ขอเชิญร่วมทำบุญสงเคราะห์พระภิกษุสงฆ์อาพาธ

ในห้อง 'ตลาด พระเครื่องเพื่อการกุศล' ตั้งกระทู้โดย พันวฤทธิ์, 29 พฤศจิกายน 2007.

  1. พันวฤทธิ์

    พันวฤทธิ์ เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    3,783
    ค่าพลัง:
    +16,097
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD align=right width="87%"> </TD></TR></TBODY></TABLE><LINK href="../frontnews/StyleSheet/News.css" type=text/css rel=stylesheet><SCRIPT language=JavaScript type=text/javascript><!--// bbCode control by// subBlue design// www.subBlue.com// Startup variablesvar imageTag = false;var theSelection = false;// Check for Browser & Platform for PC & IE specific bits// More details from: http://www.mozilla.org/docs/web-developer/sniffer/browser_type.htmlvar clientPC = navigator.userAgent.toLowerCase(); // Get client infovar clientVer = parseInt(navigator.appVersion); // Get browser versionvar is_ie = ((clientPC.indexOf("msie") != -1) && (clientPC.indexOf("opera") == -1));var is_nav = ((clientPC.indexOf('mozilla')!=-1) && (clientPC.indexOf('spoofer')==-1) && (clientPC.indexOf('compatible') == -1) && (clientPC.indexOf('opera')==-1) && (clientPC.indexOf('webtv')==-1) && (clientPC.indexOf('hotjava')==-1));var is_moz = 0;var is_win = ((clientPC.indexOf("win")!=-1) || (clientPC.indexOf("16bit") != -1));var is_mac = (clientPC.indexOf("mac")!=-1);// Helpline messagesb_help = "ทำตัวหนา: ข้อความตัวหนา (alt+b)";i_help = "ทำตัวเอียง: ข้อความตัวเอียง (alt+i)";u_help = "ขีดเส้นใต้: ข้อความขีดเส้นใต้ (alt+u)";q_help = "อ้างอิงข้อความ:
    (alt+q)";c_help = "Code:
    Code:
    ข้อความแบบ Code
    (alt+c)";l_help = "รายการ:
    • ข้อความแบบรายการ
    (alt+l)";o_help = "ลำดับรายการ:
    • ข้อความแบบลำดับรายการ
    (alt+o)";p_help = "แทรกรูปภาพ: [​IMG] (alt+p)";w_help = "แทรก URL: http://url หรือ ข้อความแสดง (alt+w)";a_help = "พยายามปิดท้ายทุกคำสั่ง BBCode ให้โดยอัตโนมัติ (ยกเว้นการทำสีและขนาดตัวอักษร)";s_help = "ทำสีตัวอักษร: ข้อความสีแดง หรือจะใช้ color=#FF0000 ก็ได้";f_help = "กำหนดขนาดตัวอักษร: [size=x-small]ข้อความที่จะกำหนดขนาด[/size]";// Define the bbCode tagsbbcode = new Array();bbtags = new Array('','','','','','','
    ','
    Code:
    ','
    ','
    • ','
    ','
    • ','
    ','[​IMG]','','');imageTag = false;// Shows the help messages in the helpline windowfunction helpline(help) { document.all.helpbox.value = eval(help + "_help");}// Replacement for arrayname.length propertyfunction getarraysize(thearray) { for (i = 0; i < thearray.length; i++) { if ((thearray == "undefined") || (thearray == "") || (thearray == null)) return i; } return thearray.length;}// Replacement for arrayname.push(value) not implemented in IE until version 5.5// Appends element to the arrayfunction arraypush(thearray,value) { thearray[ getarraysize(thearray) ] = value;}// Replacement for arrayname.pop() not implemented in IE until version 5.5// Removes and returns the last element of an arrayfunction arraypop(thearray) { thearraysize = getarraysize(thearray); retval = thearray[thearraysize - 1]; delete thearray[thearraysize - 1]; return retval;}function checkForm() { formErrors = false; if (document.all.UcNewsView_txtPost.value.length < 2) { formErrors = "คุณต้องพิมพ์ข้อความด้วย"; } if (formErrors) { alert(formErrors); return false; } else { bbstyle(-1); //formObj.preview.disabled = true; //formObj.submit.disabled = true; return true; }}function emoticon(text) { var txtarea = document.all.UcNewsView_txtPost; text = ' ' + text + ' '; if (txtarea.createTextRange && txtarea.caretPos) { var caretPos = txtarea.caretPos; caretPos.text = caretPos.text.charAt(caretPos.text.length - 1) == ' ' ? caretPos.text + text + ' ' : caretPos.text + text; txtarea.focus(); } else { txtarea.value += text; txtarea.focus(); }}function bbfontstyle(bbopen, bbclose) { var txtarea = document.all.UcNewsView_txtPost; if ((clientVer >= 4) && is_ie && is_win) { theSelection = document.selection.createRange().text; if (!theSelection) { txtarea.value += bbopen + bbclose; txtarea.focus(); return; } document.selection.createRange().text = bbopen + theSelection + bbclose; txtarea.focus(); return; } else if (txtarea.selectionEnd && (txtarea.selectionEnd - txtarea.selectionStart > 0)) { mozWrap(txtarea, bbopen, bbclose); return; } else { txtarea.value += bbopen + bbclose; txtarea.focus(); } storeCaret(txtarea);}function bbstyle(bbnumber) { var txtarea = document.all.UcNewsView_txtPost; txtarea.focus(); donotinsert = false; theSelection = false; bblast = 0; if (bbnumber == -1) { // Close all open tags & default button names while (bbcode[0]) { butnumber = arraypop(bbcode) - 1; txtarea.value += bbtags[butnumber + 1]; buttext = eval('document.all.addbbcode' + butnumber + '.value'); eval('document.all.addbbcode' + butnumber + '.value ="' + buttext.substr(0,(buttext.length - 1)) + '"'); } imageTag = false; // All tags are closed including image tags :D txtarea.focus(); return; } if ((clientVer >= 4) && is_ie && is_win) { theSelection = document.selection.createRange().text; // Get text selection if (theSelection) { // Add tags around selection document.selection.createRange().text = bbtags[bbnumber] + theSelection + bbtags[bbnumber+1]; txtarea.focus(); theSelection = ''; return; } } else if (txtarea.selectionEnd && (txtarea.selectionEnd - txtarea.selectionStart > 0)) { mozWrap(txtarea, bbtags[bbnumber], bbtags[bbnumber+1]); return; } // Find last occurance of an open tag the same as the one just clicked for (i = 0; i < bbcode.length; i++) { if (bbcode == bbnumber+1) { bblast = i; donotinsert = true; } } if (donotinsert) { // Close all open tags up to the one just clicked & default button names while (bbcode[bblast]) { butnumber = arraypop(bbcode) - 1; txtarea.value += bbtags[butnumber + 1]; buttext = eval('document.all.addbbcode' + butnumber + '.value'); eval('document.all.addbbcode' + butnumber + '.value ="' + buttext.substr(0,(buttext.length - 1)) + '"'); imageTag = false; } txtarea.focus(); return; } else { // Open tags if (imageTag && (bbnumber != 14)) { // Close image tag before adding another txtarea.value += bbtags[15]; lastValue = arraypop(bbcode) - 1; // Remove the close image tag from the list document.all.addbbcode14.value = "Img"; // Return button back to normal state imageTag = false; } // Open tag txtarea.value += bbtags[bbnumber]; if ((bbnumber == 14) && (imageTag == false)) imageTag = 1; // Check to stop additional tags after an unclosed image tag arraypush(bbcode,bbnumber+1); eval('document.all.addbbcode'+bbnumber+'.value += "*"'); txtarea.focus(); return; } storeCaret(txtarea);}// From http://www.massless.org/mozedit/function mozWrap(txtarea, open, close){ var selLength = txtarea.textLength; var selStart = txtarea.selectionStart; var selEnd = txtarea.selectionEnd; if (selEnd == 1 || selEnd == 2) selEnd = selLength; var s1 = (txtarea.value).substring(0,selStart); var s2 = (txtarea.value).substring(selStart, selEnd) var s3 = (txtarea.value).substring(selEnd, selLength); txtarea.value = s1 + open + s2 + close + s3; return;}// Insert at Claret position. Code from// http://www.faqts.com/knowledge_base/view.phtml/aid/1052/fid/130function storeCaret(textEl) { if (textEl.createTextRange) textEl.caretPos = document.selection.createRange().duplicate();}//--></SCRIPT><TABLE id=tbDisplay cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD style="PADDING-LEFT: 8px; padding-rigth: 8px"></TD></TR><TR><TD style="PADDING-LEFT: 8px; padding-rigth: 8px"><TABLE id=UcNewsView_tbNewsTypeII cellSpacing=0 cellPadding=0 width="97%" align=center border=0><TBODY><TR><TD></TD></TR><TR><TD vAlign=top align=left><TABLE id=Table7 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="97%" align=center border=0><TBODY><TR><TD>มารศาสนา


    มารศาสนา
    โดย ท.เลียงพิบูลย์

    จากหนังสือกฎแห่งกรรม
    ทำดีได้ดี ทำชั่วได้ชั่ว เล่ม ๑


    วันหนึ่ง ข้าพเจ้าได้รับโทรศัพท์จากเพื่อนรุ่นพี่จากฝั่งธนบุรี บอกว่าอยากจะให้ไปพบกับเรื่องที่ประหลาดมหัศจรรย์ ด้วยมีนายทหารผู้ใหญ่ท่านหนึ่ง มีความประสงค์จะให้ข้าพเจ้าไปพบกับ
     
  2. MEA

    MEA เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 ธันวาคม 2006
    โพสต์:
    150
    ค่าพลัง:
    +660
    วันนี้ 6/6/2551 เวลา 17.06น.โอนเงินผ่าน ATMกรุงไทย ร่วมทำบุญสงเคราะห์พระภิกษุสงฆ์อาพาธ จำนวน 300 บาท ขอโมทนาบุญด้วยครับ
     
  3. นายสติ

    นายสติ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    24 มีนาคม 2007
    โพสต์:
    911
    ค่าพลัง:
    +4,285
    กราบขอบพระคุณและโมทนาบุญกับทุกๆท่านนะครับที่ได้ร่วมกันเสียสละและบริจาคเงินมาร่วมทำบุญกับทางทุนนิธิสงเคราะห์สงฆ์อาพาธ อ.ประถม
    โมทนา สาธุ โมทนา สาธุ โมทนา สาธุ

    เมื่อวานนี้(6 พ.ค. 2551) ผมได้ส่งเงินที่มีผู้บริจาคผ่านมาทางผมเข้าบัญชีของทุนนิธิเรียบร้อยแล้วดังมีรายละเอียดดังนี้ครับ

    คณะทำบุญ 25 พ.ค. 51
    คุณ วันทนีย์ ตั้งกมลสถาพร 120 บาท
    คุณ ชุติกาญจน์ ดูยอดรัมย์+
    เรียงศักดิ์ ประสารโชค 100 บาท
    คุณ จารุวรรณ จันทรตำรา 40 บาท
    คุณ ทรรศนีย์ รณศิริ 40 บาท
    ไม่ทราบนาม 800 บาท

    คุณ ควน - ซุ่นย้ง แซ่ยัง และบุตร-ธิดา-เพื่อน 340 บาท
    คุณ สมยศ ฉันทเตยานนท์และครอบครัว 300 บาท

    โมทนา สาธุ โมทนา สาธุ โมทนา สาธุ
     
  4. พันวฤทธิ์

    พันวฤทธิ์ เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    3,783
    ค่าพลัง:
    +16,097
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD><TABLE borderColor=white cellSpacing=0 cellPadding=3 width="100%" border=2><TBODY><TR><TD><TABLE cellSpacing=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top><!--Last Update : 11 มีนาคม 2551 10:25:24 น.-->พระพุทธประวัติ ตอนที่ ๑๒ : ทรงประลองศิลปศาสตร์
    <!-- Main -->[SIZE=-1]พระพุทธประวัติ ตอนที่ 12 : ทรงประลองศิลปศาสตร์

    ทรงประลองศิลปศาสตร์ยกศรอันหนัก
    ดีดสายศรเสียงสนั่นกระหึ่มเมือง

    พอเจ้าชายสิทธัตถะทรงมีพระชนมายุพอสมควรแล้ว พระราชบิดาจึงทรงส่งไปศึกษาศิลปวิทยา ที่สำนักครูที่มีชื่อว่า 'วิศวามิตร' เจ้าชายทรงศึกษาการใช้อาวุธยิงธนู และการปกครองได้ว่องไวจนสิ้นความรู้ของอาจารย์

    เมื่อเจ้าชายสิทธัตถะทรงมีพระชนมายุได้ ๑๖ พรรษา พระราชบิดาได้ตรัสสั่งให้สร้างปราสาท ๓ ฤดู เป็นจำนวน ๓ หลัง ให้พระโอรสประทับเป็นที่สำราญพระทัย ปราสาทหลังที่หนึ่งเหมาะสำหรับประทับในฤดูหนาว หลังที่สอง สำหรับฤดูร้อน ทั้งสองหลังนี้จะมีอะไรเป็นเครื่องควบคุมอุณหภูมิไม่ทราบได้ และหลังที่สามสำหรับประทับในฤดูฝน

    [​IMG]

    หลังจากนั้น พระราชบิดาได้ทรงแจ้งไปยังพระญาติวงศ์ทั้งสองฝ่าย คือฝ่ายพระมารดาและฝ่ายพระบิดา ให้จัดส่งพระราชธิดามาเพื่อคัดเลือกสตรีผู้สมควรจะอภิเษกสมรสกับเจ้าชาย ทั้งนี้เพราะพระราชบิดาทรงต้องการจะผูกมัด พระราชโอรสให้เสด็จอยู่ครองราชสมบัติมากกว่าที่จะให้เสด็จออกทรงผนวช
    แต่พระญาติทั้งปวงเห็นว่า ควรจะให้เจ้าชายได้แสดงความสามารถในศิลปศาสตร์ที่ทรงเล่าเรียนมา ให้เป็นที่ประจักษ์แก่หมูพระญาติก่อน พระราชบิดาจึงอัญเชิญพระญาติวงศ์มาประชุมกันที่หน้าพระมณฑลที่ปลูกสร้างขึ้นใหม่ ณ ใจกลางเมือง เพื่อชมเจ้าชายแสดงการยิงธนู

    ธนูที่เจ้าชายยิงมีชื่อว่า 'สหัสถามธนู' แปลว่า ธนูที่มีน้ำหนักขนาดที่คนจำนวนหนึ่งพันคนจึงจะยกขึ้นได้ แต่เจ้าชายทรงยกธนูนั้นขึ้นได้ ปฐมสมโพธิให้คำอุปมาว่า 'ดังสตรีอันยกขึ้นซึ่งไม้กงดีดฝ้าย' บรรดาพระญาติวงศ์ทั้งปวงได้เห็นแล้ว ต่างชื่นชมยิ่งนัก แล้วเจ้าชายทรงลองดีดสายธนูก่อนยิง เสียงสายธนูดังกระหึ่มครึ้มครางไปทั้งกรุงกบิลพัสดุ์ จนคนทั้งเมือง ที่ไม่รู้และไม่ได้มาชมเจ้าชายทรงยิงธนู ต่างถามกันว่านั่นเสียงอะไร

    [​IMG]

    เป้าที่เจ้าชายยิงธนูในวันนั้น คือ ขนหางทรายจามรีที่วางไว้ในระยะหนึ่งโยชน์ ปรากฏว่าเจ้าชายทรงยิง ถูกขาดตรงกลางพอดี ทั้งนี้ท่านว่า 'ด้วยพระเนตรอันผ่องใสพร้อมด้วยประสาททั้ง ๕ อันบริสุทธิ์อันปราศจากมลทิน' พระญาติวงศ์ ทั้งปวงจึงยอมถวายพระราชธิดา ซึ่งมีพระนางพิมพายโสธรารวมอยู่ด้วย เพื่อคัดเลือกเป็นพระชายา
    [/SIZE]
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>
    </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD><TABLE borderColor=white cellSpacing=0 cellPadding=3 width="100%" border=2><TBODY><TR><TD><TABLE cellSpacing=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top><!--Last Update : 11 มีนาคม 2551 10:25:24 น.-->[SIZE=-1][/SIZE]
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  5. พันวฤทธิ์

    พันวฤทธิ์ เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    3,783
    ค่าพลัง:
    +16,097
    นิทานธรรมะสอนศิลปะการใช้ชีวิต
    <!-- Main -->[SIZE=-1]นิทานธรรมะสอนศิลปะการใช้ชีวิต : พระมหาวีระพันธ์ ชุติปัญโญ





    ชีวิตของคนเราล้วนมีปัญหาเกิดขึ้นและต้องเรียนรู้ที่จะแก้ไขเรื่องที่คาใจนั้นให้ได้อยู่ตลอดเวลา อาจเป็นปัญหาที่เล็กน้อย กระทั่งเป็นปัญหาที่ใหญ่ขึ้น แต่เราผู้เกี่ยวข้องกับปัญหาก็ควรรู้จักเกี่ยวข้องอย่างผู้รู้จักปล่อยวางและเข้าใจ แม้จะไม่สามารถละวางได้ทั้งหมดก็ตาม แต่ก็ควรรู้จักวางใจให้เกี่ยวข้องกับสิ่งที่เกิดขึ้นด้วยความรู้เท่าทัน แล้วปัญหาที่มีอยู่ย่อมมีทางคลี่คลายลงได้ในสักวัน



    การสอนให้ผู้อื่นให้ทำตาม ไม่ควรสอนในขณะที่ตัวเองมีความโกรธและเต็มไปด้วยอารมณ์ฉุนเฉียว แต่ควรสอนในขณะที่สติปัญญามีอยู่อย่างบริบูรณ์ และควรสอนด้วยความปรารถนาดีที่มาจากใจ เพราะหากสอนโดยการใช้อารมณ์ ผู้ถูกสอนจะไม่จำคำสอนที่ถูกว่ากล่าวตักเตือน แต่เขาจะจดจำใบหน้าที่ดุร้ายและกิริยาที่แสดงความเกรี้ยวกราดของผู้สอน นั่นถือว่าเป็นความทรงจำที่เลวร้ายของผู้ถูกสอนตราบนานเท่านาน



    คำพูดที่คนเราเปล่งออกมาแต่ละครั้ง ถือว่าเป็นพลังงานของการเปลี่ยนแปลงไปสู่ภาวะใหม่เสมอ อาจเป็นไปในทางที่ดีหรือเลวร้ายก็อยู่ที่เราผู้ออกคำสั่งเป็นหลัก ด้วยเหตุที่คำพูดล้วนมาจากใจเป็นผู้กรองข้อมูลของถ้อยคำ ปราชญ์จึงเตือนให้รู้จักคิดเสียก่อนแล้วจึงค่อยพูด เพราะเมื่อเปล่งวาจาออกไปแล้ว นั่นคือจุดเริ่มต้นของการเปลี่ยนแปลงที่เราไม่อาจคาดเดาได้ว่าจะเกิดอะไรก็ตามมา สุนทรภู่ กวีเอกแห่งแผ่นดินสยามจึงกล่าวให้ข้อคิดเกี่ยวกับการพูดไว้ว่า
     
  6. พันวฤทธิ์

    พันวฤทธิ์ เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    3,783
    ค่าพลัง:
    +16,097
    ใช้หนี้ พ่อ แม่
    <!-- Main -->[SIZE=-1]วิธีใช้หนี้พ่อแม่[/SIZE]

    [SIZE=-1]ไม่ยากเลย [/SIZE]

    [SIZE=-1]จงสร้างความดีให้กับตัวเอง และนี่ก็เป็นการใช้หนี้ตัวเอง [/SIZE]

    [SIZE=-1]ตัวเราพ่อให้หัวใจ แม่ให้น้ำเลือดน้ำเหลืองอยู่ในตัวแล้ว [/SIZE]

    [SIZE=-1]จะไปแสวงหาพ่อที่ไหน จะไปแสวงหาแม่ที่ไหน [/SIZE]

    [SIZE=-1]บางคนรังเกียจแม่ว่าแก่เฒ่าไม่สวยไม่งาม[/SIZE]

    [SIZE=-1]พอตัวเองแก่ก็เลยถูกลูกหลานรังเกียจ[/SIZE]

    [SIZE=-1]จึงเป็นกงกรรมกงเกวียนยืดเยื้อกันต่อไปอีก[/SIZE]



    [SIZE=-1]ใครที่คุณแม่ล่วงลับไปแล้ว [/SIZE]

    [SIZE=-1]ก็ให้หมั่นทำบุญอุทิศส่วนกุศลไปให้ท่าน [/SIZE]

    [SIZE=-1]และถ้าจะทำบุญด้วยการเจริญกรรมฐาน[/SIZE]

    [SIZE=-1]แล้วอุทิศส่วนกุศลไปการทำเช่นนี้ถือว่าได้บุญมากที่สุด[/SIZE]

    [SIZE=-1]ทั้งฝ่ายผู้ให้และผู้รับผู้ใดก็ตาม ที่คุณแม่ยังมีชีวิตอยู่ [/SIZE]

    [SIZE=-1]ก็ให้กลับไปหาแม่ ไปกราบเท้าขอพรจากท่าน[/SIZE]

    [SIZE=-1]จะได้มั่งมีศรีสุขส่วนคนที่เคยทำไม่ดีไว้กับท่าน[/SIZE]

    [SIZE=-1]ก็นำเทียนแพไปกราบขออโหสิกรรม ล้างเท้าให้ท่านด้วย[/SIZE]
    [SIZE=-1]เป็นการขอขมาลาโทษ ฯ [/SIZE]



    [SIZE=-1]ขอฝากท่านไว้ไปสอนลูกหลาน [/SIZE]

    [SIZE=-1]อย่าคิดไม่ดีกับพ่อแม่เลย [/SIZE]

    [SIZE=-1]ไม่ต้องถึงกับฆ่าหรอก [/SIZE]

    [SIZE=-1]แค่คิดว่าพ่อแม่เราไม่ดี [/SIZE]

    [SIZE=-1]จะทำมาหากินไม่ขึ้น เจ๊ง [/SIZE]

    [SIZE=-1]ท่านต้องแก้ปัญหาก่อน[/SIZE]

    [SIZE=-1]คือ ถอนคำพูด ไปขอสมาลาโทษเสีย[/SIZE]

    [SIZE=-1]แล้วมาเจริญกรรมฐานรับรองสำเร็จแน่[/SIZE]

    [SIZE=-1]มรรคผลเกิดแน่ฯ [/SIZE]

    [SIZE=-1]****************************[/SIZE]



    [SIZE=-1]ที่มา:โดย พระราชสุทธิญาณมงคล[/SIZE]

    สาธุ พ่อแม่คือพรหมของลูก พ่อแม่คือเนื้อนาบุญของลูก และถ้าไม่มีพ่อไม่มีแม่ ก็ไม่มีตัวเราจนถึงทุกวันนี้......เนื้อนาบุญอื่นยิ่งกว่าพ่อแม่นั้นไม่มี.....

    พันวฤทธิ์
    7/6/51


    ขอขอบคุณ
    http://www.bloggang.com/mainblog.php?id=mydaddymom&month=05-06-2008&group=4&gblog=1
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 7 มิถุนายน 2008
  7. พันวฤทธิ์

    พันวฤทธิ์ เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    3,783
    ค่าพลัง:
    +16,097
    รักอย่างไร ไม่หมดอายุ
    <!-- Main -->[SIZE=-1]<TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" align=center border=0><TBODY><TR><TD style="WIDTH: 18px; HEIGHT: 18px" vAlign=bottom align=middle></TD><TD vAlign=bottom align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" background=http://i194.photobucket.com/albums/z118/bondslozo/table/table-8/table-A-blue2.gif border=0><TBODY><TR><TD>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD style="WIDTH: 18px; HEIGHT: 18px" vAlign=bottom align=middle>[​IMG]</TD></TR><TR><TD target="_blank" table-A-blue8.gif);? table-8 table bondslozo z118 albums i194.photobucket.com http:></TD><TD style="BACKGROUND-COLOR: #ffffff" vAlign=center align=middle>[/SIZE]


    [SIZE=-1][​IMG][/SIZE]

    [SIZE=-1]รักอย่างไร ไม่หมดอายุ [/SIZE]
    [SIZE=-1]ขอบคุณที่มา โดย ขวัญเจ้าเอย [/SIZE]

    [SIZE=-1]หลายเดือนก่อนมีโอกาสชมภาพยนตร์เรื่องหนึ่งและสะดุดกับคำพูดของตัวละครจนอดที่จะคิดและตั้งคำถามตามไปด้วยไม่ได้เพราะเขาเปรียบเทียบความรักกับอาหารกระป๋องต่างที่อาหารกระป๋องบอกวันหมดอายุไว้อย่างชัดเจนแต่ความรัก...ไม่ คุณล่ะคะ คิดว่าความรักหมดอายุได้มั้ย? [/SIZE]


    [SIZE=-1]ตัวเร่ง...รักหมดอายุ [/SIZE]


    [SIZE=-1]ตอนรักกันใหม่ๆ หรือเพิ่งแต่งงานสร้างครอบครัวในช่วงแรกๆ ปัญหาร้อยแปดคงจะดูเป็นเรื่องเล็กน้อย เพราะหนักนิดเบาหน่อยต่างฝ่ายก็พร้อมที่จะเข้าใจ ให้อภัย และพยายามปรับตัวเข้าหากันสุดฤทธิ์ มองอะไรก็สวยงาม แต่เมื่อเวลาผ่านไป สิ่งน้อยนิดที่ไม่เคยคิดจะใหญ่โตก็อาจกลับกลายเป็นเรื่องขึ้นมาได้ซะงั้น [/SIZE]


    [SIZE=-1]หลายคู่สามารถแก้ไขฟันฝ่าปัญหาและอยู่ด้วยกันต่อไปได้ในขณะที่อีกหลายคู่ต้องลงเอยด้วยการหย่าร้างแยกทาง ด้วยไม่สามารถยืดอายุให้รักได้อีกต่อไป [/SIZE]


    [SIZE=-1]ดิฉันลองตั้งคำถามกับคุณพ่อคุณแม่หลายๆ ท่านว่า รักหมดอายุได้มั้ย คำตอบมีทั้งได้และไม่ได้ ฝ่ายที่คิดว่ารักหมดอายุได้บอกว่ามีตัวเร่งจากหลายสาเหตุ เช่น [/SIZE]

    [SIZE=-1]เบื่อหน่าย เคยชิน ในช่วงแรกความรักย่อมหวือหวา หวานชื่น ชี้นกเป็นนก ชี้ไม้เป็นไม้ ว่าอย่างไรว่าตามกัน แต่เมื่อเวลาผ่านไปสิ่งที่เคยทำให้มีชีวิตชีวา มีความสุข กลับมาทำให้รู้สึกเบื่อหน่ายนั่นเพราะความเคยชิน เหมือนกินอาหารอย่างเดิมทุกวัน [/SIZE]


    [SIZE=-1]คนใหม่...ใช่เสมอ จำไม่ไดว่าเคยได้ยินหรือได้อ่านประโยคนี้มาจากที่ไหน แต่เชื่อว่าใครหลายคนมีความคิดแบบนี้ เพราะอะไรก็ตามที่ยังใหม่ ย่อมเย้ายวนชวนให้น่าติดตาม น่าค้นหา ไม่เว้นแม้แต่คนใหม่ๆ ที่เข้ามาในชีวิต หากมีบางอย่างที่คลิกจนคิดว่า ใช่มากกว่าคู่ของตน ดีกรีของความเบื่อหน่ายก็จะพุ่งปรี๊ด ยิ่งบวกกับวิถีชีวิตของคนในปัจจุบันโดยเฉพาะในสังคมเมือง ที่เอื้ออำนวยต่อพฤติกรรมเปลี่ยนคู่ใหม่ไร้ขีดจำกัด ก็จะเร่งให้รักหมดอายุเร็วขึ้น [/SIZE]



    [SIZE=-1]ปิดปรับปรุง ดิฉันหมายถึงการหยุดปรับปรุงพฤติกรรมอันไม่พึงประสงค์ของทั้งสองฝ่ายน่ะค่ะ เมื่อชายหญิงพบกัน ถูกใจและรักกัน มักจะโฟกัสความสนใจไปยังข้อดีหรือสิ่งที่ตนเองสนใจของอีกฝ่าย จนละเลยและมองข้ามข้อด้อยหรือสิ่งที่ไม่ถูกใจไป [/SIZE]


    [SIZE=-1]แต่หลังจากแต่งงานกันแล้ว ทั้งข้อดีข้อด้อย สิ่งที่ถูกใจและไม่ถูกใจย่อมปรากฏให้เห็น จากที่เคยคิดว่าจะยอมรับได้ทุกอย่างก็กลายเป็นไปไมได้ พาลคิดไปว่าเขาหรือเธอเปลี่ยนไปจากเดิมแถมยังไม่ปรับปรุงพฤติกรรมก่อนแต่งงาน แต่เป็นการมองคนละมุม [/SIZE]


    [SIZE=-1]สำหรับฝ่ายที่บอกว่ารักไม่มีวันหมดอายุนั้น ก็มีเหตุผลสำคัญอยู่หลายประการค่ะ เช่น [/SIZE]


    [SIZE=-1]รักเหมือนยาวิเศษที่ไม่มีวันหมดอายุ [/SIZE]


    [SIZE=-1]รักไม่มีวันหมดอายุ เพราะถ้าหมดอายุได้ สิ่งนั้นไม่ได้เรียกว่าความรัก [/SIZE]


    [SIZE=-1]รักไม่มีวันหมดอายุ แต่เปลี่ยนแปลงไปตามกาลเวลา [/SIZE]


    [SIZE=-1]รักไม่มีวันหมดอายุ และจะมากขึ้นด้วยความผูกพัน แต่การแสดงออกอาจจะน้อยลง [/SIZE]


    [SIZE=-1]ดิฉันขอลงรายละเอียดของฝั่งที่คิดว่ารักหมดอายุได้มากว่านะคะ เพราะไม่อยากให้ประมาทกับเหตุการณ์ หรือความรู้สึกที่เกิดขึ้น เรื่องเล็กๆ อาจบานปลายได้ ถ้าไม่ดูแลระวังรักษาให้ดีค่ะ [/SIZE]



    [SIZE=-1]เมื่อรักหมดอายุ [/SIZE]


    [SIZE=-1]ขอตั้งคำถามก่อนนะคะว่า หากรักหมดอายุได้จริง คุณผู้อ่านคิดว่าอะไรจะเกิดขึ้นตามมาบ้าง จากการสอบถามคุณพ่อคุณแม่หลายๆ ท่าน ได้คำตอบดังนี้ค่ะ [/SIZE]


    [SIZE=-1]หัวใจโดนทำร้าย เมื่อไม่มีความรักหลงเหลืออยู่ หรืออาจมีอยู่น้อยนิดจนมองแทบไม่เห็นในสายตาของอีกฝ่ายหนึ่ง ความรู้สึกในแง่ลบจากการที่รักหมดอายุขัยลง ก็จะถูกแปลงเป็นการกระทำค่ะแต่เป็นไปในทางที่ไม่ถูกใจอีกฝ่าย จากที่เคยดีๆ ก็เป็นตรงกันข้ามความสุขที่เคยมีกลับกลายเป็นความทุกข์ไปในที่สุด [/SIZE]


    [SIZE=-1]ทน...ทน...และทนไม่ไหว หลายคนคงใช้คาถาขันติเข้าสู้ อาจเพราะลูกน้อยตาดำๆ ไม่รู้อิโหน่อิเหน่ด้วย แต่เมื่อใดก็ตามที่มีความรู้สึกต้อง ทน มาเยือน ไม่ว่าจะเป็นการทนกับอะไรบางอย่างหรือหลายอย่าง โดยปราศจากการแก้ไขหรือแก้ไขแล้วไม่สำเร็จนั่นหมายถึงชนวนระเบิดได้ถูกจุดขึ้นแล้ว รอแต่วันปะทุและระเบิดเพราะอย่างที่ทราบกันล่ะค่ะ ความอดทนของคนเรามีขีดจำกัด [/SIZE]


    [SIZE=-1]เลิกรา เมื่อความอดทนถึงขีดสุด แน่นอนว่าวาระสุดท้ายของความรักย่อมมาถึง ซึ่งคงไม่มีใครอยากให้เกิดเหตุการณ์แบบนี้และดิฉันก็ไม่อยากให้เกิดขึ้นกับครอบครัว แต่ถ้าตรึกตรองมาแล้วทั้งสองฝ่ายว่าวิธีนี้เป็นทางออกที่ดีที่สุด ก็ไม่ว่ากันค่ะ คงดีกว่าอยู่แบบทุกข์ทรมานไปตลอดชีวิต [/SIZE]


    [SIZE=-1]ส่งผลกับลูก เมื่อความรักของพ่อแม่หมดอายุลง ไม่ว่าจะทนอยู่ด้วยกันเหมือนเดิม หรือเลิกรากันไปในที่สุด ผลกระทบไม่ได้มีเพียงตัวพ่อแม่เท่านั้นค่ะ แต่จะส่งผลไปยังลูกด้วย เช่น หากทนใช้ชีวิตอยู่ด้วยกันไปแบบแกนๆ มีหัวใจแต่ไร้ความรู้สึก ไร้ชีวิตชีวาลูกก็จะเป็นแบบนั้นด้วย หรือถ้าพ่อแม่ด่าทอ ทะเลาะเบาะแว้งกันลูกจะเครียดและมีผลต่อสภาพจิตใจ เป็นต้น [/SIZE]



    [SIZE=-1]ไม่ว่าคุณจะเลือกวิธีใด ดิฉันคิดว่าไม่ผิดนะคะ แต่ก็จะส่งผลต่อลูกทั้งนั้น เพียงแต่ก่อนที่คุณจะตัดสินใจเลือกหรือทำอะไรลงไปคุณอาจต้องไตร่ตรองหาวิธีและทางออกที่ดีที่สุดสำหรับทุกๆ ฝ่ายทั้งตัวคุณพ่อคุณแม่เอง รวมถึงเจ้าตัวเล็กที่หลายๆ คน รวมทั้งคุณยกให้เขาเป็น โซทองคล้องใจ หรือเป็น พยานรัก ของคุณด้วยค่ะ [/SIZE]




    [SIZE=-1]รักดีดี..ไม่หมดอายุ [/SIZE]

    [SIZE=-1]มั่นใจค่ะว่าคงไม่มีใครอยากจะใช้ชีวิตคู่แบบ ทนอยู่ เพราะต่างก็คงอยากจะ อยู่ทน ซะมากกว่า ซึ่งคงไม่ยากเกินไปหากทั้ง 2 ฝ่าย ช่วยกันประคับประคองตามวิธีที่เหมาะสมกับคู่ของตัวเอง เช่น [/SIZE]


    [SIZE=-1]หมั่นเติมใจให้กัน นึกถึงตอนรักกันใหม่ๆ อย่าลืมความดีของเขาหรือเธอ แค่นึกถึงและยังไม่ลืมนั้นยังไม่พอค่ะ แต่ต้องหมั่นเติมความหวานให้กันตลอด ทำทุกวันให้เหมือนวันแรกที่เริ่มรักกันและต้องการใช้ชีวิตร่วมกัน ถ้าทำทุกวันไม่ไหว จะเลือกเฉพาะโอกาสพิเศษก็ไม่ว่ากันค่ะ ทั้งวันคล้ายวันเกิด วันครบรอบแต่งงาน ฯลฯ [/SIZE]


    [SIZE=-1]เปิดใจพูดคุย การเงียบเฉยจะเป็นการสะสมความรู้สึกด้านลบให้มากขึ้น การเปิดใจพูดคุยโดยใช้ภาษาที่ฟังแล้วสบายหู สบายใจ กริยาท่าทีที่ดูแล้วสบายตา เพื่อให้อีกฝ่ายรับรู้ความรู้สึกที่แท้จริงทั้งด้านดีด้านลบ เพื่อช่วยกันหาทางออกที่ดีสำหรับทั้งคู่ค่ะ [/SIZE]


    [SIZE=-1]ทุกสิ่งย่อมเปลี่ยนแปลง ข้อดีดูจะออกแนวปลงชีวิตเล็กน้อยมีหลายทานให้คำตอบกับดิฉันว่า ใช้วิธี ยึดหลักธรรม ปล่อยวางและไม่ยึดติด คิดเสียว่าแม้กระทั่งตัวเราก็ยังไม่ใช่ของเรา จะไปหวังอะไรกับคนอื่น [/SIZE]


    [SIZE=-1]ความจริงแล้วการเข้าใจความเปลี่ยนแปลงของทุกสรรพสิ่งทำให้เรามองเห็นสถานการณ์ ปัญหา และความจริงที่เกิดมากขึ้นนอกจากนั้นแล้วการใช้หลักคำสอนในการครองเรือนตามศาสนาที่นับถือ ก็น่าจะช่วยให้ชีวิตคู่มีความราบรื่นและสงบสุขค่ะ [/SIZE]


    [SIZE=-1]ดิฉันเองคิดว่า ความรักฉันท์สามีภรรยา อาจมีวันหมดอายุได้สำหรับบางคู่ แต่เราสามารถดูแลและป้องกันได้ค่ะ ด้วยวิธีการยกตัวอย่างมา และเชื่อว่ายังมีวิธีดีๆ อีกมากมายที่คุณๆ ใช้กันอยู่ [/SIZE]


    [SIZE=-1]การประคับประคองความรักนั้น ก็เหมือนกับการดำรงชีวิตอยู่ท่ามกลางสภาวะอากาศที่เปลี่ยนแปลงไปตามฤดูกาล บางครั้งอาจจะอ่อนแอเพราะปรับตัวตามอากาศไม่ทัน แต่หากเราดูแลตัวเองเป็นอย่างดี รักษาให้ตรงจุด เราก็จะกลับมาแข็งแรงเหมือนเดิมเช่นเดียวกับการดำรงความรักให้คงอยู่กับคู่ชีวิต ก็ต้องรู้จักปรับตัวให้เท่าทันกันตามความเปลี่ยนแปลง ถ้ามีปัญหาก็แก้ให้ตรงจุด [/SIZE]


    [SIZE=-1]แต่ท้ายที่สุดหากพยายามอย่างเต็มที่แล้ว รักก็ยังหมดอายุลงจนได้ คงต้องขึ้นอยู่กับวิจารณญาณส่วนบุคคลแล้วล่ะค่ะ [/SIZE]


    [SIZE=-1]ขอให้รักของคุณยืนยง มั่นคง ไม่หมดอายุง่ายๆ นะคะ [/SIZE]

    [SIZE=-1][ ที่มา...นิตยสารรักลูก ปีที่ 25 ฉบับที่ 298 พฤศจิกายน 2550 ][/SIZE]



    [SIZE=-1]ขอบคุณสำหรับข้อคิดที่เกี่ยวกับการครองเรือนนี้ครับ ถึงแม้ไม่เกี่ยวกับกระทู้ แต่นี่คือความเป็นจริงของการใช้ชีวิตคู่ที่ไม่อาจปฏิเสธได้[/SIZE]​

    [SIZE=-1]พันวฤทธิ์[/SIZE]
    [SIZE=-1]7/6/51[/SIZE]​



    [SIZE=-1][/SIZE]
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  8. พันวฤทธิ์

    พันวฤทธิ์ เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    3,783
    ค่าพลัง:
    +16,097
    หลวงปู่อ่อนศรี ฐานวโร มรณภาพแล้วด้วยอาการสงบ
    <HR style="COLOR: #ffffff; BACKGROUND-COLOR: #ffffff" SIZE=1><!-- / icon and title --><!-- message -->[​IMG]



    หลวงปู่อ่อนศรี ฐานวโร วัดถ้ำประทุน ต.เขาไม้แก้ว อ.บางละมุง จ.ชลบุรี มรณภาพแล้วด้วยอาการสงบ
    เวลา 04.34 น. ของวันเสาร์ที่ 7 มิถุนายน 2551
    ณ โรงพยาบาลกรุงเทพพัทยา ชลบุรี
    สิริรวมอายุ 84 ปี

    และในวันนี้จะมีพิธีสรงน้ำศพหลวงปู่ เริ่มเวลาประมาณ 15.00 น.

    ณ วัดถ้ำประทุน ต.เขาไม้แก้ว อ.บางละมุง จ.ชลบุรี

    ในเบื้องต้น ทางคณะศิษย์ได้กำหนดสวดพระอภิธรรมถวายหลวงปู่ในเย็นวันนี้


    รายละเอียดจะแจ้งให้ทราบในลำดับต่อไป..

    ที่มา :http://www.watpa.com/board_detail.asp?board_id=2098
    <!-- / message --><!-- sig -->__________________


    นับว่าเป็นโชคอันดีของคณะกรรมการทุนนิธิฯ ที่ได้เคยไปกราบท่าน พร้อมให้ท่านได้โมทนารายชื่อของผู้ที่ทำบุญในช่วงแรกๆ ราวเดือน พ.ย.-ธ.ค. ปีที่แล้ว พร้อมท่าน อ.ประถมฯ และพี่จิ๋ว ลูกชาย อ.ประถมฯ ตามคำแนะนำของพี่ใหญ่จิตท่านอัศจรรย์นัก เช้านี้เลยคุยกับพี่ใหญ่เรื่องการมรณภาพของหลวงปู่ พี่ใหญ่บอกว่าจิตท่านพุ่งปรู๊ด หายไปลิบลับเลยไม่มาอีกแล้ว หมดภารกิจทางศาสนาแล้วเช่นกัน เหลือเพียงอนุสรณ์ที่เราได้มาคือไม้สีแข่ว 1 อัน กับรูปท่านคล้องด้ายอีก 1 องค์ ที่ท่านให้กับมือเท่านั้น สาธุ หลวงปู่...
    คราวนี้ก็เหลือท่านเจ้าประคุณสมเด็จที่นอนอาพาธที่ รพ.สงฆ์ล่ะ เนื้อนาบุญนี้ หากท่านใดที่อยู่ไกลจะขอหารือกับคณะกรรมการก่อนว่าจะให้ฝากทำบุญกับท่านเฉพาะองค์ได้หรือไม่ เพราะต้องหารือกับญาติของท่านเจ้าคุณก่อนว่า หากเราจะถวายเป็นปัจจัยได้มั๊ย หรือท่านมีโครงการอะไรที่ค้างอยู่ จะได้ทำถวายท่านต่างหากจาก รพ.สงฆ์ ครับ

    พันวฤทธิ์
    8/6/51
     
  9. พันวฤทธิ์

    พันวฤทธิ์ เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    3,783
    ค่าพลัง:
    +16,097
    ชีวิตของเรานั้น ต้องพบกับเหตุการณ์ดีร้ายต่างๆนานานับไม่ถ้วน
    บางครั้งทำให้เราดีใจมาก บางครั้งทำให้เราเสียใจมาก
    หมุนเวียนเปลี่ยนกันมาตลอดเวลา

    อาการดีใจมากและเสียใจมาก จะลดระดับลง
    เมื่อเราพบเหตุการณ์คล้ายๆกันนั้นเป็นครั้งที่สอง ที่สาม
    ความรู้สึก รัก โลภ โกรธ หลงนั้น เป็นตัวเร่งปฏิกิริยา
    ทำให้มนุษย์มีแรงฮึดในการทำการหนึ่งการใด
    สร้างเรื่องราวมากมายได้อย่างไม่หยุดหย่อน
    รักมาก โลภมาก โกรธมาก หลงมาก
    ก็สร้างเหตุการณ์ได้ใหญ่มาก สะเทือนอารมณ์มาก
    รักน้อย โลภน้อย โกรธน้อย หลงน้อย
    เรื่องก็น้อย ดีใจ เสียใจแต่เพียงน้อยหน่อย

    อย่างไรก็ตาม...
    อยากเติมกำลังใจให้คนที่กำลังตกอยู่ในภาวะหมดเรี่ยวแรง
    ปัญหาทุกเรื่องมีทางออก และแก้ไขได้เสมอ
    เรื่องร้ายๆไม่อยู่กับเราตลอดไป
    ถึงเวลา..มันก็ไป
    ...มันจะผ่านไป
    <LEGEND align="center">[​IMG] </LEGEND>

    <!-- Comment 4-->[SIZE=-1][​IMG][/SIZE]

    [SIZE=-1]ความเชื่อ...ความศรัทธา...คือแรงบันดาลใจ...[/SIZE]
    [SIZE=-1]หากเชื่อมั่นในรุ่งอรุณของวันใหม่..[/SIZE]
    [SIZE=-1]สักวันอาจจะพบว่า...There can be miracles,when you believe. อย่างที่ท่อนหนึ่งของเพลง ."When you believe"[/SIZE]

    [SIZE=-1]เสมือนตอนนี้...เด็กหญิง...ยังเชื่อว่า ยังมีอีกสองมือ...ของคนบนฟ้า คอยหยิบยื่นปาฏิหาริย์ให้เสมอมา..[/SIZE]



    ขอขอบคุณ blog ข้างล่างนี้ (เป็น classic blog มีเพลงศรัทธาประกอบด้วย)
    http://www.bloggang.com/mainblog.php?id=dragon-v&month=06-06-2008&group=6&gblog=6

     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 8 มิถุนายน 2008
  10. พันวฤทธิ์

    พันวฤทธิ์ เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    3,783
    ค่าพลัง:
    +16,097
    เดินตามรอยพุทธองค์



    <!-- Main --><CENTER>[​IMG]


    </CENTER><CENTER>ปฏิทินใบสุดท้ายปลายปีสิ้น
    วันเดือนปีบินเร็วติดปีกหนี
    สุดเหนี่ยวรั้งถ่วงเวลาแม้นาที
    ผ่านเดี๋ยวปีเดี๋ยวปีที่พ้นไป

    สิบสองเดือนเตือนจิตใครคิดบ้าง
    ว่าเราสร้างกุศลไว้แค่ไหน
    อย่าคิดบวกหวังผลเก็งกำไร
    กอบโกยไว้โลภหลงคงไม่ดี

    สมัยนี้โรคภัยก็มากล้น
    ศีลธรรมป่นจรรยาพาหลบหนี
    โลกนี้เล่าค่อยลดหมดไมตรี
    คุณความดีถดถอยดูกร่อยลง

    ยิ่งเจริญวัตถุบรรลุผล
    ให้จิตคนเสื่อมซาอานิสงส์
    เห็นแก่ได้ทำร้ายชนชาติตน
    สิ่งประสงค์เข้าสิงเหนือสิ่งใด

    มีศีลธรรมงามเด่นเน้นความรู้
    หมั่นฝนใจสั่งสมมิไถล
    จงมากมีกตัญญูคุณชาติไทย
    พาหทัยพ้นโศกพบมงคล

    การทำดีถูกดีย่อมมีค่า
    ถูกเวลาบุคคลสนองผล
    ใคร่ครวญนิดพิจารณาทั้งอดทน
    ย่อมหลุดพ้นเภทภัยไปได้ดี
    </CENTER><CENTER>


    </CENTER><CENTER>[​IMG]

    <CENTER>
     
  11. พันวฤทธิ์

    พันวฤทธิ์ เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    3,783
    ค่าพลัง:
    +16,097

    เพื่อนทุนนิธิฯ อ่านแล้วคิดยังไงกับ 3 คำตอบนี้...เดินหน้าต่อเพื่อช่วยสงฆ์อาพาธ จะตามชายคนที่สามหรือเปล่าล่ะ บุญต่างกันมากกับคนที่หนึ่งหรือสองมากนา...

    มีเรื่องน่าคิด อ่านเจอนานแล้วเลยเก็บมาฝาก
    งานอย่างเดียวกัน แต่มองด้วยมุมที่ต่างกัน ก็ให้ความรู้สึกที่ต่างกัน

    "ชายสามคนกำลังก่ออิฐ คนแรกมีทีท่าเหนื่อยล้า หน้าบึ้งตึง
    คนที่สองดูดีขึ้นหน่อย ส่วนคนที่สามดูกระฉับกระเฉง หน้าตายิ้มแย้ม


    เมื่อถูกถามว่ากำลังทำอะไร
    คนแรกตอบอย่างขอไปทีว่า "กำลังก่ออิฐ"
    คนที่สองบอกว่า "กำลังก่อกำแพง"
    ส่วนคนที่สามตอบด้วยความภาคภูมิใจว่า "กำลังสร้างวัดครับ"

    ก่ออิฐเหมือนกัน แต่ทำด้วยอาการต่างกัน เพราะเห็นคุณค่าของงานต่างกั น
    คนที่สามทำงานอย่างมีความสุขเพราะเห็นว่างานที่ตนทำนั้นไม่ใช่แค่ก่ออิฐธรรมดา ๆ
    แต่เป็นส่วนสำคัญในการสร้างสิ่งที่สูงส่งเป็นบุญเป็น กุศล
    อิฐแต่ละก้อนที่ก่อจึงให้ความรู้สึกปีติอิ่มเอิบใจ "


    .....คุณล่ะ!!!...ทำอะไรอยู่ ?



    [​IMG]
    <!-- End Comment 1-->
     
  12. พันวฤทธิ์

    พันวฤทธิ์ เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    3,783
    ค่าพลัง:
    +16,097
    วิชชา 8 ประการเป็นไฉน? นำมาฝากกันเพื่อให้เป็นแผนที่ใหญ่ แม้จะยาวไปนิดก็ควรอ่านเป็นการประดับอภิญญาบารมีในตน

    วิชชา ๘


    วิปัสสนาญาณ

    ภิกษุนั้น เมื่อจิตเป็นสมาธิ บริสุทธิ์ผ่องแผ้ว ไม่มีกิเลส ปราศจากอุปกิเลส อ่อน ควรแก่การงาน ตั้งมั่น ไม่หวั่นไหวอย่างนี้ ย่อมโน้มน้อมจิตไปเพื่อญาณทัสสนะ เธอย่อมรู้ชัดอย่างนี้ว่า กายของเรานี้แล มีรูป ประกอบด้วยมหาภูต ๔ เกิดแต่มารดาบิดา เติบโตขึ้นด้วยข้าวสุกและขนมสด ไม่เที่ยง ต้องอบ ต้องนวดฟั้น มีอันทำลายและกระจัดกระจายเป็นธรรมดา
    และวิญญาณของเรานี้ก็อาศัยอยู่ในกายนี้ เนื่องอยู่ในกายนี้. ดูกรเกวัฏฏ์ เปรียบเหมือนแก้ว
    ไพฑูรย์อันงาม เกิดเองอย่างบริสุทธิ์แปดเหลี่ยม นายช่างเจียระไนดีแล้ว สุกใส แวววาว
    สมส่วนทุกอย่าง มีด้ายเขียว เหลือง แดง ขาว หรือนวลร้อยอยู่ในนั้น บุรุษมีจักษุจะพึง
    หยิบแก้วไพฑูรย์นั้นวางไว้ในมือแล้วพิจารณาเห็นว่า แก้วไพฑูรย์นี้งาม เกิดเองอย่างบริสุทธิ์
    แปดเหลี่ยม นายช่างเจียระไนดีแล้ว สุกใส แวววาว สมส่วนทุกอย่าง มีด้ายเขียว เหลือง แดง ขาวหรือนวลร้อยอยู่ในแก้วไพฑูรย์นั้น ฉันใด ภิกษุก็ฉันนั้นแล เมื่อจิตเป็นสมาธิ บริสุทธิ์
    ผ่องแผ้ว ไม่มีกิเลส ปราศจากอุปกิเลส อ่อน ควรแก่การงาน ตั้งมั่นไม่หวั่นไหวอย่างนี้
    ย่อมน้อมโน้มจิตไปเพื่อญาณทัสนะ เธอย่อมรู้ชัดอย่างนี้ว่า กายของเรา นี้แล มีรูป ประกอบด้วย มหาภูต ๔ เกิด แต่มารดาบิดา เติบโตขึ้นด้วยข้าวสุกและขนมสด ไม่เที่ยง ต้องอบ ต้องนวดฟั้น มีอันทำลายและกระจัดกระจายเป็นธรรมดา และวิญญาณของเรานี้ก็อาศัยอยู่ในกายนี้ เนื่องอยู่ ในกายนี้ ดูกรเกวัฏฏ์ แม้ข้อนี้ก็เรียกว่าอนุสาสนีปาฏิหาริย์.


    มโนมยิทธิญาณ

    ภิกษุนั้น เมื่อจิตเป็นสมาธิ บริสุทธิ์ผ่องแผ้ว ไม่มีกิเลส ปราศจากอุปกิเลส อ่อน ควรแก่การงาน ตั้งมั่น ไม่หวั่นไหว อย่างนี้ ย่อมโน้มน้อมจิตไปเพื่อนิรมิตรูปอันเกิดแต่ใจ คือ นิรมิตกายอื่นจากกายนี้ มีรูปเกิดแต่ใจ มีอวัยวะน้อยใหญ่ครบถ้วน มีอินทรีย์ไม่บกพร่อง ดูกรเกวัฏฏ์ เปรียบเหมือนบุรุษจะพึงชักไส้ออกจากหญ้าปล้อง เขาจะพึงคิดเห็นอย่างนี้ว่า นี้หญ้าปล้อง นี้ไส้ หญ้าปล้อง อย่างหนึ่ง ไส้อย่างหนึ่ง ก็แต่ไส้ชักออกจากหญ้าปล้องนั่นเอง
    อีกนัยหนึ่ง เปรียบเหมือนบุรุษจะพึงชักดาบออกจากฝัก เขาจะพึงคิดเห็นอย่างนี้ว่า นี้ดาบ นี้ฝักดาบอย่างหนึ่ง ฝักอย่างหนึ่ง ก็แต่ดาบชักออกจากฝักนั่นเอง อีกนัยหนึ่ง เปรียบเหมือนบุรุษจะพึงชักงูออกจากคราบ เขาจะพึงคิดเห็นอย่างนี้ว่า นี้งู นี้คราบ งูอย่างหนึ่ง คราบอย่างหนึ่ง ก็แต่งูชักออกจากคราบนั่นเอง ฉันใด ภิกษุก็ฉันนั้นแล เมื่อจิตเป็นสมาธิ บริสุทธิ์ผ่องแผ้ว ไม่มีกิเลส ปราศจากอุปกิเลส อ่อน ควรแก่การงาน ตั้งมั่น ไม่หวั่นไหว อย่างนี้ ย่อมโน้มน้อมจิตไปเพื่อนิรมิตรูปอันเกิดแต่ใจ คือนิรมิตกายอื่นจากกายนี้ มีรูปเกิดแต่ใจ มีอวัยวะน้อยใหญ่ครบถ้วน มีอินทรีย์ไม่บกพร่อง ดูกรเกวัฏฏ์ แม้ข้อนี้ก็เรียกว่าอนุสาสนีปาฏิหาริย์.

    อิทธิวิธญาณ

    ภิกษุนั้น เมื่อจิตเป็นสมาธิ บริสุทธิ์ผ่องแผ้ว ไม่มีกิเลส ปราศจากอุปกิเลส อ่อน ควรแก่การงาน ตั้งมั่น ไม่หวั่นไหว อย่างนี้ ย่อมโน้มน้อมจิตไปเพื่ออิทธิวิธี เธอบรรลุอิทธิวิธี หลายประการ คือ คนเดียวเป็นหลายคนก็ได้ หลายคนเป็นคนเดียวก็ได้ ทำให้ปรากฏก็ได้ ทำให้หายไปก็ได้ ทะลุฝากำแพงภูเขาไปได้ไม่ติดขัดเหมือนไปในที่ว่างก็ได้ ผุดขึ้นดำลงแม้ใน
    แผ่นดินเหมือนในน้ำก็ได้ เดินบนน้ำไม่แตกเหมือนเดินบนแผ่นดินก็ได้ เหาะไปในอากาศเหมือนนกก็ได้ ลูบคลำพระจันทร์พระอาทิตย์ซึ่งมีฤทธิ์มีอานุภาพมากด้วยฝ่ามือก็ได้ ใช้อำนาจทางกาย ไปตลอดพรหมโลกก็ได้ ดูกรเกวัฏฏ์ เปรียบเหมือนช่างหม้อหรือลูกมือของช่างหม้อผู้ฉลาด เมื่อนวดดินดีแล้ว ต้องการภาชนะชนิดใดๆ พึงทำภาชนะชนิดนั้นๆ ให้สำเร็จได้ อีกนัยหนึ่ง เปรียบเหมือนช่างงาหรือลูกมือของช่างงาผู้ฉลาด เมื่อแต่งงาดีแล้ว ต้องการเครื่องงาชนิดใด ๆ พึงทำเครื่องงาชนิดนั้นๆ ให้สำเร็จได้ อีกนัยหนึ่ง เปรียบเหมือนช่างทองหรือลูกมือของช่างทองผู้ฉลาด เมื่อหลอมทองดีแล้ว ต้องการทองรูปพรรณชนิดใดๆ พึงทำทองรูปพรรณชนิดนั้นๆ ให้สำเร็จได้ ฉันใด ภิกษุก็ฉันนั้นแล เมื่อจิตเป็นสมาธิ บริสุทธิ์ผ่องแผ้ว ไม่มีกิเลส ปราศจากอุปกิเลส อ่อน ควรแก่การงาน ตั้งมั่น ไม่หวั่นไหว อย่างนี้ ย่อมโน้มน้อมจิตไปเพื่ออิทธิวิธี เธอบรรลุอิทธิวิธีหลายประการ คือ คนเดียวเป็นหลายคนก็ได้ หลายคนเป็นคนเดียวก็ได้ ทำให้ปรากฏก็ได้ ทำให้หายไปก็ได้ ทะลุฝากำแพงภูเขาไปได้ไม่ติดขัดเหมือนไปในที่ว่างก็ได้ ผุดขึ้นดำลงในแผ่นดินเหมือนในน้ำก็ได้ เดินบนน้ำไม่แตกเหมือนเดินบนแผ่นดินก็ได้ เหาะไปในอากาศเหมือนนกก็ได้ ลูบคลำพระจันทร์พระอาทิตย์ซึ่งมีฤทธิ์มีอานุภาพมากด้วยฝ่ามือก็ได้ ใช้อำนาจทางกายไปตลอดพรหมโลกก็ได้ ดูกรเกวัฏฏ์ แม้ข้อนี้ก็เรียกว่าอนุสาสนีปาฏิหาริย์.


    ทิพพโสตญาณ

    ภิกษุนั้น เมื่อจิตเป็นสมาธิ บริสุทธิ์ผ่องแผ้ว ไม่มีกิเลส ปราศจากอุปกิเลส อ่อน ควรแก่การงาน ตั้งมั่น ไม่หวั่นไหว อย่างนี้ ย่อมโน้มน้อมจิตไปเพื่อทิพยโสตธาตุ เธอย่อมได้ยินเสียง ๒ ชนิด คือ เสียงทิพย์และเสียงมนุษย์ ทั้งที่อยู่ไกลและใกล้ด้วยทิพยโสตอันบริสุทธิ์
    ล่วงโสตของมนุษย์ ดูกรเกวัฏฏ์ เปรียบเหมือนบุรุษเดินทางไกล เขาจะพึงได้ยินเสียงกลองบ้าง เสียงตะโพนบ้าง เสียงสังข์บ้าง เสียงบัณเฑาะว์บ้าง เสียงเปิงมางบ้าง เขาพึงเข้าใจว่า
    เสียงกลองดังนี้บ้าง เสียงตะโพนดังนี้บ้าง เสียงสังข์ดังนี้บ้าง เสียงบัณเฑาะว์ดังนี้บ้าง เสียง
    เปิงมางดังนี้บ้าง ฉันใด ภิกษุก็ฉันนั้นแล เมื่อจิตเป็นสมาธิ บริสุทธิ์ผ่องแผ้ว ไม่มีกิเลส
    ปราศจากอุปกิเลส อ่อน ควรแก่การงาน ตั้งมั่น ไม่หวั่นไหว อย่างนี้ ย่อมโน้มน้อมจิตไปเพื่อ
    ทิพยโสตธาตุ เธอย่อมได้ยินเสียง ๒ ชนิด คือ เสียงทิพย์และเสียงมนุษย์ ทั้งที่อยู่ไกลและใกล้ ด้วยทิพยโสตอันบริสุทธิ์ ล่วงโสตของมนุษย์ ดูกรเกวัฏฏ์ แม้ข้อนี้ก็เรียกว่าอนุสาสนีปาฏิหาริย์.


    เจโตปริยญาณ

    ภิกษุนั้น เมื่อจิตเป็นสมาธิ บริสุทธิ์ผ่องแผ้ว ไม่มีกิเลส ปราศจากอุปกิเลส อ่อน ควรแก่การงาน ตั้งมั่น ไม่หวั่นไหว อย่างนี้ ย่อมโน้มน้อมจิตไปเพื่อเจโตปริยญาณ เธอย่อมกำหนดรู้ใจของสัตว์อื่น ของบุคคลอื่นด้วยใจ คือ จิตมีราคะ ก็รู้ว่าจิตมีราคะ หรือจิตปราศจากราคะ
    ก็รู้ว่าจิตปราศจากราคะ จิตมีโทสะ ก็รู้ว่าจิตมีโทสะ หรือจิตปราศจากโทสะ ก็รู้ว่าจิตปราศจากโทสะ จิตมีโมหะ ก็รู้ว่าจิตมีโมหะ หรือจิตปราศจากโมหะ ก็รู้ว่าจิตปราศจากโมหะ จิตหดหู่ ก็รู้ว่าจิตหดหู่ หรือจิตฟุ้งซ่าน ก็รู้ว่าจิตฟุ้งซ่าน จิตเป็นมหรคต ก็รู้ว่าจิตเป็นมหรคต หรือจิตไม่เป็นมหรคต ก็รู้ว่าจิตไม่เป็นมหรคต จิตมีจิตอื่นยิ่งกว่า ก็รู้ว่าจิตมีจิตอื่นยิ่งกว่า หรือจิตไม่มีจิตอื่นยิ่งกว่า ก็รู้ว่าจิตไม่มีจิตอื่นยิ่งกว่า จิตเป็นสมาธิ ก็รู้ว่าจิตเป็นสมาธิ หรือจิตไม่เป็นสมาธิ ก็รู้ว่าจิตไม่เป็นสมาธิ จิตหลุดพ้น ก็รู้ว่าจิตหลุดพ้น หรือจิตไม่หลุดพ้น ก็รู้ว่าจิตไม่หลุดพ้น ดูกรเกวัฏฏ์ เปรียบเหมือนหญิงสาวชายหนุ่มที่ชอบการแต่งตัว เมื่อส่องดูเงาหน้าของตนในกระจกอันบริสุทธิ์ สะอาด หรือในภาชนะน้ำอันใส หน้ามีไฝ ก็จะพึงรู้ว่าหน้ามีไฝ หรือหน้าไม่มีไฝ ก็จะพึงรู้ว่า หน้าไม่มีไฝ ฉันใด ภิกษุก็ฉันนั้นแล เมื่อจิตเป็นสมาธิ บริสุทธิ์ผ่องแผ้ว ไม่มีกิเลส ปราศจาก อุปกิเลส อ่อน ควรแก่การงาน ตั้งมั่น ไม่หวั่นไหว อย่างนี้ ย่อมโน้มน้อมจิตไปเพื่อ เจโตปริยญาณ เธอย่อมกำหนดรู้ใจของสัตว์อื่น ของบุคคลอื่นด้วยใจ คือจิตมีราคะ ก็รู้ว่าจิตมีราคะ หรือจิตปราศจากราคะ ก็รู้ว่าจิตปราศจากราคะ จิตมีโทสะ ก็รู้ว่าจิตมีโทสะ หรือจิตปราศจากโทสะ ก็รู้ว่าจิตปราศจากโทสะ จิตมีโมหะ ก็รู้ว่าจิตมีโมหะ หรือจิตปราศจากโมหะก็รู้ว่าจิตปราศจากโมหะ จิตหดหู่ ก็รู้ว่าจิตหดหู่ หรือจิตฟุ้งซ่าน ก็รู้ว่าจิตฟุ้งซ่าน จิตเป็นมหรคต ก็รู้ว่าจิตเป็นมหรคต หรือจิตไม่เป็นมหรคต ก็รู้ว่าจิตไม่เป็นมหรคต จิตมีจิตอื่นยิ่งกว่า ก็รู้ว่าจิตมีจิตอื่นยิ่งกว่า หรือจิตไม่มีจิตอื่นยิ่งกว่า ก็รู้ว่าจิตไม่มีจิตอื่นยิ่งกว่า จิตเป็นสมาธิ ก็รู้ว่าจิตเป็นสมาธิ หรือจิตไม่เป็นสมาธิ ก็รู้ว่าจิตไม่เป็นสมาธิ จิตหลุดพ้น ก็รู้ว่าจิตหลุดพ้น หรือจิตไม่หลุดพ้น ก็รู้ว่าจิตไม่หลุดพ้น ดูกรเกวัฏฏ์ แม้ข้อนี้ก็เรียกว่าอนุสาสนีปาฏิหาริย์.


    ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ

    ภิกษุนั้น เมื่อจิตเป็นสมาธิ บริสุทธิ์ผ่องแผ้ว ไม่มีกิเลส ปราศจากอุปกิเลส อ่อน ควรแก่การงาน ตั้งมั่น ไม่หวั่นไหว อย่างนี้ ย่อมโน้มน้อมจิตไปเพื่อปุพเพนิวาสานุสสติญาณ เธอย่อมระลึกชาติก่อนได้เป็นอันมาก คือ ระลึกได้ชาติหนึ่งบ้าง สองชาติบ้าง สามชาติบ้าง สี่ชาติบ้าง ห้าชาติบ้าง สิบชาติบ้าง ยี่สิบชาติบ้าง สามสิบชาติบ้าง สี่สิบชาติบ้าง ห้าสิบชาติบ้าง
    ร้อยชาติบ้าง พันชาติบ้าง แสนชาติบ้าง ตลอดสังวัฏฏกัปเป็นอันมากบ้าง ตลอดวิวัฏฏกัปเป็น อันมากบ้าง ตลอดสังวัฏฏวิวัฏฏกัปเป็นอันมากบ้างว่า ในภพโน้นเรามีชื่ออย่างนั้น มีโคตรอย่างนั้น มีผิวพรรณอย่างนั้น มีอาหารอย่างนั้น เสวยสุขเสวยทุกข์อย่างนั้นๆ มีกำหนดอายุเพียงเท่านั้น ครั้นจุติจากภพนั้นแล้วได้ไปเกิดในภพโน้น แม้ในภพนั้น เราก็ได้มีชื่ออย่างนั้น มีโคตรอย่างนั้น มีผิวพรรณอย่างนั้น มีอาหารอย่างนั้น เสวยสุขเสวยทุกข์อย่างนั้นๆ มีกำหนดอายุเพียงเท่านั้น ครั้นจุติจากภพนั้นแล้วได้มาเกิดในภพนี้ เธอย่อมระลึกถึงชาติก่อนได้เป็นอันมาก พร้อมทั้งอาการ พร้อมทั้งอุเทศ ด้วยประการฉะนี้ ดูกรเกวัฏฏ์ เปรียบเหมือนบุรุษจะพึงจากบ้านตนไปบ้านอื่น แล้วจากบ้านนั้นไปยังบ้านอื่นอีก จากบ้านนั้นกลับมาสู่บ้านของตนตามเดิม เขาจะพึงระลึกได้ อย่างนี้ว่า เราได้จากบ้านของเราไปบ้านโน้น ในบ้านนั้นเราได้ยืนอย่างนั้น ได้นั่งอย่างนั้น ได้พูดอย่างนั้น ได้นิ่งอย่างนั้น เราได้จากบ้านแม้นั้นไปยังบ้านโน้น แม้ในบ้านนั้น เราก็ได้ยืน อย่างนั้น ได้นั่งอย่างนั้น ได้พูดอย่างนั้น ได้นิ่งอย่างนั้น แล้วเรากลับจากบ้านนั้นมาสู่บ้าน ของตนตามเดิม ดังนี้ ฉันใด ภิกษุก็ฉันนั้นแล เมื่อจิตเป็นสมาธิ บริสุทธิ์ผ่องแผ้ว ไม่มีกิเลส ปราศจากอุปกิเลส อ่อน ควรแก่การงาน ตั้งมั่น ไม่หวั่นไหว อย่างนี้ ย่อมโน้มน้อมจิตไปเพื่อ ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ เธอย่อมระลึกชาติก่อนได้เป็นอันมาก คือ ระลึกได้หนึ่งชาติบ้าง สองชาติบ้าง สามชาติบ้าง สี่ชาติบ้าง ห้าชาติบ้าง สิบชาติบ้าง ยี่สิบชาติบ้าง สามสิบชาติบ้าง สี่สิบชาติบ้าง ห้าสิบชาติบ้าง ร้อยชาติบ้าง พันชาติบ้าง แสนชาติบ้าง ตลอดสังวัฏฏกัป เป็นอันมากบ้าง ตลอดวิวัฏฏกัปเป็นอันมากบ้าง ตลอดสังวัฏฏกัปเป็นอันมากบ้างว่า ในภพโน้นเรามีชื่ออย่างนั้น มีโคตรอย่างนั้น มีผิวพรรณอย่างนั้น มีอาหารอย่างนั้น เสวยสุขเสวยทุกข์อย่างนั้นๆ มีกำหนดอายุเพียงเท่านั้น ครั้นจุติจากภพนั้นแล้ว ได้ไปเกิดในภพโน้น แม้ในภพนั้นเราก็มีชื่ออย่างนั้น มีโคตรอย่างนั้น มีผิวพรรณอย่างนั้น มีอาหารอย่างนั้น เสวยสุขเสวยทุกข์อย่างนั้นๆ มีกำหนดอายุเพียงเท่านั้น ครั้นจุติจากภพนั้นแล้ว ได้มาเกิดในภพนี้ เธอระลึกถึงชาติก่อนได้เป็นอันมาก พร้อมทั้งอาการ พร้อมทั้งอุเทศ ด้วยประการฉะนี้ ดูกรเกวัฏฏ์ แม้ข้อนี้ก็เรียกว่าอนุสาสนีปาฏิหาริย์.


    จุตูปปาตญาณ

    ภิกษุนั้น เมื่อจิตเป็นสมาธิ บริสุทธิ์ผ่องแผ้ว ไม่มีกิเลส ปราศจากอุปกิเลส อ่อน ควรแก่การงาน ตั้งมั่น ไม่หวั่นไหวอย่างนี้ ย่อมโน้มน้อมจิตไปเพื่อรู้จุติและอุปบัติของสัตว์ ทั้งหลาย เธอเห็นหมู่สัตว์ที่กำลังจุติ กำลังอุปบัติ เลว ประณีต มีผิวพรรณดี มีผิวพรรณทราม
    ได้ดี ตกยาก ด้วยทิพยจักษุอันบริสุทธิ์ ล่วง จักษุของมนุษย์ ย่อมรู้ชัดซึ่งหมู่สัตว์ผู้เป็นไปตามกรรมว่า สัตว์เหล่านี้ประกอบด้วยกายทุจริต วจีทุจริต มโนทุจริต ติเตียนพระอริยเจ้า เป็น
    มิจฉาทิฏฐิ ยึดถือการกระทำด้วยอำนาจมิจฉาทิฏฐิ เบื้องหน้าแต่ตายเพราะกายแตก เขาย่อมเข้าถึงอบาย ทุคติ วินิบาต นรก ส่วนสัตว์เหล่านี้ประกอบด้วยกายสุจริต วจีสุจริต มโนสุจริต ไม่ติเตียนพระอริยเจ้า เป็นสัมมาทิฏฐิ ยึดถือการกระทำด้วยอำนาจสัมมาทิฏฐิ เบื้องหน้าแต่ตาย เพราะกายแตก เขาย่อมเข้าถึงสุคติ โลกสวรรค์ ดังนี้ เธอย่อมเห็นหมู่สัตว์ที่กำลังจุติ กำลังอุปบัติเลว ประณีต มีผิวพรรณดี มีผิวพรรณทราม ได้ดี ตกยาก ด้วยทิพยจักษุอันบริสุทธิ์ ล่วงจักษุของมนุษย์ ย่อมรู้ชัดซึ่งหมู่สัตว์ผู้เป็นไปตามกรรม ด้วยประการฉะนี้ เปรียบเหมือนปราสาทตั้งอยู่ ณ ทาง ๓ แพร่ง ท่ามกลางพระนคร บุรุษผู้มีจักษุยืนอยู่บนปราสาทนั้น จะพึงเห็นหมู่ชนกำลังเข้าไปสู่เรือนบ้าง กำลังออกจากเรือนบ้าง กำลังสัญจรเป็นแถวอยู่ในถนนบ้าง นั่งอยู่ที่ทาง ๓ แพร่ง ท่ามกลางพระนครบ้าง เขาจะพึงรู้ว่า คนเหล่านี้เข้าสู่เรือน เหล่านี้ออกจากเรือน เหล่านี้สัญจรเป็นแถวอยู่ในถนน เหล่านี้นั่งอยู่ที่ทาง ๓ แพร่ง ท่ามกลางพระนคร ฉันใด ภิกษุก็ ฉันนั้นแล เมื่อจิตเป็นสมาธิ บริสุทธิ์ผ่องแผ้ว ไม่มีกิเลส ปราศจากอุปกิเลส อ่อน ควรแก่การงาน ตั้งมั่น ไม่หวั่นไหว อย่างนี้ ย่อมโน้มน้อมจิตไปเพื่อรู้จุติและอุปบัติของสัตว์ทั้งหลาย เธอเห็นหมู่สัตว์ที่กำลังจุติ กำลังอุปบัติ เลว ประณีต มีผิวพรรณดี มีผิวพรรณทรามได้ดี ตกยาก ด้วยทิพยจักษุอันบริสุทธิ์ ล่วงจักษุของมนุษย์ ย่อมรู้ชัดซึ่งหมู่สัตว์ผู้เป็นไปตามกรรมว่า สัตว์เหล่านี้ ประกอบด้วยกายทุจริต วจีทุจริต มโนทุจริต ติเตียนพระอริยเจ้า เป็นมิจฉาทิฏฐิ ยึดถือการกระทำด้วยอำนาจมิจฉาทิฏฐิ เบื้องหน้าแต่ตายเพราะกายแตก เขาย่อมเข้าถึงอบาย ทุคติ วินิบาต นรก ส่วนสัตว์เหล่านี้ ประกอบด้วยกายสุจริต วจีสุจริต มโนสุจริต ไม่ติเตียนพระอริยเจ้า เป็นสัมมาทิฏฐิ ยึดถือการกระทำด้วยอำนาจสัมมาทิฏฐิ เบื้องหน้าแต่ตายเพราะกายแตก เขาย่อมเข้าถึงสุคติ โลกสวรรค์ ดังนี้ เธอย่อมเห็นหมู่สัตว์กำลังจุติ กำลังอุปบัติ เลว ประณีต มีผิวพรรณดี มีผิวพรรณทราม ได้ดี ตกยาก ด้วยทิพยจักษุอันบริสุทธิ์ ล่วงจักษุของมนุษย์ ย่อมรู้ชัดซึ่งหมู่สัตว์ผู้เป็นไปตามกรรม ด้วยประการฉะนี้ ดูกรเกวัฏฏ์ แม้ข้อนี้ก็เรียกว่าอนุสาสนีปาฏิหาริย์.


    อาสวักขยญาณ

    ภิกษุนั้น เมื่อจิตเป็นสมาธิ บริสุทธิ์ผ่องแผ้ว ไม่มีกิเลส ปราศจากอุปกิเลส อ่อน ควรแก่การงาน ตั้งมั่น ไม่หวั่นไหว อย่างนี้ ย่อมโน้มน้อมจิตไปเพื่ออาสวักขยญาณ ย่อมรู้ชัด ตามความเป็นจริงว่า นี้ทุกข์ นี้ทุกขสมุทัย นี้ทุกขนิโรธ นี้ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา เหล่านี้อาสวะ
    เหล่านี้อาสวสมุทัย นี้อาสวนิโรธ นี้อาสวนิโรธคามินีปฏิปทา เมื่อเธอรู้เห็นอย่างนี้ จิตย่อม
    หลุดพ้น แม้จากกามาสวะ แม้จากภวาสวะ แม้จากอวิชชาสวะ เมื่อจิตหลุดพ้นแล้ว ก็มีญาณ
    ว่าหลุดพ้นแล้ว รู้ชัดว่าชาติสิ้นแล้ว พรหมจรรย์อยู่จบแล้ว กิจที่ควรทำ ทำเสร็จแล้ว กิจอื่น
    เพื่อความเป็นอย่างนี้มิได้มี ดูกรเกวัฏฏ์ เปรียบเหมือนสระน้ำบนยอดเขา ใสสะอาดไม่ขุ่นมัว
    บุรุษผู้มีจักษุยืนอยู่บนขอบสระนั้น จะพึงเห็นหอยโข่งและหอยกาบต่างๆ บ้าง ก้อนกรวด และ ก้อนหินบ้าง ฝูงปลาบ้าง กำลังว่ายอยู่บ้าง หยุดอยู่บ้าง ในสระน้ำนั้น เขาจะพึงคิดเห็น
    อย่างนี้ว่า สระน้ำนี้ใสสะอาดไม่ขุ่นมัว หอยโข่งและหอยกาบต่างๆ บ้าง ก้อนกรวดและก้อนหิน บ้าง ฝูงปลาบ้าง เหล่านี้กำลังว่ายอยู่บ้าง กำลังหยุดอยู่บ้าง ในสระนั้น ดังนี้ ฉันใด
    ภิกษุก็ฉันนั้นแล เมื่อจิตเป็นสมาธิ บริสุทธิ์ผ่องแผ้ว ไม่มีกิเลส ปราศจากอุปกิเลส อ่อน
    ควรแก่การงาน ตั้งมั่น ไม่หวั่นไหว อย่างนี้ ย่อมโน้มน้อมจิตไปเพื่ออาสวักขยญาณ ย่อมรู้ชัดตามความเป็นจริงว่า นี้ทุกข์ นี้ทุกขสมุทัย นี้ทุกขนิโรธ นี้ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา เหล่านี้อาสวะ นี้อาสวสมุทัย นี้อาสวนิโรธ นี้อาสวนิโรธคามินีปฏิปทา เมื่อเธอรู้เห็นอย่างนี้ จิตย่อมหลุดพ้น แม้จากกามาสวะ แม้จากภวาสวะ แม้จากอวิชชาสวะ เมื่อจิตหลุดพ้นแล้ว ก็มีญาณว่าหลุดพ้นแล้ว รู้ชัดว่าชาติสิ้นแล้ว พรหมจรรย์อยู่จบแล้ว กิจที่ควรทำ ทำเสร็จแล้ว กิจอื่นเพื่อความเป็นอย่างนี้มิได้มี ดูกรเกวัฏฏ์ แม้ข้อนี้ก็เรียกว่าอนุสาสนีปาฏิหาริย์.


    ดูกรเกวัฏฏ์ ปาฏิหาริย์ ๓ เหล่านี้แล เราทำให้แจ้งด้วยปัญญาอันยิ่งด้วยตนเองแล้ว
    จึงประกาศให้รู้


    นำมาจาก
    http://www.dhammathai.org/kaveedhamma/view.php?No=1573
     
  13. พันวฤทธิ์

    พันวฤทธิ์ เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    3,783
    ค่าพลัง:
    +16,097
    พระพุทธประวัติ ตอนที่ ๑๓ : ทรงอภิเษกสมรสกับพระนางพิมพา
    <!-- Main -->[SIZE=-1]พระพุทธประวัติ ตอนที่ ๑๓ : ทรงอภิเษกสมรสกับพระนางพิมพายโสธรา

    พระบิดาทรงอภิเษกสมรส
    พระสิทธัตถะกับพระนางพิมพายโสธรา

    พระญาติวงศ์ของพระพุทธเจ้านั้นมีสองฝ่าย คือฝ่ายพระมารดาและฝ่ายพระบิดา ทั้งสองฝ่าย อยู่คนละเมือง มีแม่น้ำโรหิณีไหลผ่านเป็นเขตกั้นพรมแดน พระญาติวงศ์ฝ่ายพระมารดามีชื่อว่า โกลิยวงศ์ ครองเมืองเทวทหะ พระญาติวงศ์ฝ่ายพระบิดาชื่อ ศากยวงศ์ ครองเมืองกบิลพัสดุ์

    ทั้งสองนครนี้เกี่ยวดองเป็นพระญาติกัน มีความรักกันฉันพี่น้องร่วมสายโลหิต ต่างอภิเษกสมรส กันและกันเสมอมา สมัยพระพุทธเจ้า ผู้ทรงอยู่ในฐานะประมุขครองเมืองเทวทหะ คือ พระเจ้าสุปปพุทธะ ส่วนผู้ครองเมือง กบิลพัสดุ์ก็เป็นที่ทราบกันดี คือ พระเจ้าสุทโธทนะ

    พระชายาของพระเจ้าสุปปพุทธะมีพระนามว่าพระนางอมิตา เป็นกนิษฐภคินี คือน้องสาวคนเล็ก ของพระเจ้าสุทโธทนะ กลับกันคือ พระชายาของพระเจ้าสุทโธทนะหรือพระมารดาของพระพุทธเจ้ามีพระนามว่าพระนางมายา พระนางเป็นน้องสาวของพระเจ้าสุปปพุทธะ ทั้งสองทรงอภิเษกสมรสกับพระภคินีของกันและกัน พระเจ้าสุปปพุทธะมีพระโอรส และพระธิดาอันเกิดกับพระนางอมิตาสองพระองค์ พระโอรสคือ พระเทวทัต พระธิดาคือ พระนางพิมพายโสธรา

    [​IMG]

    ปฐมสมโพธิกล่าวว่า พระนางพิมพายโสธราเป็นผู้หนึ่งในจำนวน ๗ สหชาติของพระพุทธเจ้า สหชาติ คือ สิ่งที่เกิดพร้อมกันกับวันที่พระพุทธเจ้าเกิด ๗ สหชาตินั้น คือ
    ๑. พระนางพิมพายโสธรา
    ๒. พระอานนท์
    ๓. กาฬุทายีอำมาตย์
    ๔. นายฉันนะมหาดเล็ก
    ๕. ม้ากัณฐกะ
    ๖. ต้นพระศรีมหาโพธิ์
    ๗. ขุมทองทั้ง ๔ (สังขนิธิ, เอลนิธิ, อุบลนิธิ, บุณฑริกนิธิ)


    [​IMG]

    ในคราวนั้น พระญาติวงศ์ทั้งสองฝ่ายทรงเห็นพร้อมกันว่า พระนางพิมพายโสธราทรงพร้อมด้วยคุณสมบัติทุกอย่าง สมควรจะอภิเษกสมรสกับเจ้าชายสิทธัตถะ พระราชพิธีอภิเษกสมรสจึงได้มีขึ้นในสมัยที่ทั้งเจ้าชาย และเจ้าหญิงทรงมีพระชนมายุได้ ๑๖ ปีพอดี



    [/SIZE]<!-- End main-->
     
  14. พันวฤทธิ์

    พันวฤทธิ์ เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    3,783
    ค่าพลัง:
    +16,097
    [​IMG]


    วิมุตติ


    วิมุตติ หมายถึง ความหลุดพ้น ความพ้นจากกิเลส มี ๕ อย่าง
    ๑. ตทังควิมุตติ พ้นด้วยธรรมคู่ปรับหรือพ้นชั่วคราว เป็น โลกิยวิมุตติ
    ๒. วิกขัมภนวิมุตติ พ้นด้วยข่มหรือสะกดได้ เป็น โลกิยวิมุตติ
    ๓. สมุจเฉทวิมุตติ พ้นด้วยตัดขาด เป็น โลกุตตรวิมุตติ
    ๔. ปฏิปัสสัทธิวิมุตติ พ้นด้วยสงบ เป็น โลกุตตรวิมุตติ
    ๕. นิสฺสรณวิมุตติ พ้นด้วยออกไป เป็น โลกุตตรวิมุตติ

    *********************************************************

    ตทังควิมุตติ (พ้นด้วยองค์นั้นๆ) หมายความว่า พ้นจากกิเลสด้วยอาศัยธรรมตรงกันข้าม
    ที่เป็นคู่ปรับกัน เช่น เกิดเมตตา หายโกรธ เกิดสังเวช หายกำหนัด เป็นต้น เป็นการหลุดพ้นชั่วคราว

    วิกขัมภนวิมุตติ พ้นด้วยข่มหรือสะกดไว้ ได้แก่ ความพ้นจากกิเลสและอกุศลธรรมได้ด้วย
    กำลังฌาน อาจสะกดไว้ได้นานกว่าตทังควิมุตติ แต่เมื่อฌานเสื่อมแล้ว กิเลสอาจเกิดขึ้นอีก

    สมุจเฉทวิมุตติ หลุดพ้นด้วยตัดขาด ได้แก่ พ้นจากกิเลสด้วยอริมรรค กิเลสเหล่านั้น
    ขาดเด็ดไป ไม่กลับเกิดขึ้นอีก

    ปฏิปัสสัทธิวิมุตติ ความหลุดพ้นด้วยสงบระงับ ได้แก่ การหลุดพ้นจากกิเลสด้วยอริยผล
    เป็นการหลุดพ้นที่ยั่งยืน ไม่ต้องขวนขวายเพื่อละอีก เพราะกิเลสนั้นสงบไปแล้ว

    นิสสรณวิมุตติ ความหลุดพ้นด้วยออกไปเสีย หรือสลัดออกได้ เป็นการพ้นที่ยั่งยืนตลอดไป
    ได้แก่ นิพพาน


    http://www.dhammathai.org/kaveedhamma/view.php?No=785
     
  15. aries2947

    aries2947 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    26 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    2,031
    ค่าพลัง:
    +11,622
    มีภาคต่อมาแล้วนะครับ
    รอบภาค3ต่ออีกนะครับพี่พันวฤทธิ์ครับ
    โมทนาสาธุครับ
    น้องเอ

    ปล.ผมจะฝากเงินพี่Chaipatร่วมทำบุญไว้นะครับ ร่วมต่อจากครั้งที่แล้วมา
    ตั้งใจจะฝากทำให้ได้ทุกๆเดือนครับ
     
  16. newcomer

    newcomer เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    5 กันยายน 2007
    โพสต์:
    1,317
    ค่าพลัง:
    +3,934
    เรียน ท่านพันวฤทธิ์

    ร่วมบุญเพิ่มเติมครับ

    ฝากที่เคาเตอร์ สาขาเอสพานาด เข้าบัญชี 348-123-245-9

    วันที่ 9/6/2551 เวลา 13:10 น. จำนวน 200 บาท ครับ

    โมทนาบุญกับทุกท่าน ครับ
     
  17. พันวฤทธิ์

    พันวฤทธิ์ เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    3,783
    ค่าพลัง:
    +16,097

    นี่ก็เป็นอีกแบบหนึ่งน๊ะน้องเอ
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=700 align=center border=0><TBODY><TR><TD>

    </TD></TR><TR><TD class=dotline height=1></TD></TR><TR><TD>
    [​IMG]
    จิตใจผ่องใส นั่งท่าที่สบาย ... ทำตามหนูน่ะ มีแต่ประโยชน์
    สมาธิ คือการที่มีใจตั้งมั่นในอารมณ์ใดอารมณ์หนึ่งอย่างแน่วแน่ กล่าวในภาษาชาวบ้านก็คือ การมีใจจดจ่ออยู่ในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง ไม่ฟุ้งซ่านนั่นเองการทำสมาธิแบบนี้ไม่ได้เน้นการเข้าถึงนิพพาน หรือความสิ้นไปของอาสวะ แต่ก็เป็นพื้นฐานที่ดีหากต้องการปฏิบัติต่อไปในขั้นสูง หากแต่มีประโยชน์ที่เห็นได้ทันทีก็ได้จากในชีวิตประจำวัน ทำให้เรามีจิตใจผ่องใส ประกอบกิจการงานได้ราบรื่นและคิดอะไรก็รวดเร็วทะลุปรุโปร่ง เพราะว่าระดับจิตใจได้ถูกฝึกมาให้มีความนิ่งดีแล้ว เมื่อมีความนิ่งเป็นสมาธิดีแล้ว ย่อมมีพลังแรงกว่าใจที่ไม่มีสมาธิ ดังนี้เมื่อจะคิดทำอะไร ก็จะทำได้ดี และได้เร็วกว่าคนปกติ ที่ไม่ได้ผ่านการฝึกสมาธิมาก่อน วิธีการทำสมาธิที่ได้ผลและเป็นที่นิยม ได้ถูกนำมากล่าวแนะนำไว้ในที่นี้แล้ว เริ่มตั้งแต่ขั้นพื้นฐาน และขั้นตอนต่างๆ โดยท่านสามารถอ่านทีละหัวข้อตามลำดับดังต่อไปนี้


    [​IMG]
    ท่องภาวนาไว้เป็นอารมณ์ให้กำหนดรู้อยู่ในใจ พุทโท ให้ตั้งมั่นอยู่อารมณ์เดียว นะครับ


    พุทโธ ท่องภาวนาไว้เป็นอารมณ์ให้กำหนดรู้อยู่ในใจ การนอน คือให้นอนตะแคงข้างขวา เอามือขวาวางรองศีรษะ ยืดมือซ้ายไปตามตัว ไม่นอนขด นอนคว่ำ หรือนอนหงาย แล้วก็สำรวมสติตั้งมั่นด้วยการภาวนาคำว่า พุทโธ ให้ตั้งมั่นอยู่ในอารมณ์เดียว เช่นเดียวกัน

    ๑. การทำสมาธิสามารถทำได้ทุกขณะอิริยาบถ
    ท่านพ่อลี (พระอาจารย์ลี ธมฺมธโร) พระสายธุดงที่มีชื่อเสียงท่านหนึ่งแห่งภาคอีสาน ได้เคยให้คำอธิบายวิธีการทำสมาธิในชีวิตประจำวัน เวลาที่จะทำสมาธินั้นท่านได้อธิบายอย่างง่ายๆไว้ว่าทำได้ทั้งยืน เดิน นั่ง และนอน ในอิริยบททั้ง ๔ นี้เมื่อใดที่ใจเป็นสมาธิก็ถือว่าเป็นภาวนามัยกุศล ซึ่งถือเป็นกุศลกรรมสิทธิ์เฉพาะตัว ถือว่าได้บุญด้วยอย่างหนึ่ง ดังนั้นจึงพอสรุปจากคำแนะนำของท่านไว้ได้ดังนี้คือ การยืน ทำโดยยืนให้ตรง วางมือขวาทับมือซ้าย คว่ำมือทั้งสอง หลับตาหรือลืมตาสุดแท้แต่จะสะดวกในการทำ แล้วเพ่งไปที่คำว่า พุทโธ จนจิตตั้งมั่นได้ การเดิน เรียก ว่าเดินจงกรม ให้กำหนดความสั้น ความยาว ของเส้นทางที่จะเดินสุดแท้แต่เราเอง ควรจะหาสถานที่ และเวลาที่เหมาะสม ไม่อึกทึกครึกโครม และไม่มีสิ่งรบกวนจากรอบข้าง นอกจากนั้นที่ที่จะเดินไม่ควรสูงๆ ต่ำๆ แต่ควรเรียบเสมอกัน เมื่อหาสถานที่และเวลาที่เหมาะสมได้แล้วก็ตั้งสติ อย่าเงยหน้าหรือก้มหน้านัก ให้สำรวมสายตาให้ทอดลงพอดี วางมือทั้งสองลงข้างหน้าทับกันเหมือนกับยืน การเดินแต่ละก้าวก็ให้จิตตั้งมั่นอยู่กับคำบริกรรมว่า พุทโธ โดยเดินอย่างสำรวม ช้าๆ ไม่เร่งรีบ กำหนดรู้ในใจ การนั่ง คือนั่งให้สบาย แล้วเพ่งเอาจิตไปที่การบริกรรมคำว่า
    พุทโธ ท่องภาวนาไว้เป็นอารมณ์ให้กำหนดรู้อยู่ในใจ การนอน คือให้นอนตะแคงข้างขวา เอามือขวาวางรองศีรษะ ยืดมือซ้ายไปตามตัว ไม่นอนขด นอนคว่ำ หรือนอนหงาย แล้วก็สำรวมสติตั้งมั่นด้วยการภาวนาคำว่า พุทโธ ให้ตั้งมั่นอยู่ในอารมณ์เดียว เช่นเดียวกัน

    [​IMG]
    เริ่มแล้วก็ให้ทำทุกวันจนเกิดความเคยชินเป็นนิสัยติดตัว เพราะว่าการทำสมาธิต้องอาศัยความเพียรในการฝึกฝน
    ๒.ข้อแนะนำและการเตรียมตัวก่อนการทำสมาธิ
    ๒.๑ การหาเวลาที่เหมาะสม เช่นไม่ใช่เวลาใกล้เที่ยงเป็นต้นจะทำให้หิวข้าว หรือทำใกล้เวลาอาหาร และไม่ทานอิ่มเกินไปเพราะจะทำให้ง่วงนอน หรือเวลาที่คนในบ้านยังมีกิจกรรมอยู่ ยังไม่หลับเป็นต้น
    ๒.๒ การหาสถานที่ที่เหมาะสม ไม่ใช่ที่อึกทึก นอกจากได้สมาธิในขั้นต้นแล้ว และต้องการฝึกการเข้าสมาธิในที่อึกทึก
    ๒.๓ เสร็จจากธุระภาระกิจต่างๆ และกิจวัตรประจำวันแล้ว เช่นหลังจากอาบน้ำแล้ว ขับถ่ายเรียบร้อยแล้ว ไม่ได้มีนัดหมายกับใครแล้วเป็นต้น
    ๒.๔ อยู่ในอาการที่สบาย คือการเลือกท่านั่งที่สบาย ท่าที่จะทำให้อยู่นิ่งๆ ได้นานโดยไม่ปวดเมื่อยและเกิดเหน็บชา อาจจะไม่ใช่การนั่งขัดสมาธิก็ได้ แต่การนั่งขัดสมาธิถ้าทำได้ถูกท่าและชินแล้ว จะเป็นท่าที่ทำให้นั่งได้นานที่สุด อย่างไรก็ตามไม่ควรอยู่ในท่าเอนหลังหรือนอน เพราะความง่วงจะเป็นอุปสรรค เมื่อร่างกายได้ขนานกับพื้นโลกจะทำให้ระบบของร่างกายพักการทำงานโดยอัตโนมัติ ทำให้ต้องใช้กำลังใจในการทำสมาธิมากกว่าการนั่ง
    ๒.๕ ไม่ควรนึกถึงผล หรือปรารถนาในลำดับชั้นของการนั่งในแต่ละครั้ง เช่นว่าจะต้องเห็นโน่นเห็นนี่ให้ได้ในคืนนี้เป็นต้น เพราะจะเป็นการสร้างความกดดันทางใจโดยไม่รู้ตัว และเกิดความกระวนกระวายทำให้ใจไม่เกิดสมาธิ ใจไม่นิ่ง ต้องทำใจให้ว่างมากที่สุด
    ๒.๖ ตั้งเป้าหมายในการนั่งแต่ละครั้ง เช่นตั้งใจว่าจะต้องนั่งให้ครบ ๑๕ นาทีก็ต้องทำให้ได้เป็นต้น และพยายามขยายเวลาให้นานออกไป เมื่อเริ่มฝึกไปได้สักระยะหนึ่งแล้ว เพื่อให้สมาธิได้สงบนิ่งได้นานยิ่งขึ้น
    ๒.๗ เมื่อได้เริ่มแล้วก็ให้ทำทุกวันจนเกิดความเคยชินเป็นนิสัยติดตัว เพราะว่าการทำสมาธิต้องอาศัยความเพียรในการฝึกฝน เพื่อให้เกิดความเคยชินและชำนาญ การที่นานๆทำสักครั้ง ก็เหมือนกับการมาเริ่มต้นนับหนึ่งใหม่
    [​IMG]
    นักร้องนำประจำห้อง ในการฝึกสมาธิ 3 2 1 ...ลมหายใจเข้า...ลมหายใจออก...ดั่ง..
    ดั่งดอกไม้บาน
    ลมหายใจเข้า...ลมหายใจออก ดั่งดอกไม้บาน
    ภูผาใหญ่กว้าง ดั่งสายน้ำฉ่ำเย็น ดั่งนภากาศ อันบางเบา
    เทคนิค การร้องเพลงนี้คือ
    1.ให้นึกมโนภาพไปตามคำร้อง
    2.ทำลมหายใจของตนเองให้สดชื่นในขณะที่ร้องเพลง

    ๓.การทำสมาธิโดยการนับเพื่อฝึกการควบคุมจิต
    การทำสมาธิโดยวิธีนี้นั้นมีหลักการนับอยู่หลายวิธี และแต่ละวิธีก็ล้วนแต่มีจุดหมายเดียวกันคือ เป็นอุบายหลอกล่อให้จิตตั้งมั่นอยู่ในเรื่องใดเรื่องหนึ่งเป็นเวลานานได้ ทำให้เราเรียนรู้ที่จะเป็นนายของจิต ควบคุมมันได้ วิธีนับแบบต่างๆพอกล่าวโดยย่อได้ดังต่อไปนี้คือ ๓.๑ นับโดยการบวกเพิ่มขึ้นไปเรื่อยๆ
    [​IMG]
    ทำให้เราเรียนรู้ที่จะเป็นนายของจิต ควบคุมมันได้ ...ดอกไม้บาน ภูผาใหญ่กว้าง ดั่งสายน้ำ..
    ๓.๒ นับลมแบบอรรถกถา
    ๓.๓ นับทวนขึ้นทวนลง
    ๓.๔ นับวน * ๓.๑ การนับโดยการบวกเพิ่มขึ้นไปเรื่อยๆ ทีละหนึ่ง ยกตัวอย่างเช่น พอหายใจเข้าก็นับหนึ่ง พอหายใจออกก็นับสอง หายใจเข้าต่อไปก็นับสาม และหายใจออกต่อไปก็นับสี่ บวกเพิ่มขึ้นไปเรื่อยๆทีละหนึ่ง ตัวเลขที่นับมันก็จะไม่รู้จบ แต่ท่านอาจจะกำหนดตัวเลขจำนวนสูงสุดก็ได้ อาทิเช่นพอถึงหนึ่งร้อย ก็เริ่มนับหนึ่งใหม่เป็นต้น คงไม่ต้องยกตัวอย่าง วิธีนี้เป็นวิธีเริ่มต้นที่ง่าย และใช้สมาธิไม่มากนัก เพราะเหตุที่เราคุ้นเคยกับการนับในชีวิตประจำวันอยู่แล้วโดยอัตโนมัติ เพียงแต่เอาการนับมาควบเข้ากับจังหวะการหายใจเข้า-ออก เพื่อให้มีจิตรู้ตัวอยู่เสมอนั่นเอง
    [​IMG]
    สมาธิก็ถือว่าเป็นภาวนามัยกุศล ซึ่งถือเป็นกุศลกรรมสิทธิ์เฉพาะตัว ถือว่าได้บุญด้วยอย่างหนึ่ง


    ๓.๒ การนับลมแบบอรรถกถา เป็นวิธีของท่านพระอรรถกถาจารย์ ที่ได้นำเอาตัวเลข มาเป็นเครื่องกำหนดร่วมกับการกำหนดลมหายใจ ตามหลักคำสอนของท่านพระสัมมาสัมพุทธเจ้า จากหนังสือพุทธธรรม ของพระราชวรมุนี หน้า (๘๖๕) หลักการนับแบบนี้ช่วยฝึกให้ใจมีสมาธิจดจ่อมากกว่าวิธีแรก วิธีนับมีสองแบบ แบบแรกให้นับเป็นคู่ คือเมื่อหายใจเข้า ก็ให้นับว่า ๑ เมื่อหายใจออกให้นับว่า ๑ พอเที่ยวต่อไปหายใจเข้าให้นับว่า ๒ หายใจออกก็ให้นับว่า ๒ สรุปก็คือลมหายใจเข้าและออกถือเป็นหนึ่งครั้ง จนถึงคู่ที่ ๕ ก็ให้ตั้งต้นมานับ ๑ ไปใหม่จนถึงเลข ๖ ก็ให้มาตั้งต้นนับ ๑ ไปจนถึง ๗ ถึง ๘ ถึง ๙ และ ๑๐ แล้วตั้งต้นนับ ๑ ไปจนถึง ๕ และนับต่อไปถึง ๑๐ อีก ลองศึกษาดูที่ตารางข้างล่างนี้เพื่อทำความเข้าใจอีกครั้ง

    </TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  18. ชิน9

    ชิน9 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กุมภาพันธ์ 2008
    โพสต์:
    46
    ค่าพลัง:
    +247
    ขอร่วมทำบุญ 2,000.- โอนเงินเมื่อ 03.06.2008 09.00.06 1702

    อาม่า คื้อเจ็ง แซ่ซิ้ม
    คุณ พรชัย เบญจนากาศกุล
    คุณ สุรีย์ เบญจนากาศกุล
    คุณสิรินุช แซ่ลี้
    ชิน9

    ขอเชิญทุกท่านร่วมอนูโมทนาบุญด้วยกันนะครับ
     
  19. พันวฤทธิ์

    พันวฤทธิ์ เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    3,783
    ค่าพลัง:
    +16,097
    พระพุทธประวัติ ตอนที่ ๑๔ : ทรงเห็นนิมิตร ๔
    <!-- Main -->[SIZE=-1]ทรงเห็นนิมิตร 4

    วันหนึ่งขณะที่เจ้าชายเสด็จประพาสพระราชอุทยาน พระองค์ได้ทอดพระเนตรเห็นเทวทูตทั้ง4 คือคนแก่ คนเจ็บ คนตายและสมณะ ซึ่งเทพยดานิมิตรให้เห็น ทรงสนพระทัยใต่ถามถึงการแก่ การเจ็บ และการตาย โดยเฉพาะเรื่องนักบวช จนสามารถหยั่งถึงภายในใจของบุรุษผู้นั้นว่ากำลังเต็มไปด้วยความสงบสุขเยือกเย็น จึงได้ตรัสถามนายฉันนะว่าบุคคลเช่นนี้มีชีวิตและความประพฤติเช่นใด นายฉันนะกราบทูลว่าบุคคลผู้นี้เป็นคนที่เรียกว่า ผู้สละโลกเพื่อแสวงหาสิ่งดับทุกข์ทรมานของโลก เจ้าชายมีความปลาบปลื้มในคำๆนี้เป็นอันมากและประทับนิ่งอยู่ในอุทยานนั้นด้วยความสุขใจตลอดวันจนเกิดน้อมจิตขึ้นถึงการสละเรือนเพื่อแสวงหาความหลุดพ้น

    พระเจ้าสุทโธทนะผู้พระราชบิดา และพระญาติวงศ์ทั้งปวงทรงปรารถนาที่จะให้เจ้าชายสิทธัตถะ เสด็จอยู่ครองราชสมบัติมากกว่าที่จะให้เสด็จออกบรรพชาอย่างที่คำทำนายของพราหมณ์บางท่านว่าไว้ จึงพยายามหาวิธีผูกมัดพระโอรส ให้เพลิดเพลินในกามสุขทุกอย่าง แต่เจ้าชายสิทธัตถะทรงมีพระอัธยาศัยเป็นนักคิด สมกับที่ทรงเกิดมาเป็นพระศาสดา โปรดชาวโลก จึงยินดีในความสุขนั้นไม่นาน พอพระชนมายุมากขึ้นจนถึง ๒๙ ก็ทรงเกิดนิพพิทา คือ ความเบื่อหน่าย

    ต้นเหตุสำคัญที่ทำให้เกิดความรู้สึกในพระทัยเช่นนั้น อยู่ที่ทรงเห็นสิ่งที่เรียกว่า เทวทูตทั้ง ๔ ระหว่างทางในวันเสด็จประพาสพระราชอุทยานนอกเมืองด้วยรถม้าพระที่นั่งพร้อมด้วยสารถีคนขับ เทวทูตทั้ง ๔ คือ คนแก่ คนเจ็บ คนตาย และนักบวช

    [​IMG]
    ทรงเห็นคนแก่ก่อน

    ปฐมสมโพธิบรรยายลักษณะของคนแก่ไว้ว่า "มีเกศาอันหงอก แลสีข้างก็คดค้อม กายนั้นง้อมเงื้อมไปในเบื้องหน้า มือถือไม้เท้าเดินมาในระหว่างมรรควิถี มีอาการอันไหวสั่นไปทั่วทั้งกาย ควรจะสังเวช...." ก็ทรงสลดพระทัย

    [​IMG]

    [​IMG]
    ทรงเห็นคนเจ็บและคนตาย

    เช่นเดียวกับเมื่อทรงเห็นคนแก่ เมื่อเสด็จ ประพาสพระราชอุทยาน ทรงปรารภถึงพระองค์ว่าจะต้องเป็นอย่างนั้น ทรงพระดำริว่า สภาพในโลกนี้ย่อมมีสิ่งตรงกันข้ามคู่กัน คือ มีมืดแล้วมีสว่าง มีร้อนแล้วมีเย็น เมื่อมีทุกข์ ก็น่าจะมีทางแก้ทุกข์

    [​IMG]
    ทรงเห็นนักบวช

    ในคราวเสด็จพระราชอุทยานครั้งที่ ๔ ทรงเห็นนักบวช "นุ่งห่มผ้ากาสาวพัสตร์กอปรด้วยอากัปกิริยาสำรวม...." เมื่อทรงเห็นนักบวชก็ทรงเกิดพระทัยน้อมไปในทางบรรพชา ทรงรำพึงในพระทัยที่เรียกอีกอย่างหนึ่ง ทรงเปล่งพระอุทานออกมาว่า "สาธุ ปัพพชา" สองคำนี้เป็นภาษาบาลี แปลให้ตรงกับสำนวนไทยว่า "บวชท่าจะดีแน่" แล้วตัดสินพระทัยว่า จะเสด็จออกบวชตั้งแต่วันนั้นเป็นต้นมา
    [/SIZE]
     
  20. พันวฤทธิ์

    พันวฤทธิ์ เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    3,783
    ค่าพลัง:
    +16,097
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=600 bgColor=#bbbbbb border=0><TBODY><TR><TD><TABLE cellSpacing=1 cellPadding=0 width=600 border=0><TBODY><TR bgColor=#ffffff><TD><TABLE height=30 cellSpacing=3 cellPadding=3 width="100%" align=center border=0><TBODY><TR vAlign=top><TD align=left>[​IMG]


    สัญญาเก่า..สัญญาใหม่


    ลมหายใจ แรงแรง ที่ต่อเนื่อง
    ดุจดั่งเครื่อง ติดแล้ว ไม่ดับหนี
    จิตแน่วแน่ เพ่งไว้ สิ่งใด(ก็)ดี
    นั่นแหล่ะที่ เรียก "ฌาน" มานานเนา

    แม้อาการ เกิดมี ปีติ สุข
    จะขนลุก โยกโคลงเคลง ก็ปล่อยเขา
    น้ำตาไหล ให้ไหลไป ใช่ของเรา
    จิตจะเข้า อารมณ์(เดียว)ก่อ ต่อเนื่องไป

    มีวิตก วิจาร ปีติ สุข
    จะนั่งลุก ยืน เดิน ก็ทำได้
    แต่อย่าลืม อารมณ์เดียว ต่อเนื่องไว้
    เอกัคคตาไซร้ สี่ธรรมนัย ใน "ปฐมฌาน"

    "ปฐมฌาน" ฌานแรก ฆ่านิวรณ์
    ความง่วงนอน จิตฟุ้ง จรุงสาน
    กามราคะ ก็จะละ ด้วยองค์ฌาน
    เป็นสัญญาณ ให้จิตรู้ สู่พุทธา

    ด้วยสัญญา เก่ารู้ว่า ถ้าเกิดง่วง
    จิตจะร่วง กายจะทอด กอดหมอนหนา
    ความเกียจคร้าน จะซ่านจิต คิดนิทรา
    มาลูกมา สร้าง(สัญญา)ใหม่ ให้จิตกัน



    ขอขอบคุณ
    http://www.dhammathai.org/kaveedhamma/view.php?No=780
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>
     

แชร์หน้านี้

Loading...