พระวังหน้า ที่หลวงปู่บรมครูเทพโลกอุดรเสก ถ้าต้องการที่จะได้.....

ในห้อง 'งานบุญอื่นๆ' ตั้งกระทู้โดย sithiphong, 23 ธันวาคม 2005.

  1. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    อ้างอิง:
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=6 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=alt2 style="BORDER-RIGHT: 1px inset; BORDER-TOP: 1px inset; BORDER-LEFT: 1px inset; BORDER-BOTTOM: 1px inset">ข้อความดั้งเดิมโดยคุณ sithiphong [​IMG]
    จากกระทู้ ร่วมทำบุญถวายห้องสุข(า)ถวายหลวงปู่ทองดี อนีโฆ วัดใหม่ปลายห้วย พร้อมรับพระและวัตถุมงคล

    http://www.palungjit.org/board/showthread.php?t=87911

    ผมมีความเห็นว่า จะชักชวนพี่ๆน้องๆเพื่อนๆ มาร่วมกันสร้างห้องน้ำ ในนามของพวกเรา 1 ห้อง จำนวนเงิน 5,000 บาท ดีหรือเปล่าครับ แสดงความคิดเห็นกันหน่อยครับ

    .

    </TD></TR></TBODY></TABLE>


    ไว้ไปบ้านท่านอาจารย์ประถม คงจะไปคุยเรื่องนี้และรวบรวมปัจจัยที่นั่นอีกครั้งนะครับ

    .
     
  2. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    รายละเอียดพระพิมพ์และวัตถุมงคล ที่มอบให้กับผู้ร่วมทำบุญในกระทู้ ขอเชิญร่วมสร้างพระเจดีย์ศรีชัยผาผึ้ง ณ สำนักสงฆ์ผาผึ้ง อ.บ้านเขว้า จ.ชัยภูมิบมจ.ธนาคารกรุงไทย สาขาลาดพร้าว 102 บัญชีออมทรัพย์เลขที่ 189-0-13128-8 ชื่อบัญชี นางพิชญ์สินี ชาญปารีชญา ,นายอุเทน งามศิริ ,นายสิรเชษฏ์ ลีละสุนทเลิศ ( http://www.palungjit.org/board/showthread.php?t=68899 ) จะอยู่ในหน้าแรกของกระทู้ ขอเชิญร่วมสร้างพระเจดีย์ศรีชัยผาผึ้ง ณ สำนักสงฆ์ผาผึ้ง อ.บ้านเขว้า จ.ชัยภูมิ

    ส่วนยอดคงเหลือ ผมจะแจ้งให้ทราบในกระทู้ขอเชิญร่วมสร้างพระเจดีย์ศรีชัยผาผึ้ง ณ สำนักสงฆ์ผาผึ้ง อ.บ้านเขว้า จ.ชัยภูมิ และกระทู้พระวังหน้า ที่หลวงปู่บรมครูเทพโลกอุดรเสก ถ้าต้องการที่จะได้เป็นระยะครับ

    *************************************************


    วันที่ 20 สิงหาคม 2550
    <O:p</O:p
    พระพิมพ์ชุดพระปิดตาวังหน้าสองหน้า (เนื้อขาว , เนื้อดำลงรักปิดทอง) ชุดพิเศษ 2
    <O:p</O:p
    พระพิมพ์ชุดพิเศษ 2 องค์ผู้อธิษฐานจิต พระสิวลีเถระเจ้า ,พระอนุรุทเถระเจ้า,พระอุปคุตเถระเจ้าและหลวงปู่บรมครูเทพโลกอุดร อธิษฐานจิตให้ ส่วนองค์ผู้อธิษฐานจิตเดิม ผมไม่แจ้งให้ทราบ เนื่องจากองค์ผู้อธิษฐานจิตใหม่ พลังองค์ผู้อธิษฐานจิตใหม่คลุมพลังองค์ผู้อธิษฐานจิตเดิมครับ<O:p</O:p
    <O:p</O:p

    พระปิดตาวังหน้าสองหน้า <O:p</O:p
    <O:p[​IMG]
    </O:p
    1.พระปิดตาวังหน้าสองหน้า (เนื้อขาว , เนื้อดำลงรักปิดทอง) จำนวน 10 คู่ มอบให้กับท่านที่ร่วมทำบุญ 1,200 บาท มอบให้ 1 คู่<O:p</O:p
    <O:p</O:p

    2.พระปิดตาวังหน้าสองหน้า (เนื้อขาว ) จำนวน 10 องค์ มอบให้กับท่านที่ร่วมทำบุญ 1,000 บาท มอบให้ 1 องค์<O:p</O:p
    <O:p</O:p

    3.พระปิดตาวังหน้าสองหน้า (เนื้อดำปิดทองล่องชาด ) จำนวน 10 องค์ มอบให้กับท่านที่ร่วมทำบุญ 1,000 บาท มอบให้ 1 องค์<O:p</O:p
    <O:p</O:p

    เมื่อโอนแล้วแจ้งยอดเงินและชื่อที่อยู่เพื่อจัดส่งไว้ในกระทู้ หรือส่งข้อความส่วนตัวมาที่ผม แล้วผมจะจัดส่งให้ครับ

    ยอดคงเหลือพระพิมพ์ ผมจะแจ้งให้ทราบในกระทู้เป็นระยะนะครับ

    ขอขอบพระคุณและโมทนาสาธุกับทุกท่านที่เมตตาครับ<O:p</O:p
    <!-- / message --><!-- sig -->
    **********************************************

    วันที่ 19 สิงหาคม 2550
    ผมเปิดให้จองชุด พระสมเด็จวังหน้า จำนวน 7 ชุด(ชุดละ 5 องค์)
    (องค์บน ซ้าย - ขวา องค์ล่าง ซ้าย - กลาง พิธีในชุดพิเศษ 2 ส่วนองค์ล่างขวา พิธีในชุดพิเศษ 3)



    [​IMG]

    - ท่านที่เคยร่วมทำบุญสร้างพระเจดีย์ศรีชัยผาผึ้งมาแล้ว(ลำดับที่ 1 - 208 ) ผมมอบให้ท่านที่ร่วมทำบุญจำนวนเงิน 3,333 บาท ผมมอบพระพิมพ์ให้ 1 ชุด

    - แต่ถ้าไม่เคยร่วมทำบุญสร้างพระเจดีย์ศรีชัยผาผึ้งมาเลย หากท่านมีความประสงค์ที่จะได้ไว้ ผมมอบให้สำหรับการร่วมทำบุญจำนวนเงิน 7,777 บาท ผมมอบให้ 1 ชุดครับ

    *************************************************
    *************************************************

    สำหรับองค์เดี่ยวครับ<O:p</O:p
    <O:p</O:p

    1.พระสมเด็จวังหน้า (องค์บนซ้าย) จำนวน 5 คู่ <O:p</O:p
    <O:p</O:p

    1.1 มอบให้กับท่านที่เคยร่วมทำบุญสร้างพระเจดีย์ศรีชัยผาผึ้ง(ลำดับที่ 1
     
  3. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    บทสวดหลวงปู่บรมครูเทพโลกอุดร
    ประวัติคณะหลวงปู่บรมครูเทพโลกอุดร
    การไหว้ 5 ครั้งของ ของสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ ( เจริญ ญาณวรเถระ ) วัดเทพศิรินทราวาส
    และศิลปการใช้พระเครื่อง

    ผมลงไว้ในหน้าแรกของกระทู้พระวังหน้า ที่หลวงปู่บรมครูเทพโลกอุดรเสก ถ้าต้องการที่จะได้...
    <O[​IMG]</O[​IMG]http://www.palungjit.org/board/showthread.php?t=22445

    โมทนาสาธุครับ

    .
     
  4. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    ที่มา อกุศลกรรมบถ10 หนทางสู่ ''นรก''
    http://www.palungjit.org/board/showthread.php?p=662522

    <TABLE class=tborder id=post662522 cellSpacing=0 cellPadding=6 width="100%" align=center border=0><TBODY><TR><TD class=thead id=currentPost style="BORDER-RIGHT: #ffffff 0px solid; BORDER-TOP: #ffffff 1px solid; FONT-WEIGHT: normal; BORDER-LEFT: #ffffff 1px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 1px solid"> เมื่อวานนี้, 02:53 PM <!-- / status icon and date --></TD><TD class=thead style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid; BORDER-TOP: #ffffff 1px solid; FONT-WEIGHT: normal; BORDER-LEFT: #ffffff 0px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 1px solid" align=right> #1 </TD></TR><TR vAlign=top><TD class=alt2 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid; BORDER-TOP: #ffffff 0px solid; BORDER-LEFT: #ffffff 1px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 0px solid" width=175>wellrider<SCRIPT type=text/javascript> vbmenu_register("postmenu_662522", true); </SCRIPT>
    สมาชิก

    เข้ามาครั้งสุดท้ายเมื่อ: เมื่อวานนี้ 05:59 PM
    วันที่สมัคร: Jan 2007
    อายุ: 27 ปี
    ข้อความ: 694 <!-- Start Post Thank You Hack -->
    ได้ให้อนุโมทนา 189 ครั้ง
    ได้รับอนุโมทนา 1,995 ครั้ง ใน 516 โพส <!-- End Post Thank You Hack -->
    พลังการให้คะแนน: 274 [​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG]


    </TD><TD class=alt1 id=td_post_662522 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid"><!-- icon and title -->อกุศลกรรมบถ10 หนทางสู่ ''นรก''
    <HR style="COLOR: #ffffff" SIZE=1><!-- / icon and title --><!-- message -->
    [​IMG]


    <TABLE height=24 width="94%" border=0><TBODY><TR><TD height=27>
    พระพุทธเจ้าตรัสว่า อกุศลกรรมบถ 10 นี้ ผู้ใดเผลอกระทําไป ครั้นเมื่อตายลง
    ก็จะไปสู่นรก ท่านตรัสว่า เหมือนกับถูกจับตัวไปวางไว้
    เลยทีเดียว คือ หนีไม่ได้

    อกุศลกรรมบถ 10 คืออะไร

    ประกอบด้วย

    </TD></TR><TR><TD width="54%" height=115>1. ปาณาติบาต ทำให้สัตว์ให้ตกล่าง คือ ฆ่าสัตว์


    2. อทินนาทาน ถือ เอาสิ่งของที่เจ้าของไม่ได้ให้ ด้วย อาการแห่งขโมย

    3. กาเมสุ มิจฉาจาร ประพฤติผิดในกาม

    4. มุสาวาท พูดเท็จ

    5. ปิสุณาวาจา พูดส่อเสียด

    6. ผรุสวาจา พูดคำหยาบ

    7. สัมผัปปลาปะ พูดเพ้อเจ้อ

    8. อภิชญา โลภอยากได้ของเขา

    9. พยาบาท ปองร้ายเขา

    10. มิจฉาทิฏฐิ เห็นผิดจากคลองธรรม


    ดังนั้น เราชาวพุทธ ควรจะหมั่นรักษาจิต มิให้เผลอไปกระทําอะไรที่เข้าข่าย 10 ข้อข้างต้น กันนะครับ

    ดูกรภิกษุทั้งหลาย ในเมื่อมนุษย์มีอายุ
    ๑๐ ปี อกุศลกรรมบถ ๑๐ จักรุ่งเรืองเหลือเกิน
    แม้แต่ชื่อว่ากุศลก็จักไม่มี และคนทำกุศลจักมีแต่ไหน ดูกรภิกษุทั้งหลาย
    ในเมื่อมนุษย์มีอายุ ๑๐ ปี คนทั้งหลายจักไม่ปฏิบัติชอบในมารดา จักไม่ปฏิบัติ
    ชอบในบิดา จักไม่ปฏิบัติชอบในสมณะ จักไม่ปฏิบัติชอบในพราหมณ์ จักไม่
    ประพฤติอ่อนน้อมต่อท่านผู้ใหญ่ในตระกูล เขาเหล่านั้นก็จักได้รับการบูชา และ
    ได้รับการสรรเสริญ เหมือนคนปฏิบัติชอบในมารดา ปฏิบัติชอบในบิดา ปฏิบัติ
    ชอบในสมณะ ปฏิบัติชอบในพราหมณ์ ประพฤติอ่อนน้อมต่อท่านผู้ใหญ่ใน
    ตระกูล ในบัดนี้ ฯ
    ดูกรภิกษุทั้งหลาย ในเมื่อมนุษย์มีอายุ ๑๐ ปี เขาจักไม่มีจิตคิดเคารพ
    ยำเกรงว่า นี่แม่ นี่น้า นี่พ่อ นี่อา นี่ป้า นี่ภรรยาของอาจารย์ หรือว่านี่ภรรยา
    ของท่านที่เคารพทั้งหลาย สัตว์โลกจักถึงความสมสู่ปะปนกันหมด เปรียบเหมือน
    แพะ ไก่ สุนัขบ้าน สุนัขจิ้งจอก ฉะนั้น ดูกรภิกษุทั้งหลาย ในเมื่อมนุษย์มีอายุ
    ๑๐ ปี สัตว์เหล่านั้นต่างก็จักเกิดความอาฆาต ความพยาบาท ความคิดร้าย ความ
    คิดจะฆ่าอย่างแรงกล้าในกันและกัน มารดากับบุตรก็ดี บุตรกับมารดาก็ดี บิดากับ
    บุตรก็ดี บุตรกับบิดาก็ดี พี่ชายกับน้องหญิงก็ดี น้องหญิงกับพี่ชายก็ดี จักเกิดความ
    อาฆาต ความพยาบาท ความคิดร้าย ความคิดจะฆ่ากันอย่างแรงกล้า นายพราน
    เนื้อเห็นเนื้อเข้าเกิดความอาฆาต ความพยาบาท ความคิดร้าย ความคิดจะฆ่า
    อย่างแรงกล้าฉันใด ฉันนั้นเหมือนกัน ฯ


    จาก พระไตรปิฎก เล่มที่ ๑๑ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๓
    ทีฆนิกาย ปาฏิกวรรค

    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  5. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    กุศลกรรมบถ ๑๐ ประการ
    http://larndham.net/cgi-bin/kratoo.pl/001769.htm


    <TABLE width="100%" bgColor=#bbddff border=0><TBODY><TR><TD colSpan=2>
    หลักกุศลกรรมบถ ๑๐ ประการ ดังนี้​



    ๑. เว้นจากการฆ่าสัตว์ คือไม่ฆ่าสัตว์ นับตั้งแต่ฆ่าคนทั่วไป ฆ่าสัตว์ ที่มีคุณ และฆ่าสัตว์อื่นๆ


    เจตนารมณ์ของกุศลกรรมบถข้อนี้ ต้องการให้ทุกคนรู้จักแก้ปัญหาโดยสันติวิธี ไม่ใช่โดยวิธีฆ่าอีกฝ่ายหนึ่งเสีย เพราะการฆ่านั้น ผู้ฆ่าย่อมเกิดความทารุณโหดร้ายขึ้นในใจ ทำให้ใจเศร้าหมอง และตนก็ต้องรับผลกรรมต่อไป และต้องคอยหวาดระแวงว่า ญาติพี่น้องเขาจะมาทำร้ายตอบ เป็นการแก้ปัญหา ซึ่งจะสร้างปัญหาอื่นๆ ต่อมาโดยไม่จบสิ้น


    ๒. เว้นจากการลักทรัพย์ คือไม่แสวงหาทรัพย์มาโดยทางทุจริต เช่น


    ลัก = ขโมยเอาลับหลัง


    ฉก = ชิงเอาซึ่งหน้า


    กรรโชก = ขู่เอา


    ปล้น = รวมหัวกันแย่งเอา


    ตู่ = เถียงเอา


    ฉ้อ = โกงเอา


    หลอก = ทำให้เขาหลงเชื่อแล้วให้ทรัพย์


    ลวง = เบี่ยงบ่ายลวงเขา


    ปลอม = ทำของที่ไม่จริง


    ตระบัด = ปฏิเสธ


    เบียดบัง = ซุกซ่อนเอาบางส่วน


    สับเปลี่ยน = แอบเปลี่ยนของ


    ลักลอบ = แอบนำเข้าหรือออก


    ยักยอก = เบียดบังเอาของในหน้าที่ตน


    เจตนารมณ์ของกุศลกรรมบถข้อนี้ ต้องการให้ทุกคนทำมาหาเลี้ยงชีพโดยสุจริต ซึ่งจะทำให้ใช้ทรัพย์ได้เต็มอิ่ม ไม่ต้องหวาดระแวงว่าจะมีใครมาทวงคืน


    ๓. เว้นจากการประพฤติผิดในกาม คือไม่กระทำผิดในทางเพศ ไม่ลุอำนาจแก่ความกำหนัด เช่น การเป็นชู้กับสามีภรรยาคนอื่น การข่มขืน การฉุดคร่าอนาจาร


    เจตนารมณ์ของกุศลกรรมบถข้อนี้ ต้องการให้ทุกคนมีจิตใจสูง เคารพในสิทธิของเพื่อนมนุษย์ด้วยกัน เป็นการรักษาความสงบเรียบร้อยในสังคม


    ๔. เว้นจากการพูดเท็จ คือต้องไม่เจตนาพูดให้ผู้ฟังเข้าใจผิดไปจากความเป็นจริง ซึ่งรวมถึงการทำเท็จให้คนอื่นหลงเชื่อรวม ๗ วิธีด้วยกัน คือ


    พูดปด = โกหกซึ่งๆ หน้า


    ทนสาบาน = อ้างสิ่งต่างๆ ทำให้ผู้อื่นหลงเชื่อ


    ทำเล่ห์กระเท่ห์ = ทำกลอุบายหรือเงื่อนงำอันอาจทำให้คนอื่นหลงเข้าใจผิด


    มารยา = เช่น เจ็บน้อยทำเป็นเจ็บมาก


    ทำเลศ = ทำทีให้ผู้อื่นตีความคลาดเคลื่อนเอาเอง


    เสริมความ = เรื่องนิดเดียวทำให้เห็นเป็นเรื่องใหญ่


    อำความ = เรื่องใหญ่ปิดบังไว้ให้เป็นเรื่องเล็กน้อย


    การเว้นจากพูดเท็จต่างๆ เหล่านี้ หมายถึง


    - ไม่ยอมพูดคำเท็จเพราะเหตุแห่งตน กลัวภัยจะมาถึงตนจึงโกหก


    - ไม่ยอมพูดคำเท็จเพราะเหตุแห่งคนอื่น รักเขาอยากให้เขาได้ ประโยชน์จึงโกหก หรือเพราะเกลียดเขา อยากให้เขาเสียประโยชน์จึงโกหก


    - ไม่ยอมพูดเท็จเพราะเห็นแก่อามิสสินจ้าง เช่น อยากได้ทรัพย์สินเงินทองสิ่งของ จึงโกหก


    เจตนารมณ์ของกุศลกรรมบถข้อนี้ ต้องการให้ทุกคนมีความสัตย์จริง กล้าเผชิญหน้ากับความจริงเยี่ยงสุภาพชน ไม่หนีปัญหา หรือหาประโยชน์ใส่ตัวด้วยการพูดเท็จ


    ๕. เว้นจากการพูดส่อเสียด คือไม่เก็บความข้างนี้ไปบอกข้างโน้น เก็บความข้างโน้นมาบอกข้างนี้ ด้วยเจตนาจะยุแหย่ให้เขาแตกกัน ควรกล่าวแต่ถ้อยคำที่ทำให้เกิดความสมัครสมานสามัคคี


    เจตนารมณ์ของกุศลกรรมบถข้อนี้ ต้องการไม่ให้คนเราหาความชอบด้วยการประจบสอพลอ ไม่เป็นบ่างช่างยุ ต้องการให้หมู่คณะสงบสุขสามัคคี


    ๖. เว้นจากการพูดคำหยาบ คือไม่พูดคำซึ่งทำให้คนฟังเกิดความระคายใจ และส่อว่าผู้พูดเองเป็นคนมีสกุลต่ำ ได้แก่


    คำด่า = พูดเผ็ดร้อน แทงหัวใจ พูดกดให้ต่ำ


    คำประชด = พูดกระแทกแดกดัน


    คำกระทบ = พูดเปรียบเปรยให้เจ็บใจเมื่อได้คิด


    คำแดกดัน = พูดกระแทกกระทั้น


    คำสบถ = พูดแช่งชักหักกระดูก


    คำหยาบโลน = พูดคำที่สังคมรังเกียจ


    คำอาฆาต = พูดให้หวาดกลัวว่าจะถูกทำร้าย


    เจตนารมณ์ของกุศลกรรมบถข้อนี้ ต้องการให้ทุกคนเป็นสุภาพชน รู้จักสำรวมวาจาของตน ไม่ก่อความระคายใจแก่ผู้อื่นด้วยคำพูด


    ๗. เว้นจากการพูดเพ้อเจ้อ คือไม่พูดเหลวไหล ไม่พูดพล่อยๆ สักแต่ ว่ามีปากอยากพูดก็พูดไปหาสาระมิได้ แต่พูดถ้อยคำที่มีสาระ มีหลักฐาน มีที่อ้างอิง ถูกกาลเวลา มีประโยชน์


    เจตนารมณ์ของกุศลกรรมบถข้อนี้ ต้องการให้ทุกคนมีความรับผิดชอบต่อถ้อยคำของตน


    ๘. ไม่โลภอยากได้ของเขา คือไม่เพ่งเล็งที่จะเอาทรัพย์ของคนอื่นในทางทุจริต


    เจตนารมณ์ของกุศลกรรมบถข้อนี้ ต้องการให้คนเราเคารพในสิทธิข้าวของของผู้อื่น มีจิตใจสงบไม่ฟุ้งซ่านไหวกระเพื่อมไปเพราะความอยากได้ทรัพย์ของผู้อื่น ทำให้มีใจผ่องแผ้ว มีความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ พร้อมที่จะสร้างประโยชน์ให้แก่ส่วนรวม


    ๙. ไม่พยาบาทปองร้ายเขา คือไม่ผูกใจเจ็บ ไม่คิดอาฆาตล้างแค้น ไม่จองเวร มีใจเบิกบาน แจ่มใสไม่ขุ่นมัว ไม่เกลือกกลั้วด้วยโทสะจริต


    เจตนารมณ์ของกุศลกรรมบถข้อนี้ ต้องการให้คนเรารู้จักให้อภัยทาน ไม่คิดทำลาย ทำให้จิตใจสงบผ่องแผ้ว เกิดความคิดสร้างสรรค์


    ๑๐. ไม่เห็นผิดจากคลองธรรม คือไม่คิดแย้งกับหลักธรรม เช่น มีความเห็นที่เป็น สัมมาทิฏฐิพื้นฐาน ๘ ประการ คือ


    ๑. เห็นว่าการให้ทานดีจริง ควรทำ


    ๒. เห็นว่าการบูชาบุคคลที่ควรบูชาดีจริง ควรทำ


    ๓. เห็นว่าการต้อนรับแขกมีผล ควรทำ


    ๔. เห็นว่าผลแห่งกรรมดีกรรมชั่วมีจริง


    ๕. เห็นว่าโลกนี้โลกหน้ามีจริง


    ๖. เห็นว่าบิดามารดามีพระคุณต่อเราจริง


    ๗. เห็นว่าสัตว์ที่เป็นโอปปาติกะมีจริง (นรกสวรรค์มีจริง)


    ๘. เห็นว่าสมณพราหมณ์ที่หมดกิเลสแล้วมีจริง


    หมายเหตุ ข้อ ๕ อาจแยกเป็น โลกนี้มีจริง ๑- โลกหน้ามีจริง ๑


    ข้อ ๖ อาจแยกเป็น บิดามีพระคุณจริง ๑ มารดามีพระคุณจริง ๑


    ซึ่งถ้าแยกแบบนี้ก็จะรวมได้เป็น ๑๐- ข้อ แต่เนื้อหาเหมือนกัน


    เจตนารมณ์ของกุศลกรรมบถข้อนี้ ต้องการให้คนเรามีพื้นใจดี มีมาตรฐานความคิดที่ถูกต้อง ยึดถือค่านิยมที่ถูกต้อง มีวินิจฉัยถูก มีหลักการ มีแนวความคิดที่ถูกต้อง ส่งผลให้ความคิดในเรื่องอื่น ถูกต้องตามไปด้วย


    "เราไม่เห็นธรรมอื่นแม้สักอย่าง ซึ่งจะเป็นเหตุให้กุศลธรรมที่ยังไม่เกิดได้เกิดขึ้น หรือกุศลธรรมที่เกิดขึ้นแล้ว เพิ่มพูนไพบูลย์ยิ่งขึ้นเหมือนอย่างสัมมาทิฏฐินี้เลย" องฺ. เอก. ๒๐/๑๘๒/๔๐


    คุณธรรมทั้ง ๑๐ ประการนี้ คนทุกคนจำเป็นต้องฝึกให้มีในตน โดยเฉพาะผู้นำ ผู้ที่จะบำเพ็ญประโยชน์แก่สังคมส่วนรวม จะต้องฝึกให้มีในตนอย่างเต็มที่ จึงจะทำงานได้ผลดี

    "ธรรมย่อมรักษาผู้ประพฤติธรรม บุคคลใดหวังความสุข หวังความ

    </TD></TR><TR><TD colSpan=2>จากคุณ : IQ0 [ 19 ต.ค. 2543 / 00:52:15 น. ]
    [SIZE=-1][ IP Address : 199.41.248.135 ][/SIZE]
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  6. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    จบครับ
    http://larndham.net/cgi-bin/kratoo.pl/001769.htm


    <TABLE width="100%" bgColor=#e4f3f3 border=0><TBODY><TR><TD colSpan=2>ความคิดเห็นที่ 2 : (ปลงนะเรา)
    กุศลกรรมบถ ทางแห่งกรรมดี,ทางทำดี, ทางแห่งกรรมที่เป็นกุศล, กรรมดีอันเป็นทางนำไปสู่สุคติมี ๑๐ อย่างคือ
    ก. กายกรรม ๓ ได้แก่
    ๑. ปาณาติปาตา เวรมณี เว้นจากทำลายชีวิตสัตว์ให้ตกล่วง
    ๒.อทินนาทานา เวรมณี เว้นจากถือเอาของที่เขามิได้ให้ด้วยอาการแห่งขโมย
    ๓. กาเมสุมิจฉาจารา เวรมณี เว้นจากประพฤติผิดในกาม
    ข. วจีกรรม๔ ได้แก่
    ๔. มุสาวาทา เวรมณี เว้นจากพูดเท็จ
    ๕. ปิสุณายวาจาย เวรมณี เว้นจากพูดส่อเสียด
    ๖. ผรุสาย วาจายเวรมณี เว้นจาก พูดคำหยาบ
    ๗. สัมผัปปลาปา เวรมณี เว้นจากพูดเพ้อเจ้อ
    ค. มโนกรรม ๓ ได้แก่
    ๘. อนภิชฌา ไม่โลภคอยจ้องอยากได้ของเขา
    ๙. อพยาบาท ไม่คิดร้ายเบียดเบียนพยาบาทปองร้ายเขา
    ๑๐. สัมมาทิฏฐิ เห็นชอบตามคลองธรรม
    *** ขอเพิ่มบาลีนะครับ ทำไมต้องได้ post 2 ครั้งติดกันทุกทีเลย ขออภัยด้วยนะครับ ***​
    </TD></TR><TR><TD colSpan=2> จากคุณ : ปลงนะเรา [ 19 ต.ค. 2543 / 10:17:59 น. ] [SIZE=-1]
    [ IP Address : 203.146.89.130 ]
    [/SIZE] </TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  7. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    http://th.wikisource.org/wiki/อกุศลกรรมบถ-กุศลกรรมบถ

    อกุศลกรรมบถ-กุศลกรรมบถ

    จาก วิกิซอร์ซ


    ข้ามไปที่: นำทาง, ค้นหา
    <!-- start content -->
    [แก้ไข] อกุศลกรรมบถ

    ความประพฤติไม่เรียบร้อย คือ ความไม่ประพฤติธรรม ทางกาย ทางวาจา ทางใจ
    ความไม่ประพฤติธรรมทางกาย มีสามอย่าง
    1. เป็นผู้ฆ่าสัตว์ คือ เป็นคนเหี้ยมโหด มีมือเปื้อนเลือด พอใจในการประหารและการฆ่าไม่มีความละอาย ไม่ถึงความเอ็นดูในสัตว์ทั้งปวง
    2. เป็นผู้ถือเอาทรัพย์ที่เขามิได้ให้ คือ ลักทรัพย์เป็นอุปกรณ์เครื่องปลื้มใจของบุคคลอื่นที่อยู่ในบ้าน หรือที่อยู่ในป่า ที่เจ้าของมิได้ให้ ซึ่งนับว่าเป็นขโมย
    3. เป็นผู้ประพฤติผิดในกามทั้งหลาย คือ ถึงความสมสู่ในพวกหญิงที่มารดารักษา ที่บิดารักษา ที่มารดาและบิดารักษา ที่พี่ชายรักษา ที่พี่สาวรักษา ที่ญาติรักษา ที่มีสามี ที่อิสรชนหวงห้าม ที่สุดแม้หญิงที่เขาคล้องแล้วด้วยพวงมาลัย (หญิงที่เขาหมั้นไว้)
    ความไม่ประพฤติธรรมทางวาจา มีสี่อย่าง
    1. เป็นผู้กล่าวเท็จคือ ไปในที่ประชุมหรือไปในหมู่ชน หรือไปในท่ามกลางญาติ หรือไปในท่ามกลางขุนนาง หรือไปในท่ามกลางราชสกุล หรือถูกนำไปเป็นพยาน ถูกถามว่า แน่ะบุรุษผู้เจริญ เชิญเถิด ท่านรู้เรื่องใด ก็จงบอกเรื่องนั้น เขาเมื่อไม่รู้ก็บอกว่า รู้บ้าง เมื่อรู้บอกว่า ไม่รู้บ้าง เมื่อไม่เห็น ก็บอกว่าเห็นบ้าง เมื่อเห็นก็บอกว่า ไม่เห็นบ้าง เป็นผู้กล่าวคำเท็จทั้งรู้อยู่ เพราะเหตุตนบ้าง เพราะเหตุผู้อื่นบ้าง เพราะเหตุเห็นแก่สิ่งเล็กน้อยบ้าง
    2. เป็นผู้ส่อเสียด คือ ได้ฟังข้างนี้แล้ว นำไปบอกข้างโน้น เพื่อทำลายพวกข้างนี้บ้าง หรือฟังข้างโน้นแล้ว นำไปบอกข้างนี้ เพื่อทำลายพวกข้างโน้นบ้าง ยุพวกที่พร้อมเพรียงกันให้ แตกกันไปบ้าง ส่งเสริมพวกที่แตกกันบ้าง ส่งเสริมพวกที่แตกกันแล้วบ้าง ชอบใจในคนที่แตกกันเป็นพวก ยินดีในความแตกกันเป็นพวก ชื่นชมในพวกที่แตกกัน และกล่าววาจาที่ทำให้แตกกันเป็นพวก
    3. เป็นผู้มีวาจาหยาบ คือ กล่าววาจาที่เป็นโทษหยาบ อันเผ็ดร้อนแก่ผู้อื่น อันขัดใจผู้อื่นอันใกล้ต่อความโกรธ ไม่เป็นไปเพื่อความสงบจิต
    4. เป็นผู้กล่าวคำเพ้อเจ้อ คือ พูดในเวลาไม่ควรพูด พูดเรื่องที่ไม่เป็นจริง พูดไม่เป็นประโยชน์ พูดไม่เป็นธรรม พูดไม่เป็นวินัย กล่าววาจาไม่มีหลักฐาน ไม่มีที่อ้าง ไม่มีที่สุด ไม่ประกอบด้วยประโยชน์ โดยกาลไม่สมควร
    ความไม่ประพฤติธรรมทางใจ มีสามอย่าง
    1. เป็นผู้มีความโลภมาก คือ เพ่งเล็งทรัพย์อันเป็นอุปกรณ์เครื่องปลื้มใจของผู้อื่นว่า ขอของผู้อื่นพึงเป็นของเราเถิด
    2. เป็นผู้มีจิตพยาบาท คือ มีความดำริในใจอันชั่วช้าว่า ขอสัตว์เหล่านี้จงถูกฆ่าบ้าง จงถูกทำลายบ้าง จงขาดสูญบ้าง อย่าได้มีแล้วบ้าง
    3. เป็นผู้มีความเห็นผิด คือ มีความเห็นวิปริตว่า ผลแห่งทานที่ให้แล้วไม่มีผลแห่งการบูชาไม่มี ผลแห่งการเซ่นสรวงไม่มี ผลวิบากแห่งกรรมที่ทำดีและทำชั่วไม่มี โลกนี้ไม่มี โลกหน้าไม่มี มารดาไม่มี บิดาไม่มี สัตว์ทั้งหลายที่เป็นอุปปาติกะไม่มี สมณะและพราหมณ์ทั้งหลายผู้ดำเนินชอบ ปฏิบัติชอบ ผู้ทำโลกนี้และโลกหน้าให้แจ้งชัดด้วยปัญญาอันยิ่งเอง แล้วสั่งสอนให้ผู้อื่นรู้ไม่มีอยู่ในโลก
    [แก้ไข] กุศลกรรมบถ

    ความประพฤติเรียบร้อยคือความประพฤติธรรม ทางกาย ทางวาจา ทางใจ
    ความประพฤติธรรมทางกาย มีสามอย่าง
    1. ละการฆ่าสัตว์เว้นขาดการฆ่าสัตว์ วางทัณฑะ วางศาตราเสียแล้ว มีความละอาย มีความเอ็นดู มีกรุณาหวังประโยชน์เกื้อกูลแก่สัตว์ทั้งปวงอยู่
    2. ละการถือเอาทรัพย์ที่เขามิได้ให้ เว้นขาดจากการลักทรัพย์ ไม่ลักทรัพย์เป็นอุปกรณ์เครื่องปลื้มใจของผู้อื่น ที่อยู่ในบ้าน หรือที่อยู่ในป่า ที่เจ้าของมิได้ให้ ซึ่งนับว่าเป็นขโมย
    3. ละการประพฤติผิดในกามทั้งหลาย เว้นขาดจากการประพฤติผิดในกามทั้งหลาย คือ ไม่ถึงความสมสู่ในพวกหญิง ที่มารดารักษา ที่บิดารักษา ที่มารดาและบิดารักษา ที่พี่ชายรักษา ที่พี่สาวรักษา ที่ญาติรักษา ที่มีสามี ที่อิสรชนหวงห้าม ที่สุดหญิงที่เขาคล้องแล้วด้วยพวงมาลัย
    ความประพฤติธรรมทางวาจา มีสี่อย่าง
    1. ละการพูดเท็จ เว้นขาดจากการพูดเท็จ ไปในทีประชุม หรือไปในหมู่ชน หรือไปในท่ามกลางญาติ หรือไปในท่ามกลางขุนนาง หรือไปในท่ามกลางราชสกุล หรือถูกนำไปเป็นพยาน ถูกถามว่า บุรุษผู้เจริญ เชิญเถิด ท่านรู้เรื่องใดก็จงบอกเรื่องนั้น เขาเมื่อไม่รู้ก็บอกว่า ไม่รู้ หรือเมื่อรู้ก็บอกว่า รู้ เมื่อไม่เห็นก็บอกว่า ไม่เห็น หรือเมื่อเห็นก็บอกว่า เห็น ไม่กล่าวเท็จทั้งรู้อยู่ เพราะเหตุตนบ้าง เพราะเหตุผู้อื่นบ้าง เพราะ เหตุเห็นแก่สิ่งของเล็กน้อยบ้าง
    2. ละวาจาอันส่อเสียด เว้นขาดจากวาจาส่อเสียด คือได้ฟังข้างนี้แล้วไม่นำไปบอกข้างโน้น เพื่อทำลายพวกข้างนี้ หรือได้ฟังข้างโน้นแล้ว ไม่นำมาบอกข้างนี้ เพื่อทำลายพวกข้างโน้น สมานพวกที่แตกกันให้ดีกันบ้าง ส่งเสริมพวกที่ดีกันให้สนิทสนมบ้าง ชอบใจพวกที่พร้อมเพรียงกัน ยินดีแล้วในพวกที่พร้อมเพรียงกัน ชื่นชมในพวกที่พร้อมเพรียงกัน และกล่าววาจาอันทำให้พร้อมเพรียงกัน
    3. ละวาจาหยาบ เว้นขาดจากวาจาหยาบ กล่าววาจาที่ไม่มีโทษ เพราะหูชวนให้รัก จับใจ เป็นของชาวเมือง คนส่วนมากรักใคร่ ชอบใจ
    4. ละการพูดเพ้อเจ้อ เว้นขาดจากการพูดเพ้อเจ้อ พูดในเวลาที่ควรพูดตามความจริง พูดเรื่องที่เป็นประโยชน์ พูดเรื่องที่เป็นธรรม พูดเรื่องที่เป็นวินัยและกล่าววาจามีหลักฐาน มีที่อ้าง ได้มีที่สุด ประกอบด้วยประโยชน์ โดยกาลอันควร
    ความประพฤติธรรมทางใจ มีสามอย่าง
    1. เป็นผู้ไม่มีความโลภมาก ไม่เพ่งเล็งทรัพย์อันเป็นอุปกรณ์เครื่องปลื้มใจของผู้อื่นว่า ขอของผู้อื่นพึงเป็นของเราเถิด
    2. เป็นผู้มีจิตไม่พยาบาท มีความดำริในใจไม่ชั่วช้าว่า ขอสัตว์เหล่านี้ จงเป็นผู้ไม่มีเวร ไม่มีความเบียดเบียนกัน ไม่มีทุกข์ มีแต่สุข รักษาตนเถิด
    3. เป็นผู้มีความเห็นชอบ คือมีความเห็นไม่วิปริตว่า ผลแห่งทานที่ให้แล้วมีอยู่ ผลแห่งการการบูชามีอยู่ ผลแห่งการเซ่นสรวงมีอยู่ ผลวิบากแห่งกรรมที่ทำดีและทำชั่วมีอยู่ โลกนี้มีอยู่ โลกหน้ามีอยู่ มารดามีอยู่ บิดามีอยู่ สัตว์ทั้งหลายที่เป็นอุปปาติกะมีอยู่ สมณะและพราหมณ์ทั้งหลาย ผู้ดำเนินชอบ ปฏิบัติชอบ ผู้ทำโลกนี้และโลกหน้า ให้แจ้งด้วยปัญญาอันยิ่งเอง แล้วสอนให้ผู้อื่นรู้ได้มีอยู่ในโลกนี้
    [แก้ไข] อ้างอิง

    เพื่อความเข้าใจที่ชัดเจนและครบถ้วน กรุณาอ่านเพิ่มเติมที่
    <!-- Saved in parser cache with key thwikisource:pcache:idhash:4399-0!1!0!!th!2 and timestamp 20070821030306 -->รับข้อมูลจาก "http://th.wikisource.org/wiki/%E0%B8%AD%E0%B8%81%E0%B8%B8%E0%B8%A8%E0%B8%A5%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%A1%E0%B8%9A%E0%B8%96-%E0%B8%81%E0%B8%B8%E0%B8%A8%E0%B8%A5%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%A1%E0%B8%9A%E0%B8%96"
    <!-- end content -->
     
  8. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    http://th.wikipedia.org/wiki/กุศลกรรมบถ

    กุศลกรรมบถ

    จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี


    กุศลกรรมบถ หมายถึง ทางแห่งกรรมดี,ทางทำดี, ทางแห่งกรรมที่เป็นกุศล, กรรมดีอันเป็นทางนำไปสู่ความสุขความเจริญหรือสุคติ (wholesome course of action) เป็นธรรมส่วนสุจริต 10 ประการ จึงเรียกชื่อว่า กุศลกรรมบถ 10
    กรรมบถ (อ่านว่า กำมะบด) แปลว่า ทางแห่งกรรม คือ การกระทำที่เข้าทางเป็นกรรมหรือที่นับว่าเป็นกรรม หมายถึง ทางแห่งกุศลกรรม คือการกระทำที่นับว่าเป็นความดีได้แก่
    • ที่เป็นกายกรรม มี 3 อย่าง คือ ไม่ฆ่าสัตว์ ไม่ลักทรัพย์ ไม่ประพฤติผิดในกาม
    • ที่เป็นวจีกรรม มี 4 คือ ไม่พูดเท็จ ไม่พูดส่อเสียด ไม่พูดคำหยาบ ไม่พูดเพ้อเจ้อ
    • ที่เป็นมโนกรรม มี 3 คือ ไม่โลภอยากได้ของเขา ไม่พยาบาทปองร้าย เห็นชอบตามคลองธรรม (สัมมาทิฐิ)
    กุศลกรรมบถ ก็คือสุจริตทางกาย ทางวาจา และทางใจนั่นเอง
    กุศลกรรมบถหมวดนี้ ในบาลีเรียกชื่อหลายอย่าง เช่นว่า ธรรมจริยา (ความประพฤติธรรม - righteous conduct), โสไจย (ความสะอาดหรือเครื่องชำระตัว -- cleansing), อริยธรรม (อารยธรรม, ธรรมของผู้เจริญ - virtues of a noble or civilized man), อริยมรรค (มรรคาอันประเสริฐ - the noble path), สัทธรรม (ธรรมดี, ธรรมแท้ - good law; true law),สัปปุริสธรรม (ธรรมของสัตบุรุษ - qualities of a good man)
    <TABLE class=toc id=toc summary=เนื้อหา><TBODY><TR><TD>เนื้อหา

    [ซ่อน]
    </TD></TR></TBODY></TABLE><SCRIPT type=text/javascript>//<![CDATA[ if (window.showTocToggle) { var tocShowText = "แสดง"; var tocHideText = "ซ่อน"; showTocToggle(); } //]]></SCRIPT>

    [แก้] ประวัติ

    มาจากพุทธสุภาษิต สุจริตธรรมดังนี้
    ธมฺมญจเร สุจริตํ น ตํ ทุจฺจริตํ จเร ธมฺมจารี สุขํ เสติ อสฺมึ โลเก ปรมฺหิ จาติฯ
    สุภาษิตนี้มีเนื้อความว่า ธมฺมญจเร สุจริตํ บุคคลพึงประพฤติธรรมส่วนสุจริตอยู่ทุกเมื่อเถิด น ตํ ทุจฺจริตํ จเร ไม่พึงประพฤติธรรมส่วนทุจริตเลย ธมฺมจารี สุขํ เสติ ผู้ประพฤติธรรมส่วนสุจริต ย่อมนอนเป็นสุข หรือเป็นสุขทุกอิริยาบท อสฺมึ โลเก ปรมฺ หิ จ ทั้งในโลกนี้ด้วย โลกเบื้องหน้าด้วย ดังนี้ฯ

    [แก้] กุศลกรรมบถ 10


    [แก้] ประพฤติดีด้วยกาย 3 ประเภท

    ประพฤติดีด้วยกาย นั้นชื่อว่า กายกรรม คือ ทำกิจการงานด้วยกายอย่าให้ทุกข์เกิดขึ้นแก่ผู้อื่น กายกรรมที่ให้เกิดทุกข์แก่ผู้อื่นนั้น มี 3 ประการ
    1. คือ อย่าเบียดเบียนร่างกายของท่าน คือ อย่าฆ่า อย่าฟัน อย่าทุบ อย่าตี ร่างกายของท่านผู้อื่นโดยที่สุด เว้นถึงสัตว์ติรัจฉานได้ยิ่งเป็นการดี ตรงภาษาบาลีที่ว่า ปาณาติปาตาเวรมณี ฯ
    2. คือ อย่าเบียดเบียนทรัพย์สมบัติข้าวของของท่านผู้อื่น คืออย่าลักขโมย อย่าฉ้อโกง อย่าเบียดบังเอาข้าวของของท่านผู้อื่น ตรงภาษาบาลที่ว่า อทินฺนาทานาเวรมณี ฯ
    3. คือ อย่าแย่งชิงลักลอบด้วยอำนาจของกายในหญิงที่ท่านหวงห้าม ตรงภาษาบาลีที่ว่า กาเมสุมิจฉาจาราเวรมณีฯ
    [แก้] ประพฤติดีด้วยวาจา 4 ประเภท

    ประพฤติดีด้วยวาจา 4 ประเภท (วจีกรรม 4 ประเภท) นั้นได้แก่
    1. คือ ให้กล่าวแต่วาจาถ้อยคำที่สัตย์ที่จริง ให้เว้นจากวาจาที่เท็จไม่จริงเสีย ตรงกับภาษาบาลีที่ว่า มุสาวาทาเวรมณี ฯ
    2. คือ ให้กล่าวแต่วาจาถ้อยคำอันสมานประสานสามัคคีให้ท่านดีต่อกัน ให้เว้นวาจาส่อเสียดยุยงเสีย ตรงกับภาษาบาลีที่ว่า ปิสุณายาวาจาเวรมณีฯ
    3. คือ ให้กล่าวแต่วาจาถ้อยคำอันอ่อนโยน ให้เกิดความยินดีแก่ผู้ฟัง ให้งดเว้นวาจาที่หยาบคายขึ้นกูขึ้นมึง บริภาษตัดพ้อหยาบๆ คายๆ ให้ผู้ฟังได้รับความเดือดร้อนต่างๆ เสีย ตรงกับภาษาบาลีที่ว่า ผรุสฺสายวาจายเวรมณี ฯ
    4. คือ ให้กล่าวแต่วาจาถ้อยคำที่เป็นไปกับด้วยประโยชน์ ให้เว้นวาจาที่เหลวไหล คือพูดเล่นหาประโยชน์มิได้เสีย ตรงกับภาษาลีที่ว่า สมฺผปฺปลาปาวาจายเวรมณี ฯ
    [แก้] ประพฤติดีด้วยใจ 3 ประเภท

    ประพฤติดีด้วยใจ 3 ประเภท (มโนกรรม 3 ประเภท) นั้นคือ
    1. คือ ให้ระวังเจตนากรรม ให้สัมประยุตต์ด้วยเมตตาอยู่เสมอ คือ ความดำริของใจ อย่าให้ลุอำนาจแห่งโลภะ คืออย่าเพ่งเอากิเลสกามและวัตถุกามของท่านผู้อื่น อันไม่สมควรแก่ฐานะของตน ตรงกับภาษาบาลีที่ว่า อนภิชฺฌา โหติฯ
    2. คือ ให้ระวังเจตนากรรมให้สัมประยุตต์ด้วยกรุณาอยู่ทุกเมื่อ อย่าให้โทสะ พยาบาท เข้าครอบงำได้ ตรงกับภาษาบาลีที่ว่า อพฺพยาปาโท โหติฯ
    3. คือ ให้ระวังเจตนากรรมให้สัมประยุตต์ด้วย มุทิตา อุเบกขา อยู่ทุกเมื่อ อย่าให้ไหลไปในทางผิด ให้เห็นตรงตามคลองธรรมทั้ง 10 นี้อยู่ทุกเมื่อ ตรงกับภาษาบาลีที่ว่า สมฺมทิฎฺฐิโก โหติฯ
    [แก้] อ้างอิง
    1. พระธรรมกิตติวงศ์ (ทองดี สุรเตโช) ป.ธ. ๙ ราชบัณฑิต พจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ ชุด คำวัด, วัดราชโอรสาราม กรุงเทพฯ พ.ศ. 2548
    2. พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม ฉบับประมวลธรรม พิมพ์ครั้งที่ 12 พ.ศ. 2546
    3. พระอุบาลีคุณูปมาจารย์ (สิริจนฺโท จันทร์) อัตตโนประวัติ ธรรมบรรยาย และ คิริมานนทสูตร ชมรมพุทธศาสน์ การไฟฟ้าฝ่ายผลิต 2531 ผู้พิมพ์ หจก. ป. สัมพันธ์พาณิชย์
    <!-- Pre-expand include size: 3370 bytesPost-expand include size: 3368 bytesTemplate argument size: 0 bytesMaximum: 2048000 bytes--><!-- Saved in parser cache with key thwiki:pcache:idhash:55504-0!1!0!!th!2 and timestamp 20070821001724 -->ดึงข้อมูลจาก "http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%81%E0%B8%B8%E0%B8%A8%E0%B8%A5%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%A1%E0%B8%9A%E0%B8%96".
    หมวดหมู่: กรรม | อภิธานศัพท์พุทธศาสนา

    <!-- end content -->
     
  9. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    ลองหาคำว่าพระวังหน้า ไปเจอบทความคุ้นๆ ก็เลยนำมาให้อ่านดู ถ้าท่านใดที่ติดตามกระทู้นี้มาตั้งแต่ต้น ก็จะทราบว่าที่ผมบอกว่าบทความนี้คุ้นๆ นั้นคุ้นอย่างไร น่าจะบอกที่มาที่ไป และผู้เขียนด้วยนะครับ

    http://72.14.235.104/search?q=cache..._08.html+พระวังหน้า&hl=th&ct=clnk&cd=17&gl=th

    วันอาทิตย์, กรกฎาคม 8, 2007

    พระกรุวัดพระแก้ว


    สำหรับพระวังหน้าและพระวังหลวง ที่โดยรวมๆแล้วผู้คนทั่วๆไปรู้กันว่าเป็นพระกรุวัดพระแก้วครับพระพิมพ์กรุวัดพระแก้วนั้น มีการสร้างขึ้นเริ่มตั้งแต่ปี พ.ศ.2400 ในสมัยรัชกาลที่ 4 จวบจนปลายรัชกาลที่ 6 จะมีพิธีพุทธาภิเษกหลวงที่สำคัญๆ อยู่ 3 พิธีคือ พระราชพิธีพระบรมศพพระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าในปี พ.ศ.2408 ,พระราชพิธีพระบรมศพพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวและพระราชพิธีขึ้นครองราชพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวในปี พ.ศ.2411 และพระราชพิธีรัชมังคลาภิเษก (พระราชพิธีฉลองการขึ้นครองราชของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวครบ 40 ปี)และพระราชพิธีฉลองพระบรมรูปทรงม้าในปี พ.ศ.2451 ส่วนในปีอื่นๆนั้น ก็มีพระราชพิธีพุทธาภิเษกเช่นกันแต่พระราชพิธีพุทธาภิเษกนั้นจะไม่ใหญ่เหมือนกับพระราชพิธีพุทธาภิเษกใหญ่ทั้ง 3 พระราชพิธีพระพิมพ์ที่สร้างขึ้นนั้น ในปี พ.ศ.2400 จนถึงปี 2428 จะมีการสร้างขึ้นที่วังหน้า(โดยกรมพระราชวังบวรวิชัยชาญ ท่านมีพระบัณฑูรย์ให้สร้างขึ้น) และที่วังหลวง(โดยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระองค์มีพระราชดำรัสให้สร้างขึ้น) พระพิมพ์ที่สร้างขึ้นในปี พ.ศ.2400 ถึงปี พ.ศ.2428 นั้น จะนำพระพิมพ์ไปเข้าพิธีพุทธาภิเษกหลวงที่วัดบวรสถานสุทธาวาส ซึ่งเป็นพระอุโบสถของวังหน้า พระพิมพ์ที่สร้างขึ้นในปี พ.ศ.2400 ถึง ปี พ.ศ.2414 นั้น สมเด็จพระพุฒาจารย์โต พรหมรังสี ท่านจะเป็นประธานในการปลุกเสกพระพิมพ์ แต่ในบางครั้งท่านเจ้า(กรมพระราชวังบวรวิชัยชาญ) ท่านได้เชิญหลวงปู่บรมครูเทพโลกอุดร มาเสกให้ด้วยพระพิมพ์ที่ด้านหลังมีตราครุฑนั้น มีการจัดสร้างขึ้นตั้งแต่ปี พ.ศ.2415 หลังจากสมเด็จพระพุฒาจารย์โต พรหมรังสีท่านมรณภาพแล้ว โดยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระองค์ท่านมีพระราชดำริให้มีตราครุฑด้านหลังพระพิมพ์เนื่องจากจะได้แยกกันว่าเป็นพระพิมพ์ที่สร้างจากวังหลวงหรือวังหน้า ส่วนพระพิมพ์ที่สร้างขึ้นที่วังหน้านั้น ด้านหลังจะเรียบ

    บล็อคพระพิมพ์นั้น จัดสร้างขึ้นโดยช่างสิบหมู่ของวังหน้าและวังหลวง บล็อคพระพิมพ์มีการยืมกันไปมาระหว่างวังหน้าและวังหลวง บางครั้งวัดในพระนครบางวัดเช่นวัดระฆัง ก็ได้มีการยืมบล็อคพระพิมพ์ไปใช้ก็มีครับผู้สร้างพระพิมพ์ก็คือช่างสิบหมู่แห่งวังหน้าหรือวังหลวง ส่วนวัดในพระนครบางวัดที่ยืมบล็อคพระพิมพ์ไป ผู้ที่สร้างก็เป็นชาวบ้านหรือพระ-เณรในวัดพระพิมพ์ที่สร้างขึ้นตั้งแต่ปี พ.ศ. 2400 ถึง พ.ศ.2428 นั้น จะนำเข้าพระราชพิธีพุทธาภิเษกที่วัดบวรสถานสุทธาวาส วังหน้า ส่วนพระพิมพ์ที่สร้างขึ้นตั้งแต่ปี พ.ศ. 2429 จวบจนปลายรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวนั้น จะนำเข้าพระราชพิธีพุทธาภิเษกหลวงที่วัดพระแก้วสำหรับวังหลังนั้น ก็มีการสร้างพระพิมพ์ขึ้นเช่นกัน แต่เป็นจำนวนน้อยเมื่อเทียบกับวังหน้าและวังหลวง เมื่อวังหลังสร้างพระพิมพ์ขึ้นก็จะนำไปเข้าพิธีพุทธาภิเษกที่วังหน้าเช่นกันพระพิมพ์ที่สร้างขึ้นหลังปี 2428 นั้น จะเป็นการสร้างที่วังหลวงโดยด้านหลังพระพิมพ์จะมีตราครุฑในปี พ.ศ.2451 นั้น จะมีพระราชพิธีพุทธาภิเษกครั้งใหญ่อีกครั้ง เนื่องในวาระโอกาศพระราชพิธีรัชมังคลาภิเษก (พระราชพิธีฉลองการขึ้นครองราชของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวครบ 40 ปี)และพระราชพิธีฉลองพระบรมรูปทรงม้าในปี พ.ศ.2451 ในพระราชพิธีครั้งนี้ มีพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว(ในขณะนั้น พระองค์ท่านดำรงตำแหน่งสยามมงกุฎราชกุมาร) ท่านเป็นประธานในการจัดสร้างและประธานการดำเนินการทั้งหมดในพระราชพิธีรัชมังคลาภิเษก (พระราชพิธีฉลองการขึ้นครองราชของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวครบ 40 ปี)และพระราชพิธีฉลองพระบรมรูปทรงม้าในปี พ.ศ.2451 ครั้งนั้น พระองค์ท่านได้รวบรวมช่างทั้งหมด ไม่ว่าจะเป็นช่างหลวงหรือช่างราษฎร์ ให้เข้ามาช่วยกันสร้างพระพิมพ์และวัตถุมงคล ในการสร้างครั้งนี้ สร้างพระพิมพ์และวัตถุมงคลขึ้นอย่างมากมายมหาศาล พระพิมพ์ที่สร้างขึ้นในครั้งนี้ สังเกตุดูง่ายคือ จะมีการฝังพลอย ฝังมุข ที่องค์พระพิมพ์ทุกองค์ ส่วนพระที่มาปลุกเสกในพระราชพิธีพุทธาภิเษกหลวงปี พ.ศ.2451 นั้น ก็จะเป็นพระคณาจารย์ในสมัยนั้นครับบางท่านอาจจะเคยเจอ พระพิมพ์ที่ด้านหลังเป็นช้าง , เสมา ,สิงห์ พระพิมพ์เหล่านี้ เป็นพระพิมพ์ที่ขุนนางชั้นผู้ใหญ่ เป็นผู้ที่จัดสร้างขึ้น เพื่อถวายพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวหรือถวายพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยบางส่วนขุนนางชั้นผู้ใหญ่ก็เก็บไว้เพื่อแจกกับลูกน้องของตน พระพิมพ์ที่เหล่าขุนนางชั้นผู้ใหญ่ให้จัดสร้างขึ้นนั้น ก็นำไปเข้าพิธีพุทธาภิเษกหลวงที่วัดพระแก้วด้วยเช่นกัน

    ในปี พ.ศ.2451 นั้น จะมีพระราชพิธีพุทธาภิเษกครั้งใหญ่อีกครั้ง เนื่องในวาระโอกาศพระราชพิธีรัชมังคลาภิเษก (พระราชพิธีฉลองการขึ้นครองราชของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวครบ 40 ปี)และพระราชพิธีฉลองพระบรมรูปทรงม้าในปี พ.ศ.2451 ในพระราชพิธีครั้งนี้ มีพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว(ในขณะนั้น พระองค์ท่านดำรงตำแหน่งสยามมงกุฎราชกุมาร) ท่านเป็นประธานในการจัดสร้างและประธานการดำเนินการทั้งหมดในพระราชพิธีรัชมังคลาภิเษก (พระราชพิธีฉลองการขึ้นครองราชของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวครบ 40 ปี)และพระราชพิธีฉลองพระบรมรูปทรงม้าในปี พ.ศ.2451 ครั้งนั้น พระองค์ท่านได้รวบรวมช่างทั้งหมด ไม่ว่าจะเป็นช่างหลวงหรือช่างราษฎร์ ให้เข้ามาช่วยกันสร้างพระพิมพ์และวัตถุมงคล ในการสร้างครั้งนี้ สร้างพระพิมพ์และวัตถุมงคลขึ้นอย่างมากมายมหาศาล พระพิมพ์ที่สร้างขึ้นในครั้งนี้ สังเกตุดูง่ายคือ จะมีการฝังพลอย ,ติดมุกด้านหลังองค์พระพิมพ์ ที่องค์พระพิมพ์ทุกองค์ ส่วนพระที่มาปลุกเสกในพระราชพิธีพุทธาภิเษกหลวงปี พ.ศ.2451 นั้น ก็จะเป็นพระคณาจารย์ในสมัยนั้นครับ

    พระพิมพ์ที่สร้างขึ้นและนำเข้าพระราชพิธีพุทธาภิเษกหลวง ในปี พ.ศ.2451 นั้น นอกจากพระพิมพ์ที่ฝังพลอย , ติดมุกด้านหลังองค์พระพิมพ์ แล้วนั้น ยังมีพระพิมพ์ที่ไม่ได้ติดพลอยและติดมุกก็มีครับ แต่เนื้อจะแตกต่างกับพระพิมพ์ที่สร้างขึ้นก่อนหน้านั้น ส่วนบล็อคพระพิมพ์นั้น ก็ใช้บล็อคของเดิมก็มี ใช้บล็อคที่ช่างสิบหมู่สร้างขึ้นใหม่ก็มีครับ


    เขียนโดย Jon43 ที่ <A class=timestamp-link title="permanent link" href="http://chonlathep.blogspot.com/2007/07/blog-post_08.html" rel=bookmark><ABBR class=published title=2007-07-08T00:12:00-07:00>12:12 ก่อนเที่ยง</ABBR>
     
  10. :::เพชร:::

    :::เพชร::: เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    8,584
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +36,137
    ขอบคุณครับคุณหนุ่ม...

    พระเครื่ององค์นี้เรียกว่า "พระผงพระพุทธชินราช รุ่น ร.๕ ครองราชย์ ๑๐๐ ปี วัดเบญจมบพิตร พ.ศ. ๒๕๑๑" เป็นพระเก่าที่มีอายุเกือบจะ ๔๐ ปีแล้ว ที่วัดเบญจมบพิตรเป็นผู้จัดสร้างเพื่อระลึกถึงปีที่รัชกาลที่ ๕ ทรงขึ้นครองราชย์ในปีพ.ศ. ๒๔๑๑ และเมื่อเวียนมาครบรอบในปี ๒๕๑๑ ถือว่าครบรอบ ๑๐๐ ปี จึงได้จัดสร้างขึ้น พระเครื่ององค์นี้ได้รับการแผ่อธิษฐานจิตโดยพระอริยสงฆ์ ๙ องค์มานั่งปรกในมหาพิธี ๓ วัน ๓ คืน พระอริยสงฆ์ทั้ง ๙ องค์นั้นคือ

    ๑. หลวงปู่โต๊ะ วัดประดู่ฉิมพลี กรุงเทพมหานคร
    ๒. หลวงพ่อเงิน วัดดอนยายหอม นครปฐม
    ๓. หลวงปู่เทียน วัดโบสถ์ ปทุมธานี
    ๔. หลวงพ่อคล้าย วัดสวนขัน นครศรีธรรมราช
    ๕. หลวงพ่อเต๋ คงทอง วัดสามง่าม นครปฐม
    ๖. หลวงพ่อเนื่อง วัดจุฬามณี สมุทรสงคราม
    ๗. หลวงพ่อแพ วัดพิกุลทอง สิงห์บุรี
    ๘. หลวงพ่อแดง วัดเขาบันไดอิฐ เพชรบุรี
    ๙. ท่านเจ้าคุณนรรัตนราชมานิต(ธมมวิตกโกภิกขุ) วัดเทพศิรินทราวาส กรุงเทพมหานคร

    คงไม่ต้องสงสัยเลยว่า ในมหาพิธีอันเนื่องในมหามงคลวโรกาสที่ทรงครองราชย์ครบ ๑๐๐ ปี ของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระผู้เป็นที่รักยิ่งของปวงชนชาวไทยทั่วทั้งแผ่นดินดังนี้ บรรดาหลวงปู่ หลวงพ่อทั้งหลายจะเมตตาแผ่พลังอธิษฐานฤทธิ์ให้อย่างเต็มเหนี่ยว ด้วยความเต็มอกเต็มใจที่สุดถึงเพียงไหน

    และเช่นเดียวกัน สำหรับกรณีของท่านเจ้าคุณนรรัตนราชมานิตนั้น แม้ท่านจะ"ถือสัจจะ" ในอันที่จะไม่ออกจากเขตวัดเทพศิรินทราวาสเป็นอันขาดก็ตาม แต่ก็หาได้เป็นปัญหาแต่อย่างใดไม่????

    เพราะในหลายๆงานที่ได้กราบอาราธนาท่านไปในงานพุทธาภิเษก ท่านจะใช้วิธี"เดินญาณ" คือ"การส่งกระแสจิต" ไปร่วมพิธีพุทธาภิเษกให้แทนนั่นเอง

    ซึ่งในการนี้หลวงปู่ครูบาเจ้าชัยยะวงศาพัฒนา วัดพระพุทธบาทห้วยต้ม อ.ลี้ จ.ลำพูน ได้เคยให้คำรับรองไว้ด้วยองค์เองว่า
    "(สำหรับพระที่บรรลุญาณขั้นสูง) เอาเสกต่อหน้า หรือเดินญาณไปเสก มีค่าเท่ากัน !!!!"

    ที่ปรากฏหลักฐานที่ท่านเจ้าคุณนรรัตนราชมานิต"เดินญาณ"ไปพุทธาภิเษกให้ ก็มีเช่นเหรียญ ร.๖ กรมรักษาดินแดน ,พระกริ่งใหญ่ วัดอรุณราชวราราม ,พระชุดวัดสรรเพชญ์ นครปฐม

    และโดยเฉพาะอย่างยิ่ง งานนี้ เป็นงานของวัดเบญจมบพิตร ซึ่งเป็น"โรงเรียนเก่า" ของท่านเจ้าคุณนรรัตนราชมานิตเอง ที่ท่านเคยเป็น"ศิษย์เก่า" สมัยที่เรียนชั้นมัธยม แถมเป็นงานของล้นเกล้ารัชกาลที่ ๕ พระราชบิดาของรัชกาลที่ ๖ ที่ท่านเจ้าคุณนรรัตนราชมานิต เคารพสักการะเทิดทูนยิ่งกว่าชีวิตอีกต่างหาก มีหรือท่านธมมวิตกโกจะไม่ส่งกระแสจิต"ผ่านดาวเทียม"อธิษฐานฤทธิ์ให้อย่าง"เต็มๆ" และ"เนื้อๆ" อย่างไรได้???

    อาจารย์ผู้ทรงสมาธิจิตท่านหนึ่งได้ทดสอบทางวิทยาศาสตร์โดยไม่เห็นพระเครื่ององค์นี้ได้ผลออกมาอย่างน่าทึ่งอย่างยิ่งว่า

    "ภาพนิมิตที่สัมผัสได้ตอนแรก เห็นท่านเจ้าคุณนรรัตนราชมานิตปรากฎมาเลย " และ "พลังพระองค์นี้ มีกระแสจิตของเจ้าคุณนรรัตนราชมานิต ซึ่งมีลักษณะ แรง เร็ว ฉับไว เฉียบขาด มีปาฏิหาริย์มากปรากฎอยู่อย่างแน่ชัด แบบขัวร์ๆ พระชุดนี้ดีจริงๆ"

    ยังมีอะไรที่ต้องสงสัยกันอยู่อีกหรือไม่???

    ยิ่งไปกว่านั้น!! ผมยังได้นำเข้าพิธีพุทธาภิเษกวันอาทิตย์ที่ ๒๕ ก.พ. ๒๕๕๐ อัญเชิญพระอรหันต์รวม ๘ พระองค์คือพระะอนุรุทเถรเจ้า พระสีวลีเถรเจ้า พระอุปคุตเถรเจ้า หลวงปู่บรมครูเทพโลกอุดรทั้ง ๕ พระองค์

    ลำพังพระเครื่องรุ่นนิยมของท่านเจ้าคุณนรรัตนราชมานิตในปัจจุบันมีราคาค่อนข้างสูงมาก พระเครื่องชุดนี้จึงเป็นคำตอบ.... สุดท้าย

    นอกจากนี้ สำหรับท่านที่บูชาพระเครื่องชุดนี้ผมมีของที่ระลึกจะมอบให้เพิ่มเติมอีก ๑ ชิ้นนั่นคือ CD "ประวัติท่านเจ้าคุณนรรัตนราชมานิต และที่สำคัญคือเสียงสวดพระคาถาชินบัญชรของท่านธมมวิตกโกภิกขุที่ไม่สามารถจะหาซื้อจากที่ไหนได้"
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 21 สิงหาคม 2007
  11. pon98

    pon98 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 สิงหาคม 2005
    โพสต์:
    632
    ค่าพลัง:
    +3,886
    ผมร่วมทำบุญพระชินราช 3 องค์ครับ
     
  12. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    คุณปุ๊นำมาให้ชมกันก่อนครับ

    อย่าพึงจองนะครับ ผมยังไม่ทราบว่าแต่ละพิมพ์จะมีกี่องค์ครับ

    [​IMG]

    [​IMG]
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    แก้ไขครั้งล่าสุด: 21 สิงหาคม 2007
  13. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
  14. ตั้งจิต

    ตั้งจิต เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กันยายน 2005
    โพสต์:
    1,574
    ค่าพลัง:
    +5,485
  15. :::เพชร:::

    :::เพชร::: เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    8,584
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +36,137
    อะไรจะไวปานนั้น

    โมทนาสาธุ กับทุกท่านด้วยครับ...
     
  16. ตั้งจิต

    ตั้งจิต เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กันยายน 2005
    โพสต์:
    1,574
    ค่าพลัง:
    +5,485
  17. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
  18. chaipat

    chaipat เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    5 มกราคม 2007
    โพสต์:
    1,282
    ค่าพลัง:
    +11,099
    เยี่ยมจริง ๆ ความเร็วยังคงอยู่จากเมื่อวาน

    สาธุครับ
     
  19. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    พระกรุพระธาตุพนมทั้งสามองค์ครับ (พระราชพิธีพุทธาภิเษกหลวงปี พ.ศ.2408 ครับ)

    องค์ซ้าย มีลูกปัดบังคลาเทศ
    องค์กลาง และองค์ขวา เป็นพระคะแนน กรุพระธาตุพนม

    เรื่องจำนวนพระพิมพ์ ผมยังไม่ทราบว่าจะมีกี่พิมพ์ และพิมพ์ละกี่องค์ อย่าพึงจองเลยนะครับ

    .
     
  20. ตั้งจิต

    ตั้งจิต เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กันยายน 2005
    โพสต์:
    1,574
    ค่าพลัง:
    +5,485
    ขอบคุณครับ
    จะคอยติดตามครับ
    โมทนาสาธุ
     

แชร์หน้านี้

Loading...