัดทานว่ารอดูสักระยะหนึ่งก่อนเถิด ซึ่งก็จริง เพราะผ่านไปเพียงไม่กี่สัปดาห์ อารมณ์อยากบวชของเขาก็คลายลง
    ความชำนาญในการทำสมาธิของเขาเพิ่มขึ้น เรื่อย ๆ แต่แทนที่จะเป็นคุณกับเขา กลับเป็นโทษกับเขา เพราะแค่หยิบเอกสารขึ้นมาอ่านอย่างตั้งใจหน่อย จิตของเขาก็ดำดิ่งไปเลย ไม่สามารถทำการทำงานได้อย่างปรกติ
    เพื่อนคนหนึ่งได้พาเขาไปหาหลวงปู่ดู่ เพื่อให้ท่านแก้ไขให้ ซึ่งพอหลวงปู่เห็นเขา ท่านก็รู้ว่าเขามีอาการจิตตกภวังค์โดยที่ตัวเองก็ไม่มีกำลังถอนจิตขึ้นมา ท่านจึงไล่ให้เขาไปนั่งสมาธิที่หอสวดมนต์ จากนั้นหลวงปู่ท่านก็รับแขกตามปรกติ สักพักหนึ่งหลวงปู่ก็จ้องไปที่เขา แล้วตะโกนว่า "เอ้า! ถอนจิตขึ้นมา ถอนจิตขึ้นมา" เขาก็ขยับเนื้อขยับตัว เหมือนมีความรู้เนื้อรู้ตัวหลังจากที่ตกภวังค์ แล้วก็นั่งปฏิบัติต่อ
    สักพักหลวงปู่ก็ตะโกนออกมามีอีกว่า "เอ้า! ถอนจิตขึ้นมา ถอนจิตขึ้นมา"
    เพื่อนที่ไปด้วยจึงรู้ว่า หลวงปู่ต้องการให้เขาฝึกตัวเองให้มีกำลังแห่งสติสัมปชัญญะเพียงพอที่จะถอน จิตตัวเองขึ้นจากภวังค์ได้ด้วยตนเอง
    เขาไปหาหลวงปู่ได้เพียงครั้งหรือสอง ครั้ง จากนั้น หลวงปู่ท่านก็ได้ละสังขาร ทีนี้โรคเก่า (โรคปฏิบัติด้วยตัณหา) กำเริบขึ้นอีก เขาสำคัญตนเป็นโสดา สกิทา อนาคา กระทั่งอรหันต์ในที่สุด จนไม่ฟังคำเตือนของใครทั้งสิ้น (เพราะสำคัญว่าตนมีภูมิจิตภูมิธรรมสูงกว่าใคร ๆ)
    เขาได้ปรารภที่จะไปบวช โดยไม่บอกเพื่อน ๆ ที่เป็นศิษย์หลวงปู่ดู่ เพราะเกรงจะถูกทัดทาน สุดท้ายเขาก็ได้การสนับสนุนจากรุ่นพี่คนหนึ่งซึ่งไม่รู้สภาพการณ์ที่เกิด ขึ้น จึงพลอยตื่นเต้นและโมทนากับความตั้งใจในการบวชตลอดชีวิตของเขา โดยพาเขาไปบวชที่วัดสายท่านพระอาจารย์มั่น
    พักไว้แค่นี้ก่อน เอาไว้ค่อยมาเขียนต่อวันหลัง ตอนนี้ได้เวลาทำงานแล้ว



    XXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXX

    วันนี้ขอเล่าต่อจากเมื่อวานนี้นะครับ
    หลังจากที่หนุ่มคนนี้ได้บวชอยู่กับพระ เถระที่มีชื่อเสียงในสายท่านพระอาจารย์มั่นแล้ว ก็ปฏิบัติข้อวัตรมีนั่งสมาธิ เดินจงกรม และทำวัตรเช้า-เย็น ตามปรกติ แต่เพียงไม่กี่วันเท่านั้นก็เริ่มมีอาการผิดปรกติให้เห็นในความสำคัญมั่น หมายว่าตนมีธรรมเสมอด้วยครูบาอาจารย์เจ้าอาวาสแล้ว ดังนั้น เวลาที่เจ้าอาวาสแสดงธรรม ตนก็ไม่จำเป็นต้องเสียเวลานั่งฟัง (ในคืนวันพระ)
    เมื่อลุกออกจากศาลาแล้วก็ตรงกลับไปที่ กุฏิของท่าน จากนั้นก็นั่งสมาธิ นั่งไป ๆ ก็มีนิมิตเสียงว่าต่อไปต้องเพิ่มขันติบารมี โดยการเอามีดมากรีดที่แขนและขา ท่านซึ่งโดยนิสัยค่อนข้างมุทะลุอยู่แล้ว ก็หลงเชื่อนิมิตเรื่อยมา ๆ โดยไม่ไตร่ตรอง ลืมตาออกจากสมาธิ ท่านก็จุดเทียน แล้วหามีด ท่านอาศัยเปลวแสงเทียนมารนให้มีดนั้นร้อน ร้อนได้ที่แล้วก็ทำการกรีดไปที่ แขนและขาตนเอง จนเลือดไหลออกมามาก
    สุดท้ายท่านก็นอนหมดสติอยู่ในกุฏิ กระทั่งเช้าวันรุ่งขึ้น เพื่อนพระภิกษุที่ออกเดินบิณฑบาตกลับมาไม่เห็นท่าน จึงได้ไปตามท่านที่กุฏิ และได้พบท่านนอนจมกองเลือดอยู่ จึงนำส่งโรงพยาบาล
    พอออกจากโรงพยาบาล โยมที่บ้านท่านก็พาท่านไปสึกกลับไปอยู่ในความดูแลของทางบ้าน โดยที่ทั้งหมอและครูอาจารย์ที่รู้อาการจะห้ามไม่ให้ท่านนั่งสมาธิอีก (เพราะกลัวนั่งแล้วหลุดโลก) แต่ท่านก็ยังคงแอบนั่ง สมาธิ สังเกตได้จากการที่ท่านพูดเล่าว่า คืนนั้นคืนนี้ท่านนั่งสมาธิพบครูบาอาจารย์มีหลวงปู่ทวด หลวงปู่ดู่ เจ้าแม่กวนอิม ฯลฯ ได้นั่งสนทนากันอย่างนั้นอย่างนี้ ผู้ที่ฟังแล้ว ก็นึกเป็นห่วง บอกว่าหมอห้ามไม่ให้นั่งสมาธิมิใช่หรือ ท่านก็ยอมรับว่าแอบนั่งตอนคนอื่นหลับแล้ว
    ที่บ้านท่านได้พาท่านไปลองทำงานอีกครั้ง แต่ก็ทำไม่ได้ เพราะจิตคอยตกภวังค์เหมือนอย่างเคย คอยฟุ้งไปในเรื่องลี้ลับที่มองไม่เห็น
    ...บัดนี้ไม่มีหลวงปู่ดู่จะคอยฝึกให้ ท่านดึงจิตกลับมาอยู่กับโลกปัจจุบัน ประกอบกับไม่มีเพื่อนคนใดชี้แนะท่านได้ เพราะความที่ท่านคิดว่ามีภูมิจิตภูมิธรรมสูงกว่าทุก ๆ คน ผลก็ลงเอยอย่างที่ครูบาอาจารยท่านหนึ่งกล่าวว่า "คงต้องปล่อยให้ตายเปล่าไปชาติหนึ่ง"
    คำพูดนี้เป็นคำพูดที่น่าสะเทือนใจ ...บุคคลผู้มีศรัทธาในพระศาสนา มุ่งมั่นปฏิบัติจริงจัง แต่มีความเห็นและตั้งเป้าหมายไว้ผิด มุ่งจะเอาเก่ง มุ่งแข่งขันในการปฏิบัติ ขาดความแยบคายในการดูจิตรักษาจิต ผลจึงเป็นอย่างที่ว่า ทำดีไม่ถูกดี
    การปฏิบัติ ถ้าจะให้ปลอดภัย ควรตั้งเป้าในทางละ คือ ละโกรธ โลภ หลง มิใช่ตั้งเป้าในทางได้ เช่น การได้บรรลุญาณวิเศษ หรือสามารถติดต่อกับภพภูมิต่าง ๆ ได้ หรือแม้แต่อยากได้เป็นโสดา สกิทา อนาคา อรหันต์ โพธิสัตว์ ฯลฯ
    ที่สำคัญควรปฏิบัติ อย่างคนโง่ดังที่หลวงปู่ท่านสอน ทำตัวเองดังที่ลาดลุ่มที่น้ำคือความรู้จากทิศต่าง ๆ จะไหลเข้ามาได้โดยสะดวก มิใช่ทำตัวเป็นที่ดอน (เย่อหยิ่งว่าฉันรู้แล้ว มีปัญญาเหนือใคร ๆ) สุดท้ายน้ำคือความรู้ก็มิอาจไหลเข้ามายังที่ดอนนั้นได้ แม้อยู่ใกล้บัณฑิต มีพระพุทธเจ้า และพระเถระผู้พ้นแล้ว เป็นต้น ก็ตาม
    ขอเพื่อน ๆ สมาชิกที่ได้รับทราบเรื่องราวนี้ ได้นำไปเป็นอุทาหรณ์ เพื่อระวังตนเองและเพื่อนฝูงหมู่คณะใกล้ตัว จะได้ไม่พลาดจนในที่สุดต้อง "ปล่อยให้ตายเปล่าไปชาติหนึ่ง"

    ที่มา: Luangpudu.com / Luangpordu.com

     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 10 กันยายน 2011
  17. Follower007

    Follower007 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กุมภาพันธ์ 2010
    โพสต์:
    201
    ค่าพลัง:
    +303
    ปกิณกะเกี่ยวกับเรื่อง “ปาก” ที่หลวงปู่สอน

    ปกิณกะเกี่ยวกับเรื่อง “ปาก” ที่หลวงปู่สอน:
    ๑. ใน บรรดาศีล ๕ ข้อนั้น เป็นที่ยอมรับกันว่าศีลที่รักษายากที่สุดคือข้อ ๔ เพราะศีลข้อมุสาวาทฯ นี้ ครอบคลุมทั้งเรื่องการพูดคำไม่จริง พูดคำหยาบ พูดส่อเสียด และที่ยากสุดคือการพูดเพ้อเจ้อ ด้วยเหตุนี้หลวงปู่จึงให้ป้องกันไม่ให้ศีลด่างพร้อยด้วยการพูดให้น้อย ดังที่ท่านสอนว่า “พูดมาก ผิดมาก พูดน้อย ผิดน้อย”
    ๒. เป็น เรื่องที่มักอดไม่ได้ในหมู่ผู้ปฏิบัติโดยเฉพาะอย่างยิ่งผู้ปฏิบัติใหม่ ที่อยากจะพูดเล่าถึงผลการปฏิบัติของตนเองให้ใคร ๆ ได้รับรู้ เพราะกิเลสตัวหลงมันพยายามผลักดันให้พูดเล่าออกมา จะได้เอาความยินดีในคำสรรเสริญของผู้อื่นมาเป็นอาหารเลี้ยงอัตตาให้อ้วนขึ้น ดังนั้น หลวงปู่จึงพยายามปิดช่องของกิเลสมาร ด้วยการเตือนว่า “แกจำไว้เลยนะ คนที่ทำเป็นเขาไม่พูด คนที่พูดนั่น ยังทำไม่เป็น ”” และ “อย่าเปิดฝาหม้อแกงเรื่อย ประเดี๋ยวมันจะไม่หอม”
    ๓. โดย ทั่วไป การเจริญสติของนักปฏิบัติมักจะพลาดหรือย่อหย่อนลงในช่วงที่รับประทานอาหาร หลวงปู่ท่านตระหนักเรื่องนี้เป็นอย่างดี ท่านจึงกำชับกำชา กล่าวเตือนซ้ำ ๆ ว่า “เวลากินข้าว อย่าพูดอย่าคุยกัน” บางวัน ลูกศิษย์ยังคงละเลยไม่มีสติในขณะรับประทานอาหาร หลวงปู่ก็พูดว่า “เอ้า กำลังกินข้าวอยู่ มัวอ้าปากคุยกัน ระวังผีจะเข้าปากนะ”
    ๔. หลวง ปู่เป็นผู้ให้ความสำคัญกับเรื่องธรรมเป็นอย่างยิ่ง ดังนั้นหากมีใครมาสนทนาธรรมกับหลวงปู่ แล้งอยู่ ๆ มีใครเอาเรื่องโลก ๆ มาพูดแทรก หลวงปู่ก็จะดุว่า “คนเขากำลังสนทนาธรรมะ ดันผ่ามาเอาเรื่องโลก ๆ มาพูด ระวังจะลงนรกนะ”
    ๕. วาจาของคนเรานั้น เป็นสิ่งที่มีผลกระทบมาก คนเราสามารถใช้คำพูดเป็นหอกเป็นดาบทิ่มแทงกันก็ได้ ใน ทางตรงกันข้าม ใช้คำพูดเป็นเหมือนมาลัยอันหอมชื่นใจเพื่อสร้างกำลังใจให้กันก็ได้ บางครั้งคนกำลังคิดฆ่าตัวตาย เพราะได้ยินคำพูดที่เป็นธรรม พลันได้สติเลิกคิดฆ่าตัวตายก็มี หลวงปู่เป็นครูบาอาจารย์ที่พูดให้กำลังใจลูกศิษย์อยู่เป็นปรกติ ดังเช่น “หมั่น ทำเข้าไว้ . . ถ้าขี้เกียจให้นึกถึงข้า ข้าทำมา ๕๐ ปี อุปัชฌาย์ข้าเคยสอนไว้ว่า ถ้าวันไหนยังกินข้าวอยู่ก็ต้องทำ วันไหนเลิกกินข้าว . . . นั่นแหละ ถึงไม่ต้องทำ ”
    ๖. คนเราโดยมาก มักอ้างว่าไม่มีเวลาปฏิบัติ เพราะยุ่งวุ่นวายกับเรื่องที่บ้านบ้าง ที่ทำงานบ้าง แต่เหตุผลของกิเลสข้อนี้ หลวงปู่รับไม่ได้ ท่านว่า “คนฉลาดน่ะ เขาไม่เคยมีเวลาว่าง” เพราะถ้าตั้งสติและตั้งใจแล้ว กิจกรรมทั้งหลายก็เสามารถถูกใช้เป็นเครื่องระลึกของสติ และเป็นเครื่องรู้ของจิต เพื่อให้เห็นอนิจจัง ทุกขัง อนัตตาได้ทั้งสิ้น
    ๗. ในยามที่ลูกศิษย์เริ่มประมาท ไม่ขวนขวายจริงจังในการปฏิบัติ หลวงปู่ก็จะพูดดุ พูดให้ฮึกเหิมในการปฏิบัติว่า “แกมันทำไม่จริง”

    ที่มา: Luangpudu.com / Luangpordu.com


     
  18. Follower007

    Follower007 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กุมภาพันธ์ 2010
    โพสต์:
    201
    ค่าพลัง:
    +303
    ก็แค่เครื่องอาศัย

    ก็แค่เครื่องอาศัย :

    ในตอนที่ได้ฟังโอวาทของหลวงปู่ที่บอกว่า "ที่แกทำ ๆ ไปน่ะ มันสูญเปล่า ชีวิตจะมีค่าก็ตอนไหว้พระ สวดมนต์ ภาวนาเท่านั้น" ตอนนั้นก็ยังนึกแย้งท่านในใจว่า มันสูญเปล่าที่ไหนกัน เราทำงาน ทำกิจกรรมต่าง ๆ เราก็ได้ผลงาน ได้เงินได้ทองมาเลี้ยงชีวิตตัวเรา แถมยังเอาไปสงเคราะห์ญาติได้อีก
    จากประสบการณ์ชีวิตของแต่ละท่าน หากนึกทบทวนและพิจารณาให้ดีก็จะเห็นภาพชัดเจนยิ่งขึ้น ๆ ว่า ที่ทำ ๆ ไป ไม่ว่าจะดูซับซ้อน วิจิตรเพียงใด มันก็แค่ หาอยู่หากิน เลี้ยงอัตภาพร่างกายเท่านั้น อย่างมากก็เพิ่มความภาคภูมิใจในผลงาน พอหมดลมแล้วก็หมดกัน เอาติดตัวไปไม่ได้ ไม่เหมือนอย่างบุญกุศลหรือทาน ศีล ภาวนา ซึ่งเป็นงานพัฒนายกระดับจิตใจ มันกินลึกและเอาติดตัวข้ามภพข้ามชาติไปได้

    สมบัติทางโลก ๆ จะมากมายและวิจิตรประณีตขนาดไหน มันก็เป็นแค่ "สมบัติน้ำแข็ง" อยู่ดี เพราะขณะที่เรากำมันไว้นั้น มันยังคงละลายไป ๆ อย่างต่อเนื่อง ไม่หยุดหย่อน เราจึงกำสมบัติน้ำแข็งนี้ได้เพียงระยะเวลาไม่นานเลย

    หลวงปู่เคยเล่าเชิงอุปมาว่า "เด็กทารกทั่วไปเกิดมาก็กำมือมา บ่งบอกการเกิดมาพร้อมกับความยึดมั่นถือมั่น ไม่เหมือนเด็กที่จะเกิดมาเป็นพระอรหันต์ ที่แบมือมาเกิด"

    จึง เป็นเรื่องที่ควรพิจารณาว่า นอกจากสมบัติต่าง ๆ จะเป็นดุจดั่งสมบัติน้ำแข็งที่ไม่จีรังแล้ว คุณค่าของมันจะมีก็ตอนเรามีลมหายใจเท่านั้น บางคนสะสมวัตถุมีค่ามีราคาจนเป็นเหมือนพิพิธภัณฑ์น้อย ๆ แต่พอเมื่อเจ้าของ (ตามสมมุติ) หมดลมหายใจ คุณค่าก็หมดไป (จากเขา) บางครั้งคนในครอบครัวที่ยังอยู่ก็ไม่รู้จักแม้แต่ชื่อเรียกของสมบัติเหล่า นั้น ดูสิ เมื่อตอนมีชีวิต ขวนขวายหามันแทบแย่ อิ่มใจ สุขใจกับมัน แต่พอหมดลม คุณค่าของสมบัตินั้นต่อตัวเรามันก็หมดสิ้นไปด้วย สมบัติที่สั่งสมนั้นไว้เอาไปชื่นชมต่อไม่ได้สักอย่าง อย่าว่าแต่สมบัติที่เคยเป็นสมบัติของเรานั้นเลย แม้แต่น้ำที่เขาเอามารด
    ศพเรา ก็ยังกำเอาไว้ไม่อยู่เลย

    อาหาร ที่สุดแสนประณีตก็ได้แค่อิ่ม บ้านที่เป็นดุจคฤหาสน์ก็แค่ที่พักอาศัยหลับนอนไปคืนหนึ่ง ๆ มนุษย์สร้างสมมุติที่ซับซ้อนหรอกตัวเองเสียจนหลงลืมความจริงพื้นฐานซึ่งเป็น ความเรียบง่ายของชีวิต

    "สมบัติน้ำแข็ง" คือ ข้อที่ควรคิดคำนึงเพื่อเตือนจิตเตือนใจตนเองไว้เสมอ ๆ เพื่อให้ตระหนักว่ากิจกรรมชีวิตอันใดที่เราควรทุ่มเท กิจกรรมชีวิตอันใดที่ทำเพียงแค่พอเป็น "เครื่องอาศัย" และควรวางใจอยู่เสมอ ๆ ว่าสมบัติที่มีไม่ว่าคน ไม่ว่าสิ่งของ ล้วนไม่ใช่ของเราจริง ๆ หรอก เป็นแค่สมบัติโลกที่เราขอยืมมาชั่วคราว แล้วก็ต้องส่งคืนให้โลกไปในวันหมดลมเท่านั้น...



    ที่มา: Luangpudu.com / Luangpordu.com


     
  19. Follower007

    Follower007 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กุมภาพันธ์ 2010
    โพสต์:
    201
    ค่าพลัง:
    +303
    เกลียดกลัวสมาธิ

    เกลียดกลัวสมาธิ :

    หากเราศึกษาประวัติพระพุทธศาสนา เราจะพบข้อเท็จจริงอันหนึ่งว่า บรรดาผู้ที่ศึกษาพระอภิธรรมส่วนใหญ่ รวมทั้งพวกที่นิยมแสวงหาแนวทางการปฏิบัติที่จะเป็นทางลัดตรง (กว่าที่พระพุทธองค์ทรงสอนไว้) มีทัศนะเกลียดกลัวคำว่าสมาธิหรือสมถะมาก
    แม้ มาในยุคนี้ ยุคที่หลวงปู่ดู่มีลูกศิษย์ที่มีการศึกษาสูง เป็นผู้อ่านมามาก ฟังมามาก ก็ได้มากราบเรียนถามหลวงปู่เช่นในอดีตเมื่อพันปีก่อนว่า ไม่อยากนั่งสมาธิเพราะกลัวติดสุข กลัวติดแสงสว่าง
    หลวง ปู่อมยิ้ม เพราะท่านรู้จักกิเลสของคนเราเป็นอย่างดี ท่านจึงเมตตาสอนให้รู้ให้เข้าใจซึ่งพอสรุปสาระสำคัญได้ว่า สมาธิไม่ใช่สิ่ง น่ากลัว แม้ตัวมันเองจะไม่ใช่เป้าหมายสุดท้าย แต่เราก็จำเป็นต้องอาศัยมันเพื่อไปให้ถึงจุดหมายปลายทาง
    กาล เวลาผ่านไปหลายปี ประสบการณ์การปฏิบัติธรรมจึงทำให้ได้เรียนรู้ว่า สมาธิช่วยให้การทำงานของปัญญาทำงานอย่างได้ผล สมาธิที่มาตามธรรมชาติและการฝึกเล็ก ๆ น้อย ๆ มันไม่เพียงพอ มิน่าเล่า พระพุทธองค์จึงให้อุบายและรายละเอียดต่าง ๆ สำหรับฝึกสมาธิตั้งมากมายถึงเพียงนี้
    จิตที่ ไม่มีสมาธิมันเป็นจิตที่หิวอารมณ์ จะดูจะพิจารณาอะไร ไม่ทันไรมันก็ตกสู่ความชอบความไม่ชอบ เป็นความลำเอียงในจิตใจทันทีที่ดูที่พิจารณา ก็เพราะมันไม่มีปีติ มันหิวอารมณ์ อยากกินอารมณ์ อยากกินสุขเวทนา อยากผลักไสทุกขเวทนา
    การ จะดูจะพิจารณาอะไร ก็ต้องจับต้องตรึงอารมณ์มาไว้ต่อหน้าต่อตา (ตาใจ) มันจะเที่ยงหรือไม่เทียงอย่างไรก็ดูกันชัด ๆ ซึ่งหน้าที่การดึงการตรึงอารมณ์ให้ตาใจทำงานนี้ เป็นหน้าที่ของสติหรือสมาธิ ทีนี้มารังเกียจการดึง การตรึง การบังคับจิต ก็เลยหมดกัน มันจะฟุ้งไปกี่ทางก็ปล่อยมัน
    น้ำในเขื่อนมี พลังมากเพราะอะไร ก็เพราะน้ำจากหลายทางถูกบังคับให้มารวมเป็นสายเดียว มันจึงมีพลังมากและเอาไปทำประโยชน์ได้มากเช่นกัน เราปล่อยใจให้ไหลไปหลายทาง แล้วบอกว่าจะเอาไปทำประโยชน์ที่ยิ่งใหญ่ไพศาล มันจึงมิขัดกันหรือ
    พอ รังเกียจสมาธิหรือตัวเครื่องมือสำหรับเจริญปัญญาเสียแล้วมันก็จบกัน จิตกับกายแยกกันไม่ขาด จิตกับอารมณ์มันก็เป็นเนื้อเดียวกันอยู่ จะให้ดูให้ชัดมันจึงยากมาก
    สมาธิเป็นเครื่อง มือเครื่องอาศัยที่ต้องฝึกกันอย่างยิ่งยวด อาจพูดได้ว่าต้องฝึกกันเป็นชาติ ๆ ไม่ใช่เข้าคอร์สไม่กี่ชั่วโมงก็จะมาเป็นครูอาจารย์สอนกันได้แล้ว
    ใน ทางโลกเขาจำ ๆ กันมาสอนได้ แต่ในทางธรรมนั้น จำเป็นต้องอาศัยประสบการณ์ตรงในการฝึกจิตของตนเองที่มิใช่แค่จำได้ว่าองค์ ของสมาธิประกอบด้วยนั่นด้วยนี่
    การปฏิเสธสมาธิก็เหมือนการจะเดินทางไกลโดยปฏิเสธที่จะขึ้นรถยนต์ หรือเครื่องบิน
    ใน ทางตรงข้าม การมุ่งสมาธิโดยไม่เอาไปเป็นฐานในการเจริญปัญญา มัวจมจ่อมอยู่ จนคล้ายได้ยากล่อมใจไปวัน ๆ ก็เสียโอกาสอีก กับดักในการปฏิบัตินั้นมีมาก จึงโชคดีที่หลวงปู่ท่านเมตตาเตือนเอาไว้ โดยเฉพาะคำว่า "เบื้องต้นจะขึ้นยอดตาล มีหวังตกลงมาตาย หรือแข้งขาหักเท่านั้น" ซึ่งไม่ผิดอะไรกับคนที่จะเอาแต่ยอดเจดีย์ ฐานเจดีย์ไม่เอา ...เรื่องนี้จึงเป็นเรื่องที่น่าพิจารณาไม่น้อย



    ที่มา: Luangpudu.com / Luangpordu.com
     
  20. Follower007

    Follower007 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กุมภาพันธ์ 2010
    โพสต์:
    201
    ค่าพลัง:
    +303
    เอาตัวแกเองก่อนเถอะ

    เอาตัวแกเองก่อนเถอะ:

    ตามแนวทางการปฏิบัติธรรม โดยเฉพาะอย่างยิ่งทางฝั่งเถรวาทเรา จะเน้นปฏิบัติเอาตัวให้รอดก่อน ก่อนที่จะไปสงเคราะห์ผู้อื่น
    หลวงปู่ดู่ท่านก็เช่นกัน ท่านจะเน้นว่า "เอาตัวแกเองก่อนเถอะ" หมายความว่าให้เอาตัวให้รอดก่อน อย่าเพิ่งใส่ใจจะไปช่วยเหลือหรือสงเคราะห์ผู้ใด มิเช่นนั้นก็อาจเข้าข่ายพากันจมน้ำตายทั้งคู่
    สำหรับ ผู้รักที่จะทำหน้าที่ช่วยเผยแผ่ธรรมคำสอน จึงมีหลักอยู่ว่าเจ้าตัวต้องมุ่งฝึกฝนอบรมตนเองอย่างน้อยก็ในระดับที่เชื่อ มั่นในหนทางที่ตนปฏิบัติอยู่อย่างไม่ง่อนแง่นคลอนแคลน มิใช่ทำไป ๆ หากมีอะไรมากระทบ หรือไปเจอะเจอแนวทางแปลกใหม่ก็พร้อมจะเปลี่ยนแนวทาง หากแม้นว่าตัวเองก็ยังลังเลสงสัย ไม่สนิทใจกับการปฏิบัติหรือผลการปฏิบัติของตนเอง แล้วจะไปเผยแพร่ให้ผู้อื่นเชื่อได้อย่างไร ต้องสอบทานตนเองว่าความเข้าใจของตนนั้นลึกซึ้งดีพอหรือยัง รวมทั้งสามารถแยกแยะได้ไหมว่า อะไรที่ใช่ อะไรที่ไม่ใช่ อะไรที่เข้ากันได้กับหลักคำสอนที่ยึดถืออยู่ อะไรที่เข้ากันไม่ได้หรือขัดกัน เป็นต้น มิใช่พิจารณาแบบฉาบฉวยว่าก็เหมือน ๆ กันทั้งนั้น ทั้ง ๆ ที่อาจจะตรงกันข้ามกันเลยก็ว่าได้
    ใน ประวัติศาสตร์พระพุทธศาสนา จะพบว่าบางครั้งชาวพุทธเองกลับเผยแพร่ในทำนองนำตนเองไปเข้ากับศาสนาอื่น อาทิ ศาสนาพราหมณ์หรือฮินดู เป็นต้น เช่นว่า สอนเรื่องจิตเป็นของเที่ยงแท้ ยืนตัว คงตัวตลอดไป (ส่วนที่ไม่เที่ยงนั้นเป็นอาการของจิตต่างหาก ไม่ใช่ตัวจิต) อย่างนี้ศาสนาฮินดูยิ้มเลย เพราะไปตรงกับหลักอาตมันของเขา ซึ่งเรื่องนี้ถือเป็นเรื่องใหญ่ เพราะพระพุทธศาสนาเป็นศาสนาเดียวที่ปฏิเสธ “อัตตา” ในทุกระดับ ทั้งหยาบ ทั้งละเอียด แต่ต้องไม่เผลอไปเข้าใจว่า อนัตตาแปลว่าไม่มีอะไร (ในความหมายว่าไม่มีอะไร ต้องเรียกว่า “นัตถิตา” มิใช่ “อนัตตา”) ไม่อย่างนั้นการฆ่าคนก็คงไม่บาป
    อนัตตาจึงเป็นเพียงบทปฏิเสธการมีอัตตาที่เที่ยงแท้ อนัตตาหมายความว่ายังมีอะไร ๆ อยู่ แต่มีอยู่อย่างอนัตตา คือ มีอยู่อย่างไม่เที่ยง เป็นทุกข์ และบังคับบัญชาไม่ได้
    และ การเผยแผ่ธรรมที่ไม่บริสุทธิ์ก็มักจะกลับไปหาความผิดพลาดเดิม ๆ ที่เคยเกิดหลายครั้งหลายหน ตลอด ๒๕ พุทธศตวรรษที่ผ่านมา ซึ่งบางครั้งถึงขนาดเป็นเหตุให้ต้องสังคายนาพระไตรปิฎก เช่น คำสอนที่ว่า “จิตเดิมแท้เป็นของบริสุทธิ์ !” หรือ “ตัวจิตคือตัวนิพพาน !” ทำให้พระผู้รู้ต้องออกมาสังคายนา เพราะหากว่าจิตเป็นของบริสุทธ์จริง ทำไมจึงต้องพากันมาเกิดได้อีกเล่า ?
    ที่ว่าจิตเดิมแท้ “ประภัสสร” นั้นคือ มันผ่องใสเฉย ๆ (แต่ยังไม่บริสุทธิ์) เหมือนของที่ปลอมปนมันตกตะกอน มันก็เลยใสสว่าง แต่ของปลอมปนหรือกิเลสอาสวะนั้นยังมีอยู่ เป็นแต่มันนอนก้นอยู่ เมื่อใดมีสิ่งกระตุ้นเร้า มันก็พร้อมจะออกมาอาละวาดได้ทุกเมื่อ
    การ จะทำประโยชน์ท่านนั้น ประโยชน์ตนต้องมาก่อน การประกอบบำเพ็ญเพื่อประโยชน์ตนต้องไม่ให้บกพร่อง มิเช่นนั้นนอกจากตัวเองไม่ได้หลักแล้ว ยังอาจเผยแพร่ธรรมะผิด ๆ หรือนำพระพุทธศาสนาไปปะปนกับศาสนาอื่น ลัทธิอื่นโดยไม่รู้ตัว ทั้ง ๆ ที่ตนตั้งความปรารถนาจะสืบอายุพระพุทธศาสนาให้ยืนยาว กลับเป็นว่าอายุพระศาสนาต้องมาสั้นลงก็เพราะตัวเราเองมีส่วนอยู่ด้วย
    นอก จากนี้ หากเราไม่มุ่งประโยชน์ตนให้ดี ขณะทำหน้าที่เผยแพร่ธรรมหรือกิจกรรมเพื่อส่วนรวม ลาภสักการะต่าง ๆ ก็อาจทำให้ศีลของเราค่อย ๆ ด่างพร้อย จากการไม่ยุ่งเกี่ยวเรื่องเงินทอง ก็เริ่มบอกบุญนั่นนี่ สุดท้ายก็เริ่มมีเหตุผลของกิเลสที่จะนำเงินทำบุญนั้นมาใช้เพื่อประโยชน์ตน จนกระทั่งจบสิ้นอุดมการณ์ที่เริ่มต้นไว้เสียดิบดีอย่างน่าเสียดาย สิ่งที่ได้กลับกลายเป็นความหลงตนลืมตัว พอใจยินดีในความเป็นคนสำคัญ ติด ในลาภสักการะ คำสรรเสริญเยินยอ รวมทั้งอาจกลายเป็นผู้มีอิทธิพลในฐานะเจ้าของวัด เจ้าของหลวงปู่ครูบาอาจารย์ เจ้าของธรรมคำสอน เจ้าของศาสนวัตถุ ฯลฯ
    หลวงปู่ดู่จึงเตือนว่า “เอาตัวแกเองก่อนเถอะ” คือหลักที่ทิ้งไม่ได้เด็ดขาด ถ้าประโยชน์ตนบกพร่อง ประโยชน์ผู้อื่นก็เป็นอันหวังไม่ได้ หากจะทำหน้าที่เผยแพร่ก็ต้องหมั่นตรวจสอบตัวเองเสมอ ๆ ว่าเรากำลังติดกับดักดังกล่าวข้างต้นอยู่หรือไม่ เพื่อจะได้ปรับตัวในการที่จะรักษาประโยชน์ตนไว้มิให้บกพร่อง

    ที่มา: Luangpudu.com / Luangpordu.com


     

แชร์หน้านี้

Loading...