พระวังหน้า ที่หลวงปู่บรมครูเทพโลกอุดรเสก ถ้าต้องการที่จะได้.....

ในห้อง 'งานบุญอื่นๆ' ตั้งกระทู้โดย sithiphong, 23 ธันวาคม 2005.

  1. guawn

    guawn เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    10,642
    ค่าพลัง:
    +42,113
    เห็นละครับ โดยไม่ต้องจุดธูป (อะล้อเล่น) เห็นนึกถึงพระขันธราษวัดหน้าพระเมรุ
     
  2. nongnooo

    nongnooo เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 พฤศจิกายน 2006
    โพสต์:
    4,139
    ค่าพลัง:
    +9,446
    (good)ลืมถามครับน้ำหนักเป็นอย่างไรครับ
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 10 กุมภาพันธ์ 2008
  3. ตั้งจิต

    ตั้งจิต เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กันยายน 2005
    โพสต์:
    1,574
    ค่าพลัง:
    +5,485
  4. nongnooo

    nongnooo เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 พฤศจิกายน 2006
    โพสต์:
    4,139
    ค่าพลัง:
    +9,446
    เครื่องคอมเสียครับ 555.....วันนี้อินเดียน...บุกครับ ปรากฏว่ากลับมาบ้านมือชาปวดไปหมดเลยครับ...ติดใจพระ.....ท่านยี้มและสนทนาด้วยครับ กราบ กราบ กราบ ครับ(*)
     
  5. nongnooo

    nongnooo เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 พฤศจิกายน 2006
    โพสต์:
    4,139
    ค่าพลัง:
    +9,446
    555
    พี่ไปน้องมาครับ....อ่ะท่านผบ.นี่สุดยอดเลยครับ ทำไมเหมือนผบ.บ้านผมเลยที่ บังเอิญคือ ชื่อเล่น.... ชื่อเดียวกันโดยบังเอิญอีกละครับ(tm-love)
     
  6. nongnooo

    nongnooo เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 พฤศจิกายน 2006
    โพสต์:
    4,139
    ค่าพลัง:
    +9,446
    ว่าแต่พระของน้อง ...ท่านดุเหมือนกันนะครับ ทำตัวดีๆล่ะ:d
     
  7. chaipat

    chaipat เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    5 มกราคม 2007
    โพสต์:
    1,282
    ค่าพลัง:
    +11,099
    รับทราบครับ ถ้ามีวาสนา จะขอให้ท่านสอนด้วยครับ

    สาธุครับ
     
  8. :::เพชร:::

    :::เพชร::: เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    8,584
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +36,137
    ค่อนข้างหนักมือครับ หลังรางปืน อักขระยันต์โบราณถูกกลบทับไปด้วยสนิมแดง สนิมเขียวไปหมด แต่ลวดลายยังคงคมชัดอยู่มากครับ โดยเฉพาะซุ้มเรือนแก้วรอบๆองค์พระ อาราธนาพร้อมพระคาถาวาจาสิทธิ์พระร่วงมักได้ผลดีทุกครั้ง แต่ต้องระมัดระวังวจีกรรมมากกว่าเดิม
     
  9. nongnooo

    nongnooo เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 พฤศจิกายน 2006
    โพสต์:
    4,139
    ค่าพลัง:
    +9,446
    ฮิฮิๆ ถามน้ำหนักเพื่อทราบว่ากรุไหนครับ ตอนนี้ทราบแล้วครับ...(*)
     
  10. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    โมทนาสาธุครับ

    .
     
  11. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    อ้างอิง:
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=6 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=alt2 style="BORDER-RIGHT: 1px inset; BORDER-TOP: 1px inset; BORDER-LEFT: 1px inset; BORDER-BOTTOM: 1px inset">ข้อความดั้งเดิมโดยคุณ ตั้งจิต [​IMG]
    เอ...ท่านปาธานไปไหนน๊า คิดถึงจัง(ping-love
    </TD></TR></TBODY></TABLE>

    เครื่องคอมที่บ้านเสียครับ สงสัยว่าต้องเสียตังซื้อเครื่องใหม่แน่เลย

    ขอโมทนาบุญกับคุณnongnooo ,คุณchaipat และคุณพุทธันดร ด้วยนะครับ


    .
     
  12. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    คำบูชาพระบรมสารีริกธาตุ

    นโม ๓ จบ<O:p</O:p

    อะหัง วันทามิ อะธะ ปะติฏฐิตา พุทธะธาตุโย ตัสสานุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เม. <O:p</O:p
    ข้าพเจ้า ขอน้อบน้อมนมัสการกราบไหว้ พระบรมสารีริกธาตุของสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ที่ประดิษฐานอยู่ ณ ที่นี้ ด้วยอานุภาพแห่งกุศลผลบุญนี้ ขอให้ข้าพเจ้าประสพแต่ความสุขสวัสดีตลอดกาลทุกเมื่อเทอญ<O:p</O:p
    <O:p</O:p

    คำอาราธนาพระบรมสารีริกธาตุ<O:p</O:p
    <O:p</O:p

    อะเนกะกัปเป กุสะเล จินิตตะวา โลกานุกัมปายะ มะเนกะทุกขัง อุสสาหะยิตตะวา จะ สุจีระการัง พุทธัตตะ ภาวัง สะกะลัง อะคัญฉิ เอวัญจะ กัตตะวา ภะคะวา ทะยาลุ ทุกขา ปาโมเจกะ ขิเล จะอัมเห ทัสเสถะ โน ปาฏิหิรัง สุวิมหัง เฉทายะ กังขัง สะกะลัง ชะนัสสะ กาเกนะ รัญญา กะถิตันตุ ยัง ยัง ตัง ตัง อะขีลัง วิตะถัง ตะถัง เจ พุทธานะกะถา วิตะถา ตะถา เจ ทัสเสถะ วิยหัง นะยะนัสสะ โนปิ อัชชะตัคเต ปาณเปตัง พุทธัง ธัมมัง สะระณังคะตา สะมิมะหันตา ภินนะมุตตา จะมัชฌิมา ภินนะตัณฑุลา ชุททะกา สาสะปะมัตตา เอวัง ธาตุโย สัพพัฏฐาเน อาคัจฉันตุสีเสเม ปัตตันตุ ฯ

    <O:p

    คำบูชาพระบรมสารีริกธาตุ
    (ประดิษฐานในองค์พระปฐมเจดีย์)<O:p</O:p


    วันทามิ พุทธัง ปะฐะมัง จะ เจติยัง ตัตถะ ปะติฏฐัง ปะระมัง จะ ธาตุกัง ธัมมัง วะรันตัง ภะวะโต จะ สาสะนัง สังฆัง วิสุทธัง อุชุกัง จะ โสภะณัง อิจเจวะมัจจันตะนะมัสสะเนยยัง นะมัสสะมาโน ระตะนัตตะยัง ยัง ปุญญาภิสันทัง วิปุลัง อะลัตถัง ตัสสานุภาเวนะ หะตันตะราโย ฯ
    <O:p</O:p
    ข้าพเจ้าขอกราบไหว้ พระพุทธเจ้า องค์พระปฐมเจดีย์ พระบรมสารีริกธาตุ ซึ่งประดิษฐานอยู่ภายในองค์พระปฐมเจดีย์นั้น<O:p</O:p
    ขอกราบไหว้พระธรรมอันประเสริฐสุด ซึ่งเป็นคำสอนของพระพุทธเจ้า ผู้ประเสริฐสุด<O:p</O:p
    ขอกราบไหว้พระสงฆ์ผู้งดงาม ผู้บริสุทธิ์ยิ่ง ผู้ประพฤติตรงต่อคำสอน ข้าพเจ้านมัสการอยู่ซึ่งพระรัตนตรัย และองค์พระปฐมเจดีย์ อันเป็นสถานที่ประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุใด ซึ่งควรนมัสการโดยส่วนเดียวเช่นนี้ ได้รับแล้วซึ่งกุศลผลบุญอันไพบูลย์ ด้วยอานุภาพแห่งพระรัตนตรัย และผลบุญนั้น<O:p</O:p
     
  13. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    ทุกอย่างสำเร็จได้ด้วยจิต

    มหาโมทนาสาธุครับ

    .
     
  14. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    http://palungjit.org/showthread.php?p=952534&posted=1#post952534

    <TABLE class=tborder id=post952534 cellSpacing=0 cellPadding=6 width="100%" align=center border=0><TBODY><TR><TD class=thead id=currentPost style="BORDER-RIGHT: #ffffff 0px solid; BORDER-TOP: #ffffff 1px solid; FONT-WEIGHT: normal; BORDER-LEFT: #ffffff 1px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 1px solid">1-2-2551, 09:54 AM <!-- / status icon and date --></TD><TD class=thead style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid; BORDER-TOP: #ffffff 1px solid; FONT-WEIGHT: normal; BORDER-LEFT: #ffffff 0px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 1px solid" align=right>#14368 </TD></TR></TBODY></TABLE>

    [​IMG]




    ขอเชิญร่วมมหากุศลเป็นเจ้าภาพผ้าป่าสามัคคี
    “มาฆะบูชา”<O:p</O:p
    จำนวน ๑๐๐,๐๐๐ กอง กองละ ๑๐๐ บาท<O:p</O:p
    ร่วมสร้าง<O:p</O:p
    พระพุทธเจ้าห้าพระองค์ และ ฉัตรประธานเจดีย์<O:p</O:p
    เพื่อประดิษฐาน ณ พระเจดีย์ศรีชัยผาผึ้ง
    อ.บ้านเขว้า จ.ชัยภูมิ<O:p</O:p
    <O:p</O:p


    พุทธบูชา มหาเตโช
    ธัมมะบูชา มหาปัญโญ
    สังฆะบูชา มหาโภคะวะโห<O:p</O:p
    <O:p</O:p


    กำหนดการ<O:p</O:p
    วันพฤหัสบดีที่ ๒๑ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๑<O:p</O:p
    ตรงกับวันมาฆะบูชา ขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๓<O:p</O:p
    เวลา ๑๐.๐๐ น.ถวายผ้าป่า
    ณ สำนักสงฆ์ผาผึ้ง อ.บ้านเขว้า จ.ชัยภูมิ<O:p</O:p
    <O:p</O:p


    ประธานดำเนินการฝ่ายสงฆ์<O:p</O:p
    พระธวัชชัย ชาครธัมโม<O:p</O:p
    <O:p</O:p


    ประธานดำเนินการฝ่ายฆารวาส<O:p</O:p
    ท่านอาจารย์ประถม อาจสาคร<O:p</O:p
    และคณะศิษยานุศิษย์หลวงปู่บรมครูพระเทพโลกอุดร<O:p</O:p
    <O:p</O:p

    ตามที่สำนักสงฆ์ผาผึ้ง ร่วมกับคณะพุทธบริษัทได้ดำเนินโครงการจัดสร้าง พระเจดีย์ศรีชัยผาผึ้ง มานับตั้งแต่ปลายปีพ.ศ.2549 เป็นต้นมานั้น ขณะนี้การก่อสร้างองค์พระเจดีย์ได้ดำเนินการใกล้แล้วเสร็จสมบูรณ์ การดำเนินการในลำดับต่อไปคือการสร้าง”พระพุทธเจ้าห้าพระองค์” เพื่อประดิษฐานรายรอบพระเจดีย์ รวมทั้งการจัดสร้าง “ฉัตรประธานเจดีย์” และองค์ประกอบอื่นๆ เพื่อบรรจุไว้ภายในพระเจดีย์ เช่นพระพุทธรูปทองคำ ,พระพุทธรูปเงิน ,เจดีย์หินอ่อน ,เจดีย์ทองคำองค์เล็กเพื่อบรรจุพระบรมสารีริกธาตุ เป็นต้น<O:p</O:p
    <O:p</O:p

    การสร้าง”พระพุทธเจ้าห้าพระองค์” ถือเป็นพุทธบูชาแด่องค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าทั้งห้าพระองค์ในภัทรกัปป์นี้ คือ<O:p</O:p
    ๑.สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าพระนาม พระกกุสันโธพุทธเจ้า<O:p</O:p
    ๒.สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าพระนาม พระโกนาคมพุทธเจ้า<O:p</O:p
    ๓.สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าพระนาม พระกัสสปพุทธเจ้า<O:p</O:p
    ๔.สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าพระนาม พระสมณโคดมพุทธเจ้า<O:p</O:p
    ๕.พระศรีอาริยเมตไตรย์พุทธเจ้า<O:p</O:p
    โดยจะจัดสร้างพระพุทธรูปขนาดหน้าตักกว้าง ๓๕ นิ้ว รูปแบบพระเชียงแสน ปางต่างๆ คือ ปางสมาธิ ,ปางประทานพร ,ปางมารวิชัย ,ปางปฐมเทศนา และปางจักรพรรดิ<O:p</O:p
    <O:p</O:p

    สำหรับ”ฉัตรประธานเจดีย์” ออกแบบโดยช่างสิบหมู่ผู้ชำนาญเฉพาะของกรมศิลปากร จัดสร้างเป็นฉัตร ๙ ชั้น ลงรักปิดทอง ฉลุลายโปร่ง มีลวดลายดอกไม้เงิน ดอกไม้ทอง ประดับด้วยแก้วมณีหลากสี ปลายยอดสุดของฉัตรพระเจดีย์ ประดับบัวยอดฉัตรทองคำ ทำด้วยทองคำบริสุทธิ์ ๙๙.๙๙ % อันแสดงถึงตำแหน่งของอนุตตรสัมมาสัมโพธิญาณ อันเป็นการบรรลุธรรมชั้นสูงสุดของพระพุทธศาสนา
    <O:p</O:p
    ขออำนาจอันศักดิ์สิทธิ์แห่งคุณพระศรีรัตนตรัยอันมีองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าทุกๆพระองค์ พระปัจเจกพุทธเจ้าทุกพระองค์ พระอรหันต์เจ้าและครูบาอาจารย์ผู้ทรงพระคุณทั้งหลาย รวมทั้งอนิสงส์ผลบุญที่ท่านได้ร่วมในบุญอันประเสริฐครั้งนี้ ขอเป็นพลปัจจัยส่งผลให้ท่านถึงพร้อมด้วยความเจริญรุ่งเรือง สมบูรณ์พูนผลในมนุษย์สมบัติทุกๆด้าน ปราศจากโรคภัยไข้เจ็บ และสมประสงค์ในสิ่งที่ปรารถนาไว้ทุกประการจนกว่าจะเข้าถึงซึ่งพระนิพพานเทอญ<O:p</O:p
    <O:p</O:p

    นิพพานะ ปัจจะโย โหตุ

    <O:p
    สำหรับงานผ้าป่ามหากุศล ที่สนส.ผาผึ้ง ผมมาแจ้งรายละเอียดพระพิมพ์ที่ผมจะมอบให้กับท่านที่ร่วมทำบุญครับ

    ท่านที่ร่วมทำบุญ 12,000 บาท ได้รับล็อกเก็ตและพระพิมพ์ชุดผงยาวาสนา มีทั้งหมด 10 ชุด คงเหลือ 7 ชุด (ทางพี่แอ๊ว 1 ชุด ,คุณnongnooo 1 ชุด,คุณkaipc 1 ชุด)

    แต่สำหรับท่านที่ไม่เคยร่วมทำบุญสร้างพระเจดีย์ศรีชัยผาผึ้งมาเลย ต้องร่วมทำบุญ 40,000 บาท ผมจึงจะมอบล็อกเก็ตและพระพิมพ์ชุดผงยาวาสนาให้ 1 ชุดครับ


    [​IMG]

    ส่วนท่านที่ร่วมทำบุญ 2,000 บาท ผมมอบพระสมเด็จอกครุฑ ให้ 1 องค์ มีทั้งหมด 5 องค์ (ไม่มีรูป) คงเหลือ 3 องค์ (คุณเทพารักษ์ 1 องค์,เพื่อนผม คุณวิรัช 1 องค์)

    แต่ถ้าท่านใดไม่เคยร่วมทำบุญสร้างพระเจดีย์ศรีชัยผาผึ้งมาเลย ต้องร่วมทำบุญ 5,000 บาท ผมจึงมอบพระสมเด็จอกครุฑให้ 1 องค์ครับ

    ท่านที่ร่วมทำบุญ 1,000 บาท ผมมอบพระปิดตาวังหน้าสองหน้า (มีทั้งเนื้อสีขาวและสีดำ) 1 องค์ มีทั้งหมด 20 องค์ (สีละ 10 องค์) คงเหลือ 17 องค์ (คุณตั้งจิต 1 องค์,เพื่อนผม คุณวิรัช 2 องค์)
    [​IMG]

    พระพิมพ์ที่ผมมอบให้ท่านที่ร่วมทำบุญในกระทู้ขอเชิญร่วมสร้างพระเจดีย์ศรีชัยผาผึ้ง ณ สำนักสงฆ์ผาผึ้ง อ.บ้านเขว้า จ.ชัยภูมิ บมจ.ธนาคารกรุงไทย สาขาลาดพร้าว 102 บัญชีออมทรัพย์เลขที่ 189-0-13128-8 ชื่อบัญชี นางพิชญ์สินี ชาญปารีชญา ,นายอุเทน งามศิริ ,นายสิรเชษฏ์ ลีละสุนทเลิศ นั้น มีความแตกต่างกันกับพระพิมพ์รุ่นเดียวกัน(องค์เดิมและองค์ผู้อธิษฐานจิตเดิม)อย่างสิ้นเชิง โดยผมได้นำพระพิมพ์ของวังหน้า นำเข้าพิธีพุทธาภิเษกด้วยกัน 3 ครั้ง


    1.ครั้งแรกในเดือน มกราคม 2550
    ผมนำเข้าพิธีพุทธาภิเษก การอาราธนาพระบารมี พระสิวลีเถระเจ้า ,พระอนุรุทเถระเจ้า ,พระอุปคุตเถระเจ้า และหลวงปู่พระอุตรเถระเจ้า
    ซึ่งผมเรียกพระพิมพ์ที่เข้าพิธีพุทธาภิเษกในครั้งนี้ว่า พระพิมพ์ชุดพิเศษ 2


    2.ครั้งที่สองในเดือนกุมภาพันธ์ 2550
    ผมนำพระพิมพ์เข้าพิธีพุทธาภิเษก การอาราธนาพระบารมี พระสิวลีเถระเจ้า ,พระอนุรุทเถระเจ้า ,พระอุปคุตเถระเจ้า และหลวงปู่บรมครูเทพโลกอุดรทั้ง 5 พระองค์
    ซึ่งผมเรียกพระพิมพ์ที่นำเข้าพิธีพุทธาภิเษกในครั้งที่สองว่า พระพิมพ์ชุดพิเศษ 2

    พระสิวลีเถระเจ้า ,พระอนุรุทเถระเจ้า ,พระอุปคุตเถระเจ้า
    ลงประวัติและคำบูชา(บทสวด)ด้วยครับ

    กระทู้ พระวังหน้า ที่หลวงปู่บรมครูเทพโลกอุดรเสก ถ้าต้องการที่จะได้.....
    เริ่มตั้งแต่กระทู้หมายเลข # 3116
    http://www.palungjit.org/board/showt...22445&page=312
    http://www.palungjit.org/board/showt...22445&page=313

    และ # 3161
    http://www.palungjit.org/board/showthread.php?t=22445&page=317



    พระพิมพ์ชุดพิเศษ 2 องค์ผู้อธิษฐานจิต พระสิวลีเถระเจ้า ,พระอนุรุทเถระเจ้า,พระอุปคุตเถระเจ้าและหลวงปู่บรมครูเทพโลกอุดร อธิษฐานจิตให้ ส่วนองค์ผู้อธิษฐานจิตเดิม ผมไม่แจ้งให้ทราบ เนื่องจากองค์ผู้อธิษฐานจิตใหม่ พลังองค์ผู้อธิษฐานจิตใหม่คลุมพลังองค์ผู้อธิษฐานจิตเดิมครับ

    3.ครั้งที่สามในเดือน เมษายน (วันเสาร์ที่ 7 เมษายน 2550)
    ผมนำเข้าพิธีพุทธาภิเษก รับพระเมตตา,พระกรุณา และขอพระบารมีองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าพระนามกุกกุสันโธ ,หลวงปู่บรมครูเทพโลกอุดรทั้ง 5 พระองค์ และสมเด็จพระพุฒาจารย์โต พรหมรังสี อธิษฐานจิตพระพิมพ์ให้
    ซึ่งผมเรียกพระพิมพ์ที่นำเข้าพิธีพุทธาภิเษกในครั้งที่สาม นี้ว่า พระพิมพ์ชุดพิเศษ 3 รุ่นฟ้าลิขิต
    ได้รับพระเมตตา,พระกรุณา และขอพระบารมีองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าพระนามกุกุธสันโธ ,หลวงปู่บรมครูเทพโลกอุดรทั้ง 5 พระองค์ และสมเด็จพระพุฒาจารย์โต พรหมรังสี อธิษฐานจิตพระพิมพ์ให้ (ส่วนองค์ผู้อธิษฐานจิตพระพิมพ์เดิม ผมขอสงวนสิทธิ์ไม่แจ้งให้ทราบครับ เนื่องจากองค์ผู้อธิษฐานจิตใหม่ พลังองค์ผู้อธิษฐานจิตใหม่คลุมพลังองค์ผู้อธิษฐานจิตเดิมครับ) พลังอิทธิคุณครอบจักรวาล<O:p</O:p
    <O:p</O:pท่านใดที่บูชาไปแล้ว ขอให้แยกเก็บจากพระพิมพ์ทั่วๆไป และเก็บไว้ในที่สูง อีกเรื่องคือให้ระวังการปรามาสให้จงหนัก กรรมเร็วและแรงมากครับ<O:p</O:p
    </O:p
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 11 กุมภาพันธ์ 2008
  15. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
  16. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    http://www.geocities.com/wnicha/type.htm

    [ คำนำ ] <NOBR>[ เบื้องต้นเรื่องพระธาตุ ]</NOBR> <NOBR>[ พระธาตุเจดีย์ทั่วไทย ]</NOBR> <NOBR>[ พระธาตุเจดีย์องค์สำคัญ ]</NOBR> <NOBR>[ รวมภาพพระธาตุ ]</NOBR> <NOBR>[ ประวัติวัดพนัญเชิง ]</NOBR> <NOBR>[ สมุดเยี่ยม ]</NOBR><!--webbot bot="Navigation" endspan i-checksum="61217" -->
    <BIG>พระบรมธาตุหรือ พระบรมสารีริกธาตุนั้นแท้ที่จริงก็ คือ พระบรมอัฐิหรือกระดูกของ องค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้านั่นเองแต่ที่ไม่เรียกว่า "พระบรมอัฐิ" ก็เป็นเพราะพระบรม ธาตุมีลักษณะและอานุภาพแตกต่างจากกระดูกของมนุษย์ธรรมดาเป็นอันมากทั้งนี้เป็นเพราะพระพุทธองค์</BIG> <BIG>ทรงสมบูรณ์ด้วย พระวิสุทธิคุณ พระปัญญาคุณ และ พระกรุณาธิคุณ อย่างที่ไม่อาจมีบุคคลใดมาเทียบได้ ทรงเป็นผู้สำเร็จอรหัตผล และบรรลุถึง ซึ่งพระนิพพานอันเป็น ธรรมวิเศษยอดยิ่ง ดังนั้นพระบรมธาตุมิใช่มีลักษณะเหมือนดังกระดูกมนุษย์สามัญโดยทั่วไป</BIG> <BIG>หากแต่มีลักษณะเป็น "ธาตุ" ชนิดหนึ่งซึ่งเมื่อมองดูโดยผิวเผินแล้วก็จะคล้ายไข่มุกขนาดเล็ก คล้ายหิน คล้ายแก้ว คล้ายเพชร ฯลฯ และมีสีสันวรรณะต่างๆกัน เช่น ขาวสุกใส ขาวดุจงาช้าง เขียว เหลืองอ่อน แดงเรื่อๆ สีทอง ฯลฯ </BIG>
    <BIG>พระอรหันตธาตุ ก็คือ อัฐิของพระอริยสงฆ์ที่เพียรพยายามปฏิบัติธรรมตามแนวทางที่องค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงวางไว้จนจิตบรรลุธรรม เป็นพระอรหันต์เป็นเหตุให้ อัฐิของท่านกลายเป็น "พระธาตุ" เช่นพระโมคคัลลาห์ พระสารีบุตร หลวงปู่มั่น ฯลฯ

    ลักษณะของพระบรมธาตุ
    1.พระบรมธาตุที่มีลักษณะคล้ายเพชรเท่าที่เคยพบมีอยู่ 2 ชนิดด้วยกัน คือ ชนิดใส และ ชนิดขุ่น หากเป็นเพชรชนิดใส ก็จะเป็นองค์ขนาดเล็ก ส่องแสงเป็นประกายแวววับจับตา หากเป็นเพชรชนิดขุ่นก็จะมีองค์ขนาดเขื่องขึ้นมา แต่ว่าไม่ส่องแสงเป็นประกายอย่าง ชนิดเพชรใส
    2.มีรูปพรรณสัณฐานต่างๆกัน เช่น กลม เสี้ยว ยาวรี เป็นเหลี่ยม บางอย่างมีลักษณะคล้ายกระดูกคนธรรมดา ต่างแต่ว่ามีขนาดเล็กกว่ามาก วรรณะทั่วไปจะออกเป็นมันเลื่อมมีสี ต่างๆว่าออกเป็นขาวงาช้าง ขาวสุกใส แดงเรื่อๆเหลืองปนแดงพระอรรถกถาจารย์ได้จำแนกพระบรมธาตุออก เป็น 2 ประเภท ดังนี้
    1.นวิปปกิณณา ธาตุ </BIG>
    <BIG>2.วิปกิณณา ธาตุ
    </BIG>
    <BIG>1.นวิปปกิณณา ธาตุ คือพระบรมธาตุที่ไม่แยกกระจัดกระจายหรือเรียกอีกนัยหนึ่งว่า ประเภทที่ยังอยู่เป็นชิ้นเป็นอันบริบูรณ์ ซึ่งมีอยู่ด้วยกัน ทั้งหมด 7 องค์ คือพระเขี้ยวแก้ว 4 องค์ พระรากขวัญ 2 องค์ และพระอุณหิศ 1 องค์ มีที่ประดิษฐานดังนี้</BIG>
    <BIG>พระเขี้ยวแก้ว 4 (พระทาฐธาตุ)
    1.พระเขี้ยวแก้วเบื้องบนขวา ประดิษฐานอยู่ในจุฬามณีเจดียสถาน ณ ดาวดึงเทวโลก (สวรรค์ชั้นดาวดึงส์)
    2.พระเขี้ยวแก้วเบื้องต่ำขวา เดิมประดิษฐานอยู่ ณ เมืองกาลิงคราฐ แต่บัดนี้ได้ไปสถิต อยู่ในประเทศลังกา
    3.พระเขี้ยวแก้วเบื้องบนซ้าย ประดิษฐานอยู่ ณ เมืองคันธารราษฎรประเทศลังกา
    4.พระเขี้ยวแก้วเบื้องต่ำซ้าย ไปประดิษฐานอยู่ในนาคพิภพ (เมืองพญานาค)

    พระรากขวัญ 2 (กระดูกไหปราร้า)
    1.พระรากขวัญเบื้องขวา ไปประดิษฐานไว้ในพระเจดีย์ถูปาราม ประเทศลังกา

    2.พระรากขวัญเบื้องซ้าย ขึ้นไปประดิษฐานอยู่ในทุสสเจดีย์</BIG>
    <BIG>พระอุณหิส หรือ พระนลาฏธาตุ 1 หนังสือมหาวงศ์และชินกาลมณีปกรณ์กล่าวไว้ว่าประดิษฐานอยู่ที่องค์พระเจดีย์ยอดเขาโสณฑิยะระหว่างแม่น้ำเสรุกับกับแม่น้ำวรภะบนฝั่งขวา ของแม่น้ำมหาวาลุกคงคาในประเทศศรีลังกาแต่พระสังคีกิกาจาย์ได้ประมวลไว้ว่าพระอุณหิสได้ขึ้นไปประดิษฐานอยู่ในทุสสเจดีย์บนพรหมโลก </BIG>


    <BIG>2.วิปปกิณณา ธาตุ คือพระบรมธาตุที่แยกย้ายกระจัดกระจายกันในที่ต่างๆ มีอยู่เป็นจำนวนมากที่เป็นเช่นนี้พระอรรถกถาจารย์ได้ กล่าวไว้ว่าเรื่องนี้เกิดแต่พุทธปริวิตกก่อนที่พระองค์จะเสด็จปรินิพพานได้ทรงคำนึงถึงการที่จะประทานตัวแทนของพระองค์ให้แก่สัตว์โลกทั้งหลาย พระพุทธองค์จึงทรงได้ดำริว่า" พระสรีรกายของพระพุทธเจ้าองค์อื่นๆซึ่งมีพระชนมายุยืนนานเมื่อดับขันธปรินิพานแล้วพระบรมธาตุ รวมกันเป็นแท่งเดียวดุจท่อนทองส่วนเราตถาคตมีพระชนมายุไม่ยืนนาน เสด็จโปรดสัตว์ได้ชั่วเวลาไม่เท่าใดก็จะเสด็จเข้าสู่นิพพานโดย ที่พระศาสนายังมิได้แผ่ไพศาลไปในที่ทั้งปวงเท่าที่ควร ดังนั้นตถาคตเสด็จนิพพานไปแล้ว หมู่มหาชนก็น่าจะได้มีพระบรมธาตุ ไว้สักการะบูชาแทนสืบไป" ด้วยเหตุนี้พระพุทธองค์จึงได้ทรงอธิษฐานให้พระบรมธาตุแตกกระจัดจายออกไปโดยแบ่งออกเป็น 3 ขนาด 3 สี 3 สัณฐาน ดังนี้</BIG>


    <CENTER><TABLE style="FONT-FAMILY: DilleniaUPC" cellSpacing=0 cellPadding=0 width=740 bgColor=#c6d9df border=0><TBODY><TR><TD><BIG><BIG>ลักษณะของพระบรมธาต</BIG>ุ มี 3 ลักษณะด้วยกัน คือ</BIG></TD></TR><TR><TD><BIG>1.เหมือนดอกมะลิตูม บางแห่งเรียกว่า สีพิกุล ตามตำนานว่าตวงได้ทั้งหมด 6 ทะนาน</BIG></TD></TR><TR><TD><BIG>2.เหมือนจุณ หรือ ผงทองคำ บางแห่งเรียกว่า สีทองอุไร ตามตำนานว่ามีอยู่ 5 ทะนาน</BIG></TD></TR><TR><TD><BIG>3.เหมือนแก้วมุกดาที่เจียรไนแล้ว บางแห่งเรียกว่า สีผลึก ตามตำนานว่ามีอยู่ 5 ทะนาน</BIG></TD></TR><TR><TD></TD></TR><TR><TD><BIG><BIG>ขนาดของพระบรมธาตุ </BIG>มีอยู่ 3 ขนาดด้วยกัน คือ</BIG></TD></TR><TR><TD><BIG>1.ขนาดเล็ก พระบรมธาตุประเภทนี้แหละที่ท่านกล่าวไว้ว่าสีเหมือนดอกมะลิตูม</BIG></TD></TR><TR><TD><BIG>2.ขนาดเขื่อง ขนาดเท่าเมล็ดข้าวสารหักกลาง ท่านกล่าวไว้ว่ามีสีเหมือนแก้วมุกดา </BIG></TD></TR><TR><TD><BIG>3.ขนาดใหญ่ ประมาณเท่าเมล็ดถั่วเขียวผ่ากลาง ท่านว่าสีเหมือนทองคำหรือทองอุไร</BIG></TD></TR></TBODY></TABLE></CENTER>​

    <BIG><BIG>การลอยน้ำของพระบรมธาตุ</BIG></BIG>
    <BIG>ลักษณะที่พระบรมธาตุลอยน้ำนั้น ท่านผู้รู้ได้ให้ข้อคิดไว้ว่าหากใช้ความสังเกตุให้ดีก็จะเห็นได้โดยชัดเจนว่า มิใช่ลอยอย่างท่อนไม้ แบบลอย ครึ่งจมครึ่ง แต่พระบรมธาตุจะลอยแบบประทับลงบนน้ำ ทำให้พื้นน้ำในบริเวณนั้นเป็นแอ่ง หรือเป็นรอยบุ๋มลงไปอย่างเห็นได้ชัดเจนเรียกว่า ประดิษฐานอยู่เหนือน้ำ พระบรมธาตุบางองค์เมื่อลอยไปลอยมาก็อาจจมลงในน้ำได้ แต่ถ้าเราค่อยๆประจงช้อนขึ้นมาวางบนพื้นน้ำใหม่ ก็อาจ กลับลอยให้เห็นได้อีกและหากลอยคราวละหลายๆองค์ ก็มัก จะรวมจับกลุ่มติดกันเป็นแพ</BIG>
    <BIG><BIG></BIG><BIG>พระธาตุเสด็จ</BIG></BIG>
    <BIG><BIG></BIG>บรรดาเกจิอาจารย์ทั้งหลายได้กล่าวไว้ว่า ท่านผู้มีพระบรมธาตุไว้ หากหมั่นปฏิบัติบูชา และถวายสักการะตามกรรมวิธีอันเหมาะสมแล้ว ก็จะบันดาลให้พระบรมธาตุหรือพระธาตุองค์อื่นเสด็จปาฏิหารย์มารวมอยู่ด้วยกันได้</BIG>
    <BIG>ดังที่ทราบมาแล้วว่า พระบรมธาตุ นั้นเป็นวัตถุมงคลสูงสุด ทรงอานุภาพที่สุด ที่พึงจะหาได้ในโลกนี้จึงเป็นที่ต้องการของเหล่าพุทธศาสนิกชน เพื่อจะมีไว้เคารพสักการะบูชา สำหรับบางท่านก็มีไว้บูชาในบ้านของตนเองแล้ว บางท่านอยากจะทราบถึง</BIG> <BIG>วิธีการอันเชิญซึ่งท่านผู้รู้ได้บอกกล่าวไว้ว่า บุคคลผู้นั้นจะต้องถือศีล 5 เป็นประจำ และหมั่นสวดมนต์บูชาพระอยู่เสมอและมีพิธีอัญเชิญพระธาตุ คือ</BIG>

    <BIG><BIG>พิธีการอันเชิญพระธาตุ</BIG></BIG>
    1. <BIG>จัดที่บูชาพระให้สะอาด</BIG>
    2. <BIG>ตั้งพานดอกมะลิบูชาหน้าพร</BIG>
    3. <BIG>อาบน้ำให้ร่างการสะอาด</BIG>
    4. <BIG>นุ่งขาวห่มขาว</BIG>
    5. <BIG>รับศีล 5 จากพระพุทธรูป</BIG>
    6. <BIG>ตั้งนะโม 3 จบ แล้วสวดสรรเสริฐพระพุทธคุณ ดังนี้</BIG>
    <BIG>อิติปิ โส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ วิชชาจะระณะสัมปันโน สุคะโต โลกะวิทู อนุตตะโร ปุริสะทัมมะสารถิ สัตถา เทวะมนุสสานัง พุทโธ ภะคะวาติ</BIG>
    <BIG>หลังจากนั้นสวด<BIG>คาถาเชิญพระธาตุ</BIG></BIG>
    <BIG>อัชชะตัคเค ปาณุเปตัง พุทธัง ธัมมัง สังฆัง สะระณัง คะตา สะมิมะ หันตา ภินนะ- มุตตา จะ มัชฌิมา ภินนะ ตัณฑุลา ขุททุกา สาสะปะมัตตา เอวัง ธาตุโย สัพพัฏฐาเน อาคัจฉันตุ สีเส เม ปัตตันตุ</BIG>
    <BIG>ท่านบอกไว้ว่าการเชิญนั้นบางครั้งก็มา บางครั้งก็ไม่มา ขึ้นอยู่กับบุญบารมี ส่วนการเสด็จมานั้นเป็นไปได้หลายทาง เช่น เสด็จมาเอง คนเอามาให้ เป็นต้น</BIG>
    <BIG><BIG>คำบูชาพระธาตุแบบไม่จำเพาะเจาะจง</BIG></BIG>
    <BIG>อะหัง วันทามิ ธาตุโย อะหัง วันทามิ สัพพะโส</BIG>
    <BIG><BIG>คำบูชาพระธาตุแบบเจาะจง</BIG></BIG>
    <BIG>ถ้าประสงค์จะบูชาพระธาตุแบบเจาะจงให้นำฉายาของท่านวางหน้าคำว่า"ธาตุโย"เช่น</BIG>
    <BIG><BIG>คำบูชาพระบรมสารีริกธาตุ</BIG></BIG>
    <BIG>อะหัง วันทามิ สารีริกะธาตุโย อะหัง วันทามิ สัพพะโส</BIG>
    <BIG><BIG>คำบูชาพระธาตุพระสิวลี</BIG></BIG>
    <BIG>อะหัง วันทามิ สิวลีธาตุโย อะหัง วันทามิ สัพพะโส</BIG>
    <BIG><BIG>คำบูชาพระธาตุหลวงปู่มั่น ภูริทัตโต</BIG></BIG>
    <BIG>อะหัง วันทามิ ภูริทัตตะธาตุโย อะหัง วันทามิ สัพพะโส</BIG>
    <!-- text below generated by server. PLEASE REMOVE --></OBJECT></LAYER>
     
  17. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    พระบรมสารีริกธาตุ และ พระธาตุพระพุทธสาวก
    บูชาพระธาตุ

    http://www.monstudies.com/smfboard/index.php?topic=623.15
    โดยคุณ too

    พระบรมสารีริกธาตุ ถือว่าเป็นปูชนียวัตถุที่ทรงด้วยคุณค่า ทั้งทางด้านประวัติศาสตร์ และศาสนา
    ทั้งยังเป็นสิ่งที่สูงค่า ควรแก่การเคารพบูชาอย่างสูงสุด หากท่านผู้ใดมี หรือเก็บรักษาไว้
    ขอให้ท่านจงเก็บรักษาและบูชาด้วยความเคารพ เนื่องจากพระบรมสารีริกธาตุนั้นหาได้ยาก
    และยังเป็นสิ่งที่ประเสริฐสุดในไตรภพที่มนุษย์และเทวดาพึงสักการะ

    วิธีบูชาพระบรมสารีริกธาตุ

    การจะบูชาพระบรมสารีริกธาตุนั้นก่อนอื่นต้องชำระล้างร่างกาย ทำจิตใจ ให้สะอาดผ่องใส
    จัดหาดอกมะลิใส่ภาชนะบูชา ตั้งสักการะ ณ ที่ประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุ แล้วจุดธูปและเทียน
    ตั้งใจให้เป็นสมาธิ กราบ 3 ครั้ง แล้วจึงตั้งนะโม 3 จบ กล่าวคำบูชาพระบรมสารีริกธาตุ

    คำกล่าวบูชาพระบรมสารีริกธาตุ มีอยู่มากมายทั้งภาษาบาลี และภาษาไทย
    แต่ที่พบเห็นกันอยู่โดยทั่วไป และกระทำได้โดยง่ายนั้นคือ

    คำกล่าวพรรณนาพระบรมสารีริกธาตุ

    " อะหัง วันทามิ ทูระโต

    อะหัง วันทามิ ธาตุโย

    อะหัง วันทามิ สัพพะโส "

    *คำกล่าวอัญเชิญพระบรมสารีริกธาตุ ก็สามารถนำมาใช้กล่าวบูชาได้เช่นกัน*

    การบูชาพระธาตุนั้น นอกเหนือจากการบูชาด้วย "อามิสบูชา" เช่น การบูชาด้วยดอกไม้ ธูปเทียน
    และ เครื่องหอมต่างๆแล้ว การบูชาด้วยการ "ปฏิบัติบูชา" ซึ่งเป็นวิธีที่องค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า
    ทรงสรรเสริญ เป็นอีกวิธีการหนึ่ง ที่นิยมปฏิบัติควบคู่ไปด้วย ในการบูชาซึ่งพระบรมสารีริกธาตุ
    และพระธาตุทั้งหลาย โดยทั่วไปนิยมปฏิบัติตามแนวอริยมรรค 8 ประการ สรุปโดยย่อได้แก่

    1. การบูชาด้วยศีล ซึ่งศีลเป็นพื้นฐานและเป็นที่ตั้งมั่นแห่งการทำความดี เป็นเกราะป้องกันความชั่วทั้งปวง
    ไม่ทำให้จิตใจเศร้าหมอง ทำให้เกิดความพร้อมต่อการปฏิบัติสมาธิ (สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ)

    2. การบูชาด้วยสมาธิ ซึ่งการสวดมนต์ภาวนา นั่งสมาธิ ดูลมหายใจเข้า-ออก เป็นการฝึกความเข้มแข็งของจิต
    ให้มีกำลังในการพิจารณาหลักธรรมต่างๆได้ตามความเป็นจริง (สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ)

    3. การบูชาด้วยปัญญา คือการใช้ปัญญาพิจารณาหลักความเป็นจริง ตามหลักไตรลักษณ์ (สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ)


    นอกจากนี้ การบูชาพระธาตุยังได้ประโยชน์ ในด้านเป็นอนุสติ 10 อีกด้วย ดังนี้คือ


    พุทธานุสติ คือ การระลึกถึงคุณของพระพุทธเจ้า (พระบรมสารีริกธาตุ)

    ธัมมานุสสติ คือ การระลึกถึงคุณของพระธรรม (ธรรมที่ทำให้อัฐิกลายเป็นพระธาตุ)

    สังฆานุสสติ คือ การระลึกถึงคุณของพระสงฆ์ (พระสงฆ์สาวกธาตุ)

    สีลานุสสติ คือ การระลึกถึงศีลของตน (ผลของศีลที่ทำให้อัฐิกลายเป็นพระธาตุ)

    จาคานุสติ คือ การระลึกถึงทานของตน (ผลของทานที่ทำให้อัฐิกลายเป็นพระธาตุ)

    เทวตานุสสติ คือ การระลึกถึงคุณที่ทำบุคคลให้เป็นเทวดา (เทวดารักษาพระธาตุ)

    มรณานุสสติ คือ การระลึกถึงความตายที่จะมาถึงตน (แม้พระอริยเจ้าก็ต้องตาย)

    กายคตาสติ คือ ระลึกทั่วไปในกาย ให้เห็นว่าไม่งาม น่าเกลียด (เมื่อตายแล้วก็เหลือเพียงกระดูก)

    อานาปานสติ คือ การระลึกถึงสติกำหนดลมหายใจเข้าออก (ผลของสมาธิที่ทำให้อัฐิกลายเป็นพระธาตุ)

    อุปสมานุสสติ คือ การระลึกถึงคุณพระนิพพาน (แดนพระนิพพานที่พระอริยเจ้าได้ก้าวล่วง)

    วิธีอัญเชิญพระบรมสารีริกธาตุ



    สำหรับบ้านที่มีพระบรมสารีริกธาตุไว้บูชาอยู่แล้วคงจะทราบดี เป็นที่น่าแปลกคือ พระบรมสารีริกธาตุนั้น
    สามารถเพิ่ม หรือลดจำนวนได้เอง โดยสามารถเสด็จไปไหนมาไหนเองก็ได้
    แม้ว่าจะเก็บไว้ในภาชนะที่ปิดสนิทดีสักเท่าใดก็ตาม โดยเชื่อกันว่าหากไม่ดูแลรักษาเอาใจใส่
    ประดิษฐานไว้ในที่ไม่สมควร หรือขาดการถวายความเคารพแล้ว พระบรมสารีริกธาตุอาจเสด็จหาย
    จากสถานที่นั้นๆก็เป็นได้ โดยทางตรงกันข้าม หากได้รับการปฏิบัติบูชาดี ผู้สักการบูชา มีกาย วาจา ใจ
    สะอาดบริสุทธิ์ อยู่ในศีลธรรม พระบรมสารีริกธาตุก็อาจเพิ่มจำนวนได้เช่นกัน




    [​IMG]
    พระบรมสารีริกธาตุที่เสด็จมาเอง ขณะที่
    หลวงตาพวง สุขินทริโย
    กำลังนั่งสมาธิ ณ วัดสิริกมลาวาส

    วิธีอัญเชิญโดยทั่วๆไปมีดังนี้

    1. จัดที่บูชาให้สะอาด

    2. ตั้งพานมะลิบูชา (ถ้ามี)

    3. นำน้ำสะอาดใส่ขันสัมฤทธิ์ตั้งไว้หน้าที่บูชา (ตามวิธีโบราณ)

    4. ชำระล้างร่างกายให้สะอาด

    5. ทำจิตใจให้ปลอดโปร่ง มีสมาธิ

    6. สมาทานศีล

    7. ระลึกถึงพระพุทธคุณ (ตั้งนะโม 3 จบ แล้วสวดสรรเสริญพระพุทธคุณ อิติปิโสฯ)

    8. สวดคาถาอัญเชิญพระธาตุ ดังนี้

    " อัชชะตัคเค ปาณุเปตัง พุทธัง ธัมมัง สังฆัง สะระณังคะโต อัสสามิมะหันตา ภินนะมุคคา
    จะ มัชฌิมา ภินนะตัณฑุลา ขุททุกะ สาสะปะมัตตา เอวัง ธาตุโย สัพพัฏฐาเน อาคัจฉันตุ สีเสเม ปะตันเต

    หรือ

    " อิติปิโส วิเสเสอิ อิเสเส พุทธะนาเมอิ อิเมนา พุทตังโสอิ อิโสตัง พุทธะปิติอิ "

    * การเสด็จมาอาจมีด้วยกันหลายวิธี เช่น เสด็จมาเอง มีผู้มอบให้ แบ่งองค์ ฯลฯ

    สรงน้ำพระธาตุ


    การสรงน้ำพระบรมสารีริกธาตุ และ พระธาตุ เป็นประเพณีความเชื่อดั้งเดิมมาแต่โบราณ
    ที่นิยมกระทำเป็นประจำทุกปี เปรียบเสมือนการได้สรงน้ำพระพุทธเจ้าหรือพระอรหันต์ทั้งหลาย
    โดยทั่วไปจะกระทำในวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา หรือ วันงานเทศกาลประจำปี เช่น สงกรานต์ เป็นต้น
    และวิธีปฏิบัติในการสรงน้ำ ก็จะแตกต่างกันไป แล้วแต่ความเชื่อและความศรัทธาของแต่ละท้องที่นั้นๆ หรือ แล้วแต่บุคคล

    เมื่อได้ประมวลวิธีการต่างๆตามที่ได้พบเห็นมา มีด้วยกัน 2 ลักษณะ ดังนี้

    1.สรงน้ำองค์พระบรมสารีริกธาตุหรือพระธาตุโดยตรง วิธีนี้แบ่งออกได้เป็น 2 วิธีการ คือ

    1.1 อัญเชิญองค์พระธาตุลงบนผ้าขาวบาง ซึ่งขึงอยู่บนปากภาชนะรองรับน้ำ ทำการสรงน้ำโดยค่อยๆ
    รดสรงลงบนองค์พระธาตุ วิธีการนี้น้ำจะไหลผ่านองค์พระธาตุ ซึมลงสู่ผ้าขาวและไหลรวมสู่ภาชนะที่รองรับด้านล่าง

    1.2 ใส่น้ำที่จะใช้สำหรับสรงองค์พระธาตุ ลงในภาชนะ ค่อยๆช้อนองค์พระธาตุลงในภาชนะ
    เมื่อสรงเสร็จแล้วจึงอัญเชิญขึ้นจากน้ำ (* สำหรับวิธีนี้ ไม่ให้สนใจว่าองค์พระธาตุจะลอยหรือจม
    เพราะไม่ใช่การลอยน้ำทดสอบพระธาตุ ซึ่งอาจเข้าข่ายปรามาสองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า หรือพระสาวกองค์นั้นๆได้)


    [​IMG]

    วิธีการที่ 1.1

    [​IMG]

    วิธีการที่ 1.2


    ทั้งนี้ เมื่อทำการสรงน้ำเป็นที่เรียบร้อยแล้ว พึงอัญเชิญองค์พระธาตุขึ้น แล้วซับให้แห้ง ก่อนจะอัญเชิญบรรจุลงในภาชนะตามเดิม

    2.สรงน้ำภาชนะหรือสถานที่บรรจุองค์พระบรมสารีริกธาตุหรือพระธาตุ

    วิธีการนี้นิยมใช้สำหรับสรงน้ำพระบรมธาตุเจดีย์โดยทั่วไป, เจดีย์บรรจุพระธาตุที่ปิดสนิท หรือ
    ต้องการความสะดวกรวดเร็ว ในกรณีที่มีผู้ร่วมสรงน้ำเป็นจำนวนมาก โดยการตักน้ำที่ใช้สำหรับสรง
    ราดไปบนพระเจดีย์


    น้ำที่ใช้ในการสรง

    น้ำที่นำมาใช้ในการสรงพระบรมสารีริกธาตุ และ พระธาตุนั้น มีวิธีการเตรียมคล้ายกับการเตรียมน้ำ
    เพื่อใช้สำหรับสรงน้ำพระพุทธรูป ซึ่งการจะเลือกใช้แบบใดนั้น ก็ขึ้นอยู่กับความเชื่อและเหตุผลของแต่ละบุคคล
    รวมถึงความสะดวกในการจัดหาด้วย เมื่อทำการสรงเสร็จแล้ว น้ำที่ผ่านการสรงองค์พระธาตุ
    นิยมนำมาประพรมเพื่อเป็นสิริมงคล เสมือนหนึ่งน้ำพระพุทธมนต์ ซึ่งน้ำที่ใช้ในการสรงพระบรมสารีริกธาตุ
    และ พระธาตุนั้น แบ่งออกเป็น 2 แบบ ดังนี้

    1. น้ำสะอาดบริสุทธิ์

    ............มีผู้อธิบายว่า สาเหตุที่ต้องใช้น้ำบริสุทธิ์ในการสรงน้ำองค์พระธาตุนั้น เนื่องจากว่า องค์พระธาตุนั้น
    เกิดมาแต่ผู้บริสุทธิ์ ธาตุเหล่านั้นจึงเป็นของบริสุทธิ์ ไม่สมควรจะเอาสิ่งใดๆก็ตาม
    เจือปนลงไปแปดเปื้อนองค์พระธาตุ แต่อีกเหตุผลกล่าวว่า ในน้ำหอมหรือดอกไม้
    อาจมีสารใดๆก็ตามเจือปน จนอาจทำให้องค์พระธาตุหมองลงได้

    2. น้ำสะอาดเจือด้วยสิ่งบูชา

    ............น้ำลักษณะนี้นิยมใช้สรงน้ำพระธาตุโดยทั่วไป นัยว่าได้ถวายเป็นอามิสบูชาต่อองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า
    หรือ พระอรหันตสาวกทั้งปวง ซึ่งสิ่งบูชาที่เจือลงในน้ำก็แล้วแต่ความชอบ และความเชื่อในแต่ละท้องถิ่น
    ยกตัวอย่างเช่น น้ำหอม น้ำอบ ดอกไม้ กลีบดอกไม้ หรือ ฝักส้มป่อย เป็นต้น

    คำอาราธนาพระธาตุออกสรงน้ำ

    โย สนฺนิสินโน วรโพธิมูเล มารํ สเสนํ สุชิตํ วิเชยฺย
    สมฺโพติมาคจฺฉิ อนนฺตญาโณ โลกุตฺตโม ตํ ปณมามิ พุทธํ

    สาธุ โอกาสะ ข้าแต่องค์พระมหาชินธาตุเจ้า วันนี้ก็เป็นวันดีดิถีอันวิเศษ เหตุว่าสมณะศรัทธา
    และมูละศรัทธาผู้ข้าทั้งหลาย ทั้งภายในและภายนอก ภายในอันมี.................. ภายนอกมี.....................
    (ถ้าจะออกชื่อประธานในที่นั้นก็ให้เติมเข้า ภายในหมายถึงบรรพชิต ภายนอกคือคฤหัสถ์)
    ก็ได้ขวนขวายตกแต่งน้อมนำมา ยังทีปบุปผาลาชาดวงดอก ข้าวตอกดอกไม้และลำเทียน
    เพื่อจักว่าขอนิมันตนายังองค์พระมหาชินธาตุเจ้า เสด็จออกไปอาบองค์สรงสระ วันสันนี้แท้ดีหลี
    (ถ้านิมนต์ไปด้วยเหตุใดที่ไหน ก็ให้เปลี่ยนไปตามเรื่องที่นิมนต์ไป) ขอองค์พระมหาชินธาตุเจ้า
    จงมีธรรมเมตตาเอ็นดูกรุณา ปฏิคคหะรับเอายังทีปบุปผาลาชาดวงดอก
    ข้าวตอกดอกไม้และลำเทียนแห่งสมณะศรัทธา และมูลศรัทธา ผู้ข้าทั้งหลายว่าวันสันนี้แท้ดีหลี

    อิทํ โน ทีปปุปผาลาชทานํ นิมตฺตนํ นิพฺพานปจฺจโย นิจฺจํฯ




    คำขอโอกาสสรงน้ำพระธาตุ

    (ก่อนจะสรงน้ำพระธาตุให้ยกขันน้ำหอมขึ้นใส่หัว แล้วผู้เป็นหัวหน้าว่าคำขอโอกาสดังนี้)

    โย สนฺนิสินโน วรโพธิมูเล มารํ สเสนํ สุชิตํ วิเชยฺย
    สมฺโพติมาคจฺฉิ อนนฺตญาโณ โลกุตฺตโม ตํ ปณมามิ พุทธํ

    สาธุ โอกาสะ ข้าแต่องค์พระมหาชินธาตุเจ้า วันนี้ก็เป็นวันดีดิถีอันวิเศษ เหตุว่าสมณะศรัทธาและมูลศรัทธา
    ผู้ข้าทั้งหลาย ก็ได้ขวนขวายตกแต่งน้อมนำมา ยังทีปบุปผาลาชาดวงดอก ข้าวตอกดอกไม้ ลำเทียนและน้ำสุนโธทกะ
    เพื่อว่าจะมาขออาบองค์สระสรงยังองค์พระมหาชินธาตุเจ้าว่า สันนี้แท้ดีหลี โดยดั่งผู้ข้าจักเวนตามปาฐะ

    สาธุ โอกาส มยํ ภนฺเต ทีปปุผาลาชทานํ อเภขฺขอสาธารณ
    สพฺพโลกิยโลกุตฺตร มคฺคผล นิพฺพานปจฺจโยโหตุ โน นิจฺจํ ฯ



    พระธาตุปาฏิหาริย์




    พระบรมสารีริกธาตุ และพระธาตุนั้นเป็นปูชนียวัตถุที่มีเทวดารักษา สามารถแสดงปาฏิหาริย์
    เช่น การเพิ่มและลดจำนวนได้เอง การเรืองแสง เปล่งแสงในที่มืด การเสด็จลอยวนสถานที่บรรจุ
    การเสด็จผ่านอากาศไปในทิศต่างๆ เปลี่ยนแปลงสีและรูปร่างได้เอง ฯลฯ


    การเกิดของพระธาตุนั้น จะว่าไปก็เป็นปาฏิหาริย์อย่างหนึ่ง คือ กระดูกที่เผาไฟแล้วก็ดี
    หรือยังไม่เผาไฟก็ดี สามารถแปรเปลี่ยนเป็นผลึก รูปร่างต่างๆ สีสันสวยงาม คล้ายกรวด คล้ายแก้ว
    ไม่เพียงแต่กระดูกเท่านั้น ผม เล็บ ฟัน หรือ แม้กระทั่งชานหมาก ของท่านเหล่านั้น
    ก็พบว่าสามารถแปรเป็นพระธาตุได้เช่นกัน

    อัฐิพระสงฆ์ในยุคปัจจุบัน ที่สามารถแปรเป็นพระธาตุนั้นก็มีอยู่ด้วยกันหลายรูป
    แต่ละรูปก็มีลักษณะของพระธาตุจำนวนมากมาย ทรงไว้ด้วยความน่าอัศจรรย์ใจ
    ดังเช่นการเพิ่มหรือลดจำนวนได้เอง การเปล่งแสง การเปลี่ยนแปลงลักษณะ ฯลฯ ซึ่งเป็นสิ่งที่ยืนยันได้ว่า
    ในเมื่ออัฐิพระในยุคปัจจุบันยังสามารถแปรเปลี่ยนเป็นพระธาตุ เพิ่มหรือลดจำนวนเองได้
    แล้วพระบรมสารีริกธาตุแห่งองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า และ
    พระธาตุแห่งองค์พระอสีติมหาสาวก จะยิ่งมิทรงไว้ซึ่งความน่าอัศจรรย์ยิ่งกว่านี้อีกหรือ




    .
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • 1.JPG
      1.JPG
      ขนาดไฟล์:
      4.7 KB
      เปิดดู:
      437
    • 2.JPG
      2.JPG
      ขนาดไฟล์:
      4.1 KB
      เปิดดู:
      431
  18. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    http://www.relicsofbuddha.com/page6-1.htm

    [​IMG] บทบูชาพระธาตุ [​IMG]
    บทสวดเพื่อบูชาพระบรมสารีริกธาตุ และ/หรือ พระธาตุนั้นมีอยู่ด้วยกันหลายบท มีทั้งบทบาลี บทภาษาไทย หรือ ทั้งบาลีและแปลควบคู่กันไป แต่ละที่ก็แตกต่างกัน เท่าที่พอจะรวบรวมและพิมพ์ได้มีดังนี้
    <TABLE cellSpacing=2 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD width="3%" rowSpan=2></TD><TD colSpan=4>คำบูชาพระบรมสารีริกธาตุ</TD></TR><TR><TD width="4%"></TD><TD colSpan=3>(นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ 3 ครั้ง)
    อิติปิ โส ภะคะวา, นะมามิหัง ตัง ภะคะวันตัง, ปะระมะสารีริกธาตุยา สัทธิง, อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ, วิชชาจะระณะสัมปันโน, สุคะโต, โลกะวิทู, อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ, สุตถา เทวะ มะนุสสานัง, พุทโธ, ภะคะวาติ.

    </TD></TR><TR><TD colSpan=5></TD></TR><TR><TD width="3%" rowSpan=13></TD><TD colSpan=4>
    บทสวดบูชาพระบรมสารีริกธาตุ

    </TD></TR><TR><TD width="4%" rowSpan=12></TD><TD colSpan=3>อุกาสะ วันทามิ ภันเต เจติยัง สัพพัง สัพพัตถะฐาเน สุปะติฏฐิตัง</TD></TR><TR><TD width="5%"></TD><TD colSpan=2>ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ดังข้าพเจ้าขอถือโอกาส ข้าพเจ้าขอไหว้ซึ่งพระเจดีย์ทั้งหมดอันตั้งไว้ดีแล้วในที่ทั้งปวง

    </TD></TR><TR><TD colSpan=3>พุทธะสารีรังคะธาตุง มะหาโพธิง พุทธะรูปัง คันธะกุฏิง จะตุราสีติสะหัสเส ธัมมักขันเธ</TD></TR><TR><TD width="5%"></TD><TD colSpan=2>คือซึ่งพระสารีรังคะธาตุของพระพุทธเจ้า ซึ่งต้นพระศรีมหาโพธิ์ ซึ่งพระพุทธรูป ซึ่งพระคันธุกุฏิของพระพุทธเจ้า และซึ่งพระธรรมขันธ์ทั้งหลาย มีแปดหมื่นสี่พันพระธรรมขันธ์

    </TD></TR><TR><TD colSpan=3>สัพเพตัง ปาทะเจติยัง สักการัตถัง</TD></TR><TR><TD width="5%"></TD><TD colSpan=2>เพื่อสักการะซึ่งพระเจดีย์ คือรอยพระบาทเหล่านั้นทั้งหมดทั้งสิ้น</TD></TR><TR><TD colSpan=3>อะหังวันทามิธาตุโย</TD></TR><TR><TD width="5%"></TD><TD colSpan=2>ข้าพเจ้าขอไหว้พระธาตุทั้งหลาย </TD></TR><TR><TD colSpan=3>อะหังวันทามิสัพพะโส</TD></TR><TR><TD width="5%"></TD><TD colSpan=2>ข้าพเจ้าขอไหว้โดยประการทั้งปวง </TD></TR><TR><TD colSpan=3>อิจเจตัง ระตะนัตตะยัง อะหัง วันทามิ สัพพะทา</TD></TR><TR><TD width="5%"></TD><TD colSpan=2>ข้าพเจ้าขอไหว้ซึ่งพระรัตนตรัยเหล่านั้นในกาลทุกเมื่อ ด้วยอาการดังนี้แลฯ </TD></TR><TR><TD colSpan=5></TD></TR><TR><TD width="3%" rowSpan=5></TD><TD colSpan=4>
    วันทาหลวง(ย่อ)
    </TD></TR><TR><TD width="4%" rowSpan=4></TD><TD colSpan=2>วันทามิ เจติยัง สัพพัง สัพพัฏฐาเนสุ </TD><TD width="56%">ปะติฏฐิตา สะรีระธา-ตุ มหาโพธิง</TD></TR><TR><TD colSpan=2>พุทธะรูปัง สะกะลัง สะทา </TD><TD width="56%">นาคะโลเก เทวะโลเกพรัหมะโลเก ชัมพูทีเปลังกาทีเป</TD></TR><TR><TD colSpan=2>สะรีระธา-ตุ โย เกสา ธา-ตุ โย </TD><TD width="56%">อะระหันตะ ธา-ตุ โย เจติยัง คันธะกุฏิง</TD></TR><TR><TD colSpan=2>จะตุราสี ติสสะหัสเส ธัมมักขันเธ </TD><TD width="56%">สัพเพสัง ปาทะเจติยัง อะหัง วันทามิ สัพพะโสฯ</TD></TR><TR><TD colSpan=5></TD></TR><TR><TD width="3%" rowSpan=4></TD><TD colSpan=4>
    คำบูชาพระธาตุในจักรวาลทั้งหลาย
    </TD></TR><TR><TD width="4%" rowSpan=3></TD><TD width="5%" rowSpan=3></TD><TD width="32%">จัตตาฬิส สะมาทันตา</TD><TD width="56%">เกสา โลมา นะขา ปีจะ</TD></TR><TR><TD width="32%">เทวา หะรันติ เอเตกัง </TD><TD width="56%">จักกะวาฬะ กัง ปะรัมปะรา</TD></TR><TR><TD width="32%">ปูชิตา นะระเทเวหิ </TD><TD width="56%">อะหัง วันทามิ ธา-ตุ โยฯ</TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE cellSpacing=2 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD width="3%" rowSpan=9></TD><TD colSpan=3>คำบูชาพระธาตุแบบไม่จำเพาะเจาะจง </TD></TR><TR><TD width="4%" rowSpan=8></TD><TD width="5%"></TD><TD width="88%">อะหัง วันทามิ ธาตุโย อะหัง วันทามิ สัพพะโส


    </TD></TR><TR><TD colSpan=2>ถ้าประสงค์จะบูชาพระธาตุแบบเจาะจงให้นำฉายาของท่านวางหน้าคำว่า"ธาตุโย"เช่น </TD></TR><TR><TD rowSpan=2></TD><TD>คำบูชาพระบรมสารีริกธาตุ</TD></TR><TR><TD>อะหัง วันทามิ สารีริกะธาตุโย อะหัง วันทามิ สัพพะโส


    </TD></TR><TR><TD rowSpan=2></TD><TD>คำบูชาพระธาตุพระสิวลี </TD></TR><TR><TD>อะหัง วันทามิ สิวลีธาตุโย อะหัง วันทามิ สัพพะโส


    </TD></TR><TR><TD rowSpan=2></TD><TD>คำบูชาพระธาตุหลวงปู่มั่น ภูริทัตโต </TD></TR><TR><TD>อะหัง วันทามิ ภูริทัตตะธาตุโย อะหัง วันทามิ สัพพะโส</TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  19. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    http://www.relicsofbuddha.com/page6-2.htm

    [FONT=MS Sans Serif, Tahoma, sans-serif][FONT=Tahoma, MS Sans Serif][​IMG][/FONT][/FONT] บทกล่าวอัญเชิญและบูชาพระธาตุ [​IMG]
    <TABLE cellSpacing=2 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD width="3%" rowSpan=19></TD><TD colSpan=4>คำกล่าวอัญเชิญพระบรมสารีริกธาตุ แบบยาว </TD></TR><TR><TD width="4%"></TD><TD colSpan=3>อะเน กะกัปเป กุสะเล จินิตตะวา โลกานุกัมปายะ มะ เนกะทุกขัง อุสสาหะยิตตะวา จะ สุจีระการัง พุทธัตตะภาวัง สะกะลัง อะคัญฉิ เอวัญจะ กัตตะวา ภะคะวา ทะยาลุ ทุกขา ปะโมเจถะ ขิเล จะอัมเห ทัสเสถะ โน ปาฏิหิรัง สุวิมหัง เฉทายะ กังขัง สะกะลัง ชะนัสสะ กาเกนะ รัญญา กะถิตันตุ ยังยัง ตังตัง อะขีลัง วิตะถัง ตะถัง เจ พุทธานะกะถา วิตะถา ตะถา เจ ทัสเสถะ วิมหัง นะยะนัสสะ โนปิ อัชชะตัคเค ปาณุเปตัง พุทธัง ธัมมัง สังฆัง สะระณังคะโต อัสสามิ มะหันตา ภินนะมุคคา จะมัชฌิมา ภินนะฑัณฑุลา ขุททุกะ สาสะปะมัตตา เอวัง ธาตุโย สัพพัฏฐาเน อาคัจฉันตุ สีเส เม ปะตันตุฯ


    </TD></TR><TR><TD colSpan=4>
    คำกล่าวอัญเชิญพระบรมสารีริกธาตุ แบบทั่วไป
    </TD></TR><TR><TD width="4%"></TD><TD colSpan=3>อัชชะตัคเค ปาณุเปตัง พุทธัง ธัมมัง สังฆัง สะระณังคะโต อัสสามิมะหันตา ภินนะมุคคา จะ มัชฌิมา ภินนะตัณฑุลา ขุททุกะ สาสะปะมัตตา เอวัง ธาตุโย สัพพัฏฐาเน อาคัจฉันตุ สีเสเม ปะตันเต


    </TD></TR><TR><TD colSpan=4>
    คำแปลบทอัญเชิญพระบรมสารีริกธาตุ แบบทั่วไป
    </TD></TR><TR><TD width="4%"></TD><TD colSpan=3>ตั้งแต่วันนี้เป็นต้นไปตราบเท่าชีวิต ข้าฯขอถึงพระพุทธเจ้า พระธรรม พระสงฆ์ เป็นที่พึ่ง ขออัญเชิญ พระบรมสารีริกธาตุที่สถิตอยู่ทั่วทุกหนแห่ง ขนาดใหญ่เท่าเมล็ดถั่วหัก แก้วมุกดา ขนาดกลางเท่าเมล็ดข้าวสารหัก และขนาดเล็กเท่าเมล็ดพันธุ์ผักกาด จงเสด็จตกลงเบื้องบนประดิษฐาน เหนือเศียรเกล้าของข้าฯในที่ทุกสถาน เทอญฯ


    </TD></TR><TR><TD colSpan=4>
    คำแปลบทอัญเชิญพระบรมสารีริกธาตุ แบบย่อ
    </TD></TR><TR><TD width="4%"></TD><TD colSpan=3>นับตั้งแต่นี้ จนสิ้นชีวิต พลีชีพอุทิศ พระรัตนตรัย ขอพระบรมธาตุ สถิตทั่งไกล คุ้มครองผองภัย สู่เศียรข้าฯเทอญฯ


    </TD></TR><TR><TD colSpan=4>
    อารัมภกถา คัมภีร์ถูปวงศ์ - ตำนานว่าด้วยการสร้างพระเจดีย์ (แต่งโดย พระวาจิสสรเถระ ภิกษุชาวลังกา)
    </TD></TR><TR><TD width="4%"></TD><TD colSpan=3>ยัสมิง สยิงสุ ชินธาตุวรา สมันตา ฉัพพัณณรังสิวิสเรหิ สมุชชะลันตา ตัสสะ โลกะหิตะ เหตุ ชินนัสสะ ถูปัง ตัง ถูปะมัพภุตตะมัง สิรสา นมิตตะวา

    </TD></TR><TR><TD width="4%"></TD><TD width="5%"></TD><TD colSpan=2>พระบรมธาตุอันประเสริฐ ทั้งหลายของพระพุทธเจ้ารุ่งเรืองอยู่โดยรอบด้วยถ่องแถวแห่งพระรัศมี 6 ประการประดิษฐานอยู่ ณ พระสถูปเจดีย์องค์ใด ข้าพเจ้าขอน้อมบูชา พระสถูปอันบรรจุพระบรมธาตุของพระพุทธเจ้าพระองค์นั้น อันเป็นเหตุให้เกิดประโยชน์แก่โลก อันน่าอัศจรรย์ยิ่งนั้น ด้วยเศียรเกล้า


    </TD></TR><TR><TD colSpan=4>
    คำไหว้พระจุฬามณีเจดีย์
    </TD></TR><TR><TD colSpan=4>นะโม 3 จบ </TD></TR><TR><TD width="4%"></TD><TD colSpan=3>อิติปิโส ภะคะวา อะระหังสัมมาสัมพุทโธฯ </TD></TR><TR><TD width="4%"></TD><TD width="5%"></TD><TD colSpan=2>นะโม ข้าฯ จะไหว้พระพุทธเจ้าทุกพระองค์ เมื่อข้าฯดับจิตลง อย่าให้ไหลหลงขอให้จิตจำนงตรงพระนิพพาน ขอให้พบดวงแก้ว ขอให้แคล้วหมู่มาร ขอให้ทันพระศรีอาริย์ ข้าฯจะไปนมัสการพระเกษแก้ว พระจุฬามณีเจดีย์สถานเป็นที่ไหว้ที่สักการกุศลสัมปันโน

    </TD></TR><TR><TD width="4%"></TD><TD colSpan=3>อิติปิโส ภะคะวา อะระหังสัมมาสัมพุทโธฯ </TD></TR><TR><TD width="4%"></TD><TD width="5%"></TD><TD colSpan=2>นะโม ข้าฯจะไหว้พระธรรมเจ้าของพระพุทธองค์ เมื่อข้าฯดับจิตลง อย่าให้ไหลหลงขอให้จิตจำนงตรงพระนิพพาน ขอให้พบดวงแก้ว ขอให้แคล้วหมู่มาร ขอให้ทันพระศรีอาริย์ ข้าฯจะไปนมัสการพระเกษแก้ว พระจุฬามณีเจดีย์สถานเป็นที่ไหว้ที่สักการกุศลสัมปันโน

    </TD></TR><TR><TD width="4%"></TD><TD colSpan=3>อิติปิโส ภะคะวา อะระหังสัมมาสัมพุทโธฯ </TD></TR><TR><TD width="4%"></TD><TD width="5%"></TD><TD colSpan=2>นะโม ข้าฯจะไหว้พระสังฆเจ้าของพระพุทธองค์ เมื่อข้าฯดับจิตลง อย่าให้ไหลหลงขอให้จิตจำนงตรงพระนิพพาน ขอให้พบดวงแก้ว ขอให้แคล้วหมู่มาร ขอให้ทันพระศรีอาริย์ ข้าฯจะไปนมัสการพระเกษแก้วพระจุฬามณี เจดีย์สถานเป็นที่ไหว้ที่สักการกุศลสัมปันโนติ

    </TD></TR></TBODY></TABLE>

    โดย คุณพรพิชญ์ กอวัฒนสกุล พิมพ์ส่งมา

    .
     
  20. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    http://www.relicsofbuddha.com/page6-3.htm

    [​IMG] บทกล่าวอัญเชิญและบูชาพระธาตุ [​IMG]
    <TABLE cellSpacing=2 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD width="3%" rowSpan=11></TD><TD colSpan=4>คำบูชาพระบรมสารีริกธาตุ</TD></TR><TR><TD width="4%"></TD><TD colSpan=2>ปูชิตา นะระเทเวหิ, </TD><TD width="55%">สัพพัฏฐาเน ปะติฎฐิตา,</TD></TR><TR><TD colSpan=3>สิระสา อาทะเรเนวะ, </TD><TD>อะหัง วันทามิ ธาตุโย,</TD></TR><TR><TD></TD><TD colSpan=2>โย โทโส โมหะจิตเตนะ,</TD><TD>วัตถุตตะเย กะโต มะยา,</TD></TR><TR><TD colSpan=3>โทสัง ขะมะถะ เม ภันเต,</TD><TD>สัพพะปาปัง วินัสสะตุ, </TD></TR><TR><TD width="4%"></TD><TD colSpan=2>ธาตุโย วันทะมาเนนะ*, </TD><TD>ยัง ปุญญัง ปะสุตัง อิธะ,</TD></TR><TR><TD colSpan=3>สัพเพปิ อันตะรายา เม,</TD><TD>มาเหสุง ตัสสะ เตชะสาฯ</TD></TR><TR><TD width="4%"></TD><TD width="5%"></TD><TD colSpan=2>(* ถ้าผู้สวดเป็นหญิง เปลี่ยนคำว่า วันทะมาเนนะ เป็น วันทะมานายะ)</TD></TR><TR><TD colSpan=4>..........ข้าพระพุทธเจ้า ขอน้อมเกล้านมัสการ พระบรมสารีริกธาตุ แห่งองค์สมเด็จพระบรมโลกนาถสัมมาสัมพุทธเจ้า ที่ประดิษฐานในที่ทุกสถาน ด้วยเศียรเกล้า


    </TD></TR><TR><TD colSpan=4>..........แม้บาปทั้งปวง ที่เคยล่วงเกินด้วยใหลหลง ข้าพระองค์ขอขมาโทษ ได้ทรงโปรดงดโทษนั้น ให้มีอันวินาศสิ้นสูญไป


    </TD></TR><TR><TD colSpan=4>..........ด้วยเดชะกุศลผลบุญ ที่ข้าพระพุทธเจ้าได้น้อมเกล้านมัสการพระบรมสารีริกธาตุในกาลครั้งนี้ แม้สรรพอันตรายทั้งปวง จงอย่างได้บังเกิดแก่ข้าพระพุทธเจ้าในกาลทุกเมื่อ เทอญ.</TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE cellSpacing=2 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD width="3%" rowSpan=5></TD><TD colSpan=3>คำบูชาพระบรมสารีริกธาตุ </TD></TR><TR><TD width=1 rowSpan=4></TD><TD colSpan=2>(นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ 3 ครั้ง)</TD></TR><TR><TD colSpan=2>อะหัง วันทามิ อิธะ ปะติฏฐิตา พุทธะธาตุโย </TD></TR><TR><TD colSpan=2>ตัสสานุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เม.</TD></TR><TR><TD width=2></TD><TD width="88%">ข้าพเจ้าขอนมัสการกราบไหว้ พระบรมสารีริกธาตุแห่งองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ที่ประดิษฐานอยู่ ณ ที่นี้ ด้วยอานุภาพแห่งกุศลผลบุญนี้ ขอให้ข้าพเจ้าประสบแต่ความสุขสวัสดี ตลอดกาลทุกเมื่อเทอญ


    </TD></TR></TBODY></TABLE>

    <TABLE cellSpacing=2 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD width=15 rowSpan=6></TD><TD colSpan=3>คำไหว้พระธาตุ </TD></TR><TR><TD width=51 rowSpan=5></TD><TD>ยาปาตุภูตา</TD><TD>อะตุลา</TD></TR><TR><TD>นุภาวาจีรัง</TD><TD>ปะติฏฐา</TD></TR><TR><TD>สัมภะกัปปะ</TD><TD>ปุเรเทเวนะ</TD></TR><TR><TD width=225>ตุตตา</TD><TD width=281>อุตตะราภีทับยานะมานิ</TD></TR><TR><TD width=225>หันตัง</TD><TD width=281>วะระชินะธาตุง</TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE cellSpacing=2 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD width="3%" rowSpan=4>
    </TD><TD colSpan=2>
    พระคาถาบูชาพระบรมสารีริกธาตุและพระธาตุ
    </TD></TR><TR><TD width=25 rowSpan=3>
    </TD><TD width=555>
    อะหังวันทามิธาตุโย ข้าพเจ้าขอน้อมนมัสการพระบรมสารีริกธาตุและพระธาตุทั้งหลายที่สถิตอยู่ในจักรวาลทั้งหลาย ทั้งพรหมโลกและดาวดึงส์


    </TD></TR><TR><TD>
    อะหังวันทามิสัพพะโส ข้าพเจ้าขอน้อมนมัสการพระสัมมาสัมพุทธเจ้าและพระอรหันตสาวกทั้งหลายทั้งปวงด้วยเทอญ


    </TD></TR><TR><TD>
    พุทธัง ธัมมัง สังฆัง เอ วังธาตุโย จัตตารี สะ สะ มาทันตา เกสา โลมา นะขา ขีจะ อะหังวันทามิธาตุโย



    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    .
     

แชร์หน้านี้

Loading...