วิชชาที่จะทำให้อยู่รอดจากยุคสมัยแห่งภัยพิบัติ

ในห้อง 'ภัยพิบัติและการเตรียมการ' ตั้งกระทู้โดย kananun, 17 กรกฎาคม 2006.

  1. Sawiiika

    Sawiiika เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 เมษายน 2008
    โพสต์:
    1,811
    ค่าพลัง:
    +1,557
    ณ วัดท่าซุง

    [​IMG]
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • 870.jpg
      870.jpg
      ขนาดไฟล์:
      152.2 KB
      เปิดดู:
      1,460
    • 997.jpg
      997.jpg
      ขนาดไฟล์:
      116.5 KB
      เปิดดู:
      59
    • DSC05072.jpg
      DSC05072.jpg
      ขนาดไฟล์:
      113.9 KB
      เปิดดู:
      85
    • DSC05151.JPG
      DSC05151.JPG
      ขนาดไฟล์:
      118.9 KB
      เปิดดู:
      41
    • DSC04911.jpg
      DSC04911.jpg
      ขนาดไฟล์:
      2.1 MB
      เปิดดู:
      45
    • 115.jpg
      115.jpg
      ขนาดไฟล์:
      140.3 KB
      เปิดดู:
      158
  2. Sawiiika

    Sawiiika เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 เมษายน 2008
    โพสต์:
    1,811
    ค่าพลัง:
    +1,557
    ณ วัดท่าซุง

    [​IMG]
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • 965.jpg
      965.jpg
      ขนาดไฟล์:
      155.2 KB
      เปิดดู:
      549
    • 940.jpg
      940.jpg
      ขนาดไฟล์:
      127.9 KB
      เปิดดู:
      46
    • 086.jpg
      086.jpg
      ขนาดไฟล์:
      194.8 KB
      เปิดดู:
      53
  3. ชนินทร

    ชนินทร พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 ตุลาคม 2007
    โพสต์:
    1,725
    ค่าพลัง:
    +6,384
    สวัสดีค่ะทุกคน... วันนี้ธรมีเรื่องจะมาบอกเล่าให้ทราบ ๒ เรื่อง ด้วยกันค่ะ...

    ๑.

    วันนี้อาจารย์คณานันท์ฝากความระลึกถึงมาถึงทุกๆ คนค่ะ...

    อาจารย์กำลังไปอบรมการใช้ชีวิตตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง (โดยใช้เวลา ๓ คืน ๔ วัน ค่ะ)... ซึ่งจะสามารถทำให้ดำรงชีวิตอย่างมีความสุข อย่างยั่งยืนได้ดีขึ้น...

    ความรู้ที่ได้กลับมา... ก็เพื่อจะนำมาถ่ายทอด ให้พวกเราท่านทั้งหลายได้รับรู้รับทราบ... และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ได้ยามเกิดภัย... หลังเกิดภัย... หรือแม้แต่ในยามปกติที่ไม่มีภัยใดๆ ( แต่ต้องการใช้ชีวิตสงบๆ ในโลกที่กำลังวุ่นวายขึ้นเรื่อยๆ ใบนี้ ^__^)...

    ดังนั้นอดใจรอ กันสักนิดนะคะ... เชื่อแน่ว่า... อาจารย์คณานันท์คงมีอะไร ดีๆ สนุกๆ กลับมาเล่าให้พวกเราฟังแน่นอนค่ะ...


    กราบโมทนากับอาจารย์ด้วยค่ะ...

    ..............................................................


    ๒. ส่วนเรื่องที่สองนี้... สาธุ สาธุ สาธุ....

    น้องชัช (Xorce) ฝากบอกมาค่ะ...

    ตอนนี้น้องชัชถอดกายทิพย์เต็มกำลังได้แล้วนะคะ...

    ลองมาฟังวิธีการ... การวางอารมณ์ของน้องเขาดูกันค่ะ...

    - ขั้นแรกน้องชัชบอกว่า... ในตอนเช้า... เมื่อจับภาพพระ จับลมสบายจนจิตสงบดีแล้ว... ได้อธิษฐานขออาราธนาบารมีพระท่าน... ขอได้โปรดดึงอทิสมานกายของเขาออกจากกายหยาบด้วยเถิด...

    - หลังจากนั้นทั้งวัน... ย้ำ... ทั้งวัน... น้องชัชภาวนา "พุทโธ" โดยไม่ได้สนใจกับลมหายใจแต่อย่างใด... แต่ถ้าจิตซ่านขึ้นมาเมื่อใด ก็ต้องจับลมสบายจนกว่าจิตจะสงบดังเดิม... ได้ถามน้องเขาว่าจำเป็นต้องเป็น "พุทโธ" หรือ... น้องชัชบอกว่า... ไม่จำเป็นครับ... แต่ต้องมีคำภาวนา... จะเป็นอะไรก็ได้ครับ... แต่ ต้องภาวนาทั้งวัน... ไม่ว่าจะทำอะไรอยู่... ไม่ว่าจะอยู่ในอิริยาบถใดก็ตาม... อย่าส่งจิตออกไปฟุ้งซ่านกับเรื่องภายนอก... พยายามประคองสติอยู่กับคำภาวนาให้ได้ ทั้งวัน...

    - ได้ถามว่า... ต้องจับภาพพระไปด้วยตลอดเวลาหรือไม่... น้องเขาบอกว่า... เปล่าครับ... ผมท่องแต่พุทโธ ไปเรื่อยๆ... อยู่ๆ บางทีภาพพระท่านก็จะปรากฏเองบ้างครับ...

    - น้องชัชปฏิบัติดังนี้อยู่สามวัน - สามคืน... โดยน้องย้ำว่า... ในขณะที่ทำ... อย่าอยาก อย่าเครียด อย่าเพ่ง อย่าเค้น ให้เกิดภาพ หรือให้มีอาการที่จะออกใดๆ ทั้งสิ้น... เพราะถ้ายิ่งอยาก ยิ่งเครียด ยิ่งเพ่ง ยิ่งเค้น... มันจะยิ่งไม่ได้...


    - น้องเขาบอกว่า... ให้ทำอารมณ์ เบาๆ สบายๆ ทำไปเรื่อยๆ เย็นๆ... เมื่อยิ่งภาวนาไปเรื่อยๆ สบายๆ... อารมณ์ในดวงจิต... ตรงกลางทรวงอกจะยิ่งเย็นขึ้น ชุ่มช่ำขึ้นเรื่อยๆ... เย็นขึ้นเรื่อยๆ เย็นขึ้นเรื่อยๆ... (ที่สำคัญคือ การวางอารมณ์ใจให้เย็นเป็นปกติ... ไม่ว่าจะเป็นการแผ่เมตตา การจับอรูป หรือการภาวนา... ซึ่งน้องชัชใช้การภาวนาพุทโธ... ทำให้ดวงจิตชุ่มเย็นอยู่ตลอดเวลา)


    - เมื่อทำวันแรก... มีอาการสั่นโคลง... ก็ทำต่อไปเรื่อยๆ
    เข้าวันที่สอง... มีอาการเย็นที่อกและเย็นขึ้นเรื่อยๆ
    วันที่สาม... อารมณ์ใจเริ่มเบา... ตัวเหมือนกับจะลอยๆ... กายเหมือนกับเริ่มจะแยกกัน...
    เมื่อเข้าวันที่สี่... ตอนกลางคืนเกิดอาการปีติ... ขณะกำลังนั่งภาวนาไปเรื่อยๆ... เริ่มมีอาการร่างกายสั่นโคลง กระดุกกระดิก... แรงขึ้นๆ ... มีอาการเย็นขึ้นเย็นขึ้น... อารมณ์ใจเบาขึ้นเบาขึ้น... มีอาการลอยๆ... แต่น้องชัชเขาไม่ได้สนใจในอาการที่เกิดขึ้นแต่อย่างใด... ยังคงภาวนา "พุทโธ" ไปเรื่อยๆ... จนอยู่ๆ ร่างกายก็นอนเหยียดยาวลง... อาการปีติก็ยิ่งเต้นแรงขึ้นๆ... ยิ่งเย็นขึ้น เบาขึ้น... สบายขึ้น...

    - จนอยู่ๆ... น้องเขาก็รู้สึกตัวว่าออกมายืนอยู่นอกร่างแล้ว... และเห็นจีวรสีเหลืองของพระรูปหนึ่ง... น้องเขาขอให้พระท่านช่วยสงเคราะห์พาไปเที่ยว...

    - ซึ่งการไปเที่ยวนี้... ไปหลายสถานที่มากๆ จนเขาจำไม่ได้ว่าไปที่ไหนมาบ้าง...

    - ได้ถามเขาว่า... แล้วชัชกลับเข้าร่างด้วยวิธีไหน...

    น้องชัชบอกว่า... พอเช้า... ตื่นขึ้นมา ก็มาอยู่ที่เดิมเองแล้วครับ...

    น้องชัชฝากย้ำมาว่า... สิ่งที่สำคัญที่สุด คือ การทำให้อารมณ์เบาๆ สบายๆ ... ส่วนการถอดกายทิพย์ได้นั้นเป็นเพียงผลพลอยได้เท่านั้นค่ะ...

    นี่เป็นเพียงวิธีการหนึ่ง... ในหลายๆ วิธีของการถอดกายทิพย์นะคะ...

    ดังนั้น... ถ้าวิธีการที่น้องเขาปฏิบัติ... และได้ผล... นี้ เกิดไม่ตรงกับจริต หรือวิธีการของท่านหนึ่งท่านใดเข้า... ก็อย่าเพิ่งคิดว่าจะเป็นไปไม่ได้นะคะ...

    ลงมือทำกัน... อย่างตั้งจิตตั้งใจจริงๆ... ตามคำแนะนำของครูบาอาจารย์... อย่างถูกวิธี... ไม่ช้าทุกท่านก็จะเจริญก้าวหน้าในธรรม... ตามแนวทางที่ท่านเลือกปฏิบัติกันแน่นอนค่ะ...

    ...............................................

    พี่ขอโมทนากับความตั้งใจจริง และความเพียรของน้องชัชด้วยจ้ะ...

    .........................................................
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 5 กันยายน 2008
  4. TupLuang

    TupLuang เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    6 มิถุนายน 2008
    โพสต์:
    3,143
    ค่าพลัง:
    +1,371
    ก้อนเชื้อเพลิงอัดแข็ง จากกากมะพร้าวและขยะแห้ง

    <TABLE height=34 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD style="PADDING-LEFT: 10px">
    ก้อนเชื้อเพลิงอัดแข็ง จากกากมะพร้าวและขยะแห้ง
    [5 ก.ย. 51 - 15:55]​


    </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE class=text cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD align=middle><TABLE class=text cellSpacing=0 cellPadding=10 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD>
    [​IMG]

     
  5. suc12126

    suc12126 สมาชิกใหม่

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 สิงหาคม 2008
    โพสต์:
    12
    ค่าพลัง:
    +1
    [​IMG]




    นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ

    นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ

    นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ<O:p

    สัพพัง อะปะราธัง ขะมะถะ เม ภันเต อุกาสะ ทวารัตตะเยนะ กะตัง สัพพัง อะปะราธัง ขะมะถะ เม ภันเต อุกาสะ ขะมามิ ภันเตฯ<O:p
    ขอนอบน้อมแด่พระผู้มีพระภาคเจ้า เป็นผู้ซึ่งไกลจากกิเลส ขอคุณพระรัตนะไตร คุณแห่ง ทาน ศีล ภาวนา ที่ทุกท่านได้เคยทำ ที่มีอยู่ในโลก มารวมเป็นพลังให้ทุกชีวิต ทุกภพภูมิ มีความสุข และสามารถแก้ปัญหานำมาซึ่งความสุขแก่ทุกชีวิต<O:p<O:p
    พุทธัง อะนันตัง ธัมมัง จักวาฬัง สังฆัง นิพพานะ ปัจจะโยโหตุ<O:p
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • P1010370.1.jpg
      P1010370.1.jpg
      ขนาดไฟล์:
      366.3 KB
      เปิดดู:
      426
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 6 กันยายน 2008
  6. ~ สุดที่รัก ~

    ~ สุดที่รัก ~ สมาชิกใหม่

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 กรกฎาคม 2008
    โพสต์:
    14
    ค่าพลัง:
    +1
    กราบขอบพระคุณสำหรับแนวทางที่นำมาเล่าสู่กันฟังค่ะ

    อย่างไรก็ตาม เพื่อให้เห็นภาพอย่างชัดเจนของการฝึกถอดกายทิพย์

    จึงเรียนถามดังนี้ค่ะ .....(มิได้เป็นการลบหลู่ หรือท้าทายนะคะ)

    1. ประโยชน์และข้อดีของการฝึกถอดกายทิพย์ นั้น คืออะไร
    2. การถอดกายทิพย์ เทียบเคียงได้กับ มโนมยิทธิแบบเต็มกำลัง ใช่หรือไม่
    3. กรณีของน้องที่เล่ามา เป็นการถอดกายทิพย์อย่างสมบูรณ์
    แต่ยังไม่สามารถควบคุมได้ ดังนั้นหากผู้อื่นฝึกแล้ว พบสภาพแบบนี้
    จะมีวิธีการแยกแยะ อย่างไรว่า อย่างไหนคือถอดกายทิพย์จริง
    และอย่างไหนคือความฝัน

    ข้อ 3 ถามเนื่องจากตนเองเคยพบสภาพที่ เหมือนออกมาเดินอยู่นอกกายเนื้อ
    ในสภาพห้องที่มืด (ไม่ได้เปิดไฟ) ออกมาคุยกับคนที่มาหา
    ก็คุยกันไปแบบมืดๆ แต่ก็เห็นรายละเอียดชัดเจนดี
    คุยเสร็จก็รู้ตัวอีกที คือ ตื่นแล้ว และมักจะคิดว่า ตนเองฝันไป


    ขอบพระคุณล่วงหน้าค่ะ
     
  7. ชนินทร

    ชนินทร พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 ตุลาคม 2007
    โพสต์:
    1,725
    ค่าพลัง:
    +6,384
    สวัสดีค่ะคุณสุดที่รัก...

    กราบโมทนากับการฝึก ปฏิบัติธรรมของคุณด้วยนะคะ...

    1. ประโยชน์และข้อดีของการฝึกถอดกายทิพย์ นั้น คืออะไร

    - เพื่อเป็นการพิสูจน์พระธรรมคำสอนขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าท่านค่ะ... ว่า

    ..... - พระธรรมนั้น... เป็นของจริง ผู้ใดทำจริง ปฏิบัติจริง... ย่อมมีผลปรากฏจริง โดยไม่มีข้อจำกัดของกาลเวลา เพศ ฐานะทางสังคม การศึกษาใดๆ มาเป็นข้อห้าม ข้อกำหนด

    ..... - ก่อนที่จะปฏิบัติ... ขอให้อธิษฐานเป็นสัมมาทิฐิ... และนำความรู้ที่ได้จากการถอดกายทิพย์... ซึ่งครูบาอาจารย์ ท่านที่เคยเกี่ยวเนื่องกับเรา... สามารถมาถ่ายทอดสรรพวิชาความรู้ต่างๆ ให้กับเราได้...
    .......... - ในทางโลก... เราสามารถนำวิชาความรู้เหล่านั้นมาปรับใช้ในชีวิตประจำวันได้... ทำให้การดำเนินชีวิตของเราราบรื่น ประสบความสำเร็จได้ดีขึ้น...
    .......... - ในทางธรรม... เราสามารถนำพระธรรมเหล่านั้นมาขัดเกลาจิตใจตัวเอง... เพื่อให้เข้าถึงซึ่งภพภูมิแห่งสวรรค์ พรหม อรูปพรหม และพระนิพพานเป็นที่สุด... ในระหว่างทางที่จะเข้าสู่แดนแก้วแห่งพระนิพพานนั้น...
    ผู้ปฏิบัติในการถอดกายทิพย์... จะมีความรู้ต่างๆ ซึ่งเป็นผลพลอยได้จากการปฏิบัติขึ้นมาด้วย... อาทิเช่น... การท่องเที่ยวไปตามสถานที่ ภพภูมิต่างๆ และ ญาณ ๘... เป็นต้น

    และเหตุผลที่ให้อธิษฐานเป็นสัมมาทิฐิก่อนนั้น... เพราะถ้าผู้ที่ปฏิบัติได้แล้วเกิดตัวหลงขึ้นมา... กลายเป็นมิจฉาทิฐิ... ก็จะสามารถนำวิชาเหล่านั้นมาใช้ในทางที่เป็นอันตรายต่อส่วนรวมได้... ซึ่งเป็นเรื่องที่ต้องระวังเป็นอย่างยิ่งค่ะ...

    2. การถอดกายทิพย์ เทียบเคียงได้กับ มโนมยิทธิแบบเต็มกำลัง ใช่หรือไม่

    ใช่ค่ะ... แต่วิธีการออกจะต่างกันไปค่ะ...

    3. กรณีของน้องที่เล่ามา เป็นการถอดกายทิพย์อย่างสมบูรณ์
    แต่ยังไม่สามารถควบคุมได้ ดังนั้นหากผู้อื่นฝึกแล้ว พบสภาพแบบนี้
    จะมีวิธีการแยกแยะ อย่างไรว่า อย่างไหนคือถอดกายทิพย์จริง
    และอย่างไหนคือความฝัน

    สิ่งที่จะต่างกันระหว่างการถอดกายทิพย์ กับความฝัน... คือ สติ ค่ะ ...

    ทางด้านร่างกาย... สำหรับผู้ที่ยังถอดกายออกได้ไม่คล่อง... อาจจะรู้สึกคล้ายกำลังฝันอยู่... แต่ถ้าออกได้คล่องแล้ว... ก็จะสามารถไปไหนก็ได้ตามที่จิตปรารถนา...

    แต่ไม่ว่าจะคล่องหรือไม่ก็ตาม... ผู้ที่ถอดกายทิพย์ได้... จะมีสติ พร้อมบริบูรณ์... และจิตตัวรู้ของผู้นั้นจะบอกเองว่า... นั่นไม่ใช่ความฝัน... เพียงแต่ว่า จะเชื่อในสิ่งที่จิตรับรู้หรือไม่... กลัวเป็นอุปาทานหรือไม่...

    สำหรับคุณสุดที่รัก... ธรขอแนะนำดังนี้นะคะ...

    - ก่อนที่จะนอน... หรือถอดกายทิพย์... ขอให้สวดมนต์ภาวนา ทำสมาธิปฏิบัติธรรม... และนึกถึงพระ... ก่อนทุกครั้ง...

    - ขออาราธนาบารมีพระท่าน... ขอได้โปรดสงเคราะห์... นำพาอทิสมานกายของข้พเจ้าไปยังทิพยสถาน... ไปที่พระจุฬามณีเจดีย์สถาน... ด้วยเถิดพระพุทธเจ้าข้า...

    - เสร็จแล้วให้วางใจเป็นกลางๆ อย่าอยาก อย่าลุ้น... ภาวนาไปเรื่อยๆ... ตามวิธีการที่คุณเคยปฏิบัติ...

    - แล้วดูว่า... ผลจะเป็นอย่างไรนะคะ... แล้วช่วยกรุณามาเล่าให้เพื่อนๆ ฟังบ้างนะคะ...

    ................................................



    น้องชัชฝากบอกมานะคะ... ว่า การไปครั้งแรกจะ ง่าย กว่าการไปครั้งที่สองมาก... เพราะ

    - ในครั้งแรกนั้น... น้องเขาไม่ได้คาดหวังอะไร... ทำเพื่อให้ใจสบาย ใจชุ่มเย็นเป็นหลักเท่านั้น...

    - แต่ในคืนต่อมา... น้องเขามีอาการลุ้น... ว่า เมื่อไหร่จะออกนะ... มีความอยากที่จะไป... จิตไม่นิ่ง... ต้องวางกำลังใจใหม่... จนจิตเป็นอุเบกขา... แล้วจึงไปได้ค่ะ...

    ....................................................

    ดังนั้น... การนึกถึงพระ การแผ่เมตตา การจับลมสบาย การภาวนา การวางจิต เบาๆ สบายๆ อย่าอยากรู้ อย่าอยากเห็น อย่าอยากได้... เป็นสิ่งที่สำคัญของการปฏิบัติธรรม...

    .............................................................

    ท่านใดปฏิบัติกันได้ผลเป็นอย่างไรบ้าง... มาเล่าให้กันฟังด้วยนะคะ...

    และถ้าท่านใดที่อยากจะแบ่งปัน และ เพิ่มเติมข้อมูลใดๆ เกี่ยวกับการถอดกายทิพย์ หรือ มโนเต็มกำลัง... ขอเชิญมาร่วมแจมกันได้เลยนะคะ...

    เพื่อเป็นประโยชน์ และเป็นกำลังใจสำหรับท่านอื่นๆ ต่อไปนะคะ...

    กราบโมทนาและขอบพระคุณล่วงหน้าค่ะ...
     
  8. kananun

    kananun เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    11 พฤษภาคม 2006
    โพสต์:
    10,282
    ค่าพลัง:
    +114,775

    ขออนุญาตเสริมเพิ่มเติมครับ

    สำหรับมโนมยิทธิครึ่งกำลังนั้นเป็น การใช้กำลังสมาธิและวิปัสนาญาณของเราเองส่วนหนึ่งและ บารมีของพระท่านเมตตาสงเคราะห์อีกหลายส่วนครับ

    อาการจะปรากฏความรู้สึกตัว ของกายหยาบยังมีอยู่บ้าง


    ส่วนมโนมยิทธิเต็มกำลัง นั้น ใช้กำลังของทั้งสมาธิจิตและวิปัสนาญาณสูงยิ่งขึ้น

    เวลาปรากฏจะ เห็นภาพของความเป็นทิพย์ชัดเจนกว่า

    เรียกว่าชัดกว่าตาเนื้อด้วยซ้ำ อาการเหมือนเราได้เดินทางไปยังสถานที่นั้นด้วย กายของเราเอง

    บางท่านถอดกายทิพย์ออกไปแล้วมีอาการคล่องตัว ไปไหนมาไหนได้ (หากขอบารมีพระท่านสงเคราะห์)

    และอีกหลายท่าน จะมีอาการบังคับกายทิพย์ไม่ค่อยได้ มันหนืดๆ ขยับไม่ค่อยได้


    ประโยชน์ของการถอดกายทิพย์ได้ก็คือ

    -สิ่งที่ปรากฏชัดเจนจนสิ้นสงสัยในเรื่องของภพภูมิต่างๆ
    สิ้นสงสัยในคุณพระรัตนไตร
    สิ้นสงสัยในการเวียนว่ายตายเกิดและผลของกรรม
    เพราะได้ไปรู้ไปเห็นไปสัมผัสอย่างกระจ่างแจ้งแก่ใจ


    -ได้เรียนวิชชากับครูบาอาจารย์ท่านผู้ไม่มีกายเนื้อโดยตรง อันเป็นโอกาสอันหาได้ยากยิ่งและเป็น แนวทางวัตถุประสงค์แห่งกระทู้วิชชานี้ที่จะ ให้ทุกๆท่านได้ ศึกษาธรรมที่ลัดตัดตรงที่สุด

    บรมครูท่านผู้ไร้กายเนื้อนั้น ท่านอยู่สอนเราได้ทุกขณะจิต ดังนั้นธรรมที่ปรากฏแก่ใจย่อมก้าวหน้าได้อย่างรวดเร็ว

    ดังที่หลายๆท่านได้ปรากฏด้วยตนเองเป็นปัตจัตตัง

    ส่วนที่จะแยกแยะ การถอดกายทิพย์กับความฝันนั้น

    ความฝันจะไม่มีสติบังคับกาย(ในภาพฝัน)ได้ แต่ถอดกายทิพย์สติบริบูรณ์ เต็ม


    ที่จริงหากถอดกายทิพย์ได้ ก็กำหนด "รู้"ขึ้น
    ตัวรู้ก็จะปรากฏในจิตเองด้วยความเป็นทิพย์

    เช่น ฝันหรือไม่
    หากรู้ว่าไม่ใช่ ก็อธิฐานขอบารมีพระท่านเมตตามาสงเคราะห์ได้ทันทีครับ

    หากให้ดี ระหว่างที่รู้สึกในจิตว่าเราถอดกายทิพย์ออกมา ก็รีบพิจารณาธรรมในวิปัสนาญาณบ้าง สังโยชน์สิบบ้าง ด้วย จะยิ่งสว่างขึ้นครับ

    ขอกราบโมทนาบุญกับความก้าวหน้าในธรรมปฏิบัติของทุกๆท่านด้วยครับ
     
  9. krisdasri

    krisdasri เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    6 มกราคม 2008
    โพสต์:
    619
    ค่าพลัง:
    +759
    อยากฝึกมโนยิทธิแบบแต็มกำลังบ้างจัง
    เคยฝึกแต่ฝึกครึ่งกำลัง
    จะได้ตัดความสงสัยได้อย่างเต็มกำลัง
     
  10. ปาฏิหาริย์

    ปาฏิหาริย์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 มกราคม 2006
    โพสต์:
    1,282
    ค่าพลัง:
    +3,516
    โมทนากับความก้าวหน้าของน้องชัช
    และเห็นด้วยกับความเห็นของคุณเล็กครับ
    ...
    พิจารณาธรรมในวิปัสนาญาณ จะละเอียดขึ้น ปราณีตขึ้น
    สมมติเช่น ภาชนะที่ปราณีต ย่อมรองรับธรรมะอันปราณีตเช่นกัน

    เช่นการเห็นกายในกาย
    จะทำให้จางคลายจากการยึดกายเป็นอัตตาเช่นกัน
    ลองพิจารณาร่างตอนที่ออก หรือ กลับมาดู
    จะพบว่าเหมือน ซากศพที่มีลมหายใจเท่านั้น
    นอนส่งเสียงกรนบ้าง เป็นจังหวะครืดคราด น้ำลายไหลบ้าง
    ไม่น่าดูเลยครับ ปลงสังขาร คือสังขารานุสติปัฏฐาน
    หรือพิจารณาเป็นไตรลักษณ์
    เที่ยงหรือไม่เที่ยง
    เมื่อไม่เที่ยงสิ่งนั้นเป็นทุกข์ หรือสุขเล่า
    เมื่อไม่เที่ยงเป็นทุกข์
    สิ่งนั้นเป็นเรา หรือของเราหรือไม่ อย่างไร
    ธรรมะจะกระจ่างแก่ใจตนมากขึ้นครับ

    ส่วน
    เมื่อเห็นร่างของตนเองอยู่ที่ใดไม่รู้
    และภพ ภูมิ เวลา สถานที่เหล่านั้นดูเหมือนแปลกตา
    ต้นไม้ สัตว์ ผู้คนแปลกตา
    จงแค่พิจารณาตามรู้ ตามเห็น ในสิ่งนั้น สิ่งนั้นก็พอครับ
    จงรักษาจิตให้เป็นกุศล เป็นสัมมาทิฏฐิ เท่านั้น
    (ระมัดระวัง อย่าให้จิตที่เป็นอกุศลบังเกิด)
    ...
    สิ่งสำคัญให้จิตจงวางเฉยต่อ สิ่งที่รับรู้ นั้น นั้น
    ด้วยจิตอันเป็นกุศลย่อมดึงกุศลกรรมมาห้อมล้อม
    และแผ่เมตตาออกไปอย่างไม่มีที่สิ้นสุด
    ให้ธรรมที่กำลังรู้เห็นอยู่นั้น ชัดแจ้ง สว่างขึ้นด้วยครับ
     
  11. ปูเเว่น

    ปูเเว่น เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 พฤศจิกายน 2007
    โพสต์:
    1,614
    ค่าพลัง:
    +6,697
    ปูได้ไปปฏิบัติธรรมที่วัดท่าซุงมาค่ะ ขอนำบุญมาฝากพี่ๆน้องๆทุกท่านค่ะ ขอให้ทุกท่านเจริญในธรรมค่ะ ตอนเช้าที่วัดมีการสวดมนต์ทำวัตรเช้า-เย็น ปูได้เปิดหนังสืออ่านดู ได้เห็นมีการแปลความหมายของบทสวดมนต์แต่ละบทรวมถึงพระสูตรด้วยค่ะ

    ปูขอนำธรรมะในบทสวดมนต์แปลของวัดท่าซุงมาให้ทุกท่านได้อ่านและพิจารณากันค่ะ
    คำอธิบายประกอบคำแปลบทมาติกา ตอนที่๑
    ธรรมที่เป็นกุศล คือธรรมที่ปฏิบัติแล้วได้รับผลดีเป็นสุข ตัวอย่างเช่น รักษาศีลและกรรมบถ ๑๐ เจริญพรหมวิหาร๔ ให้ทาน สวดมนต์เจริญภาวนาเป็นต้น ซึ่งจะทำให้จิตใจคิดอยู่แต่เรื่องการบุญการกุศล ก็จะได้รับความสุขทั้งในมนุษยโลก และเมื่อตายแล้วมีแต่ได้ไปสู่เทวโลก พรหมโลก หรือนิพพานอย่างเดียว ไม่มีทางลงอบายภูมิได้เลย
    ธรรมที่เป็นอกุศล คือธรรมที่ปฏิบัติแล้วได้รับผลเป็นทุกข์ ตัวอย่างเช่น การล่วงละเมิดไม่ปฏิบัติตามศีลและกรรมบถ๑๐ เป็นคนใจทารุณโหดร้ายตระหนี่ถี่เหนียวไม่ให้ทาน ไม่สวดมนต์เจริญภาวนา มีแต่ความโลภ ความโกรธ อาฆาตพยาบาทจองล้างจองผลาญกัน จิตใจหลงหมกมุ่นอยู่แต่ในกามารมณ์เหล่านี้เป็นต้น ซึ่งมีแต่จะทำให้ใจมืดมิดขุ่นมัวเศร้าหมอง มีแต่จะได้รับทุกข์ทั้งในโลกนี้ และเมื่อตายแล้วก็มีแต่จะลงอบายภูมิอย่างเดียว
    ธรรมที่เป็นอัพยากฤต คือธรรมที่ปฏิบัติแล้วทำให้ใจไม่เกาะอะไรๆในโลก มีแต่จะได้ไปนิพพานอย่างเดียว ตัวอย่างธรรมเหล่านี้ เช่น พุทธานุสสติ นึกถึงพระพุทธเจ้าไว้ในใจเสมอ, ธัมมานุสสติ นึกถึงและปฏิบัติตามพระธรรมคำสั่งสอนของพระพุทธเจ้าอยู่เป็นปกติ , สังฆานุสสติ นึกถึงพระอริยสงฆ์และคุณของพระอริยสงฆ์ไว้เสมอ, สีลานุสสติ นึกถึงและปฏิบัติตามศีลและกรรมบถ ๑๐ เป็นปกติ, จาคานุสสติ นึกถึงการให้ทานและคิดจะให้ทานไว้เป็นปกติ, เทวตานุสสติ นึกถึงเทวดาและคุณธรรมที่ทำให้เป็นเทวดาคือ เว้นการทำชั่ว และทำความดีทุอย่างไว้เสมอ, มรณานุสสติ นึกถึงความตายและคิดว่าเราจะต้องตายไว้เสมอ ไม่ช้าก็เร็ว เพื่อป้องกันไม่ให้เราประมาทเผลอลืมทำความดี, กายคตานุสสติ นึกเห็นว่าร่างกายนี้มันประกอบด้วยธาตุ ๔ มี อาการ ๓๒ มีแต่ความสกปรกโสโครก ไม่ใช่ร่างกายของเราหรือของใครๆ ทั้งเราและเขาก็คือจิตที่เข้ามาอาศัยร่างกายนี้อยู่ชั่วคราวเท่านั้น เมื่อร่างกายนี้มันตายเมื่อไร เราคือจิตก็ต้องออกจากร่างกายนี้ไปหาที่เกิดใหม่ ถ้าขาดใจตายในขณะที่จิตเศร้าหมองขุ่นมัวนึกถึงการทำชั่วต่างๆ เราคือจิตก็ต้องไปเกิดในอบายภูมิ ได้แก่เป็นสัตว์นรก เปรต อสุรกาย สัตว์เดรัจฉาน แต่ถ้าขาดใจตายขณะที่กำลังนึกถึงความดี คือ ทาน ศีล ภาวนา ที่เคยทำไว้ ใจเป็นกุศลอย่างนี้ เวลาตายแล้ว เราคือจิตก็ได้ไปเกิดเป็นนางฟ้าเทวดา หรือพรหม หรือถ้ามีความเบื่อร่างกาย เห็นว่าร่างกายมีแต่ความทุกข์ การเกิดมีแต่ความทุกข์ ไม่อยากเกิดอีก ก็ได้ไปนิพพานเลย, อานาปานุสสติ นึกถึงลมหายใจเข้าออกไว้เสมอ เพื่อให่ใจสงบตั้งมั่นเป็นสมาธิ เพื่อระงับทุกขเวทนาทางกาย เพื่อควบคุมจิตใจจะได้เป็นกุศลตลอดเวลา และเพื่อให้เกิดปัญญาพิจารณาถึงความดีต่างๆ และอารมณ์พระนิพพานได้ทรงตัว, อุปสมานุสสติ นึกถึงพระนิพพานเป็นอารมณ์ คือคิดไว้เสมอว่าเราจะต้องตาย ทุกอย่างในโลกนี้ต้องพังสลายหมดไม่มีเหลือ ในโลกนี้มีแต่ความทุกข์การเกิดเป็นคน มีแต่ความทุกข์หาความสุขที่แท้จริงไม่ได้ แม้แต่เทวดาหรือพรหมก็ไม่เป็นสุขจริงตลอดกาล เป็นที่พักทุกข์ชั่วคราวเท่านั้น เมื่อหมดบุญวาสนาบารมีแล้วก็ต้องกลับลงมาเกิดเป็นคนอีก หรือถ้าบาปเก่าๆมีอยู่ก็ต้องลงไปเกิดในอบายภูมิ มีแต่พระนิพพานแห่งเดียวที่พระพุทธเจ้าบอกว่ามีแต่ความสุขตลอดกาล เราขอยึดพระนิพพานเป็นที่ไป ถ้าร่างกายนี้ตายเมื่อไรขอไปนิพพานเมื่อนั้น ให้นึกอารมณ์พระนิพพานอย่างนี้ไว้ทุกเวลาที่นึกขึ้นมาได้ ไม่ช้าจิตก็จะเกาะพระนิพพานตลอดเวลา
    ธรรมที่ปฏิบัติแล้วทำให้จิตใจเป็นสุขอย่างเดียว (ดูตัวอย่างในธรรมที่เป็นกุศล)
    ธรรมที่ปฏิเบัติแล้วทำให้จิตใจเร่าร้อนเป็นทุกข์อย่างเดียว (ดูตัวอย่างในธรรมที่เป็นอกุศล)
    ธรรมที่ปฏิบัติแล้วทำให้จิตใจไม่เกาะทั้งสุขและทุกข์ (ดูตัวอย่างในธรรมที่เป็นอัพยากฤต)
    ธรรมทั้งหลายที่ปฏิบัติแล้วได้รับผล คือได้รับผลเป็นสุขและทุกข์เป็นธรรมดาทั่วไป ตัวอย่างเช่น การให้ทาน ทำให้มีทรัพย์สมบัติมาก ทำมาหากินคล่องตัว การรักษาศีลและกรรมบถ ๑๐ ทำให้เกิดเป็นคนมีอาการครบทุกอย่างบริบูรณ์ มีผิวพรรณงดงาม ไม่มีโรคภัยไข้เจ็บมาเบียดเบียน ทรัพย์สมบัติจะอยู่เย็นปลอดภัยจากการลักขโมย ปลอดภัยจากการถูกน้ำท่วม ลมพัด ไฟไหม้ คนในปกครองจะไม่ดื้อด้านว่าง่ายสอนง่าย พูดอะไรก็มีคนเชื่อถือ ไม่มีโรคปวดศรีษะหรือเป็นโรคประสาทและเป็นบ้า การสวดมนต์เจริญภาวนา ทำให้มีปัญญาเฉลียวฉลาด เหล่านี้เป็นต้น
    ธรรมทั้งหลายที่ปฏิบัติแล้วจะว่าได้รับผลก็ไม่ใช่ จะว่าไม่ได้รับผลก็ไม่ใช่ มันทำให้ใจรู้สึกเฉยๆ ไม่เกาะทั้งสุขทั้งทุกข์ ได้แก่ธรรมที่เป็นอารมณ์พระนิพพาน เมื่อปฏิบัติแล้วทำให้เกิดปัญญเห็นว่าทุกข์อย่างในโลกนี้ไม่มีอะไรเที่ยงแท้แน่นอน มีแต่ทุกข์ ไม่ช้าก็ต้องเสื่อมสลายไป แม้ร่างกายนี้ก็ต้องตาย ไม่มีสุขแท้ แม้แต่เป็นเทวดาหรือพรหมก็ไม่สุขแท้ อยู่ได้ไม่นานเมื่อหมดบุญวาสนาบารมีก็ต้องกลับลงมาเป็นคนอีก แต่ถ้าหากบาปเก่าๆ มีอยู่ก็ต้องลงไปอบายภูมิ เมื่อพิจารณาเห็นอย่างนี้จิตก็ไม่เกาะอะไรๆในโลกทั้งสิ้น มีแต่จะไปนิพพาน (ดูตัวอย่างในธรรมที่เป็นอัพยากฤต)
    ธรรมทีทำให้ใจเข้าไปยึดถืออยู่ และเป็นที่ตั้งแห่งความยึดถือ ตัวอย่างเช่น รูป เสียง กลิ่น รส สัมผัส ที่น่ารักน่าใคร่น่าปรารถนา เหล่านี้เป็นต้น ทำให้ใจอยากได้มาเป็นสมบัติทุกเวลา ทำให้ใจคิดเห็นว่าเป็นของดี จึงทำทุอย่างเพื่อให้ได้สิ่งเหล่านี้มา ทั้งๆที่ยากลำบากก็ทำ โดยไม่รู้ว่ามันเป็นความทุกข์
    ธรรมที่ใจไม่เข้าไปยึดถืออยู่ แต่เป็นที่ตั้งแห่งความยึดถือ ตัวอย่างเช่น พระคุณของพระพุทธเจ้า พระธรรม พระอริยสงฆ์ ทาน ศีล ภาวนา เหล่านี้เป็นต้น ซึ่งใจของผู้ทีหลงอยู่ในรูป เสียง กลิ่น รส สัมผัส ไม่เข้าไปยึดถือ แต่ก็เป็นที่ตั้งแห่งความยึดถือ ถ้าใครยึดถือแล้วก็จะมีแต่ความสุขใจอย่างเดียว ไม่มีวันตกอบายภูมิเลย
    ธรรมที่ใจไม่เข้าไปยึดถืออยู่ และไม่เป็นที่ตั้งแห่งความยึดถือ ได้แก่พระนิพพานซึ่งปราศจากกิเลส ตัณหา อุปาทาน และอกุศลกรรม ซึ่งใจของคนที่หลงอยู่ในรูป เสียง กลิ่น รส สัมผัส ไม่เคยคิดที่จะยึดถือไว้เป็นอารมณ์ และไม่เป็นที่ตั้งแห่งความยึดถือ เพราะไม่มีอะไรเหลือให้ยึดถือไว้เป็นสมบัติประจำใจ นิพพานเป็นแดนที่ว่างเปล่าจากกิเลส ตัณหา อุปาทาน และอกุศลกรรม เป็นสถานที่อยู่ของจิตที่สะอาดหมดจดเท่านั้น
     
  12. ปูเเว่น

    ปูเเว่น เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 พฤศจิกายน 2007
    โพสต์:
    1,614
    ค่าพลัง:
    +6,697
    พี่ชอบรูปนี้มากจ้าน้องเจน^-^ ท่านอื่นคงชอบเหมือนกันจ้า

    [​IMG]
     
    แก้ไขครั้งล่าสุดโดยผู้ดูแล: 8 กันยายน 2008
  13. ชัยมงคล

    ชัยมงคล เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    6 กันยายน 2007
    โพสต์:
    426
    ค่าพลัง:
    +2,473
    การดูจิตตามแนวหลวงพ่อปราโมทย์ ปราโมชฺโช

    ผมก็คิดอยู่นานว่าจะพูดดีหรือไม่
    แต่ในเมื่อลงเรือลำเดียวกันแล้ว
    ก็ต้องบอกเล่ากันเผื่อคนที่มีจริตเดียวกันอาจจะมีบ้าง
    เหมือนผมที่นั่งสมาธิแล้วไม่สงบ นานๆทีจะสงบก็ดีใจ
    พอไม่สงบก็เสียใจ
    เหมาะกับคนทำงานสมัยนี้มากๆ
    เพราะใช้สมองเป็นฐานการทำมาหากิน
    ไม่มีเวลาที่จะนั่งสมาธิ เหมือนคนที่ใช้แรงกายหากิน
    โดยการดูการปรุงแต่งของจิต เช่น ความคิด ความโกรธffice:eek:ffice" /><O:p></O:p>
    ดูไปตรงๆซื่อๆ พอโกรธ ก็ตามรู้แล้วปล่อยไป
    พอ คิด ก็ตามรู้ แล้วปล่อยไป ไม่ต้องไปวิตกวิจารณ์
    ตอนแรก สติ ยังไม่มีกำลัง ก็ให้มีเครื่องเกาะหลวมๆไปก่อน
    ได้แก่ พุทโธ,ลมหายใจ,อาการเคลื่อนไหวของกาย
    เช่น ท่อง พุทโธ ในใจ พอจิตเราคิด เขาจะลืมพุทโธ
    พอนึกได้ เรากลับมาพุทโธใหม่ ทำไปเรื่อยๆ
    ไม่นานสติเราจะมีกำลังมากขึ้น
    เขาจะจำสภาวะนั้นได้ พอเกิดซ้ำอีกที
    สติจะเกิดเองโดยอัตตโนมัติ
    แรกๆวันหนึ่งรู้สึกตัวไม่กี่ครั้ง
    ทำไปเรื่อยๆรู้สึกตัวมากขึ้นเรื่อยๆ
    เราจะเห็นว่าเรานี่เป็นคนไม่ดีเลย<O:p></O:p>
    เพราะคิดแต่เรื่องอกุศลตลอดเวลา<O:p></O:p>
    เรื่องเป็นกุศลมีน้อย
    ตอนแรกจะโกรธไม่อยากให้มันคิด
    แต่ห้ามไม่ได้ มันคิดเอง
    ทำไปเรื่อยๆ
    การปรุงแต่งมันเกิดตลอดเวลา
    เกิดพันครั้ง รู้สักครั้งก็เก่งแล้ว<O:p></O:p>
    ในที่สุดจิตจะยอมรับ มันปรุงก็ปรุงไป
    เราก็ได้แค่ตามรู้มัน บังคับบัญชาไม่ได้
    ทำไปเรื่อยๆ ฟังเทปไปเรื่อยๆ
    ในที่สุด จิต จะ ตื่น
    บอกไม่ได้คืออะไรแต่รู้ว่าจิตมีสติ<O:p></O:p>
    มันเกิดต่อหน้าต่อตาเราเช่น ความโกรธ ความคิด
    เริ่มเห็นว่ามันไม่ใช่เรา เพราะเราอยู่เฉยๆ
    จิตตื่นแล้วต่อไปครูบาอาจารย์บอกว่าเป็นทางเรียบ<O:p></O:p>
    บางครั้งบางคราว รู้สึกได้<O:p></O:p>
    อ้าว. ตัวเราไม่มี<O:p></O:p>
    กายไม่ใช่เรา ตัวที่คิด ไม่ใช่เรา<O:p></O:p>
    ตัวเราไม่มีที่อยู่
    ในกายก็ไม่ใช่
    นอกกายก็ไม่ใช่
    แปลกมาก หลายๆอย่างมันเกิดต่อหน้า
    แต่ไม่ไหลไปที่ใจ
    เช่น ดูละคร ข่าวต่างๆ มันอยู่ที่จอตรงนั้น
    มันไม่ไหลมาที่ใจให้ใจปรุงต่อ
    อยู่ๆมันก็เข้าใจกับคำที่ว่า “เกิดตรงไหนดับตรงนั้น”
    อยู่ๆมันก็เข้าใจกับคำที่ว่า “อยู่กับปัจจุบัน”
    มันมีแต่สัมผัสปัจจุบัน ส่วนอดีต อนาคต จิตมันจะทิ้งไป
    แต่มันเป็นชั่วคราวนะครับ <O:p></O:p>
    สังเกตดู ใจเราจะปรุงเรื่องอกุศลไม่มากแล้ว
    เหมือนว่าพออกุศลเกิดมันดับเร็วขึ้น
    มันจะปรุงแต่เรื่องขี้หมูลาขี้หมาแห้ง
    ไม่มีสาระอันใด
    โดยเฉพาะเพิ่งนึกออกเราคิดบ้าแต่เรื่องสวนนี่แหละ
    กิเลสละเอียดยังไม่เห็นชัด<O:p></O:p>
    แต่สังเกตได้ทุกสัมผัสมันจะเกิดความชอบไม่ชอบ
    ซึ่งเป็นกิเลสละเอียด แล้วปรุงให้ใหญ่ขึ้น
    แต่มีความสุขเล็กๆอยู่เรื่อยๆ
    ทางเดินยังยาวไกลแต่เห็นทางที่จะเดินไปแล้ว<O:p></O:p>
    ผมเล่าเพื่อเพื่อนสมาชิกที่อาจเป็นแบบผม
    ได้ลองปฏิบัติดูนะครับอาจถูกจริตก็ได้
    เส้นทางปฏิบัติไม่ทับกันของแต่ละคน
    ที่ผมเขียนเป็นความรู้สึกที่เกิดกับตัวเอง
    บางส่วนอาจไม่ถูกตรงคำสอนก็ได้
    ต้องขออภัยด้วยนะครับ
    <O:p></O:p>
     
    แก้ไขครั้งล่าสุดโดยผู้ดูแล: 8 กันยายน 2008
  14. บัวใต้น้ำ

    บัวใต้น้ำ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 กันยายน 2004
    โพสต์:
    891
    ค่าพลัง:
    +1,937
     
  15. TupLuang

    TupLuang เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    6 มิถุนายน 2008
    โพสต์:
    3,143
    ค่าพลัง:
    +1,371
    <TABLE height=34 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD style="PADDING-LEFT: 10px">เชิญชวนกินเจเพื่อดับโลกร้อน เริ่มอดกินเนื้ออาทิตย์ละหนึ่งวันก่อน
    [10 ก.ย. 51 - 00:17]​


    </TD></TR></TBODY></TABLE>​


    <TABLE class=text cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD align=middle><TABLE class=text cellSpacing=0 cellPadding=10 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD>กรรมการระงับโลกร้อนของสหประชาชาติ รณรงค์ให้ผู้คนหันมากินเจกัน เพื่อช่วยต่อต้านดินฟ้าอากาศไม่ให้แปรปรวน

    นายราเชนทร์ ปาจุรี แห่งคณะกรรมการระหว่างรัฐบาลในปัญหาการเปลี่ยนแปลงของดินฟ้าอากาศ ได้ประกาศเชิญชวนประชาชนให้หันมากินเจอาทิตย์ละมื้อก่อนจะเพิ่มทีหลัง ​

    นักเศรษฐศาสตร์วัย 68 ปี ของอินเดีย กล่าวว่า การปรับเปลี่ยนในการกิน จะช่วยบรรเทาปัญหาการปล่อยก๊าซที่เป็นต้นเหตุทำให้โลกร้อนขึ้น เพราะเหตุว่าพวกสัตว์ที่ใช้เป็นอาหาร เป็นตัวการใหญ่ในการปล่อยก๊าซที่ทำให้โลกร้อนออกมา “งดกินเนื้อสักอาทิตย์ละวันก่อน แล้วค่อยเพิ่มขึ้นทีหลัง จะเป็นการลงมือทำในสิ่งที่จะช่วยแก้ปัญหาลงได้ในระยะเวลาอันสั้นขึ้นทันที”

    เขาบอกต่อไปว่า เพียงปรับเปลี่ยนการกินอยู่เพียงเล็กน้อย จะช่วยต่อต้านความแปรปรวนของดินฟ้าอากาศลงได้ “เราควรพยายามลดหย่อนเศรษฐกิจลงให้ได้เกือบทุกส่วน”.​


    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>
    http://www.thairath.co.th/news.php?section=technology&content=103597
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 10 กันยายน 2008
  16. ปูเเว่น

    ปูเเว่น เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 พฤศจิกายน 2007
    โพสต์:
    1,614
    ค่าพลัง:
    +6,697
    คำอธิบายประกอบคำแปลบทมาติกา ตอนที่๒
    ธรรมที่เศร้าหมอง และเป็นที่ตั้งแห่งความเศร้าหมอง ได้แก่ กิเลส มีโลภ โกรธ หลง เป็นต้น ตัณหาความอยากใน รูป เสียง กลิ่น รส สัมผัส ไม่มีที่สิ้นสุด อุปาทานคือความยึดมั่นว่า รูป เสียง กลิ่น รส สัมผัส เป็นของที่น่ารักใคร่น่าปรารถนา และอกุศลกรรมคือการทำทุกอย่างเพื่อให้ได้ รูป เสียง กลิ่น รส สัมผัสมาไว้ในครอบครอง ธรรมเหล่านี้เป็นธรรมที่เศร้าหมอง คือ จิตใจที่หมกมุ่นอยู่กับสิ่งเหล่านี้ มีแต่ความเศร้าหมองมืดมิดอย่างเดียว
    ธรรมที่ไม่เศร้าหมอง แต่เป็นที่ตั้งแห่งความเศร้าหมอง ได้แก่ ทาน ศีล ภาวนา แต่เป็นที่ตั้งแห่งความเศร้าหมองของผู้ที่มีจิตหมกมุ่น อยู่ใน รูป เสียง กลิ่น รส สัมผัส โดยไม่คิดที่จะหาบุญกุศลใส่ใจตนเอง เมื่อจิตใจขาดการคิดที่จะให้ทานรักษาศีล และเจริญภาวนาแล้ว จิตใจก็เศร้าหมองขุ่นมัว ไม่มีหวังที่จะมีสุขในมนุษย์สมบัติ สวรรค์สมบัติ และนิพพานสมบัติมีแต่จะไปสู่อบายภูมิอย่างเดียว
    ธรรมที่ไม่เศร้าหมอง และไม่เป็นที่ตั้งแห่งความเศร้าหมอง ก็คือ ทาน ศีล ภาวนา และศีล สมาธิ ปัญญา ถ้าใครมีจิตใจใคร่ในธรรมและปฏิบัติตามแล้ว มีแต่จะทำให้ใจเป็นสุขและก้าวไปสู่ สวรรค์ พรหม นิพพาน อย่างเดียว
    ธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจาร คือธรรมที่เป็นหลักปฏิบัติให้เกิดบุญกุศล ได้แก่ ทาน ศีล ภาวนา และศีล สมาธิ ปัญญา ซึ่งทำให้ผู้นำมาปฏิบัติได้นึกคิดใคร่ครวญ พิจารณาหาเหตุผลว่าดีอย่างไร เมื่อปฏิบัติตามแล้วจะมีผลอย่างไร
    ธรรมที่ไม่มีวิตกแต่มีวิจาร ก็คือ ทาน ศีล ภาวนา และศีล สมาธิ ปัญญา เมื่อคิดเห็นว่าดีแล้ว ก็พิจารณาปฏิบัติตามธรรมเหล่านี้เป็นประจำ จนมีความชินในจิตใจ เพื่อหวังผลอันสูงสุดคือพระนิพพาน
    ธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจาร ก็คือพระนิพพาน จิตที่ไม่ลังเลสงสัยและปฏิบัติตาม ทาน ศีล ภาวนา และศีล สมาธิ ปัญญา เป็นปกติ และพิจารณาใคร่ครวญจนเห็นความจริงว่า มนุษยโลก เทวโลก พรหมโลก เป็นแดนที่ไม่จีรังยั่งยืน ไม่น่าอยู่ เพราะไม่ใช่แดนที่มีความสุขแท้ เห็นแต่พระนิพพานแห่งเดียวที่มีความสุขตลอดกาล จิตก็หมดความสงสัย ปราศจากความยึดมั่นถึอมั่นในร่างกายและในทุกสิ่งทุกอย่าง มีแต่พระนิพพานเป็นอารมณ์ตลอดเวลา
    ธรรมที่ประกอบด้วยปิติ ได้แก่ธรรมทั้งหลายที่ปฏิบัติแล้วมีผลให้ไปเกิดในสวรรค์
    ธรรมที่ประกอบด้วยสุข ได้แก่ฌาณสมาบัติ ที่มีผลให้ไปเกิดเป็นพรหม
    ธรรมที่ประกอบด้วยอุเบกขา ได้แก่ ธรรมที่ปฏิบัติแล้วทำให้อารมณ์ใจวางเฉยในร่างกาย เห็นว่ามันไม่เที่ยง มีแต่ทุกข์ และจะต้องตายไปในที่สุด ร่างกายได้รับสุขและทุกข์ก็เพราะผลของกรรม จิตใจเห็นเป็นธรรมดา อะไรจะเกิดกับร่างกายก็คิดว่าเป็นของธรรมดา ไม่สนใจ เรียกว่า สังขารุเปกขาญาณ เป็นอารมณ์พระนิพพาน
     
  17. pat3112

    pat3112 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 สิงหาคม 2005
    โพสต์:
    373
    ค่าพลัง:
    +2,904
    พี่ๆน้องๆหลายท่านปารถนา "อภิญญา" นำแนวทางและปฎิปทามาให้ด้ทบทวน
    และปฏิบัติกัน โมทนาด้วยครับในสัมมาเห็นชอบ สัมมาสมาธิ สัมมาปัญญาครับ
    <link rel="File-List" href="file:///C:%5CUsers%5Ck%5CAppData%5CLocal%5CTemp%5Cmsohtmlclip1%5C01%5Cclip_filelist.xml"><link rel="themeData" href="file:///C:%5CUsers%5Ck%5CAppData%5CLocal%5CTemp%5Cmsohtmlclip1%5C01%5Cclip_themedata.thmx"><link rel="colorSchemeMapping" href="file:///C:%5CUsers%5Ck%5CAppData%5CLocal%5CTemp%5Cmsohtmlclip1%5C01%5Cclip_colorschememapping.xml"><!--[if gte mso 9]><xml> <w:WordDocument> <w:View>Normal</w:View> <w:Zoom>0</w:Zoom> <w:TrackMoves/> <w:TrackFormatting/> <w:punctuationKerning/> <w:ValidateAgainstSchemas/> <w:SaveIfXMLInvalid>false</w:SaveIfXMLInvalid> <w:IgnoreMixedContent>false</w:IgnoreMixedContent> <w:AlwaysShowPlaceholderText>false</w:AlwaysShowPlaceholderText> <w:DoNotPromoteQF/> <w:LidThemeOther>EN-US</w:LidThemeOther> <w:LidThemeAsian>X-NONE</w:LidThemeAsian> <w:LidThemeComplexScript>TH</w:LidThemeComplexScript> <w:Compatibility> <w:BreakWrappedTables/> <w:SnapToGridInCell/> <w:ApplyBreakingRules/> <w:WrapTextWithPunct/> <w:UseAsianBreakRules/> <w:DontGrowAutofit/> <w:SplitPgBreakAndParaMark/> <w:DontVertAlignCellWithSp/> <w:DontBreakConstrainedForcedTables/> <w:DontVertAlignInTxbx/> <w:Word11KerningPairs/> <w:CachedColBalance/> </w:Compatibility> <w:BrowserLevel>MicrosoftInternetExplorer4</w:BrowserLevel> <m:mathPr> <m:mathFont m:val="Cambria Math"/> <m:brkBin m:val="before"/> <m:brkBinSub m:val="--"/> <m:smallFrac m:val="off"/> <m:dispDef/> <m:lMargin m:val="0"/> <m:rMargin m:val="0"/> <m:defJc m:val="centerGroup"/> <m:wrapIndent m:val="1440"/> <m:intLim m:val="subSup"/> <m:naryLim m:val="undOvr"/> </m:mathPr></w:WordDocument> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml> <w:LatentStyles DefLockedState="false" DefUnhideWhenUsed="true" DefSemiHidden="true" DefQFormat="false" DefPriority="99" LatentStyleCount="267"> <w:LsdException Locked="false" Priority="0" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Normal"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="heading 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 7"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 8"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 9"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 7"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 8"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 9"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="35" QFormat="true" Name="caption"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="10" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Title"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="1" Name="Default Paragraph Font"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="11" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Subtitle"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="22" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Strong"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="20" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Emphasis"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="59" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Table Grid"/> <w:LsdException Locked="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Placeholder Text"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="1" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="No Spacing"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="60" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Shading"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="61" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light List"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="62" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Grid"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="63" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="64" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="65" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="66" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="67" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="68" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="69" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="70" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Dark List"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="71" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Shading"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="72" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful List"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="73" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Grid"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="60" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Shading Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="61" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light List Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="62" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Grid Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="63" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 1 Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="64" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 2 Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="65" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 1 Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Revision"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="34" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="List Paragraph"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="29" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Quote"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="30" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Intense Quote"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="66" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 2 Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="67" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 1 Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="68" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 2 Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="69" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 3 Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="70" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Dark List Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="71" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Shading Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="72" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful List Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="73" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Grid Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="60" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Shading Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="61" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light List Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="62" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Grid Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="63" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 1 Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="64" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 2 Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="65" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 1 Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="66" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 2 Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="67" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 1 Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="68" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 2 Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="69" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 3 Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="70" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Dark List Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="71" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Shading Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="72" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful List Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="73" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Grid Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="60" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Shading Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="61" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light List Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="62" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Grid Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="63" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 1 Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="64" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 2 Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="65" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 1 Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="66" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 2 Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="67" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 1 Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="68" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 2 Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="69" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 3 Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="70" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Dark List Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="71" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Shading Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="72" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful List Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="73" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Grid Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="60" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Shading Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="61" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light List Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="62" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Grid Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="63" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 1 Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="64" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 2 Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="65" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 1 Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="66" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 2 Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="67" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 1 Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="68" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 2 Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="69" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 3 Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="70" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Dark List Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="71" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Shading Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="72" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful List Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="73" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Grid Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="60" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Shading Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="61" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light List Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="62" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Grid Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="63" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 1 Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="64" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 2 Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="65" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 1 Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="66" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 2 Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="67" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 1 Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="68" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 2 Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="69" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 3 Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="70" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Dark List Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="71" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Shading Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="72" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful List Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="73" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Grid Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="60" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Shading Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="61" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light List Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="62" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Grid Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="63" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 1 Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="64" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 2 Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="65" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 1 Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="66" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 2 Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="67" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 1 Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="68" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 2 Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="69" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 3 Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="70" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Dark List Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="71" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Shading Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="72" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful List Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="73" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Grid Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="19" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Subtle Emphasis"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="21" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Intense Emphasis"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="31" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Subtle Reference"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="32" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Intense Reference"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="33" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Book Title"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="37" Name="Bibliography"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" QFormat="true" Name="TOC Heading"/> </w:LatentStyles> </xml><![endif]--><style> <!-- /* Font Definitions */ @font-face {font-family:"Angsana New"; panose-1:2 2 6 3 5 4 5 2 3 4; mso-font-charset:0; mso-generic-font-family:roman; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:-2130706429 0 0 0 65537 0;} @font-face {font-family:"Cordia New"; panose-1:2 11 3 4 2 2 2 2 2 4; mso-font-charset:0; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:-2130706429 0 0 0 65537 0;} @font-face {font-family:"Cambria Math"; panose-1:2 4 5 3 5 4 6 3 2 4; mso-font-charset:0; mso-generic-font-family:roman; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:-1610611985 1107304683 0 0 159 0;} @font-face {font-family:Calibri; panose-1:2 15 5 2 2 2 4 3 2 4; mso-font-charset:0; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:-1610611985 1073750139 0 0 159 0;} /* Style Definitions */ p.MsoNormal, li.MsoNormal, div.MsoNormal {mso-style-unhide:no; mso-style-qformat:yes; mso-style-parent:""; margin-top:0cm; margin-right:0cm; margin-bottom:10.0pt; margin-left:0cm; line-height:115%; mso-pagination:widow-orphan; font-size:11.0pt; mso-bidi-font-size:14.0pt; font-family:"Calibri","sans-serif"; mso-ascii-font-family:Calibri; mso-ascii-theme-font:minor-latin; mso-fareast-font-family:Calibri; mso-fareast-theme-font:minor-latin; mso-hansi-font-family:Calibri; mso-hansi-theme-font:minor-latin; mso-bidi-font-family:"Cordia New"; mso-bidi-theme-font:minor-bidi;} .MsoChpDefault {mso-style-type:export-only; mso-default-props:yes; mso-ascii-font-family:Calibri; mso-ascii-theme-font:minor-latin; mso-fareast-font-family:Calibri; mso-fareast-theme-font:minor-latin; mso-hansi-font-family:Calibri; mso-hansi-theme-font:minor-latin; mso-bidi-font-family:"Cordia New"; mso-bidi-theme-font:minor-bidi;} .MsoPapDefault {mso-style-type:export-only; margin-bottom:10.0pt; line-height:115%;} @page Section1 {size:612.0pt 792.0pt; margin:72.0pt 72.0pt 72.0pt 72.0pt; mso-header-margin:36.0pt; mso-footer-margin:36.0pt; mso-paper-source:0;} div.Section1 {page:Section1;} --> </style><!--[if gte mso 10]> <style> /* Style Definitions */ table.MsoNormalTable {mso-style-name:ตารางปกติ; mso-tstyle-rowband-size:0; mso-tstyle-colband-size:0; mso-style-noshow:yes; mso-style-priority:99; mso-style-qformat:yes; mso-style-parent:""; mso-padding-alt:0cm 5.4pt 0cm 5.4pt; mso-para-margin-top:0cm; mso-para-margin-right:0cm; mso-para-margin-bottom:10.0pt; mso-para-margin-left:0cm; line-height:115%; mso-pagination:widow-orphan; font-size:11.0pt; mso-bidi-font-size:14.0pt; font-family:"Calibri","sans-serif"; mso-ascii-font-family:Calibri; mso-ascii-theme-font:minor-latin; mso-fareast-font-family:"Times New Roman"; mso-fareast-theme-font:minor-fareast; mso-hansi-font-family:Calibri; mso-hansi-theme-font:minor-latin;} </style> <![endif]--> <link rel="File-List" href="file:///C:%5CUsers%5Ck%5CAppData%5CLocal%5CTemp%5Cmsohtmlclip1%5C01%5Cclip_filelist.xml"><link rel="themeData" href="file:///C:%5CUsers%5Ck%5CAppData%5CLocal%5CTemp%5Cmsohtmlclip1%5C01%5Cclip_themedata.thmx"><link rel="colorSchemeMapping" href="file:///C:%5CUsers%5Ck%5CAppData%5CLocal%5CTemp%5Cmsohtmlclip1%5C01%5Cclip_colorschememapping.xml"><!--[if gte mso 9]><xml> <w:WordDocument> <w:View>Normal</w:View> <w:Zoom>0</w:Zoom> <w:TrackMoves/> <w:TrackFormatting/> <w:punctuationKerning/> <w:ValidateAgainstSchemas/> <w:SaveIfXMLInvalid>false</w:SaveIfXMLInvalid> <w:IgnoreMixedContent>false</w:IgnoreMixedContent> <w:AlwaysShowPlaceholderText>false</w:AlwaysShowPlaceholderText> <w:DoNotPromoteQF/> <w:LidThemeOther>EN-US</w:LidThemeOther> <w:LidThemeAsian>X-NONE</w:LidThemeAsian> <w:LidThemeComplexScript>TH</w:LidThemeComplexScript> <w:Compatibility> <w:BreakWrappedTables/> <w:SnapToGridInCell/> <w:ApplyBreakingRules/> <w:WrapTextWithPunct/> <w:UseAsianBreakRules/> <w:DontGrowAutofit/> <w:SplitPgBreakAndParaMark/> <w:DontVertAlignCellWithSp/> <w:DontBreakConstrainedForcedTables/> <w:DontVertAlignInTxbx/> <w:Word11KerningPairs/> <w:CachedColBalance/> </w:Compatibility> <w:BrowserLevel>MicrosoftInternetExplorer4</w:BrowserLevel> <m:mathPr> <m:mathFont m:val="Cambria Math"/> <m:brkBin m:val="before"/> <m:brkBinSub m:val="--"/> <m:smallFrac m:val="off"/> <m:dispDef/> <m:lMargin m:val="0"/> <m:rMargin m:val="0"/> <m:defJc m:val="centerGroup"/> <m:wrapIndent m:val="1440"/> <m:intLim m:val="subSup"/> <m:naryLim m:val="undOvr"/> </m:mathPr></w:WordDocument> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml> <w:LatentStyles DefLockedState="false" DefUnhideWhenUsed="true" DefSemiHidden="true" DefQFormat="false" DefPriority="99" LatentStyleCount="267"> <w:LsdException Locked="false" Priority="0" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Normal"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="heading 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 7"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 8"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 9"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 7"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 8"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 9"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="35" QFormat="true" Name="caption"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="10" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Title"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="1" Name="Default Paragraph Font"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="11" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Subtitle"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="22" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Strong"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="20" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Emphasis"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="59" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Table Grid"/> <w:LsdException Locked="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Placeholder Text"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="1" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="No Spacing"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="60" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Shading"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="61" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light List"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="62" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Grid"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="63" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="64" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="65" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="66" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="67" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="68" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="69" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="70" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Dark List"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="71" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Shading"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="72" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful List"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="73" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Grid"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="60" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Shading Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="61" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light List Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="62" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Grid Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="63" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 1 Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="64" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 2 Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="65" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 1 Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Revision"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="34" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="List Paragraph"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="29" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Quote"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="30" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Intense Quote"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="66" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 2 Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="67" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 1 Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="68" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 2 Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="69" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 3 Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="70" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Dark List Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="71" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Shading Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="72" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful List Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="73" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Grid Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="60" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Shading Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="61" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light List Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="62" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Grid Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="63" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 1 Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="64" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 2 Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="65" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 1 Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="66" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 2 Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="67" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 1 Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="68" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 2 Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="69" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 3 Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="70" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Dark List Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="71" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Shading Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="72" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful List Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="73" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Grid Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="60" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Shading Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="61" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light List Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="62" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Grid Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="63" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 1 Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="64" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 2 Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="65" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 1 Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="66" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 2 Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="67" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 1 Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="68" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 2 Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="69" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 3 Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="70" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Dark List Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="71" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Shading Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="72" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful List Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="73" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Grid Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="60" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Shading Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="61" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light List Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="62" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Grid Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="63" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 1 Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="64" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 2 Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="65" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 1 Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="66" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 2 Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="67" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 1 Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="68" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 2 Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="69" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 3 Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="70" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Dark List Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="71" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Shading Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="72" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful List Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="73" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Grid Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="60" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Shading Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="61" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light List Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="62" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Grid Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="63" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 1 Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="64" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 2 Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="65" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 1 Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="66" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 2 Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="67" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 1 Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="68" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 2 Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="69" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 3 Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="70" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Dark List Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="71" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Shading Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="72" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful List Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="73" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Grid Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="60" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Shading Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="61" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light List Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="62" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Grid Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="63" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 1 Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="64" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 2 Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="65" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 1 Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="66" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 2 Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="67" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 1 Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="68" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 2 Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="69" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 3 Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="70" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Dark List Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="71" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Shading Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="72" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful List Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="73" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Grid Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="19" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Subtle Emphasis"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="21" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Intense Emphasis"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="31" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Subtle Reference"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="32" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Intense Reference"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="33" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Book Title"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="37" Name="Bibliography"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" QFormat="true" Name="TOC Heading"/> </w:LatentStyles> </xml><![endif]--><style> <!-- /* Font Definitions */ @font-face {font-family:"Angsana New"; panose-1:2 2 6 3 5 4 5 2 3 4; mso-font-charset:0; mso-generic-font-family:roman; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:-2130706429 0 0 0 65537 0;} @font-face {font-family:"Cordia New"; panose-1:2 11 3 4 2 2 2 2 2 4; mso-font-charset:0; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:-2130706429 0 0 0 65537 0;} @font-face {font-family:"Cambria Math"; panose-1:2 4 5 3 5 4 6 3 2 4; mso-font-charset:0; mso-generic-font-family:roman; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:-1610611985 1107304683 0 0 159 0;} @font-face {font-family:Calibri; panose-1:2 15 5 2 2 2 4 3 2 4; mso-font-charset:0; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:-1610611985 1073750139 0 0 159 0;} /* Style Definitions */ p.MsoNormal, li.MsoNormal, div.MsoNormal {mso-style-unhide:no; mso-style-qformat:yes; mso-style-parent:""; margin-top:0cm; margin-right:0cm; margin-bottom:10.0pt; margin-left:0cm; line-height:115%; mso-pagination:widow-orphan; font-size:11.0pt; mso-bidi-font-size:14.0pt; font-family:"Calibri","sans-serif"; mso-ascii-font-family:Calibri; mso-ascii-theme-font:minor-latin; mso-fareast-font-family:Calibri; mso-fareast-theme-font:minor-latin; mso-hansi-font-family:Calibri; mso-hansi-theme-font:minor-latin; mso-bidi-font-family:"Cordia New"; mso-bidi-theme-font:minor-bidi;} .MsoChpDefault {mso-style-type:export-only; mso-default-props:yes; mso-ascii-font-family:Calibri; mso-ascii-theme-font:minor-latin; mso-fareast-font-family:Calibri; mso-fareast-theme-font:minor-latin; mso-hansi-font-family:Calibri; mso-hansi-theme-font:minor-latin; mso-bidi-font-family:"Cordia New"; mso-bidi-theme-font:minor-bidi;} .MsoPapDefault {mso-style-type:export-only; margin-bottom:10.0pt; line-height:115%;} @page Section1 {size:612.0pt 792.0pt; margin:72.0pt 72.0pt 72.0pt 72.0pt; mso-header-margin:36.0pt; mso-footer-margin:36.0pt; mso-paper-source:0;} div.Section1 {page:Section1;} --> </style><!--[if gte mso 10]> <style> /* Style Definitions */ table.MsoNormalTable {mso-style-name:ตารางปกติ; mso-tstyle-rowband-size:0; mso-tstyle-colband-size:0; mso-style-noshow:yes; mso-style-priority:99; mso-style-qformat:yes; mso-style-parent:""; mso-padding-alt:0cm 5.4pt 0cm 5.4pt; mso-para-margin-top:0cm; mso-para-margin-right:0cm; mso-para-margin-bottom:10.0pt; mso-para-margin-left:0cm; line-height:115%; mso-pagination:widow-orphan; font-size:11.0pt; mso-bidi-font-size:14.0pt; font-family:"Calibri","sans-serif"; mso-ascii-font-family:Calibri; mso-ascii-theme-font:minor-latin; mso-fareast-font-family:"Times New Roman"; mso-fareast-theme-font:minor-fareast; mso-hansi-font-family:Calibri; mso-hansi-theme-font:minor-latin;} </style> <![endif]-->
    [FONT=&quot]พระมหาวีระ[/FONT][FONT=&quot]ถาวโร[/FONT][FONT=&quot]<o></o>[/FONT]​
    [FONT=&quot]<o>
    </o>[/FONT]
    [FONT=&quot]อภิญญา[/FONT][FONT=&quot]๕[/FONT][FONT=&quot]<o></o>[/FONT]​

    [FONT=&quot]๑[/FONT][FONT=&quot]อิทธิฤทธิญาณ[/FONT][FONT=&quot]มีความรู้ในการแสดงฤทธิ์ได้ต่างๆ[/FONT]
    [FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    [FONT=&quot]๒ ทิพยโสตญาณ[/FONT][FONT=&quot]มีความรู้เหมือนหูทิพย์[/FONT]
    [FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    [FONT=&quot]๓ เจโตปริยญาณ[/FONT][FONT=&quot]รู้วาระจิตของคนและสัตว์[/FONT]
    [FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    [FONT=&quot]๔ จุตูปปาตญาณ[/FONT][FONT=&quot]รู้ว่าสัตว์ที่ตายแล้วไปเกิด ณ ที่ใด[/FONT]
    [FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    [FONT=&quot]๕ ปุพเพนิวาสานุสติญาณ[/FONT][FONT=&quot]ระลึกชาติหนหลังได้[/FONT]
    [FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    [FONT=&quot]๕ ข้อข้างบนนี้ ท่านรวมเรียกว่า[/FONT][FONT=&quot] “[/FONT][FONT=&quot]อภิญญา[/FONT][FONT=&quot]” [/FONT][FONT=&quot]เพราะมีความรู้เกินกว่าสามัญชนจะพึงรู้ได้ อภิญญาทั้ง ๕ นี้ เป็น[/FONT][FONT=&quot] “โลกียวิสัย” โลกียชนสามารถจะปฏิบัติ หรือ ฝึกหัดจิตของตนให้ได้ ให้ถึงได้ทุกคน ไม่เลือกชั้นวรรณะ ไม่เลือกวาสนาบารมี แต่เลือกเอาเฉพาะผู้ทำถูก ทำจริง และทำดี <o></o>[/FONT]
    [FONT=&quot]ถ้าทำจริง ทำถูก และทำแต่พอดีแล้ว ได้เหมือนกันหมด เว้นเสียแต่ท่านผู้รู้นอกลู่นอกทางเท่านั้น ที่จะทำไม่พบไม่ถึง ท่านผู้อ่านอาจจะสงสัยว่า เมื่ออภิญญานี้เป็นของคนทุกชั้นทุกวรรณะแล้ว ทำไมนักปฏิบัติกรรมฐานสมัยนี้มีดื่น สำนักกรรมฐานก็ก่อตั้งกันขึ้นเหมือนดอกเห็ด ทำไมเขาเหล่านั้นไม่มีใครได้อภิญญา[/FONT][FONT=&quot]? <o></o>[/FONT]
    [FONT=&quot]ถ้าท่านถามอย่างนี้ ก็ขอตอบว่า ที่เขาได้เขาถึงในปัจจุบันนี้ก็มีมาก แต่เขาไม่กล้าแสดงตนให้ท่านทราบ เพราะดีไม่ดีท่านนั่นแหละจะหาว่าเขาบ้า ๆ บอ ๆ เสียก็ได้ ที่ปฏิบัติกันเกือบล้มเกือบตาย ไม่ได้ผลอะไรเลย แม้แต่ปฐมฌานก็มี ที่ไม่ปรากฏผลก็เพราะเขาปฏิบัติไม่ถูก [/FONT][FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    [FONT=&quot]บางสำนักไม่แต่เพียงปฏิบัติไม่ถูกอย่างเดียว ยังแถมสร้างแบบสร้างแผนปฏิบัติเป็นของตนเอง แล้วแอบอ้างว่าเป็นของพระพุทธเจ้า ทำการโฆษณาคุณภาพแล้วก็สอนกันไปตามอารมณ์ ตามความคิดความนึกของตัว พอทำกันไปไม่กี่วันก็มีการสอบเลื่อนชั้น เลื่อนลำดับ แล้วออกใบประกาศรับรองว่าคนนั้นได้ชั้นนั้น คนนี้ได้ชั้นนี้ [/FONT][FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    [FONT=&quot]ครั้นพิสูจน์กันเข้าจริง ๆ ปรากฏว่าไม่ได้อะไรเลย แม้แต่อุปจาระฌานก็ไม่ได้ แล้วยังแถมมีจิตคิดผิด หลงผิด เป็นมิจฉาทิฏฐิไปเสียอีก กรรมหนักแท้ ๆ ในบางสำนักก็ให้ชื่อสำนักของตนเป็นสำนักวิปัสสนา แล้วก็ตั้งหน้าตั้งตาสอนไปตามลัทธิของตน ถูกหรือผิดไม่รู้ [/FONT][FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    [FONT=&quot]แล้วแถมยังคุยเขื่องอีกว่าพวกฉันเป็นพวกวิปัสสนา ฉันไม่ใช่สมถะ พวกสมถะต่ำ ไปนิพพานยังไม่ได้ ส่วนวิปัสสนาของฉันเป็นทางลัดไปนิพพานโดยตรงเลย น่าสงสารแท้ ๆ ช่างไม่รู้เก้ารู้สิบเอาเสียเลย ความรู้เรื่องไปนิพพานนั้น พระพุทธเจ้าสอนไว้ชัดเจน ไม่ได้ปิดบังอำพลางแต่ประการใด [/FONT][FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    [FONT=&quot]ท่านสอนว่า ผู้ที่มุ่งพระนิพพานนั้น ในขั้นต้นต้องรักษาศีลให้บริสุทธิ์ รักษาศีลยิ่งกว่าชีวิต ที่เรียกว่า[/FONT][FONT=&quot] "อธิศีลสิกขา" เมื่อปรับปรุงศีลอันเป็นเครื่องระงับความชั่วทางกายวาจาได้แล้ว ก็ให้เข้ามาปรับปรุงใจ ใจนั้นมีสภาพดิ้นรน กลับกลอก ไม่อยู่นิ่ง คล้ายลิง ให้ผูกใจมัดใจให้มีสภาพคงที่มั่นคงเสียก่อน โดยหาอุบายฝึกใจให้จับอยู่ในอารมณ์เดียว คือคิดอะไรก็ให้อยู่ในวัตถุนั้น ไม่สอดส่ายไปในวัตถุอื่น ที่เรียกว่า "สมาธิ" หรือเรียกตามชื่อของกรรมฐานว่า สมถกรรมฐานเป็นอุบายสงบใจ การทำใจให้สงบนี้ จะโดยวิธีใดก็ตาม เรียกว่า “สมถะ” ทั้งนั้น <o></o>[/FONT]
    [FONT=&quot]อุบาย ๗ กลุ่ม[/FONT][FONT=&quot]<o></o>[/FONT]​
    [FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    [FONT=&quot]อุบายที่ทำใจให้สงบระงับไม่ดิ้นรนนี้ พระพุทธเจ้าทรงวางแบบไว้ถึง ๔๐ แบบ จัดเป็นกลุ่มได้ ๗ กลุ่ม [/FONT][FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    [FONT=&quot]กลุ่มที่ ๑ เอาไว้ปราบพวกรักสวยรักงาม เรียกว่า [/FONT][FONT=&quot]ราคะจริต[/FONT][FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    [FONT=&quot]กลุ่มที่ ๒ เอาไว้ปราบพวกใจร้ายใจอำมหิต เรียกว่า[/FONT][FONT=&quot]โทสะจริต[/FONT][FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    [FONT=&quot]กลุ่มที่ ๓ เอาไว้ปราบพวกหลงงมงาย เรียกว่า [/FONT][FONT=&quot]โมหะจริต[/FONT][FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    [FONT=&quot]กลุ่มที่ ๔ เอาไว้ปราบพวกเชื่อง่ายไม่มีเหตุผล เรียกว่า [/FONT][FONT=&quot]ศรัทธาจริต[/FONT][FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    [FONT=&quot]กลุ่มที่ ๕ เอาไว้ปราบพวกช่างคิด ช่างนึก ตัดสินใจไม่เด็ดขาด เรียกว่า [/FONT][FONT=&quot]วิตกจริต[/FONT][FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    [FONT=&quot]กลุ่มที่ ๖ เอาไว้ปราบพวกฉลาดเฉียบแหลม เรียกว่า[/FONT][FONT=&quot]พุทธจริต[/FONT][FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    [FONT=&quot]กลุ่มที่ ๗ เป็นกรรมฐานกลาง ปฏิบัติได้ทุกพวก [/FONT][FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    [FONT=&quot]เมื่อสามารถระงับใจให้อยู่ในอารมณ์อันเดียวได้นาน ๆ พอจะใช้งานด้านวิปัสสนาได้ ที่เรียกว่าได้ฌานที่ ๑-๒-๓-๔ ตามลำดับอย่างนี้ เรียกว่า [/FONT][FONT=&quot]อธิจิตสิกขา[/FONT][FONT=&quot]เป็นการเตรียมการลำดับที่ ๒ แล้วจึงเอาจิตที่มีสมาธิตั้งมั่นจนถึงลำดับฌานแล้วนี่แหละ ไปวิจัยด้านวิปัสสนา [/FONT][FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    [FONT=&quot]คำว่า [/FONT][FONT=&quot]“[/FONT][FONT=&quot]วิปัสสนา[/FONT][FONT=&quot]” [/FONT][FONT=&quot]นั้น แปลว่า รู้แจ้งเห็นจริง หรือถ้าจะพูดตามภาษานิยมก็เรียกว่า ยอมรับนับถือตามความเป็นจริง ไม่ฝืนกฎธรรมดานั่นเองแล้วก็พวกวิปัสสนาลัดทุ่งลัดป่า ที่ไม่ยอมปรับปรุงศีล ไม่ปรับปรุงสมาธิ ที่เรียกว่าสมถะแล้ว เอาอะไรมาเป็นวิปัสสนา เห็นสำเร็จมรรคผล ซื้อไร่ ซื้อนา รับจำนำจำนองกันให้ยุ่งไปหมด อย่างนี้เรียกว่าถึงมรรคถึงผลแล้วหรือ น่าขายขี้หน้าชาวต่างชาติต่างศาสนา เขามาประเดี๋ยวเดียวเขาก็คว้าเอาของดีไปหมด เราอยู่ในเมืองพระพุทธศาสนา มัวทำตนเป็นปีศาจอย่างนี้ ในที่สุดก็ไปทำให้พระยายมมีงานมากขึ้น[/FONT][FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    [FONT=&quot]ฝึกอภิญญาปฏิบัติ[/FONT][FONT=&quot]<o></o>[/FONT]​
    [FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    [FONT=&quot]เพื่อย่นเวลาอ่านให้สั้นเข้า จึงใคร่จะให้ท่านผู้อ่านได้รู้ได้เห็นวิธีฝึกใจเพื่อได้อภิญญาเสียเลย แล้วจึงจะได้เขียนถึงวิธีเตรียมการณ์ไว้ท้ายบท[/FONT][FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    [FONT=&quot]อภิญญาที่[/FONT][FONT=&quot]๑[/FONT][FONT=&quot]อิทธิฤทธิญาณ[/FONT][FONT=&quot]<o></o>[/FONT]​
    [FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    [FONT=&quot]อภิญญาที่ ๑ นี้ ผู้ประสงค์จะฝึกท่านให้เรียนกสิณ ๑๐ ให้ชำนาญจากอาจารย์ผู้สอนเสียก่อน ถามวิธีฝึกและข้อเคล็ดลับต่าง ๆ ให้เข้าใจ เมื่อขณะฝึกนั้นถ้ามีอะไรสงสัยให้รีบหารืออาจารย์ อย่าตัดสินเองเป็นอันขาด ข้อสำคัญที่สุดก็คือ เมื่อจะเรียนนั้นดูอาจารย์เสียก่อนว่าได้แล้วหรือเปล่า ถ้าอาจารย์ไม่ได้ก็จงอย่าไปขอเรียนเลย เคยเห็นพาลูกศิษย์ลูกหาไปผิดลู่ผิดทาง เลอะเทอะกันมาแล้ว [/FONT][FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    [FONT=&quot]เมื่อเห็นอาจารย์ได้จริงแล้วก็เรียนเถิด ท่านคงไม่พาเข้ารกเข้าป่า เมื่อทำกสิณได้ชำนาญทั้ง ๑๐ อย่างแล้ว ท่านให้พยายามเข้าฌานตามลำดับฌานแล้วเข้าฌานตามลำดับกสิณ แล้วเข้าฌานสลับฌาน แล้วเข้าฌานสลับกสิณ ทำให้คล่อง นึกจะเข้าเมื่อไรเข้าฌานได้ทันที นอนหลับพอรู้สึกตัวก็เข้าฌานได้ทันที กำลังเดิน กำลังทำงาน กำลังพูด อ่านหนังสือ ดูมหรสพ หรือในกิจต่าง ๆ ที่กำลังทำอยู่ เมื่อคิดว่าเราจะเข้าฌานละ ก็เข้าได้ทันที อย่างนี้เรียกว่าได้อภิญญาที่ ๑ แสดงฤทธิ์ต่าง ๆ ได้ตามความพอใจ[/FONT][FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    [FONT=&quot]อภิญญาที่[/FONT][FONT=&quot]๒[/FONT][FONT=&quot]ทิพยโสตญาณ[/FONT][FONT=&quot]<o></o>[/FONT]​
    [FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    [FONT=&quot]ญาณหูทิพย์นี้ ท่านให้เข้าฌานในกรรมฐานกองใดกอง ๑ ก็ได้ เป็นกรรมฐานที่มีอภิญญาเป็นบาท คือกรรมฐานกองนี้ทรงคุณถึงฌานที่ ๔ ท่านผู้อ่านคงสงสัยว่า ทำไมกรรมฐานทั้ง ๔๐ กอง ที่พระพุทธเจ้าตรัสไว้นั้น ทรงคุณไม่เสมอกันหรืออย่างไร [/FONT][FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    [FONT=&quot]ขอตอบว่ากำลังของกรรมฐานทั้ง ๔๐ ไม่เท่ากัน เช่น [/FONT][FONT=&quot]อนุสติ ๓[/FONT][FONT=&quot]คือ[/FONT][FONT=&quot]พุทธานุสติ[/FONT][FONT=&quot]ธรรมมานุสติ[/FONT][FONT=&quot]สังฆานุสติ[/FONT][FONT=&quot]เป็นต้น ทรงกำลังได้เพียงอุปจารฌาน [/FONT][FONT=&quot]กสิณ ๑๐[/FONT][FONT=&quot]อสุภะ ๑๐[/FONT][FONT=&quot]จตุธาตุ ๔[/FONT][FONT=&quot] เป็นต้น ทรงกำลังได้ถึงฌานที่ ๔ ฌานที่ ๔ นี้เป็นฌานที่มีอภิญญาเป็นบาท เพราะทรงอภิญญาไว้ได้ กำลังของกรรมฐานไม่เท่ากันอย่างนี้ ท่านจึงให้เลือกกรรมฐานเข้าฌาน เข้าให้ถึงฌานที่ ๔ แล้ว ถอยจิตออกจากฌานให้ตั้งอยู่เพียงอุปจารฌาน [/FONT][FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    [FONT=&quot]แล้วคิดคำนึงถึงเสียงที่ได้ยินมาแล้วในเวลาก่อน ๆ ในระยะแรกให้คำนึงถึงเสียงที่ดังมาก ๆ เช่น เสียงกลอง เสียงระฆัง เสียงหวูดรถไฟ เรือยนต์ แล้วค่อยคำนึงถึงเสียงที่เบาลงมาเป็นลำดับ จนถึงเสียงกระซิบ และเสียงมดปลวก ซึ่งปกติเราจะไม่ได้ยินเสียงคำนึงด้วยจิตในสมาธิ จนเสียงนั้น ๆ ก้องอยู่ คล้ายกับเสียงนั้นปรากฏอยู่เฉพาะหน้าและใกล้หู ต่อไปก็คำนึงถึงเสียงที่อยู่ไกล ข้ามบ้าน ข้ามตำบล อำเภอ จังหวัด และเสียงที่บุคคลอื่นพูดแล้วในเวลาที่ล่วงเลยมาแล้ว เมื่อเสียงนั้น ๆ ปรากฏชัดแล้ว เป็นอันว่าได้ทิพยโสตญาณ หูทิพย์ ในอภิญญาที่ ๒[/FONT][FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    [FONT=&quot]อภิญญาที่[/FONT][FONT=&quot]๓[/FONT][FONT=&quot]เจโตปริยญาณ[/FONT][FONT=&quot]<o></o>[/FONT]​
    [FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    [FONT=&quot]ญาณนี้รู้ใจคนและสัตว์ รู้ว่าเขาคิดอะไรอยู่ ในขณะนี้ หรือก่อน หรือในวันต่อไป เจโตปริยญาณก็ดี จุตูปปาตญาณก็ดี ทั้งสองอย่างนี้ล้วนเป็นกิ่งก้านของทิพยจักขุญาณ เมื่อท่านเจริญทิพยจักขุฌาน คือ ญาณที่มีความรู้เหมือนตาทิพย์ได้แล้ว ทำสมาธิให้สูงขึ้นถึงฌานที่ ๔ ก็จะได้ "เจโต" และ "จุตูปปาตญาณ" เอง ทิพยจักขุฌานนั้น เป็นญาณที่สร้างให้ได้ก่อนญาณอื่น [/FONT][FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    [FONT=&quot]เพราะเจริญกรรมฐานให้ได้เพียงอุปจาระฌาน คือเจริญ [/FONT][FONT=&quot]อาโลกสิณ[/FONT][FONT=&quot]โอทาตกสิณ[/FONT][FONT=&quot]หรือ เตโชกสิณ[/FONT][FONT=&quot]ใน ๓ อย่างนี้ อย่างใดอย่างหนึ่งให้ได้อุปจารฌานแล้ว กำหนดจิตว่าต้องการเห็นนรก ก็ถอนจิตจากนิมิตกสิณนั้นเสีย แล้วกำหนดใจดูนรก ภาพนรกก็จะปรากฏ เมื่อประสงค์จะเห็นสวรรค์และอย่างอื่น ๆ ก็ได้เหมือนกัน [/FONT][FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    [FONT=&quot]๑. การเห็นนั้นจะมัวหรือชัดเจนขึ้นอยู่กับนิมิต เมื่อเพ่งนิมิต คือ รูปกสิณ ถ้าเห็นรูปกสิณชัดเท่าใด ภาพนรกสวรรค์ หรืออย่างอื่นที่เราปรารถนาจะรู้ก็ชัดเจนแจ่มใสเท่านั้นเมื่อท่านเจริญกสิณ กองใดกอง ๑ ใน ๓ กองนี้จนได้อุปจารฌานแล้ว ฝึก "ทิพยจักขุญาณ" ได้แล้ว ให้พยายามทำสมาธิให้สูงขึ้นถึงฌานที่ ๑-๒-๓-๔ โดยลำดับ ท่านจะได้ภาพที่เห็นชัดเจนขึ้น และสามารถเจรจากับพวกพรหมเทวดา และภูตผีปีศาจได้เท่า ๆ กับมนุษย์ [/FONT][FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    [FONT=&quot]๒. เมื่อทำจิตให้ตั้งมั่นจนถึงฌานที่ ๔ แล้ว ก็จะรู้วาระจิตของคนอื่น ว่าคนนี้มีกิเลสอะไรเป็นตัวนำ ขณะนี้เขากำลังคิดถึงเรื่องอะไรอยู่ เรียกว่า[/FONT][FONT=&quot] "เจโตปริยญาณ" [/FONT][FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    [FONT=&quot]๓. และรู้ต่อไปว่า สัตว์ตัวนี้ หรือคน ๆ นี้ตายไปแล้วไปเกิดที่ไหน สัตว์หรือคนที่เกิดใหม่นั้นมาจากไหน อย่างนี้เรียกว่า "จุตูปปาตญาณ" [/FONT][FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    [FONT=&quot]๔. และรู้ต่อไปว่า สัตว์หรือคนที่มาเกิดนี้เพราะกรรมอะไร ที่เป็นบุญหรือเป็นบาปบันดาลให้มาเกิด เขาตายไปแล้วไปตกนรกเพราะกรรมอะไร ไปเกิดบนสวรรค์เพราะกรรมอะไร อย่างนี้เป็นต้น นี่เรียกว่า "ยถากรรมมุตาญาณ"[/FONT][FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    [FONT=&quot]๕. สามารถรู้เรื่องในอดีต คือ ที่ล่วงมาแล้วมาก ๆ เรียกว่า "อตีตังสญาณ" [/FONT][FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    [FONT=&quot]๖. รู้เรื่องในอนาคตได้มาก ๆ เรียกว่า "อนาคตังญาณ" [/FONT][FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    [FONT=&quot]๗. และเมื่อปรารถนาจะรู้เรื่องถอยหลังไปถึงชาติก่อน ๆ นี้ก็รู้ได้ เรียกว่า "ปุพเพนิวาสานุสติญาณ" [/FONT][FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    [FONT=&quot]รวมความแล้วเมื่อเจริญกรรมฐานในกสิณ ๓ อย่างนั้น อย่างใดอย่าง ๑ แล้ว จนถึงฌานที่ ๔ ก็จะได้ญาณรวมกันทั้งหมด ๗ อย่าง เป็นกรรมฐานที่ได้กำไรมาก[/FONT][FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    [FONT=&quot]ในหนังสือนี้จะเขียนแต่เพียงบอกทาง ปฏิบัติ หรือจะเรียกว่าแนะวิธีปฏิบัติก็ได้ จะไม่เขียนวิธีปฏิบัติไว้ให้ในปีนี้ ท่านผู้สนใจในกรรมฐาน ๔๐ ของพระพุทธเจ้า โปรดสละเงินสัก ๖๐ บาท ไปหาซื้อ "หนังสือวิสุทธิมรรค" จากร้านขายหนังสือ แล้วเอามาอ่านมาเรียนกันเอาเอง เมื่อไม่เข้าใจตอนไหนก็ไปถามท่านผู้รู้จริง ไม่ใช่รู้หลอกลวง แล้วปฏิบัติตามคำแนะนำของท่านก็จะได้ผลสมความมุ่งหมาย [/FONT][FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    [FONT=&quot]ปรับพื้นใจ[/FONT][FONT=&quot]<o></o>[/FONT]​
    [FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    [FONT=&quot]ไม่ว่าอะไร จะเป็นบ้าน ตึก เรือน โรง หรือถนนหนทางก็ตามทีก่อนจะสร้างให้เป็นรูปเป็นร่างขึ้นมา ก็ต้องปรับพื้น ตอกหลัก ปักเข็มกันซุดเสียก่อน แม้การเจริญอภิญญาปฏิบัติก็เหมือนกัน อยู่ ๆ จะมาปฏิบัติเพื่อทำให้ได้แบบชุบมือเปิบนั้น ไม่มีทางสำเร็จแน่ ต้องปรับปรุง กาย วาจา ใจ ให้เข้ามาตรฐานเสียก่อน [/FONT][FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    [FONT=&quot]ถ้ายังรู้จักฆ่าสัตว์ ลักทรัพย์ เป็นชู้ลูกเขาเมียคนอื่น โกหกตอแหล ดื่มเหล้าเมาสุรา หรือยังรู้จักอิจฉาริสยาชาวบ้านชาวเมือง สะสมกอบโกย กลั่นแกล้ง ตระหนี่ขี้เหนียวอยู่แล้ว อย่าคิดอย่าฝันเลย ว่าจะพบอภิญญากับเขา อภิญญารักคนดี เกลียดคนชั่ว [/FONT][FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    [FONT=&quot]ฉะนั้นสมัยนี้พวกนักต่าง ๆ เช่น นักเรียน นักศึกษา นักวิทยาศาสตร์ หรือนักศาสตร์อื่น ๆ จนกระทั่งนักศาสตร์ขี้เหล้าเมายา ก็พากันวิภาควิจารณ์ถึงเรื่องนรกสวรรค์ อยากจะรู้อยากจะเห็นด้วยตาตนเอง ถ้าอยากรู้อยากเห็นจริงแล้ว เชิญทดลองปฏิบัติได้เลย ขออย่างเดียวทำตนให้เข้ากับหลักสูตรให้ได้เสียก่อน [/FONT][FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    [FONT=&quot]ถ้าทำตนของท่านให้เข้ากับหลักสูตรไม่ได้แล้ว ก็ควรเลิกฝอย เสียเวลาเปล่า ไม่ว่านักเรียนนักศึกษาหรือนักอะไรทั้งนั้น ถ้าความประพฤติไม่ดีไม่เหมาะสมแล้ว โรงเรียนหรือสถานที่นั้น ๆ เขาก็คงไม่ต้องการ เรื่องความรู้หรือค่าแรงงานก็เป็นอันไม่ได้รับ [/FONT][FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    [FONT=&quot]อภิญญานี้ก็เหมือนกัน ขอให้ทำตนให้เหมาะสมเสียก่อนแล้วจึงเข้ามาปฏิบัติ คำว่าทำตนให้เหมาะสมนี้ ท่านอย่าคิดนะว่า ถ้าได้โกนหัวห่มเหลืองแล้วจะใช้ได้ ชนิดโกนหัวห่มเหลืองนี้ ที่เป็นหนอนบ่อนไชพระพุทธศาสนาก็ไม่น้อย บวชแล้วแทนที่จะช่วยกันบำรุงพระศาสนา แต่กลับไปติดลาภ ติดยศ ติดสรรเสริญเยินยอ ประกาศพระศาสนาแข่งกับพระพุทธเจ้า โปรดสังเกตดูเถอะหาไม่ยาก ฉะนั้นการทำตนให้เหมาะสมจึงไม่ใช่จะต้องบวช เอาเพียงประพฤติให้ถูกเท่านั้น เป็นพอดีแล้ว[/FONT][FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
     
  18. ~ สุดที่รัก ~

    ~ สุดที่รัก ~ สมาชิกใหม่

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 กรกฎาคม 2008
    โพสต์:
    14
    ค่าพลัง:
    +1
    กราบขอบพระคุณท่านอาจารย์ทั้งสองค่ะ คุณkananun และคุณchdhorn

    ถ้ามีโอกาสจะนำการฝึกหรือประสบการณ์ที่พบ มาเล่าสู่กันฟังและขอคำปรึกษาค่ะ
     
  19. ~ สุดที่รัก ~

    ~ สุดที่รัก ~ สมาชิกใหม่

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 กรกฎาคม 2008
    โพสต์:
    14
    ค่าพลัง:
    +1
    นำมาฝากค่ะ



    <TABLE class=tborder id=post1487183 cellSpacing=0 cellPadding=6 width="100%" align=center border=0><TBODY><TR><TD class=thead style="BORDER-RIGHT: #ffffff 0px solid; BORDER-TOP: #ffffff 1px solid; FONT-WEIGHT: normal; BORDER-LEFT: #ffffff 1px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 1px solid"><!-- status icon and date -->[​IMG] เมื่อวานนี้, 08:48 AM <!-- / status icon and date --></TD><TD class=thead style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid; BORDER-TOP: #ffffff 1px solid; FONT-WEIGHT: normal; BORDER-LEFT: #ffffff 0px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 1px solid" align=right>#15 </TD></TR><TR vAlign=top><TD class=alt2 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid; BORDER-TOP: #ffffff 0px solid; BORDER-LEFT: #ffffff 1px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 0px solid" width=175>ชนะ สิริไพโรจน์<SCRIPT type=text/javascript> vbmenu_register("postmenu_1487183", true); </SCRIPT>
    ผู้ร่วมสนับสนุนบริจาค

    [​IMG]

    เข้ามาครั้งล่าสุด: วันนี้ 12:26 PM
    วันที่สมัคร: Jul 2008
    ข้อความ: 149
    ได้ให้อนุโมทนา: 2,924
    ได้รับอนุโมทนา 1,082 ครั้ง ใน 119 โพส
    <IF condition="">
    </IF>พลังการให้คะแนน: 18 [​IMG]



    </TD><TD class=alt1 id=td_post_1487183 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid"><!-- icon and title -->มโนมยิทธิ
    <HR style="COLOR: #ffffff; BACKGROUND-COLOR: #ffffff" SIZE=1><!-- / icon and title --><!-- message -->วิชามโนมยิทธิ เป็นหลักสูตรทางพระพุทธศาสนาทางด้านวิชชา ๓ กึ่งอภิญญา
    คำว่ามโนมยิทธิ แปลว่ามีฤทธิ์ทางใจ เป็นวิชาที่พระเดชพระคุณหลวงพ่อ
    พระราชพรหมยาน(หลวงพ่อฤาษี วัดท่าซุง) นำมาสอน จุดประสงค์
    เพื่อให้คนได้พิศูจน์พระธรรมคำสอนของพระพุทธเจ้า ในเรื่อง นรก สวรรค์
    พรหม พระนิพพาน เป็นสิ่งที่มีจริงเป็นจริง เป็นการตัดตัววิจิตกิจฉา
    ความลังเลสงสัยในพระธรรมคำสอนของพระพุทธเจ้า เป็นการละสังโยชน์ข้อที่ ๒ ในสังโยชน์ ๑๐

    คนที่ฝึกได้สามารถใช้จิตหรืออทิสมานกาย ท่องเที่ยวไปตามภพภูมิต่างๆ ได้
    เมื่อเขาไปเห็นแดนอบายภูมิ เห็นโทษจากการละเมิดศีล เขาก็จะตั้งใจและ
    รักษาศีลได้บริสุทธิ เป็นการละสังโยชน์ข้อที่ ๓ คือสีลัพพตปรามาส

    คนที่ฝึกมโนมยิทธิได้ การทรงอารมณ์พระโสดาบันจะได้ผลอย่างรวดเร็ว
    เพราะพระโสดาบันตัดสังโยชน์ได้ ๓ ข้อ คือ สักกายะทิษฐิ, วิจิกิจฉา และ
    สีลัพพตปรามาส และพระเดชพระคุณหลวงพ่อฤาษี วัดท่าซุง ท่านกล่าวไว้ว่า
    สักกายะทิษฐิของพระโสดาบันคือ คิดว่าตัวเราจะต้องตายแน่ และให้นึกถึง
    ความตายอยู่เสมอ คิดว่าเราอาจจะตายวันนี้ พรุ่งนี้ จะได้ไม่ประมาทในชีวิต

    ในผลของการปฏิบัติ พระเดชพระคุณหลวงพ่อได้กล่าวไว้ว่า ถ้าปฏิบัติได้คล่อง
    ทรงอารมณ์ฌาน ๔ ได้เป็นปกติ จะเกิดญาณรู้เจ็ดอย่างคือ
    ๑. จุตูปปาตญาณ รู้ว่าสัตว์ตายแล้วไปเกิดที่ใด สัตว์ที่มาเกิดนี้มาจากใหน
    ๒. เจโตปริญาณ รู้อารมณ์จิตของคนและสัตว์
    ๓. ปุพเพนิวาสานุสติญาณ ระลึกชาติได้
    ๔. อตีตังสญาณ รู้เหตุการในอดีตของคน สัตว์ สิ่งของ สถานที่ต่างๆ ได้
    ๕. อนาคตังสญาณ รู้เหตุการณ์ในอนาคตได้
    ๖. ปัจจุปันนังสญาณ รู้เหตุการณ์ปัจจุบัน ว่าขณะนี้ใครกำลังทำอะไรอยู่
    ไม่ว่าคนๆ นั้นจะอยู่ไกลแค่ไหนก็ตาม
    ๗. ยถากัมมุตตาญาณ รู้ผลกรรมของคนและสัตว์ได้ ทั้งอดีต อนาคต และ
    ปัจจุบัน

    การปฏิบัติพระกรรมฐานไม่ว่าจะเป็นสายใด ก็ดีทุกสาย ขึ้นอยู่กับว่าจะถูกจริต
    กับเราหรือไม่ เพราะทุกสายมีจุดมุ่งหวังเดียวกันเพื่อความพ้นทุกข์
    แล้วแต่ว่าใครจะพ้นทุกข์ได้ช้าได้เร็วกว่ากัน ถ้าสมมุติว่าพระนิพพานคือกรุงเทพ
    ทุกคนมุ่งหวังที่จะไปกรุงเทพ ใครจะเดินไป จะขึ้นรถไป หรือขึ้นเครื่องบินไป
    ก็ขึ้นอยู่กับบุญบารมีที่สั่งสมมา พระเดชพระคุณหลวงพ่อได้กล่าวไว้ว่า ผู้ที่มีกำลังใจ
    เป็นปรมัถบารมี ทุกคนมีสิทธิ์ที่จะเข้าพระนิพพานได้ ถ้าปฏิบัติได้ถูกต้อง
    ตามพระธรรมคำสอนของพระพุทธเจ้า
    <!-- / message --><!-- edit note -->
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  20. Nakamura

    Nakamura Moderator ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    20 กันยายน 2005
    โพสต์:
    2,002
    ค่าพลัง:
    +17,625
    สิ่งอัศจรรย์ <hr style="color: rgb(204, 204, 204);" size="1"> <!-- / icon and title --> <!-- message --> เรื่องนี้เป็นเรื่องเล่าขานกันมาจากครูบาอาจารย์รุ่นแรกๆ เล่าสืบต่อกันมาจนถึงรุ่นหลังๆ

    เรื่องมีอยู่ว่าในสมัยก่อนๆนั้น พระสงฆ์ที่ออกบวชท่านปฏิบัติกันแบบเอาเป็นเอาตาย...คือตายไม่ว่า...ขอเพียง ให้รู้แจ้งเห็นจริง ทำได้จริง มีผลจริง...จากนั้นก็จะนำวิชาความรู้พิเศษที่มีอยู่มาแสดงเพื่อแลกเปลี่ยน ความรู้กัน จะมีทั้งพระไทย พระลาว พระพม่าฯ เป็นต้น

    เรื่องเล่านี้รายละเอียดอาจขาดหายไปบ้าง แต่หลักๆยังอยู่...คือมีพระลาวรูปหนึ่งได้ศึกษาปฏิบัติกรรมฐานอย่างถวาย ชีวิต จนได้ณานสมาบัติขั้นสูง สามารถแสดงฤทธิ์ต่างๆ ทำตัวลอยได้ เดินบนน้ำได้ ฯลฯ จึงนำมาแสดงให้พระไทย ซึ่งเป็นสหธรรมมิกได้เห็นว่าสามารถทำได้จริง...แล้วถามว่า "...น่าอัศจรรย์ไหม...?" ...พระไทยพิจารณาดูครู่หนึ่ง แล้วตอบว่า...สิ่งที่ท่านแสดงให้ดูนั้นนับว่าอัศจรรย์ทีเดียว...แต่ผม (พระไทย) มีสิ่งที่อัศจรรย์กว่า...!สิ่งอัศจรรย์นั้นคือ..."ทำไมคนเราต้องเกิดมา...ทำไมต้องแก่...ทำไมต้องเจ็บ...ต้องตาย...ทำไมต้องหิว...ทำไมต้องถ่ายปัสสาวะ-อุจจาระ...ทำไม...!?"

    พระลาวยืนฟังด้วยความงุนงง ฟังจบก็ยืนนิ่ง...ใคร่ครวญอยู่ครู่หนึ่ง จึงเดินแยกกลับไปฝั่งลาวเพื่อค้นหาสิ่งอัศจรรย์นี้...จนในที่สุดก็ละฌาน โลกีย์มุ่งสู่โลกุตรธรรมตามรอยบาทขององค์สมเด็จพระประทีปแก้ว

    เรื่องนี้พระเถระผู้ใหญ่ผู้เชี่ยวชาญในเรื่องสมาธิกรรมฐานวิปัสสนาล้วนแต่ทรงเน้นย้ำว่า...

    สิ่งอัศจรรย์ทั้งหลายเป็นเพียงทางผ่าน ถ้ายึดมั่นไว้จะกลายเป็นดอกไม้พญามาร และทรงกำชับว่า...

    "อิทธิฤทธิ์ปาฏิหาริย์...จะทำให้หนทางสู่ความสงบสุขที่แท้จริง...ยืดไกลออกไป"

    ที่มา
    "อภิมหามงคลธรรม"

    http://board.watthummuangna.com/showthread.php?t=6606
     

แชร์หน้านี้

Loading...