บทสวดทิพย์มนต์สมัยพระสมณโคดมเสวยพระชาติเป็นพระฤาษี ; ท่านพ่อลี วัดอโศการาม

ในห้อง 'บทสวดมนต์ - คาถา' ตั้งกระทู้โดย Lukhgai, 12 สิงหาคม 2009.

  1. Lukhgai

    Lukhgai เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 พฤศจิกายน 2008
    โพสต์:
    3,000
    กระทู้เรื่องเด่น:
    2
    ค่าพลัง:
    +8,239
    [​IMG]


    ในสมัยหนึ่งที่พระพุทธเจ้าพระสมณโคดม เสวยพระชาติเป็นพระฤาษีอยู่ในป่า ท่านได้สวดบททิพย์มนต์ เป็นประจำทุกวัน มีสิ่งน่าอัศจรรย์เกิดขึ้นคือ บรรดาสัตว์ต่างๆ ที่อาศัยอยู่ในป่านั้น เมื่อได้เข้ามาสู่บริเวณที่พำนักของพระฤาษี สัตว์ทั้งหลาย อาทิเช่น ช้างป่า เสือ หมี เก้ง กวาง เหล่านี้ จะกลายเป็นมิตรกันทันที ไม่มีการไล่ล่าทำลายกัน สัตว์เล็กและสัตว์ใหญ่ต่างก็พากันเป็นมิตรต่อกันด้วยอานุภาพแห่งทิพย์มนต์ที่แผ่ออกไปทุกวันในเขตที่พระฤาษีบำเพ็ญพรตอยู่

    ย้อนไปเมื่อปีพ.ศ. 2500 หลวงปู่หลอดได้เดินทางจากป่ามาสู่กรุงเทพเป็นครั้งแรก ท่านได้มาจำพรรษาอยู่ที่วัดอโศการาม ของท่านพ่อลี ศิษย์หลวงปู่มั่น ซึ่งบททิพย์มนต์นั่นเอง ซึ่งท่านพ่อลีเป็นผู้ค้นพบจากพระไตรปิฎกท่านนำมาศึกษา และนำมาให้พระ เณร แม่ชี ที่วัดอโศกรามสวดกัน หลังจากทำวัตรเช้า วัตรเย็นทุกวัน

    การสวดทิพย์มนต์เพื่อสิริมงคลแก่ผู้สวด เพื่อให้มีอายุ วรรณะ สุขะ พละ เพื่อส่งกุศลให้ผู้ป่วยให้ทุเลาจากอาการเจ็บป่วย หรือสวดส่งกุศลให้หลวงปู่ ครูอาจารย์ที่มีอายุมากให้มีพละกำลัง หรือสวดเพื่อบรรเทาเวทนา หรือสืบชะตาต่อายุ ทิพย์มนต์ นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ (สามจบ)

    พุทธัง อายุวัฑฒะนัง ชีวิตัง ยาวะ นิพพานัง สะระณัง คัจฉามิ
    ธัมมัง อายุวัฑฒะนัง ชีวิตัง ยาวะ นิพพานัง สะระณัง คัจฉามิ
    สังฆัง อายุวัฑฒะนัง ชีวิตัง ยาวะ นิพพานัง สะระณัง คัจฉามิ

    ทุติยัมปิ พุทธัง อายุวัฑฒะนัง ชีวิตัง ยาวะ นิพพานัง สะระณัง คัจฉามิ
    ทุติยัมปิ ธัมมัง อายุวัฑฒะนัง ชีวิตัง ยาวะ นิพพานัง สะระณัง คัจฉามิ
    ทุติยัมปิ สังฆัง อายุวัฑฒะนัง ชีวิตัง ยาวะ นิพพานัง สะระณัง คัจฉามิ

    ตะติยัมปิ พุทธัง อายุวัฑฒะนัง ชีวิตัง ยาวะ นิพพานัง สะระณัง คัจฉามิ
    ตะติยัมปิ ธัมมัง อายุวัฑฒะนัง ชีวิตัง ยาวะ นิพพานัง สะระณัง คัจฉามิ
    ตะติยัมปิ สังฆัง อายุวัฑฒะนัง ชีวิตัง ยาวะ นิพพานัง สะระณัง คัจฉามิ

    1. วาโย จะ พุทธะคุณัง อะระหัง พุทโธ อิติปิ โส ภะคะวา นะมามิหัง อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ วิชชาจะระณะสัมปันโน สุคะโต โลกะวิทู อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ สัตถา เทวะมะนุสสานัง พุทโธ ภะคะวาติ

    วาโย จะ ธัมเมตัง อะระหัง พุทโธ อิติปิ โส ภะคะวา นะมามิหัง สวากขาโต ภะคะวาตา ธัมโม สันทิฏฐิโก อะกาลิโก เอหิปัสสิโก โอปะนะยิโก ปัจจัตตังเวทิตัพโพ วิญญูหีติ

    วาโย จะ สังฆานัง อะระหัง พุทโธ อิติปิ โส ภะคะวา นะมามิหัง สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อุชุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ ญายะปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ สามีจิปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ ยะทิทัง จัตตาริ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะปุริสะปุคคะลา เอสะภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อาหุเนยโย ปาหุเนยโย ทักขิเณยโย อัญชะลีกะระณีโย อะนุตตะรังปุญญักเขตตัง โลกัสสาติ

    2. เตโช จะ พุทธะคุณัง อะระหัง พุทโธ อิติปิ โส ภะคะวา นะมามิหัง อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ วิชชาจะระณะสัมปันโน สุคะโต โลกะวิทู อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ สัตถา เทวะมะนุสสานัง พุทโธ ภะคะวาติ

    เตโช จะ ธัมเมตัง อะระหัง พุทโธ อิติปิ โส ภะคะวา นะมามิหัง สวากขาโต ภะคะวาตา ธัมโม สันทิฏฐิโก อะกาลิโก เอหิปัสสิโก โอปะนะยิโก ปัจจัตตังเวทิตัพโพ วิญญูหีติ

    เตโช จะ สังฆานัง อะระหัง พุทโธ อิติปิ โส ภะคะวา นะมามิหัง สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อุชุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ ญายะปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ สามีจิปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ ยะทิทัง จัตตาริ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะปุริสะปุคคะลา เอสะภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อาหุเนยโย ปาหุเนยโย ทักขิเณยโย อัญชะลีกะระณีโย อะนุตตะรังปุญญักเขตตัง โลกัสสาติ

    3. อาโป จะ พุทธะคุณัง อะระหัง พุทโธ อิติปิ โส ภะคะวา นะมามิหัง อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ วิชชาจะระณะสัมปันโน สุคะโต โลกะวิทู อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ สัตถา เทวะมะนุสสานัง พุทโธ ภะคะวาติ

    อาโป จะ ธัมเมตัง อะระหัง พุทโธ อิติปิ โส ภะคะวา นะมามิหัง สวากขาโต ภะคะวาตา ธัมโม สันทิฏฐิโก อะกาลิโก เอหิปัสสิโก โอปะนะยิโก ปัจจัตตังเวทิตัพโพ วิญญูหีติ

    อาโป จะ สังฆานัง อะระหัง พุทโธ อิติปิ โส ภะคะวา นะมามิหัง สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อุชุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ ญายะปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ สามีจิปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ ยะทิทัง จัตตาริ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะปุริสะปุคคะลา เอสะภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อาหุเนยโย ปาหุเนยโย ทักขิเณยโย อัญชะลีกะระณีโย อะนุตตะรังปุญญักเขตตัง โลกัสสาติ

    4. ปะฐะวี จะ พุทธะคุณัง อะระหัง พุทโธ อิติปิ โส ภะคะวา นะมามิหัง อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ วิชชาจะระณะสัมปันโน สุคะโต โลกะวิทู อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ สัตถา เทวะมะนุสสานัง พุทโธ ภะคะวาติ

    ปะฐะวี จะ ธัมเมตัง อะระหัง พุทโธ อิติปิ โส ภะคะวา นะมามิหัง สวากขาโต ภะคะวาตา ธัมโม สันทิฏฐิโก อะกาลิโก เอหิปัสสิโก โอปะนะยิโก ปัจจัตตังเวทิตัพโพ วิญญูหีติ

    ปะฐะวี จะ สังฆานัง อะระหัง พุทโธ อิติปิ โส ภะคะวา นะมามิหัง สุปะฏิปันโน ภะคะ
    วะโต สาวะกะสังโฆ อุชุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ ญายะปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ สามีจิปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ ยะทิทัง จัตตาริ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะปุริสะปุคคะลา เอสะภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อาหุเนยโย ปาหุเนยโย ทักขิเณยโย อัญชะลีกะระณีโย อะนุตตะรังปุญญักเขตตัง โลกัสสาติ

    5. อากาสา จะ พุทธะคุณัง อะระหัง พุทโธ อิติปิ โส ภะคะวา นะมามิหัง อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ วิชชาจะระณะสัมปันโน สุคะโต โลกะวิทู อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ สัตถา เทวะมะนุสสานัง พุทโธ ภะคะวาติ

    อากาสา จะ ธัมเมตัง อะระหัง พุทโธ อิติปิ โส ภะคะวา นะมามิหัง สวากขาโต ภะคะวาตา ธัมโม สันทิฏฐิโก อะกาลิโก เอหิปัสสิโก โอปะนะยิโก ปัจจัตตังเวทิตัพโพ วิญญูหีติ

    อากาสา จะ สังฆานัง อะระหัง พุทโธ อิติปิ โส ภะคะวา นะมามิหัง สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อุชุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ ญายะปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ สามีจิปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ ยะทิทัง จัตตาริ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะปุริสะปุคคะลา เอสะภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อาหุเนยโย ปาหุเนยโย ทักขิเณยโย อัญชะลีกะระณีโย อะนุตตะรังปุญญักเขตตัง โลกัสสาติ

    6. วิญญาณัง จะ พุทธะคุณัง อะระหัง พุทโธ อิติปิ โส ภะคะวา นะมามิหัง อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ วิชชาจะระณะสัมปันโน สุคะโต โลกะวิทู อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ สัตถา เทวะมะนุสสานัง พุทโธ ภะคะวาติ

    วิญญาณัง จะ ธัมเมตัง อะระหัง พุทโธ อิติปิ โส ภะคะวา นะมามิหัง สวากขาโต ภะคะวาตา ธัมโม สันทิฏฐิโก อะกาลิโก เอหิปัสสิโก โอปะนะยิโก ปัจจัตตังเวทิตัพโพ วิญญูหีติ

    วิญญาณัง จะ สังฆานัง อะระหัง พุทโธ อิติปิ โส ภะคะวา นะมามิหัง สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อุชุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ ญายะปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ สามีจิปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ ยะทิทัง จัตตาริ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะปุริสะปุคคะลา เอสะภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อาหุเนยโย ปาหุเนยโย ทักขิเณยโย อัญชะลีกะระณีโย อะนุตตะรังปุญญักเขตตัง โลกัสสาติ

    ธาตุประริสุทธานุภาเวนะ สัพพะทุกขา สัพพะภะยา สัพพะโรคา วิมุจจันติ อิติ อุทธะมะโธ ติริยัง สัพพะธิ สัพพัตตะตายะ สัพพาวันตังโลกัง เมตตา กรุณา มุทิตา อุเปกขา สะหะคะเตนะ เจตะสา จะตุททิสัง ผะริตตะวา วิหะระติ สุขัง สุปะติ สุขัง ปะฎิพุชฌะติ นะปาปะกัง สุปินัง ปัสสะติ มะนุสสานัง ปิโย โหติ อะมะนุสสานัง ปิโย โหติ เทวะตา รักขันติ นาสสะ อัคคิ วา วิสัง วา สัตถัง วา กะมะติ ตุวะฏัง จิตตัง สะมาธิยะติ มุขวัณโณ วิปปะสีทะติ อะสัมมุฬะโห กาลังกะโรติ อุตตะริง อัปปะฏิวิชฌันโต พรหมมะโล กูปะโค โหติ อิติ อุทธะมะโธ ติริยัง อะเวรัง อะเวรา สุขะชีวิโน กะตัง ปุญญัง ผะลัง มัยหัง สัพเพภาคี ภะวันตุเต ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุ สัพพะ เทวะตา สัพพะพุทธานุภาเวนะ สัพพะธัมมานุภาเวนะ สัพพะสังฆานุภาเวนะ โสตถี โหนตุ นิรันตะรุง อะระหัง พุทโธ อิติปิโส ภะคะวา นะมามิหัง ขอขอบพระคุณและโมทนาบุญอย่างสูงสำหรับข้อมูลจาก :
    • เจริญสุข ยืนตระกูล เรียบเรียง. "ความเป็นมาของบทสวดทิพย์มนต์" โลกทิพย์ 258 ปีที่ 12 ตุลาคม 2536. หน้า 69-71
     
    แก้ไขครั้งล่าสุดโดยผู้ดูแล: 13 สิงหาคม 2009
  2. ศนิวาร

    ศนิวาร เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    26 เมษายน 2008
    โพสต์:
    7,337
    ค่าพลัง:
    +17,632
    บทนี้เป็นบทสวดย่อ บทเต็มยาวกว่านี้มากครับ
     
  3. บรม

    บรม เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 สิงหาคม 2008
    โพสต์:
    1,163
    ค่าพลัง:
    +3,926
    อนุโมทนาครับ คุณลูกไก่ที่แนะนำสิ่งดีๆ มาให้สมาชิกสม่ำเสมอ
     
  4. มรรค 8 ประการ

    มรรค 8 ประการ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    29 กรกฎาคม 2007
    โพสต์:
    884
    ค่าพลัง:
    +2,641
    ไม่ทราบว่าจะหาบทเต็มได้ที่ไหนครับ
     
  5. Goldiefish

    Goldiefish เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 กุมภาพันธ์ 2009
    โพสต์:
    114
    ค่าพลัง:
    +856
    ขอขอบพระคุณค่ะ สำหรับบทสวดดี ๆ เมตตาค้ำจุนโลกเสมอ ขออนุโมทนาบุญอย่างสูงค่ะ
     
  6. thaboo

    thaboo Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 สิงหาคม 2009
    โพสต์:
    128
    ค่าพลัง:
    +27
    อยากได้ไฟล์เสียงสวดอ่ะ
     
  7. ลมรำเพย

    ลมรำเพย เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 ตุลาคม 2006
    โพสต์:
    126
    ค่าพลัง:
    +503
    แบบเต็มสูตร

    เมื่อจะสวดธาตุ ในพิธีอื่น เช่น การสวดธาตุ เพื่อเป็นการเจริญอายุ
    และจิตใจของผู้ป่วย หรือสวดสลับในพิธีพุทธาภิเศก เป็นต้น
    นิยม สวดขันธ์ ๕ อายตนะ ๑๒ และอาการ ๓๒ เพิ่มเติมด้วย
    การสวด ทำนองเดียว กับการสวด ธาตุทุกอย่าง
    เปลี่ยนแต่ชื่อ ขันธ์ ๕ อายตนะ ๑๒ และอาการ ๓๒ ไปโดยลำดับเท่านั้น


    หมวดขันธ์ ๕
    ๑) รูปัญ จะ ๒) เวทนา จะ
    ๓) สัญญา จะ ๔) สังขารา จะ
    ๕) วิญญาณัญ จะ

    หมวดอายตนะ ๑๒
    ๑) จักขุ จะ ๒) โสตัญ จะ
    ๓) ฆานัญ จะ ๔) ชิวหา จะ
    ๕) กาโย จะ ๖) มะโน จะ
    ๗) รูปัญ จะ ๘) สัทโท จะ
    ๙) คันโธ จะ ๑๐) ระโส จะ
    ๑๑) โผฏฐัพพา จะ ๑๒) ธัมมารัมมะณัญ จะ

    หมวดอาการ ๓๒
    ๑)เกสา จะ ๒)โลมา จะ
    ๓)นะขา จะ ๔)ทันตา จะ
    ๕)ตะโจ จะ ๖)มังสัญ จะ
    ๗)นะหารู จะ ๘)อัฏฐิ จะ
    ๙)อัฏฐิมิญชัญ จะ ๑๐)วักกัญจะ
    ๑๑)หะทะยัญ จะ ๑๒)ยะกะนัญ จะ
    ๑๓)กิโลมะกัญ จะ ๑๔)ปิหะกัญ จะ
    ๑๕)ปัปผาสัญ จะ ๑๖)อันตัญ จะ
    ๑๗)อันตะคุณัญ จะ ๑๘)อุทะริยัญ จะ
    ๑๙)กะรีสัญ จะ ๒๐)มัตถะลุงคัญ จะ
    ๒๑)ปิตตัญ จะ ๒๒)เสมหัญ จะ
    ๒๓)ปุพโพ จะ ๒๔)โลหิตัญ จะ
    ๒๕)เสโท จะ ๒๖)เมโท จะ
    ๒๗)อัสสุ จะ ๒๗)วะสา จะ
    ๒๙)เขโฬ จะ ๓๐)สิงฆาณิกา
    ๓๑)ละสิกา จะ ๓๒)มุตตัญ จะ


    วิธีเปลี่ยนเหมือนข้อต้นทั้งหมด (ใน โพส #1)

    คือ ข้อ ๑ พุทธคุณ ข้อ ๒ ธัมคุณ ข้อ ๓ สังฆคุณ
    ต่อไปนี้เป็น หมวดขันธ์ ๕ คือ

    (๑) รูปัญ จะ พุทธคุณัง ฯลฯ
    (๒) รูปัญ จะ ธัมเมตัง ฯลฯ
    (๓) รูปัญ จะ สังฆานัง ฯลฯ
    จากนั้น ก็ เปลี่ยนเป็น เวทนา จะ ดังนี้
    (๑) เวทนา จะ พุทธคุณัง ฯลฯ
    (๒) เวทนา จะ ธัมเมตัง ฯลฯ
    (๓) เวทนา จะ สังฆานัง ฯลฯ
    จนจบด้วย วิญญาณัญ จะ
    (๑) วิญญาณัญ จะ พุทธคุณัง ฯลฯ
    (๒) วิญญาณัญ จะ ธัมเมตัง ฯลฯ
    (๓) วิญญาณัญ จะ สังฆานัง ฯลฯ

    หมวดอายตนะ ๑๒ คือ
    (๑) จักขุ จะ พุทธคุณัง ฯลฯ
    (๒) จักขุ จะ ธัมเมตัง ฯลฯ
    (๓) จักขุ จะ สังฆานัง ฯลฯ
    แล้วเปลี่ยนเป็น โสตัญ จะ เรื่อยไปจนจบด้วย ธัมมารัมมะณัญ จะ
    (๑) ธัมมารัมมะณัญ จะ พุทธคุณัง ฯลฯ
    (๒) ธัมมารัมมะณัญ จะ ธัมเมตัง ฯลฯ
    (๓) ธัมมารัมมะณัญ จะ สังฆานัง ฯลฯ


    หมวดอาการ ๓๒ คือ
    (๑) เกสา จะ พุทธคุณัง ฯลฯ
    (๒) เกสา จะ ธัมเมตัง ฯลฯ
    (๓) เกสา จะ สังฆานัง ฯลฯ
    แล้วเปลี่ยนเป็น โลมา จะ เรื่อยไปจนจบด้วย มุตตัญ จะ
    (๑) มุตตัญ จะ พุทธคุณัง ฯลฯ
    (๒) มุตตัญ จะ ธัมเมตัง ฯลฯ
    (๓) มุตตัญ จะ สังฆานัง ฯลฯ

    .
    ที่มา : จากหนังสือ สุทธิธรรมรังสี
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 22 สิงหาคม 2009

แชร์หน้านี้

Loading...