เสียงธรรม สมมุติ บังวิมุติ/อุปลมณี / หลวงพ่อชา สุภัทโท 100+Hrs.

ในห้อง 'ธรรมเทศนาทั่วไป' ตั้งกระทู้โดย supatorn, 29 กันยายน 2017.

  1. supatorn

    supatorn ผู้สนับสนุนเว็บพลังจิต ผู้สนับสนุนพิเศษ

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 กรกฎาคม 2010
    โพสต์:
    48,345
    กระทู้เรื่องเด่น:
    169
    ค่าพลัง:
    +33,049
    สุดท้ายเราก็หนีความตายไม่ได้ : หลวงพ่อชา สุภทฺโท วัดหนองป่าพง จ.อุบลราชธานี (ไม่มีโฆษณาคั่น)

    ธรรมะพ้นทุกข์
     
  2. supatorn

    supatorn ผู้สนับสนุนเว็บพลังจิต ผู้สนับสนุนพิเศษ

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 กรกฎาคม 2010
    โพสต์:
    48,345
    กระทู้เรื่องเด่น:
    169
    ค่าพลัง:
    +33,049
    หลวงพ่อชา สุภัทโท
    ที่ยากจริงๆ ก็เรื่องผู้หญิงนี่แหละ ผ้าสบงที่เราใช้ไปสองปีแล้วจนจะขาดหมด จะนั่งแต่ละครั้งต้องถลกผ้าขึ้นมานิดหนึ่งเสียก่อน เพราะผ้าที่เก่าจนขาดมันจะติดตัว ไม่ลื่นเหมือนผ้าใหม่ ตอนนั้นอยู่บ้านป่าตาว กำลังกวาดลานวัด เหงื่อออก เผลอนั่งลงเลย ไม่ได้ถลกผ้าขึ้น ขาดแควกตรงก้นพอดี ต้องเอาผ้าขาวม้ามาเปลี่ยน แต่หาผ้ามาปะสบงไม่ได้ ต้องเอาผ้าเช็ดเท้าไปซักให้สะอาดแล้วเอามาปะข้างใน เลยมานั่งคิดว่า เอ! พระพุทธเจ้านี้ทำไมทำให้คนต้องทนทุกข์จังเลย ขอคนก็ไม่ได้ ทำอะไรก็ไม่ได้ นึกท้อใจ เพราะจีวรก็ขาด สบงก็ขาด มานั่งภาวนาก็ตั้งใจได้ใหม่ คิดว่าเอาเถอะ จะเกิดอะไรขึ้นก็ไม่ถอยละ ไม่มีผ้าก็ไม่ต้องนุ่ง จะเปลือยมันเลยทีนี้ ใจมันฮึดถึงขนาดนั้นทีเดียว คิดว่าทำให้ถึงที่สุดแล้ว ดูซิมันจะเป็นยังไง จากนั้นมาก็นุ่งผ้าปะหน้าปะหลังมาเรื่อย ไปถึงไหนก็นุ่งมันอย่างนั้นแหละ ปีนั้นเป็นปีที่มีเดือนแปด ๒ หน ไปกราบอาจารย์กินรีอีกครั้ง ไปอยู่กับท่านก็ไม่เหมือนคนอื่น เพราะธรรมเนียมของท่านไม่เหมือนใคร ท่านก็มองๆ อยู่ เราก็ไม่ขอ ถ้ามันขาดอีกก็หาผ้ามาปะเข้าไปอีก ท่านก็ไม่ได้เอ่ยปากให้อยู่ด้วย เราก็ไม่ได้ขออยู่เหมือนกัน แต่ก็อยู่กับท่านน่ะแหละ ปฏิบัติไปทำไป ต่างคนต่างไม่พูด ใครจะเก่งกว่ากันว่างั้นเถอะ จวนเข้าพรรษาท่านคงไปบอกญาติของท่านว่า มีพระมารูปหนึ่ง จีวรขาดหมดแล้ว ให้ตัดผ้าไตรไปถวายด้วยเถอะ เพราะมีคนเอาผ้ามาถวายเป็นผ้าทอเอง หนาทีเดียว ย้อมแก่นขนุน ก็เอาด้านจูงผีน่ะแหละมาเย็บ เย็บด้วยมือทั้งผืนเลย พวกโยมชีเขาช่วยกันเย็บให้ ดีใจที่สุด ใช้อยู่ ๔-๕ ปีก็ไม่ขาด ใช้ครั้งแรกก็ดูกระปุกกระปุย เพราะผ้าใหม่มันกระด้าง ยังไม่กระชับตัว เวลาเดินเสียงดังสวบสาบ ยิ่งใส่สังฆาฏิ ๒ ชั้นเข้าไปยิ่งดูอ้วนใหญ่ แต่เราก็ไม่เคยบ่น ใส่ไปได้สักปีสองปีน่ะแหละผ้าจึงอ่อนตัวลง ก็ได้อาศัยผ้าผืนนั้นมาเรื่อย ยังนึกถึงบุญคุณของท่านอยู่เสมอ เพราะท่านให้มาโดยที่เราไม่ได้ขอ เป็นบุญมาก ตั้งแต่ได้ผ้าผืนนั้นมาก็รู้สึกสบายกายสบายใจ มองดูการกระทำของตัวเอง ตั้งแต่อดีตมาถึงปัจจุบัน จนถึงอนาคต ทำให้นึกได้ว่ากรรมใดทำไปแล้วไม่ผิด ไม่ทำให้เดือดร้อน มีแต่ความสบายใจ กรรมนั้นดี มีความเห็นอยู่อย่างนั้น เห็นจริงตามนั้น ก็รู้สึกว่าชักเข้าท่า เลยเร่งการภาวนาเป็นการใหญ่ ไม่หยุดเลย ผ้าผืนนั้นนะ ใส่ขึ้นภูเจอเสือเหลืองผมว่ามันไม่กล้ากัดแน่ พอมันโฮกมาเจอก็จะงักจังงังไปเลย แต่ปัญหาใหญ่ในการปฏิบัติของหลวงพ่อในช่วงนี้ ก็ยังคงเป็นตัว “กามราคะ” นั่นเอง เมื่อธุดงค์ไปพักที่วัดบ้านต้อง จังหวัดนครพนมนั้น ท่านก็ต้องผจญมารคู่ปรับเก่าตัวนี้จนเกือบเสียท่า ต้องตัดสินใจเผ่นหนีกลางดึก เหตุก็เกิดเพราะแม่ม่ายสาวสวยแถมรวยทรัพย์คนหนึ่ง มาถวายจังหันทุกวัน ไม่ช้าไม่นานหลวงพ่อก็รู้สึกได้ว่า สีกาม่ายคนนี้คิดมิดีมิร้ายกับท่านเข้าเสียแล้ว ตัวท่านเองจิตใจก็ชักจะหวั่นไหว มารกับธรรมะสู้รบกันอยู่อย่างหนักหน่งภายในจิตใจ กระทั่งคืนวันหนึ่งเมื่อจิตของท่านคิดปรุงแต่งเรื่องของแม่ม่าย จนรู้สึกว่าจะไว้ใจตัวเองไม่ได้แล้ว ท่านก็เลยตัดสินใจเก็บบริขารในกลางดึกคืนนั้น แล้วก็เดินอย่างกระกวีกระวาดไปปลุกพ่อแก้ว “ไปมื่ออื่นบ่ได้บ่ขะน่อย” (ไปพรุ่งนี้ไม่ได้หรือครับ) พ่อแก้วกราบเรียนถามอย่างงัวเงีย “บ่ ฟ่าวไปเดี๋ยวนี้โลด” (ไม่ รีบไปเดี๋ยวนี้เลย) หลวงพ่อตอบหนักแน่นและเด็ดขาด หลังจากที่มาอยู่วัดหนองป่าพง และสยบมารร้ายตัวนี้ได้อย่างราบคาบแล้ว ครั้งหนึ่งเมื่อหลวงพ่อมีโอกาสได้ไปโปรดญาติโยมที่วัดบ้านต้อง ระหว่างปรารภถึงความหลัง ท่านก็เล่าถึงการปฏิบัติของตัวเองในสมัยก่อนให้ชาวบ้านฟังอย่างขำๆ ว่า “โอย! ยากหลายแนว แต่แนวที่มันยากนำอีหลีก็เรื่องแม่ออกนี่แหละ” (ยากหลายอย่าง แต่ที่ยากจริงๆ ก็เรื่องผู้หญิงนี่แหละ) เรื่องมันคงยากจริงๆ อย่างที่ท่านเล่าไว้ เพราะเมื่อไปจำพรรษากับท่านอาจารย์กินรีในปีเดียวกันนั้น กามราคะก็หวนกลับมาเล่นงานท่านใหม่ และยิ่งร้ายกว่าครั้งก่อนด้วยซ้ำ ขณะที่มีความเพียรปฏิบัติธรรมอย่างเคร่งครัด ในวาระหนึ่งกามราคะก็เข้ามารุมเร้าอย่างรุนแรง ไม่ว่าจะเดินจงกรม นั่งสมาธิ หรืออยู่ในอิริยาบถใดก็ตาม ปรากฏว่ามีอวัยวะเพศของผู้หญิงลอยปรากฏเต็มไปหมด เกิดความรู้สึกรุนแรงจนแทบทำความเพียรไม่ได้ ต้องอดทนต่อสู้กับความรู้สึกและนิมิตเหล่านั้นอย่างลำบากยากเย็น หลวงพ่อเล่าว่า ความรู้สึกต่อกามราคะในครั้งนั้นย่ำยีจิตใจรุนแรงพอๆ กับความกลัวที่เกิดขึ้นในคราวที่ไปอยู่ป่าช้าครั้งแรกนั่นเอง เดินจงกรมก็ไม่ได้ เพราะองค์กำเนิดถูกผ้าเข้าก็มีอาการไหวตัว ต้องให้เขาทำที่จงกรมในป่าทึบเพื่อเดินเฉพาะในเวลาค่ำมืดและเวลาเดินต้องถลกสบงพันเอวไว้ การต่อสู้กับกามราคะเป็นไปอย่างทรหดอดทน ขับเคี่ยวกันอยู่นานถึง ๑๐ วัน ความรู้สึกนิมิตเหล่านั้นจึงสงบและขาดหายไป เรื่องนี้หลวงพ่อได้เปิดเผยให้สานุศิษย์ทราบในภายหลัง ด้วยเห็นว่าเป็นคติธรรมที่ดี โดยเฉพาะแก่พระหนุ่มวัยฉกรรจ์ เพราะท่านเป็นพยานพิสูจน์ว่า กามราคะจะฮึกเหิมเท่าไร ผู้มีศรัทธายิ่งก็เอาชนะได้ ฉะนั้น ในปี พ.ศ.๒๕๑๑ เมื่อ ท่านพระอาจารย์มหาอมร เขมจิตฺโต ได้บันทึกชีวประวัติของหลวงพ่อตามคำบอกเล่าของท่านมาถึงตอนนี้ ก็รู้สึกไม่แน่ใจว่าสมควรจะเผยแผ่ต่อสาธารณชนหรือไม่ แต่หลวงพ่อก็ได้กำชับว่า “ต้องเอาลง ถ้าไม่เอาตอนนี้ลงในหนังสือด้วย ก็ไม่ต้องพิมพ์ประวัติเลย” เกี่ยวกับเรื่องสตรี หลวงพ่อท่านจะเข้มงวดเอากับลูกศิษย์ของท่านมาก เพราะเป็นที่ทราบกันดีว่า กามราคะ เป็นมารตัวสำคัญที่ทำให้พระต้องสึกหาลาเพศ เป็นอุปสรรคอันยิ่งใหญ่ต่อการประพฤติปฏิบัติ ในพระวินัยบัญญัติก็มีหลายสิกขาบทที่วางหลักไว้อย่างเข้มงวด เพื่อกำกับการติดต่อกับมาตุคาม ป้องกันความเสียหายที่อาจเกิดขึ้นก่อนที่จะสายเกินแก้ กามราคะก็เหมือนกับสุนัข ถ้าเอาข้าวเปล่าๆ ให้กินทุกวันๆ มันก็อ้วนอย่างหมูเหมือนกัน การปฏิบัตินั้นยากหลายอย่าง แต่ที่ยากจริงๆ ก็เรื่องผู้หญิงนี่แหละ ระวังนะ! อย่าให้งูเห่ามันฉก วันไหนมันแผ่แม่เบี้ยมากๆ ก็ให้ทำความเพียรให้มาก! หลวงพ่อเองก็ระวังตัวมาก ใต้ถุนกุฏิท่านซึ่งใช้เป็นที่รับแขกก็โล่ง ถ้ามีแขกผู้หญิงมา ต้องมีพระหรือเณร หรือโยมผู้ชายเป็นพยานรู้เห็นสิ่งที่หลวงพ่อสนทนากับผู้หญิงนั้นด้วย และท่านก็เตือนพระภิกษุสามเณรอยู่เสมอว่า “ระวังเถอะผู้หญิง อย่าไปใกล้มัน ไม่ใช่ใกล้ไม่ใช่ไกล แค่สายตาไปผ่านพริบเท่านั้นแหละ มันเป็นพิษเลย” หลวงพ่อท่านกล่าวอธิบายพุทธพจน์เกี่ยวกับเรื่องที่พระอานนท์ถามพระพุทธเจ้า ในเรื่องการติดต่อกับผู้หญิงว่า ไม่ให้เห็นดีกว่า ถ้าเหตุจะต้องเห็นมีอยู่ ก็ไม่ต้องพูดด้วย เหตุจะต้องพูดมีอยู่จะทำยังไง ต้องมีสติให้มาก นี่คือการปฏิบัติต่อสตรีเพศ ปีที่หลวงพ่อจำพรรษาที่วัดป่าหนองฮีนั้น ไม่ใช่ว่าแต่เรื่องดุเดือดวุ่นวายอย่างเดียว ตรงกันข้าม... คืนวันหนึ่งหลังจากทำความเพียรแล้ว หลวงพ่อคิดจะพักผ่อนบนกุฏิเล็กๆ เอนกายลงศรีษะถึงหมอนกำหนดสติ พอเคลิ้มไปเกิดนิมิตขึ้นว่า “หลวงปู่มั่น ภูริทตฺโต” ได้มาอยู่ใกล้ๆ นำแก้วลูกหนึ่งมายื่นให้แล้วพูดว่า “ชา...เราขอมอบลูกแก้วนี้แก่ท่าน มันมีรัศมีสว่างไสวมากนะ” หลวงพ่อได้ยื่นมือขวาออกไป รับแก้วลูกนั้นกับมือของท่าน พร้อมกับลุกขึ้นนั่ง พอรู้สึกตัวก็เห็นตัวเองยังกำมือและอยู่ในท่านั่งตามปกติ มีอาการคิดค้นธรรมะเพื่อความรู้เกี่ยวกับการปฏิบัติมีสติปลื้มใจตลอดพรรษา

    f5YNTyZJ2p5pHn0Iv6T_5L3KVZe6xbCuzkR8p_1ZN4q8pdPXu0khA_ll=s500-c-fcrop64=1,00000289ffffffff-nd-v1.jpg
    :--> https://www.youtube.com/@user-gd3yg1bk4w/community
     
  3. supatorn

    supatorn ผู้สนับสนุนเว็บพลังจิต ผู้สนับสนุนพิเศษ

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 กรกฎาคม 2010
    โพสต์:
    48,345
    กระทู้เรื่องเด่น:
    169
    ค่าพลัง:
    +33,049
  4. supatorn

    supatorn ผู้สนับสนุนเว็บพลังจิต ผู้สนับสนุนพิเศษ

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 กรกฎาคม 2010
    โพสต์:
    48,345
    กระทู้เรื่องเด่น:
    169
    ค่าพลัง:
    +33,049
    คำสอนหลวงพ่อชา สุภัทโท ตอน อยู่เพื่ออะไรและธรรมะปฏิสันถาร

    Dhamma library ห้องสมุดธรรมะ
    Mar 30, 2019
     
  5. supatorn

    supatorn ผู้สนับสนุนเว็บพลังจิต ผู้สนับสนุนพิเศษ

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 กรกฎาคม 2010
    โพสต์:
    48,345
    กระทู้เรื่องเด่น:
    169
    ค่าพลัง:
    +33,049
  6. supatorn

    supatorn ผู้สนับสนุนเว็บพลังจิต ผู้สนับสนุนพิเศษ

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 กรกฎาคม 2010
    โพสต์:
    48,345
    กระทู้เรื่องเด่น:
    169
    ค่าพลัง:
    +33,049
    โลกนี้คือสิ่งสมมุติ (หลวงพ่อชา สุภัทโท)

    Sam อดินันท์
    Jul 19, 2022



     
  7. supatorn

    supatorn ผู้สนับสนุนเว็บพลังจิต ผู้สนับสนุนพิเศษ

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 กรกฎาคม 2010
    โพสต์:
    48,345
    กระทู้เรื่องเด่น:
    169
    ค่าพลัง:
    +33,049
  8. supatorn

    supatorn ผู้สนับสนุนเว็บพลังจิต ผู้สนับสนุนพิเศษ

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 กรกฎาคม 2010
    โพสต์:
    48,345
    กระทู้เรื่องเด่น:
    169
    ค่าพลัง:
    +33,049
    "กุญแจภาวนา" หลวงปู่ชา สุภทฺโท (วัดหนองป่าพง) Full : หลักปฏิบัติธรรม กรรมฐาน สมถะ วิปัสสนา

    โจโฉ เสียงธรรม Official
    55,218 views Mar 23, 2023

     
  9. supatorn

    supatorn ผู้สนับสนุนเว็บพลังจิต ผู้สนับสนุนพิเศษ

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 กรกฎาคม 2010
    โพสต์:
    48,345
    กระทู้เรื่องเด่น:
    169
    ค่าพลัง:
    +33,049
  10. supatorn

    supatorn ผู้สนับสนุนเว็บพลังจิต ผู้สนับสนุนพิเศษ

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 กรกฎาคม 2010
    โพสต์:
    48,345
    กระทู้เรื่องเด่น:
    169
    ค่าพลัง:
    +33,049
  11. supatorn

    supatorn ผู้สนับสนุนเว็บพลังจิต ผู้สนับสนุนพิเศษ

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 กรกฎาคม 2010
    โพสต์:
    48,345
    กระทู้เรื่องเด่น:
    169
    ค่าพลัง:
    +33,049
    "ตามดูจิต" : หลวงปู่ชา สุภทฺโท Full || วิธีทำกรรมฐาน สมถะ วิปัสสนา || (หลักสำคัญ-หัวใจพุทธศาสน์)

    โจโฉ เสียงธรรม Official
    Mar 27, 2023
     
  12. supatorn

    supatorn ผู้สนับสนุนเว็บพลังจิต ผู้สนับสนุนพิเศษ

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 กรกฎาคม 2010
    โพสต์:
    48,345
    กระทู้เรื่องเด่น:
    169
    ค่าพลัง:
    +33,049
    หลวงปู่ชา116 ชีวิตแต่งงานครอบครัวภาษาอีสาน

    JchaiJane
    Oct 30, 2012
     
  13. supatorn

    supatorn ผู้สนับสนุนเว็บพลังจิต ผู้สนับสนุนพิเศษ

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 กรกฎาคม 2010
    โพสต์:
    48,345
    กระทู้เรื่องเด่น:
    169
    ค่าพลัง:
    +33,049
    002 - ผู้เป็นใหญ่ในการรักษาจิต (ภาษาอีสาน) - หลวงพ่อชา สุภัทโท

    เสรี ลพยิ้ม
    Aug 6, 2015
     
  14. supatorn

    supatorn ผู้สนับสนุนเว็บพลังจิต ผู้สนับสนุนพิเศษ

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 กรกฎาคม 2010
    โพสต์:
    48,345
    กระทู้เรื่องเด่น:
    169
    ค่าพลัง:
    +33,049
  15. supatorn

    supatorn ผู้สนับสนุนเว็บพลังจิต ผู้สนับสนุนพิเศษ

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 กรกฎาคม 2010
    โพสต์:
    48,345
    กระทู้เรื่องเด่น:
    169
    ค่าพลัง:
    +33,049
    สมาธิ เอาสติตามดูจิต ให้รู้ทันจิต : หลวงพ่อชา สุภัทโท #44

    ITIPISO : Dhamma & Souns
    May 25, 2023
     
  16. supatorn

    supatorn ผู้สนับสนุนเว็บพลังจิต ผู้สนับสนุนพิเศษ

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 กรกฎาคม 2010
    โพสต์:
    48,345
    กระทู้เรื่องเด่น:
    169
    ค่าพลัง:
    +33,049
  17. supatorn

    supatorn ผู้สนับสนุนเว็บพลังจิต ผู้สนับสนุนพิเศษ

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 กรกฎาคม 2010
    โพสต์:
    48,345
    กระทู้เรื่องเด่น:
    169
    ค่าพลัง:
    +33,049
    044 - ข้อคิดสำหรับนักบวช (ภาษาอีสาน) - หลวงพ่อชา สุภัทโท


    เสรี ลพยิ้ม
    Aug 11, 2015
     
  18. supatorn

    supatorn ผู้สนับสนุนเว็บพลังจิต ผู้สนับสนุนพิเศษ

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 กรกฎาคม 2010
    โพสต์:
    48,345
    กระทู้เรื่องเด่น:
    169
    ค่าพลัง:
    +33,049
    หลวงพ่อชา สุภัทโท - 043 - สัมมามรรค - มิจฉามรรค (ภาษาอีสาน)

    เสรี ลพยิ้ม
    Oct 6, 2014
     
  19. supatorn

    supatorn ผู้สนับสนุนเว็บพลังจิต ผู้สนับสนุนพิเศษ

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 กรกฎาคม 2010
    โพสต์:
    48,345
    กระทู้เรื่องเด่น:
    169
    ค่าพลัง:
    +33,049
    สุขมีวิบากเป็นทุกข์ ทุกข์มีวิบากเป็นสุข : หลวงปู่ชา สุภัทโท #47

    ITIPISO : Dhamma & Souns
    May 31, 2023
    กิเลสทั้ง ๓ ตระกูลนี้ จะบังคับให้สัตว์สร้างกรรมชั่วขึ้นมาใน ๓ ทาง คือ ทางกาย วาจา และใจ ตรงข้ามกับฝ่ายกุศลหรือฝ่ายบุญ ที่จะคอยบังคับให้เราสร้างกรรมดี มี ๓ ตระกูลเช่นกัน คือ

    ๑. อโลภะ (ความไม่โลภ)
    ๒. อโทสะ (ความไม่โกรธ)
    ๓. อโมหะ (ความไม่หลง)
    เมื่อสัตว์ทำกรรมลงไปแล้ว ผลที่ได้จากการทำ ก็คือ วิบาก แบ่งได้ ๒ ลักษณะ คือ
    ๑. วิบากที่เป็นกุศล หมายถึงผลที่เกิดขึ้นจากการทำกรรมดี และวิบากนี้ก็จะให้ผลเป็นความสุข ความสบายทั้งในโลกนี้ คือ มีชีวิตที่ดี มีความสุข และทั้งในโลกหน้า คือสุคติภูมิ เช่น การได้ไปเกิดบนสวรรค์และพรหมโลก เป็นต้น ๒. วิบากที่เป็นอกุศล หมายถึงผลที่เกิดขึ้นจากการทำกรรมชั่ว และวิบากนี้ก็จะให้ผลเป็นความทุกข์ยาก ลำบากทั้งในโลกนี้ คือ มีชีวิตที่ตกต่ำ ลำบาก และทั้งในโลกหน้า คือ ประสบความทุกข์ทรมานในทุคติภูมิ เช่น การไปเกิดเป็นสัตว์นรก เปรต อสุรกาย และสัตว์เดรัจฉาน เป็นต้น
     
  20. supatorn

    supatorn ผู้สนับสนุนเว็บพลังจิต ผู้สนับสนุนพิเศษ

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 กรกฎาคม 2010
    โพสต์:
    48,345
    กระทู้เรื่องเด่น:
    169
    ค่าพลัง:
    +33,049
    ชีวิตนี้มีน้อย อย่าประมาท หลวงพ่อชา สุภัทโท

    ธรรมะ วัดป่า
    Nov 5, 2021
     

แชร์หน้านี้

Loading...