ความรู้เรื่องอะตอมในศาสนาพุทธแต่โบราณ

ในห้อง 'พุทธศาสนา และ ธรรมะ' ตั้งกระทู้โดย tapranksan, 23 สิงหาคม 2009.

  1. tapranksan

    tapranksan สมาชิก

    วันที่สมัครสมาชิก:
    10 ธันวาคม 2008
    โพสต์:
    21
    ค่าพลัง:
    +5
    พังพระกาฬในประวัติศาสตร์ศรีวิชัย<?xml:namespace prefix = o ns = "urn:schemas-microsoft-com:eek:ffice:eek:ffice" /><o:p></o:p>
    ที่มหาวิทยาลัยแคมบริดด์ ประเทศอังกฤษ มีหนังสือภาพเขียนระบายสีเล่มหนึ่ง อธิบายขยายความหลักอภิปรัชญาในคัมภีร์ “ปรัชญาปารมิตา” ของศาสนาพุทธินิกายมหายาน ได้ไปจากเนปาลไปเก็บรักษาไว้ในหนังสือภาพเขียนระบายสีเล่มนั้น มีรูปภาพและคำอธิบายประกอบว่า<o:p></o:p>
    .......“สุวรรณปุเร ศรีวิชัยปุเร โลกนาถ”<o:p></o:p>
    ศาสตราจารย์ ประนะวิธาน ให้คำอธิบายข้อความนี้ว่า พระโลกนาถแห่งศรีวิชัยปุระในสุวรรณประทีปทำให้สืบสาวราวเรื่องได้ว่า ในรัชกาลพระเจ้าศรีจุฬามณีวรรมะเทวะ ครองราชย์สมบัติอยู่ในกรุงศรีวิชัย เมื่อราว พ.ศ.1514 ในสมัยนั้น พระธรรมกิรติเถระ ดำรงสมณะศักดิ์เป็นพระสังฆราชแห่งอาณาจักศรีวิชัยประทับอยู่ที่ สุวรรณสุคติสถูป ซึ่งคงหมายถึง วัดบรมธาตุเมืองนครศรีธรรมราช พระธรรมกิรติเถระ ได้รจนาคัมภีร์สำคัญมีชื่อเสียงโด่งดังขึ้นเล่มหนึ่งมีชื่อว่า “อภิสมยาลังกร” ขึ้นชื่อลือเลื่องขจรขจายไปทั่วจนได้รับสมญานามว่า “คุรุแห่งสุวรรณทวีป” ภิกษุมีชื่อเสียงระดับมหาบัณฑิตชาวอินเดียหลายองค์เป็นต้นว่า รัตนากรสันติ, ญานศรีมิตร, บัณฑิตภูมิสาระ เดินทางมาศึกษาปรัชญาปารมิตา อันเป็นต้นเค้าให้เกิดมีพระพุทธเจ้าขึ้นในโลก โดยอาศัยหลักโพธิจิต ทำให้สำเร็จเป็นโพธิสัตว์<o:p></o:p>
    หนังสือพุทธศาสนาของอินเดียกล่าวถึง เจ้าชายอติษะ ราชโอรสของพระเจ้ากัลยาณีศรี แห่งวังครัฐ หรือแคว้นเบงกอล ทางภาคตะวันออกของอินเดีย ผู้มีจิตใจเลื่อมใสในพุทธศาสนา ได้สละราชสมบัติออกบวชตั้งแต่พระชนมายุได้ 6 พรรษา ต่อจากนั้นได้เสด็จไปศึกษาพระธรรมวินัยอยู่ในสำนักมีชื่อเสียงต่างๆ ทั่วอินเดีย จนมีความรู้เชี่ยวชาญ เมื่อได้รับอุปสมบทจึงได้รับฉายาว่า “ภิกษุทีปังกระศรีฌานะ” ดำรงอธิการบดีมหาวิทยาลัยวิกรมศีลาวิหาร ขึ้นชื่อถือนามกันว่าเป็นพระพุทธเจ้าองค์ที่สองในโลก (ทีปังกระ) ได้รับยกย่องว่าเป็นมหาบัณฑิต เป็นที่ชื่นชมของศาสนิกทั้งในนิกายหินยาน และนิกายมหายาน ประสงค์จะศึกษาปรัชญาปารมิตาและปลูกโพธิจิตกับ คุรุแห่งสุวรรณทวีปจึงลงเรือเดินทางมาพร้อมด้วยสานุศิษย์ 125 รูป เมื่อ พ.ศ. 1554 จนกระทั่งถึง พ.ศ. 1566 เป็นเวลา 12 ปี<o:p></o:p>
    ครั้นภิกษุอติษะสำเร็จวิทยาการจากสุวรรณทวีปได้เดินทางกลับอินเดีย พร้อมกับนำพระคัมภีร์อภิสมยาลังกรไปเผยแพร่ ภายหลังภิกษุผู้มีชื่อเสียงรูปนี้ได้เดินทางไปเผยแพร่พุทธศาสนาในทิเบตคัมภีร์สมยาลังกร จึงได้แปลถ่ายทอดเป็นภาษาทิเบต อันเป็นรากฐานการนับถือศาสนาพุทธนิกายลามะสืบมาจนถึงปัจจุบัน<o:p></o:p>
    นอกจากหลักการปลูก โพธิจิต อันมีชื่อเสียงของท่านคุรุแห่งสุวรรณทวีปแล้ว หลักปรัชญาของอาจารย์แห่งอาณาจักรศรีวิชัยยังอาศัยหลักธรรมชาติวิทยาเกี่ยวกับ ความสัมพันธ์ระหว่างโลกกับดาวเคราะห์ อันเป็นต้นเหตุของมูลรูปขนาดเล็กที่เรียกว่า ปรมณู และวิชชุรูป คือแรงดึงดูดให้มูลรูปเกิดการรวมตัวและหมุนเวียนไปรอบๆจุดศูนย์กลาง เหมือนกับดาวเคราะห์ถูกบังคับโคจรไปรอบดวงอาทิตย์ และยังมีสิ่งสำคัญอีกประการหนึ่งซึ่งเป็นตัวการปรุงแต่งแปลงสภาพธาตุทั้งหลายในโลกก็คือ “อากาศธาตุ” ที่สถิตอยู่ในช่องว่างภายในแรงดึงดูดแห่งมูลรูป ส่วนประกอบของมูลรูปขนาดเล็กเหล่านี้จึงรวมตัวเป็นมูลรูปวัตถุขนาดใหญ่ และมวลชีวิต คือ มนุษย์ สัตว์ พืช ย่อมพึ่งพาอาศัยถ่ายเทธาตุในลักษณะพึ่งพาอาศัยกันในรูปวงจรที่เรียกว่า “ปฏิจจสมุปบาท” หรือ “มายาอุปาทาน” อันเปรียบดังวงโซ่ที่ร้อยรัดมวลชีวิตให้ต้องเวียนว่ายตายเกิดอยู่ในวัฏสงสาร ตกอยู่ภายใต้อำนาจของการโคจรแห่งดวงดาวในจักรวาล จึงสรุปเหตุแห่งการเกิดว่า “กรรม” ย่อมจำแนกสัตว์ทั้งหลายไปตามแรงเจตนาที่สร้างสมขึ้น<o:p></o:p>
    <o:p></o:p>
    การล่วงรู้ความลับของจักรวาล และความเป็นไปในโลกอย่างถ่องแท้ว่า สิ่งทั้งหลายที่เกิดขึ้นในโลกล้วนแต่ถูกปรุงแต่งแปลงสภาพมาจาก ระบบธาตุในโลก กับ คลื่นพลังแสงดาวในจักรวาลคลุกเคล้าเข้ากับอากาศธาตุ ด้วยเหตุนี้มวลชีวิตและวัตถุทั้งหลายในโลก จึงถูกบังคับให้ดำเนินไปตามอำนาจของดวงดาวในจักรวาล อันเป็นรากฐานของวิชา “โลกธาตุ” หรือ “โลกศาสตร์” ซึ่งแต่เดิมเรียกกันว่า “ศิวศาสตร์” หรือ “ไศวศาสตร์” แปลว่าวิทยาการแห่งโลกแต่คำอินเดียอาจไม่ถูกปากถูกใจคนไทย จึงแปลงถ้อยคำให้สอดคล้องกับรสนิยมของตนเองว่า “ไสยศาสตร์” ทำให้คนส่วนใหญ่ไม่ทราบความหมายที่แท้จริงว่า ไสยศาสตร์ แปลว่าอย่างไร จนก่อให้เกิดการเข้าใจผิดว่าเป็นความเชื่อในเรื่องผีสางคาถาอาคมที่งมงายไร้เหตุผล แท้จริงแล้วเป็นความรอบรู้เกี่ยวกับจักรวาล และวิถีชีวิตตลอดจนการต่อสู้เพื่อการอยู่รอด รวมทั้งความเข้าใจในเรื่อง จิตวิญญาณ อย่างน่ามหัศจรรย์ ด้วยเหตุนี้จึงเชื่อว่า สิ่งศักดิ์สิทธิ์และปาฏิหาริย์ สิ่งที่เหลือเชื่อทั้งหลาย ส่วนใหญ่มีรากฐานมาจากความรู้ในด้านไสยศาสตร์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งความแตกฉานเกี่ยวกับ วิชาโหราศาสตร์ เป็นพื้น การทำพิธีปลุกเสกเป็นแต่เพียงพิธีการเพื่อเสริมความเชื่อของสังคมเท่านั้น<o:p></o:p>
    ด้วยความรอบรู้ความลับของจักรวาลดังกล่าว จึงขนานนามพระโพธิสัตว์ผู้ตรัสรู้ธรรมว่า “พังพระกาฬ” คือผู้ล่วงรู้การเกิด แก่ เจ็บ ตาย ของสิ่งทั้งหลายว่า เวลา เป็นตัวกำหนดอายุขัย ซึ่งเมื่อถึงเวลานั้นสิ่งมีชีวิตก็จะสิ้นลม เพราะหยุดการหายใจ มูลรูปก็จะแตกสลายกลายเป็นปรมณูธาตุดังเดิมจึงเรียก วันเวลาแห่งอายุขัยของชีวิตว่า “พระกาฬ” หรือ “พระกาล” หมายความว่าเจ้าแห่งความตาย<o:p></o:p>
    การล่วงรู้อนาคตด้วยวิธีการทางโหราศาสตร์ เป็นเครื่องมือสำคัญเพียงประการเดียว ที่ช่วยให้มนุษย์ล่วงรู้เหตุการณ์ดังกล่าวได้ดีที่สุด เช่นเดียวกับแพทย์ที่ทราบว่าความเจ็บไข้ได้ป่วยของคนเรานั้นหนักเบาประการใด อาการโรคที่ถูกคุกคามอยู่นั้น พอที่จะรักษาให้หายขาดได้หรือไม่ หรือจะมีอายุยืนยาวไปได้ขนาดไหน พระโพธิสัตว์ผู้ตรัสรู้ธรรมและล่วงรู้เส้นทางโคจรของดวงดาวในจักรวาล ก็ย่อมทราบว่า ใครเคราะห์หามยามร้ายชะตาจะถึงฆาตหรือไม่ มีหนช่วยเหลือบรรเทาประการใด ชาวศรีวิชัยโบราณขนานนามผู้มีญาณวิเศษนั้นว่า “พระพังพระกาฬ”<o:p></o:p>
    สันนิษฐานว่า พระศรีมหาราช จุฬามณีวรรมะเทวะ แห่งอาณาจักรศรีวิชัยในสมัยนั้น คงได้รับยกย่องว่าเป็น พระเทวะโพธิสัตว์พังพระกาฬ จึงได้มีการสร้างวัตถุมงคลมีลักษณะเป็นรูปคนนั่งขัดสมาธิเพชร ปิดหน้าตาด้วยสองฝ่ามือ ทำเป็นรูปพระปรางค์เหมือนดังมงกุฎสวมเหนือศีรษะ มีรูปงูเป็นสัญลักษณ์ บนศีรษะทำเป็นรูปมุ่นมวยผมมีลักษณะ 8 แฉก เรียกว่า “จันทร์ 8 แฉก” อันเป็นสัญลักษณ์ของมหาราชผู้ยิ่งใหญ่มาอุบัติขึ้นในโลก ดุจดังพระนารายณ์อวตารเสด็จมาดับยุคเข็ญในโลกมนุษย์<o:p></o:p>
    รูปพระพังพระกาฬ ประติมากรรมเก่าแก่ของศรีวิชัยซึ่งสร้างขึ้นกว่า 1,000 ปีก่อน คงหายสาบสูญไปหมดสิ้น แม้มีอยู่ก็ไม่มีใครทราบว่าเป็นพระอะไร เพราะแตกต่างไปจากพระพุทธรูปที่เรานับถือกันอยู่ในปัจจุบันนี้ จตุคามรามเทพ มีความประสงค์ให้สร้างขึ้นใหม่ เมื่อชาวนครศรีธรรมราชร่วมแรงร่วมใจกันสร้างหลักเมืองใน พ.ศ.2530 จึงได้พบเห็น พระพังพระกาฬ ในแบบพิสดารเหลือเชื่อดังที่เคยเล่าให้ฟัง<o:p></o:p>
    <o:p></o:p>
    เรียบเรียงโดย<o:p></o:p>
    พลตำรวจโท สรรเพชญ ธรรมาธิกุล<o:p></o:p>
    (อดีต)ผู้บัญชาการประจำสำนักงานตำรวจแห่งชาติ
     
  2. tapranksan

    tapranksan สมาชิก

    วันที่สมัครสมาชิก:
    10 ธันวาคม 2008
    โพสต์:
    21
    ค่าพลัง:
    +5
    ต่อคับ

    แสงทิพย์<?xml:namespace prefix = o ns = "urn:schemas-microsoft-com:eek:ffice:eek:ffice" /><o:p></o:p>
    สิ่งประดิษฐกรรมทางวิทยาศาสตร์อันเกิดจากความรู้ว่าภาพ และ เงา เป็นอะตอมของอนุภาคสสารและพลังงานคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าก็คือ แสง ถ้าไม่มีแสงก็ไม่มีภาพ และเงา ยิ่งรู้ว่าแสงเดินทางไปโดยไม่ต้องอาศัยอากาศธาตุ เป็นสื่อด้วยความเร็วจนไม่มีสิ่งใดเดินทางไปได้เร็วกว่าแสง จึงเป็นการค้นพบ “กฎของมายา” ก็คือรู้ว่าถ้าจะทำ อนุภาคของสะสาร ให้เดินทาวไปได้เร็วเท่ากับแสงจะต้องทำให้อนุภาคของสสารนั้นมีค่าเป็น อนันต์ หรือ อินฟินิตี้ ซึ่งหมายถึงการเปลี่ยนแปลง อนุภาคของสสารให้เป็นพลังงานคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า นั่นเอง<o:p></o:p>
    กฎแห่งมายา ก็คือ “กฎแห่งปาฏิหาริย์” นักวิทยาศาสตร์ยุคพระเวทค้นพบมาช้านานแล้วว่าขนาดของ ปรมาณู เท่ากับประมาณส่วนที่แสนของนิ้วฟุต ประกอบขึ้นด้วย มูลรูป ช่องว่างภายในมูลรูปคืออากาศธาตุ และวิชชุรูป ซึ่งวิ่งเวียนไปรอบมูลรูปนั้น ดังปรากฏเรื่องราวอยู่ในคัมภีร์ภควัตคีตา เรียกว่า ปรมาณูจักร จนกระทั่งถึงพุทธศตวรรษที่ 24 นักวิทยาศาสตร์จึงค้นพบเหมือนดังที่เหล่าโยคีกล่าวไว้เมื่อหลายพันปีก่อนว่า อิเล็คตรอน อันเป็นประจุไฟฟ้าขั้วลบ วิ่งวนเวียนไปรอบ โปรตรอน นิวตรอน ที่อยู่รวมกับนิวเคลียส ที่เป็นประจุไฟฟ้าขั้วบวก เท่ากับมนุษย์ค้นพบอนุภาคของสสารขนาดจิ๋วที่สุด เล็กยิ่งกว่าสิ่งที่เล็กที่สุดคือ อะตอม หรือ ปรมาณูจักรเสียอีก ทั้งยังรู้ต่อไปว่าการที่ อิเล็คตรอน วิ่งวนเวียนไปรอบๆโปรตรอน ลันิวตรอนนั้น ก็เหมือนกับ ดาวพระเคราะห์ โคจรไปรอบดวงอาทิตย์ และดวงอาทิตย์ โคจรไปรอบดาราจักรหรือกาแล็คซี่ คล้ายกับการทำงานของเครื่องจักรกลจักรวาลที่มีขนาดใหญ่มหึมาที่สุด จนไม่อาจเขียนให้เข้าใจได้เป็นลายลักษณ์อักษร<o:p></o:p>
    การทำงานของเครื่องจักรกลแห่งจักรวาลที่ละเอียดซับซ้อนยุ่งเหยิง และในส่วนของสิ่งที่เป็นพลังงาน ไม่ว่าจะเป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า แรงโน้มถ่วงหรือแรงดึงดูด และแรงนิวเคลียร์ ล้วนแต่มองไม่เห็นไม่มีรูปกาย แต่รู้กันว่าภายใต้การทำงานของจักรวาลขนาดจิ๋วที่สุดคือ อะตอม หรือ ปรมาณูจักร ไปถึงจักรวาลที่มีขนาดใหญ่ที่สุดคือ สากลจักรวาล ได้ปรุงแต่งแปลงสภาพของสสาร และ พลังงาน ได้กลายเป็นวัตถุธาตุในรูป ดาวฤกษ์ ดาวเคราะห์ เทหวัตถุในท้องฟ้านานาประการ โดยเฉพาะอย่างยิ่งโลกของเรา เป็นดาวพระเคราะห์เพียงดวงเดียวในระบบสุริยจักรวาล ที่มีสสารคือกระแสธาตุทั้ง 5 คือ ดิน น้ำ ลม ไฟ อากาศธาตุ อยู่อย่างพร้อมมูลที่สุด และมีขนาดพอเหมาะไม่ใหญ่ไม่เล็กจนเกินไป ทั้งยังบังเอิญที่ตั้งอยู่ในรัศมีที่จะรับแสงจากดวงอาทิตย์อย่างพอดี ไม่ไกลไม่ใกล้จนเกินไปจาก ดาวพุธ ดาวศุกร์ และดาวอังคาร โลกจึงได้มีความอบอุ่น เครื่องจักรกลแห่งจักรวาลสามารถปรุงแต่งแปลงสภาพอะตอมของสสาร หรือกระแสธาตุทั้งหลาย ด้วยการฉายแสงทิพย์ จากดวงอาทิตย์ทำให้อะตอมของสสารในโลกรวมตัวกันเป็นรูปกายของสรรพสิ่งทั้งหลายดังที่เห็นกันอยู่ ทั้งที่เป็น วัตถุธาตุที่ไม่มีชีวิต และ วัตถุธาตุที่มีชีวิต พร้อมกันนั้นได้ฉายแสงทิพย์เอาพลังงานแม่เหล็กไฟฟ้าเข้าไปประจุไว้ในวัตถุธาตุนั้น ด้วยเหตุนี้แม้แต่ ก้อนหิน ต้นไม้ สัตว์โลกทั้งหลายมีกัมมันตภาพรังสีอยู่ภายในทั้งสิ้น คงแตกต่างกันเฉพาะสัตว์โลก 2 ชนิด คือ สัตว์เดรัจฉานมีกัมมันตภาพรังสีในรูป “สัญชาตญาณ” ส่วนสัตย์มนุษย์มีกัมมันตภาพรังสีในรูป “จิตวิญญาณ”<o:p></o:p>
    มหาโยคีผู้ยิ่งใหญ่ทุกรูป ผู้ที่แสวงหาปรมัตสัจธรรมซึ่งไม่ยึดติดกับคำสอนของศาสนาใด ล้วนบรรลุความรู้แจ้งว่า ในสากลจักรวาลไม่มีวัตุธาตุ เพราะเนื้อแท้ของวัตถุธาตุในจักรวาลเป็นภาพลวงตาก็คือ มายา สิ่งที่เห็นเป็นภาพมายาเกิดจาก แสง ดังนั้นความรู้ในเรื่อง กฎแห่งปาฏิหารย์ ของผู้เข้าถึงปรมัตสัจธรรมที่แท้จริงซึ่งมีอยู่เพียงไม่กี่คนที่สามารถทำให้ อนุภาคของสสาร หรือ อะตอม เป็นพลังงาน เพื่อให้มีคุณสมบัติเท่ากับความเร็วของแสง ตามกฎสัมพัทธภาพของ นักวิทยาศาสตร์ฟิสิกส์มหาอัจฉริยะแห่งยุคคือ อัลเบิร์ต ไอร์สไตน์ ประกาศให้โลกรู้ว่า พลังงานในอนุภาคของสสารทุกชนิด มีค่าเท่ากับน้ำหนักของอนุภาคสสารนั้น คูณด้วยเศษหนึ่งส่วนสองของความเร็วแสง พลังมหาศาลของอะตอมจะเกิดขึ้นเมื่อมีการทำลายอนุภาคของสสารทั้งหลาย หมายความว่า การตายของสสารก่อให้เกิดเป็นระเบิดปรมาณูขึ้นในโลก<o:p></o:p>
    ด้วยเหตุนี้บรรดาพระโยคีหรือผู้สำเร็จญาณสมาธิชั้นสูงระดับศาสดราจารย์ ซึ่งศาสนาพุทธ นิกายมหายาน เรียกว่า นิรมาณกาย หรือ สัมโภคกาย ส่วนการสำเร็จญาณเป็น พระโสดาบัน หรือ อรหันต์ ในศาสนาพุทธหินยาน เป็นหนทางเข้าสู่พระนิพพานตามคำสอนของศาสนา แตกต่างกับการศึกษาค้นคว้าในเรื่องวิทยาศาสตร์จิตวิญญาณโดยสิ้นเชิง เพราะว่าพระพุทธองค์ทรงห้ามมิให้ภิกษุอวดอุตริมนุษย์ธรรม ในสิ่งที่อยู่เหนือสติปัญญาของคนทั่วไป สิ่งที่เป็นพุทธวิสัย ญาณวิสัย สิ่งที่ไม่มีประโยชน์ที่จะรู้ เป็นอวัยยะกตา แม้แต่พระพุทธเจ้าเองก็ไม่ทรงสอน ไม่แสดง ทั้งยังมีพุทธบัญญัติห้ามเอาไว้อย่างชัดเจน<o:p></o:p>
    ความรู้เหนือธรรมชาติที่เรียกว่า กฏแห่งปาฏิหาริย์ นั้น ก็คือพระโยคีหรือผู้สำเร็จญาณทัศนะระดับสูงมาก จนสามารถทำจิตของตนให้เกิดสมาธิอันแน่วแน่ได้ในทันที ปลดปล่อย วิญญาณบริสุทธิ์ ที่อยู่ภายในหรือที่เรียกว่า วิญญาณทิพย์ ให้หลุดพ้นจากการควบคุมของ เนื้อกาย และ จิตใจ รับรู้ได้โดยฉับพลันว่าสรรพสิ่งทั้งหลายในจักรวาลคือ แสงไม่ว่า แสงที่เป็นดิน แสงที่เป็นน้ำ แสงที่เป็นลม แสงที่เป็นไฟ จึงได้เปลี่ยนปลงร่างของตนให้เป็นแสง เพื่อหลุดพ้นจากสภาวะจิตที่เป็นสสาร ไม่ตกอยู่ภายใต้อำนาจของ กาละเทศะ และ ทวิภาวะ อันเป็นการบรรลุความเป็น แสงทิพย์ เหมือนดังแสงแห่งจักรวาล สามารถใช้แสงทิพย์ของตนฉายไปยังอะตอมหรือโมเลกุลของสสาร บันดาลให้เกิดเป็นภาพหรืออะไรก็ได้ตามปรารถนาในรูปของสิ่งนั้นสิ่งนี้ เพื่อสนองความต้องการของผู้ที่เลื่อมใสศรัทธาตั้งจิตอธิษฐานขอพร การดลบันดาลตามกฎปาฏิหารย์ที่ล่วงรู้ความลับในเรื่อง มายา มีหลักฐานว่ามหาโยคีผู้มีชื่อเสียงของอินเดีย เช่น มหาโยคีบาบาจิ มหาโยคีลาหิริ มหาสัย มหาโยคีศรียุกเตศวร มหาโยคีโยคานันทะ บรมหงส์ มหาโยคีสวามี รามกฤษณะ มหาโยคีสวามี วิเวกานันทะ เป็นต้น ส่วนผู้บรรลุธรรมของศาสนาพุทธ มหายาน เช่น อาจาร์อัศวโฆษ อาจารย์นาคารชุนโกณฑะ อาจารย์วสุพันธ์ ล้วนแต่กล่าวตรงกันว่า สรรพสิ่งทั้งหลายในจักรวาล คือแสง ความรู้ในเรื่องแสงทำให้นักวิทยาศาสตร์สร้างสรรค์สิ่งประดิษฐ์เป็นเครื่องยนต์กลไก ด้วยวัตถุธาตุในโลกให้กลายเป็นวัตถุธาติมีชีวิต โดยอาศัยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ารูปพลังงานขับเคลื่อน ดังเช่น รถยนต์ รถไฟ เครื่องบิน ยานอวกาศเดินทางโดยไร้คนขับออกไปสำรวจจักรวาล เป็นต้น กระบวนการสร้างสรรค์วัตถุธาตุที่ไม่มีชีวิต ให้เป็นวัตถุธาตุที่มีชีวิตด้วยกลไกทางอิเล็คโทรนิค ก็คือ การปลุกเสกทางวิทยาศาสตร์<o:p></o:p>
    องค์จตุคามรามเทพ ต้องการให้ผู้ที่เลื่อมใสศรัทธาทั้งหลายมีความเข้าใจตรงกันไม่สับสนในเรื่อง “การปลุกเสก” โดยให้ผู้เขียนอธิบายขยายความในเชิงเปรียบเทียบกับความก้าวหน้าในทางวิทยาศาสตร์ ให้เกิดความรู้ความใจไม่หลงทิศผิดทาง เมื่อเห็นผู้เขียนและองค์จตุคามรามเทพประกอบพิธีกรรมขึ้นที่ไหนเวลาใด ขอให้จินตนาการไปตามที่ผู้เขียนเรียบเรียงให้รู้ว่า องค์จตุคามรามเทพ ได้ฉายแสงทิพย์ของผู้ชนะ กาละ เทศะ ทวิภาวะ หมดสิ้นจากกิเลสแล้วเพื่อบันดาลให้ วัตถุมงคล ที่ได้สร้างขึ้นเป็นรูปประติมากรรมบังเกิดพลังอำนาจศักดิ์สิทธิ์ตามความมุ่งหมาย โดยไม่มีความจำเป็นต้องใช้คาถาอาคม หรือเวทย์มนต์บทใด หรือความเชื่อตามคำสอนของศาสนาไหน แต่อาศัยองค์ความรู้ในเรื่องวิทยาศาสตร์ทางจิตวิญญาณแห่งจักรวาลของ องค์จตุคามรามเทพ และ ความรู้ในวิชาวิทยาศาสตร์ ตลอดจนศาสตร์ทั้งหลายเท่าที่ผู้เขียนเรียนรู้มาตลอดชีวิต เพื่อให้เกิดประโยชน์ต่อบ้านเมืองและผู้ที่เลื่อมใสศรัทธา ตามที่ตั้งปณิธานไว้เมื่อครั้งสร้าง หลักเมืองนครศรีธรรมราช<o:p></o:p>
    <o:p></o:p>
    เรียบเรียงโดย<o:p></o:p>
    พลตำรวจโท สรรเพชญ ธรรมาธิกุล<o:p></o:p>
    (อดีต)ผู้บัญชาการประจำสำนักงานตำรวจแห่งชาติ<o:p></o:p>
     
  3. tapranksan

    tapranksan สมาชิก

    วันที่สมัครสมาชิก:
    10 ธันวาคม 2008
    โพสต์:
    21
    ค่าพลัง:
    +5
    ดวงชีวิตที่ลุกขึ้น
    " ดวงชีวิตจะลุกเป็นดวงขึ้นได้อย่างไร ก็ต้องย้อนไปดูลักษณะที่ดวงไฟจะลุกขึ้นอีกใหม่
    ตามกฎแห่งสังขตธรรม (คือสิ่งที่มีสิ่งอื่นหลายสิ่งรวมกันประกอบหรือปรับปรุงขึ้น)
    นั้นไฟจะลุกขึ้นได้ ก็ต้องมีเชื้อ มีผู้จุด และมีเครื่องช่วยเหลือเกื้อกูล เช่นอากาศ และที่ตั้งกองไฟ เป็นต้น
    ดวงชีวิตนี้ก็ฉันนั้น มันมีอวิชชา คือความมืดบอดไม่รู้ว่าอะไรเป็นอะไร เป็นผู้จุดขึ้น ถ้าเราจะถามนักวิทยาศาสตร์ว่า
    "ทำไมวิชชุรูปจึงหมุนอยู่รอบ ๆ มูลรูป" นักวิทยาศาสตร์ก็จะต้องตอบว่า เพราะมันเป็นธรรมดาเช่นนั้นเองถ้าเราไม่ยอม
    ให้ตอบอย่างกำปั้นทุบดิน เช่นนั้นและถามใหม่อีกว่า "ทำไมมันจึงได้เกิดไปมีธรรมดาเช่นนั้นขึ้นเล่า" เขาก็จะต้องตอบว่าเพราะธรรมดามันย่อมให้เกิดธรรมดาเช่นนั้น ถามอีกกี่ครั้งหรือกี่ชั้น ก็หลีกธรรมดาไม่ได้ในที่สุด ถ้าเขาไม่หาว่าแกล้งถามเซ้าซี้ก็จะตอบว่า มันมีสิ่งที่นอกเหนือไปจากความรู้
    ความเข้าใจของ วิทยาศาสตร์เหมือนกัน และขอเรียกสิ่งนั้นว่า "สิ่งซึ่งยังไม่รู้ว่าอะไรกันแน่" ในที่นี้เรากล่าวได้ว่า สิ่งนั้นคือ "อวิชชาของวิทยาศาสตร์" และมันมีแนวสัมพันธ์ดังนี้;
    1) คนเกิดมาจากธาตุ (Elements)
    2) ธาตุเกิดมาจากอณู (Molecules)
    3) อณูเกิดมาจากปรมาณู (Atoms)
    4) ปรมาณูเกิดจากวิชชุรูป (Electrons) หมุนอยู่รอบ ๆ มูลรูป(Proton) ในที่ว่าง(Vacumm)
    อยู่อย่างสม่ำเสมอเป็นกลุ่ม ๆ กลุ่มหนึ่งเรียกปรมาณูอันหนึ่ง
    5) ความหมุนเวียนของวิชชุรูปเกิดมาจาก "สิ่งที่เรายังไม่รู้"
    6) นั่นคือ "อวิชชาของวิทยาศาสตร์"

    ปัญหาก็เกิดขึ้นว่า สิ่งที่เรายังไม่รู้อันนั้นคือ อวิชชา เหมือนกัน ต่างกันแต่ว่า อวิชชาของวิทยาศาสตร์นั้นคือ
    สิ่งที่ยังไม่รู้ว่าอะไร, ส่วนอวิชชาของพุทธศาสนา นั้นคือ ความมืดบอดไม่รู้ว่าอะไรเป็นอะไร ลงกันได้ไหม ?
    เป็นสิ่งที่ควรพิจารณา

    เราจับหลักได้ขั้นหนึ่งแล้วว่า อวิชชานั้นวิทยาศาสตร์หมายเอาตัวกรรมการก (Object) หรือสิ่งที่เราไม่รู้ได้ว่าเป็นอะไร
    ส่วนพุทธศาสนาหมายเอาตัวความไม่รู้ ไม่อาจรู้ ในวัตถุหรือสิ่งอันนั้น หรือของวัตถุอันนั้นเอง, บางคนอาจหัวเราะเยาะว่า นี่จะเกณฑ์
    ให้ปรมาณูหรือแม้ที่สุดแต่ก้อนกรวดก้อนหิน มีจิตคิดรู้และไม่รู้เสียแล้วกระมัง ข้าพเจ้าอยากจะขอร้องด้วยความเคารพว่าขอให้ท่านลอง
    คิดดูด้วยความ ตั้งอกตั้งใจสักครั้งหนึ่งเถิด ถ้าหากว่าปรมาณู มันมีความรู้ที่ถูกต้อง (คืออวิชชา) เล่า มันจะหมุนไปอย่างไม่รู้จักจบจักสิ้นอย่างนั้นเจียวหรือ(นี่เป็นการสมมติว่าถ้าหากมันมีได้) ถ้ามันมีได้มันคงไม่ยอมหมุนอย่างไม่รู้จักหยุด ปราศจากเป็นอิสระเช่นนั้นเป็นแน่ แน่นอนทีเดียวเพราะ
    มันไม่มีหรือเพราะมันขาดความรู้อันนี้นั่นเองปรมาณูจึงหมุนเวียนเช่นนั้น และความหมุนเวียนเป็นเหตุให้เกิดสิ่งทั้งหลายขึ้น เราจึงกล่าว ได้ว่า
    เพราะสิ่งนั้น ๆ ไม่มีความรู้หรือเพราะขาดความรู้หรือเพราะไม่มีความรู้ผสมเป็นส่วนผสมอยู่ในตัวมันด้วย มันจึงหมุนเวียน การขาดความรู้
    กับความไม่มีความรู้หรือผลก็คือความไม่อาจจะรู้ นั่นเป็นอันเดียวกัน คือ "ไม่รู้" นั่นเอง! เราจึงกล่าวได้ว่า อำนาจที่ทำให้หมุนเวียน ก็คือความที่มันขาดความรู้นั่นเอง และนั่นคือสิ่งที่เราเรียกกันในพุทธศาสนาว่า อวิชชา ส่วนที่ว่าเพราะเหตุไรมันจึงไม่มีความรู้ หรือไม่อาจจะรู้ นั้นเป็นอีกปัญหาหนึ่ง แม้ว่าหลักอันนี้จะเป็นตรรก(Logic) อยู่มาก ท่านก็ต้องเห็นพ้องว่ามันเป็นความจริง คือ เพราะมันไม่มีความรู้ในตัวมัน มันขาดความรู้ คือไม่รู้,
    จึงได้หมุนเป็นธรรมดาไป

    ทีนี้อาจเกิดปัญหาขึ้นว่า คนเราเล่า มีจิตใจคิดนึกแล้ว ทำไมจึงต้องหมุนเวียนเหมือนกันเล่า

    ตอบว่า คนเรานั้นไม่มีความรู้ดอก นี่หมายถึงความรู้ที่ถูกต้อง คนธรรมดาปุถุชนเรามีแต่ความรู้ที่ผิด เราจึงหมุนเวียน ความรู้ที่ผิด ๆ นั่นก็เป็น
    อวิชชาเหมือนกัน เราจะเห็นได้ชัดเจนแล้วว่า อวิชชา เหมือนกันนั้นเพราะว่าผลมันเท่ากัน และที่แท้แล้ว มันก็อันเดียวกันนั่นเอง
    พระโสดาบัน พระสกิทาคามี พระอนาคามี ก็ยังมีอวิชชา แต่ว่าเบาบางมากแล้ว พระอรหันต์เท่านั้นหมดอวิชชาท่านจึงหยุดหมุนเวียน
    และในไม่ช้าก็ดับสนิทไป รวมความในที่สุดก็คือว่า อวิชชาเป็นเหตุให้เกิดอำนาจหมุนเวียน ซึ่งเป็นกฎธรรมดาของทุก ๆ สิ่งบรรดาที่เป็นสังขตธรรม
    หรืออีกอย่างหนึ่งก็พูดว่าเป็นกฎธรรมดา ของทุก ๆ สิ่งในสากลจักรวาลทุก ๆ จักรวาล

    เมื่ออวิชชาสามารถทำให้เกิดอำนาจหมุนเวียนแก่วิชชุรูปในปรมาณู โดยที่บังคับให้แรงเหวี่ยงออกของวิชชุรูป เท่า ๆ กับแรงดูดเข้าของมูลรูป
    ดังนี้ได้แล้ว ก็ทำนองเดียวกันกับที่มันจะให้เกิดอำนาจการหมุนเวียนในภวังคจิต คือให้นามธรรมหมู่หนึ่งหรือส่วนหนึ่งเกิดขึ้น--ตั้งอยู่--ดับไป ๆ ๆ
    อย่างไม่รู้จักสิ้นสุด และ ดวงชีวิตล้วน ๆ ไม่มีอะไรเจือ ก็ลุกโพลงขึ้นได้ด้วยประการฉะนี้! เราเรียกอวิชชา เป็นผู้จุด

    ปัญหาต่อไปก็คือ อะไรเป็นเชื้อที่ถูกจุดและอะไรช่วยเกื้อกูล และเป็นสิ่งที่ตั้งอาศัย

    เชื้อที่ถูกจุดในที่นี้ก็คือสิ่งที่เรียกว่า นามธาตุ ซึ่งก็เป็นเพียงธรรมชาติที่มีการปรากฏตัว(Phenomena) ชนิดหนึ่งเท่านั้น แต่ยังเป็นชั้นที่
    ยังดิบหรือหลับอยู่(Dormant--Conscious element) นามธาตุคืออะไร และมาจากอะไรอีกเล่า? มันก็มาจากอวิชชาอีกเหมือนกัน
    นามธาตุที่ยังไม่ถูกจุด ก็ยังไม่ลุกโพลงเป็น "ดวงไฟชีวิต" ขึ้นเท่านั้น ถ้าเราจะถามนักวิทยาศาสตร์ว่า มูลรูป และวิชชุรูป [รวมไปถึงสิ่งพื้นฐานตั้งต้นที่วันหนึ่งอาจหาเจอนำ(อันหลังนี้ผู้พิมพ์เพิ่มเข้าไปเองครับ)]นั้นเล่า มาจากอะไร ที่มารวมกันหมุนเวียนจนเกิดเป็นปรมาณูขึ้น? นั่นก็คงจะส่ายหน้าไปตามกัน ถ้าคะยั้นคะยอถามหนักเข้าก็ต้องตอบว่า มาจากสิ่งที่ยังไม่รู้ว่าอะไรนั่นเองอีก

    พุทธศาสนายังไปได้ไกลกว่านั้นคือสามารถตอบขยายออกไปได้อีกว่า นาม (ซึ่งหมายถึงนามธาตุในที่นี้) และรูป (ซึ่งหมายถึงเนื้อวัตถุ ซึ่งรวมถึงชั้น
    มูลรูปและวิชชุรูปในที่นี้) ทั้งสองอย่างมาจาก "อภิสังขาร" หรือเรียกกันสั้น ๆ ว่า "สังขาร" แต่มิใช่สังขารร่างกายเป็นคำบัญญัติหรือ(Technical term)
    คำหนึ่งอีกต่างหาก และสังขารอันนี้มาจากอวิชชา ต่อนั้นก็ไม่มีอะไรอีก มีแต่อวิชชา คือที่ไม่รู้ก็เพราะไม่รู้ ที่ไม่รู้นั่นก็เพราะไม่รู้ ฯลฯ
    ความไม่รู้ให้เกิดสังขารหรืออำนาจพิเศษอันหนึ่งอันมีปฏิกิริยาสามารถให้เกิดสิ่งหนึ่งสิ่งใดขึ้น เมื่อมันทำหน้าที่ตามประสิทธิภาพของมัน สิ่งอีก
    สิ่งหนึ่ง ก็ต้องผลิออกมาโดยแน่นอน และสิ่งที่ผลิตออกมานั้นคือ นามธาตุกับรูปธาตุ เมื่อนามรูปสองอย่างนี้มีแล้ว อวิชชาก็จุดนามให้ลุกโพลงเป็น
    ดวงชีวิตขึ้นซึ่งมีรูปธาตุอันละเอียดประณีตที่สุดเป็นที่ตั้งอาศัย, เช่นเดียวกับคนเราจุดเชื้อเพลิงเช่นฟืนเป็นต้น บนพื้นแผ่นดิน, และมีผลกรรมบางอย่างช่วยสนับสนุน ผลกรรมก็คือปฏิกิริยา ที่เป็นผลเกิดออกจากการเคลื่อนไหวเปลี่ยนตัวแปรสภาพของมันในขณะที่ผ่านไป ๆ เป็นระยะ ๆ นั่นเอง
    เมื่อมีสิ่งต่าง ๆ พร้อมบริบูรณ์ ชุมนุมกันได้ที่แล้วดวงไฟชีวิต ก็ลุกโพลงขึ้นได้ด้วยเหตุนี้ และเกิดอุปกรณ์ อื่น ๆ ขึ้นตามลำดับจนครบ

    อยากย้อนไปกล่าวถึงที่มาของนามธาตุ หรือ "ธาตุจิต" อีกสักเล็กน้อย เมื่อในคัมภีร์ทางพุทธศาสนาไม่ได้ให้คำอธิบายอย่างอื่นไว้นอกจากว่ามาจากอวิชชา และทั้งเราจะหาคำอธิบายจากวิทยาศาสตร์โดยตรก็ไม่ได้ดังนี้แล้วเราลองสันนิษฐานกันดูตามเหตุผลบ้าง ข้าพเจ้าอยากจะสันนิษฐานไว้ที่ก่อนว่า มาจากปฏิกิริยาของปรมาณูที่เป็นส่วนประกอบของคณิตชีวิน(Living cells) นั่นเอง (คณิตชีวิน คือตัวจุลินทรีย์ที่เจริญจนถึงขีดที่เราเรียก กันว่า มีชีวิตแล้ว ซึ่งมันจับตัวรวมกลุ่มกันเข้า เป็นเยื่อเนื้อของคนเรา หรือ ต้นไม้ ใบไม้อีกต่อหนึ่ง) เราแยกดูเป็นอย่าง ๆ ดังต่อไปนี้ เมื่อปรกติภาพของวิชชุรูป ซึ่งหมุนอยู่รอบ ๆ มูลรูปถูกแรงงานอย่างใดอย่างหนึ่ง มากระชาก ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นคือกำลังไฟ้า แต่ปฏิกิริยาของมันเมื่อหมุนอยู่ตามปรกติโดยไม่มีอะไรมากระชากนั้น จะไม่มีเจียวหรือ แม้ว่าจะมีน้อย หรือเบา เพียงไรก็ตาม เชื่อว่าคงมีเพราะมันก็เป็นการเคลื่อนไหวหรือกิริยาอย่างหนึ่งอยู่เสมอ
    เมื่อยอมรับว่ามี เราจึงเริ่มพิจารณาต่อไปว่า ปฏิกิริยาของปรมาณู ตามปรกตินั้นย่อมแตกต่างกันในระหว่างปรมาณูของธาตุล้วน ๆ ที่ยังไม่เจริญจนถึงกับเรียกได้ว่าเป็นคณิตชีวิน กับของปรมาณูของธาตุที่เจริญแล้วจนถึงกับเกิดเป็นคณิตชีวินขึ้น ปฏิกิริยาของปรมาณูอย่างแรกไม่สูงพอที่จะเรียกว่านามธาตุ, แต่ก็ค่อน ๆ เข้าไป ส่วนปฏิกิริยาของปรมาณูอย่างหลังนั้นสูงพอที่จะเรียกว่านามธาตุได้แล้ว แต่ยังเป็นขนาดต่ำหรืออย่างเลวอยู่ เป็นได้เพียงเชื้อ ซึ่งต่อเมื่อถูกจุดขึ้นอีกครั้งหนึ่งเราจึงจะได้นามธาตุ(หรือธาตุใจ) ที่สูงพอที่จะเรียกได้ว่า ตัว " ชีวิต " จริง ๆ อย่างไรก็ดี นี่เป็นเพียงการสันนิษฐาน
    เพราะอยากรู้ ให้นอกออกไปากที่รู้อยู่แล้วเท่านั้น ซึ่งนับว่าก้าวมากออกไปจนถึงขีดที่ควร หยุดก้าวกันเสียทีอยู่แล้ว, และขอฝากท่านผู้รู้
    ไว้วินิจฉัยด้วย..."
     
  4. tapranksan

    tapranksan สมาชิก

    วันที่สมัครสมาชิก:
    10 ธันวาคม 2008
    โพสต์:
    21
    ค่าพลัง:
    +5
    ดวงชีวิตที่ลุกขึ้น
    " ดวงชีวิตจะลุกเป็นดวงขึ้นได้อย่างไร ก็ต้องย้อนไปดูลักษณะที่ดวงไฟจะลุกขึ้นอีกใหม่
    ตามกฎแห่งสังขตธรรม (คือสิ่งที่มีสิ่งอื่นหลายสิ่งรวมกันประกอบหรือปรับปรุงขึ้น)
    นั้นไฟจะลุกขึ้นได้ ก็ต้องมีเชื้อ มีผู้จุด และมีเครื่องช่วยเหลือเกื้อกูล เช่นอากาศ และที่ตั้งกองไฟ เป็นต้น
    ดวงชีวิตนี้ก็ฉันนั้น มันมีอวิชชา คือความมืดบอดไม่รู้ว่าอะไรเป็นอะไร เป็นผู้จุดขึ้น ถ้าเราจะถามนักวิทยาศาสตร์ว่า
    "ทำไมวิชชุรูปจึงหมุนอยู่รอบ ๆ มูลรูป" นักวิทยาศาสตร์ก็จะต้องตอบว่า เพราะมันเป็นธรรมดาเช่นนั้นเองถ้าเราไม่ยอม
    ให้ตอบอย่างกำปั้นทุบดิน เช่นนั้นและถามใหม่อีกว่า "ทำไมมันจึงได้เกิดไปมีธรรมดาเช่นนั้นขึ้นเล่า" เขาก็จะต้องตอบว่าเพราะธรรมดามันย่อมให้เกิดธรรมดาเช่นนั้น ถามอีกกี่ครั้งหรือกี่ชั้น ก็หลีกธรรมดาไม่ได้ในที่สุด ถ้าเขาไม่หาว่าแกล้งถามเซ้าซี้ก็จะตอบว่า มันมีสิ่งที่นอกเหนือไปจากความรู้
    ความเข้าใจของ วิทยาศาสตร์เหมือนกัน และขอเรียกสิ่งนั้นว่า "สิ่งซึ่งยังไม่รู้ว่าอะไรกันแน่" ในที่นี้เรากล่าวได้ว่า สิ่งนั้นคือ "อวิชชาของวิทยาศาสตร์" และมันมีแนวสัมพันธ์ดังนี้;
    1) คนเกิดมาจากธาตุ (Elements)
    2) ธาตุเกิดมาจากอณู (Molecules)
    3) อณูเกิดมาจากปรมาณู (Atoms)
    4) ปรมาณูเกิดจากวิชชุรูป (Electrons) หมุนอยู่รอบ ๆ มูลรูป(Proton) ในที่ว่าง(Vacumm)
    อยู่อย่างสม่ำเสมอเป็นกลุ่ม ๆ กลุ่มหนึ่งเรียกปรมาณูอันหนึ่ง
    5) ความหมุนเวียนของวิชชุรูปเกิดมาจาก "สิ่งที่เรายังไม่รู้"
    6) นั่นคือ "อวิชชาของวิทยาศาสตร์"

    ปัญหาก็เกิดขึ้นว่า สิ่งที่เรายังไม่รู้อันนั้นคือ อวิชชา เหมือนกัน ต่างกันแต่ว่า อวิชชาของวิทยาศาสตร์นั้นคือ
    สิ่งที่ยังไม่รู้ว่าอะไร, ส่วนอวิชชาของพุทธศาสนา นั้นคือ ความมืดบอดไม่รู้ว่าอะไรเป็นอะไร ลงกันได้ไหม ?
    เป็นสิ่งที่ควรพิจารณา

    เราจับหลักได้ขั้นหนึ่งแล้วว่า อวิชชานั้นวิทยาศาสตร์หมายเอาตัวกรรมการก (Object) หรือสิ่งที่เราไม่รู้ได้ว่าเป็นอะไร
    ส่วนพุทธศาสนาหมายเอาตัวความไม่รู้ ไม่อาจรู้ ในวัตถุหรือสิ่งอันนั้น หรือของวัตถุอันนั้นเอง, บางคนอาจหัวเราะเยาะว่า นี่จะเกณฑ์
    ให้ปรมาณูหรือแม้ที่สุดแต่ก้อนกรวดก้อนหิน มีจิตคิดรู้และไม่รู้เสียแล้วกระมัง ข้าพเจ้าอยากจะขอร้องด้วยความเคารพว่าขอให้ท่านลอง
    คิดดูด้วยความ ตั้งอกตั้งใจสักครั้งหนึ่งเถิด ถ้าหากว่าปรมาณู มันมีความรู้ที่ถูกต้อง (คืออวิชชา) เล่า มันจะหมุนไปอย่างไม่รู้จักจบจักสิ้นอย่างนั้นเจียวหรือ(นี่เป็นการสมมติว่าถ้าหากมันมีได้) ถ้ามันมีได้มันคงไม่ยอมหมุนอย่างไม่รู้จักหยุด ปราศจากเป็นอิสระเช่นนั้นเป็นแน่ แน่นอนทีเดียวเพราะ
    มันไม่มีหรือเพราะมันขาดความรู้อันนี้นั่นเองปรมาณูจึงหมุนเวียนเช่นนั้น และความหมุนเวียนเป็นเหตุให้เกิดสิ่งทั้งหลายขึ้น เราจึงกล่าว ได้ว่า
    เพราะสิ่งนั้น ๆ ไม่มีความรู้หรือเพราะขาดความรู้หรือเพราะไม่มีความรู้ผสมเป็นส่วนผสมอยู่ในตัวมันด้วย มันจึงหมุนเวียน การขาดความรู้
    กับความไม่มีความรู้หรือผลก็คือความไม่อาจจะรู้ นั่นเป็นอันเดียวกัน คือ "ไม่รู้" นั่นเอง! เราจึงกล่าวได้ว่า อำนาจที่ทำให้หมุนเวียน ก็คือความที่มันขาดความรู้นั่นเอง และนั่นคือสิ่งที่เราเรียกกันในพุทธศาสนาว่า อวิชชา ส่วนที่ว่าเพราะเหตุไรมันจึงไม่มีความรู้ หรือไม่อาจจะรู้ นั้นเป็นอีกปัญหาหนึ่ง แม้ว่าหลักอันนี้จะเป็นตรรก(Logic) อยู่มาก ท่านก็ต้องเห็นพ้องว่ามันเป็นความจริง คือ เพราะมันไม่มีความรู้ในตัวมัน มันขาดความรู้ คือไม่รู้,
    จึงได้หมุนเป็นธรรมดาไป

    ทีนี้อาจเกิดปัญหาขึ้นว่า คนเราเล่า มีจิตใจคิดนึกแล้ว ทำไมจึงต้องหมุนเวียนเหมือนกันเล่า

    ตอบว่า คนเรานั้นไม่มีความรู้ดอก นี่หมายถึงความรู้ที่ถูกต้อง คนธรรมดาปุถุชนเรามีแต่ความรู้ที่ผิด เราจึงหมุนเวียน ความรู้ที่ผิด ๆ นั่นก็เป็น
    อวิชชาเหมือนกัน เราจะเห็นได้ชัดเจนแล้วว่า อวิชชา เหมือนกันนั้นเพราะว่าผลมันเท่ากัน และที่แท้แล้ว มันก็อันเดียวกันนั่นเอง
    พระโสดาบัน พระสกิทาคามี พระอนาคามี ก็ยังมีอวิชชา แต่ว่าเบาบางมากแล้ว พระอรหันต์เท่านั้นหมดอวิชชาท่านจึงหยุดหมุนเวียน
    และในไม่ช้าก็ดับสนิทไป รวมความในที่สุดก็คือว่า อวิชชาเป็นเหตุให้เกิดอำนาจหมุนเวียน ซึ่งเป็นกฎธรรมดาของทุก ๆ สิ่งบรรดาที่เป็นสังขตธรรม
    หรืออีกอย่างหนึ่งก็พูดว่าเป็นกฎธรรมดา ของทุก ๆ สิ่งในสากลจักรวาลทุก ๆ จักรวาล

    เมื่ออวิชชาสามารถทำให้เกิดอำนาจหมุนเวียนแก่วิชชุรูปในปรมาณู โดยที่บังคับให้แรงเหวี่ยงออกของวิชชุรูป เท่า ๆ กับแรงดูดเข้าของมูลรูป
    ดังนี้ได้แล้ว ก็ทำนองเดียวกันกับที่มันจะให้เกิดอำนาจการหมุนเวียนในภวังคจิต คือให้นามธรรมหมู่หนึ่งหรือส่วนหนึ่งเกิดขึ้น--ตั้งอยู่--ดับไป ๆ ๆ
    อย่างไม่รู้จักสิ้นสุด และ ดวงชีวิตล้วน ๆ ไม่มีอะไรเจือ ก็ลุกโพลงขึ้นได้ด้วยประการฉะนี้! เราเรียกอวิชชา เป็นผู้จุด

    ปัญหาต่อไปก็คือ อะไรเป็นเชื้อที่ถูกจุดและอะไรช่วยเกื้อกูล และเป็นสิ่งที่ตั้งอาศัย

    เชื้อที่ถูกจุดในที่นี้ก็คือสิ่งที่เรียกว่า นามธาตุ ซึ่งก็เป็นเพียงธรรมชาติที่มีการปรากฏตัว(Phenomena) ชนิดหนึ่งเท่านั้น แต่ยังเป็นชั้นที่
    ยังดิบหรือหลับอยู่(Dormant--Conscious element) นามธาตุคืออะไร และมาจากอะไรอีกเล่า? มันก็มาจากอวิชชาอีกเหมือนกัน
    นามธาตุที่ยังไม่ถูกจุด ก็ยังไม่ลุกโพลงเป็น "ดวงไฟชีวิต" ขึ้นเท่านั้น ถ้าเราจะถามนักวิทยาศาสตร์ว่า มูลรูป และวิชชุรูป [รวมไปถึงสิ่งพื้นฐานตั้งต้นที่วันหนึ่งอาจหาเจอนำ(อันหลังนี้ผู้พิมพ์เพิ่มเข้าไปเองครับ)]นั้นเล่า มาจากอะไร ที่มารวมกันหมุนเวียนจนเกิดเป็นปรมาณูขึ้น? นั่นก็คงจะส่ายหน้าไปตามกัน ถ้าคะยั้นคะยอถามหนักเข้าก็ต้องตอบว่า มาจากสิ่งที่ยังไม่รู้ว่าอะไรนั่นเองอีก

    พุทธศาสนายังไปได้ไกลกว่านั้นคือสามารถตอบขยายออกไปได้อีกว่า นาม (ซึ่งหมายถึงนามธาตุในที่นี้) และรูป (ซึ่งหมายถึงเนื้อวัตถุ ซึ่งรวมถึงชั้น
    มูลรูปและวิชชุรูปในที่นี้) ทั้งสองอย่างมาจาก "อภิสังขาร" หรือเรียกกันสั้น ๆ ว่า "สังขาร" แต่มิใช่สังขารร่างกายเป็นคำบัญญัติหรือ(Technical term)
    คำหนึ่งอีกต่างหาก และสังขารอันนี้มาจากอวิชชา ต่อนั้นก็ไม่มีอะไรอีก มีแต่อวิชชา คือที่ไม่รู้ก็เพราะไม่รู้ ที่ไม่รู้นั่นก็เพราะไม่รู้ ฯลฯ
    ความไม่รู้ให้เกิดสังขารหรืออำนาจพิเศษอันหนึ่งอันมีปฏิกิริยาสามารถให้เกิดสิ่งหนึ่งสิ่งใดขึ้น เมื่อมันทำหน้าที่ตามประสิทธิภาพของมัน สิ่งอีก
    สิ่งหนึ่ง ก็ต้องผลิออกมาโดยแน่นอน และสิ่งที่ผลิตออกมานั้นคือ นามธาตุกับรูปธาตุ เมื่อนามรูปสองอย่างนี้มีแล้ว อวิชชาก็จุดนามให้ลุกโพลงเป็น
    ดวงชีวิตขึ้นซึ่งมีรูปธาตุอันละเอียดประณีตที่สุดเป็นที่ตั้งอาศัย, เช่นเดียวกับคนเราจุดเชื้อเพลิงเช่นฟืนเป็นต้น บนพื้นแผ่นดิน, และมีผลกรรมบางอย่างช่วยสนับสนุน ผลกรรมก็คือปฏิกิริยา ที่เป็นผลเกิดออกจากการเคลื่อนไหวเปลี่ยนตัวแปรสภาพของมันในขณะที่ผ่านไป ๆ เป็นระยะ ๆ นั่นเอง
    เมื่อมีสิ่งต่าง ๆ พร้อมบริบูรณ์ ชุมนุมกันได้ที่แล้วดวงไฟชีวิต ก็ลุกโพลงขึ้นได้ด้วยเหตุนี้ และเกิดอุปกรณ์ อื่น ๆ ขึ้นตามลำดับจนครบ

    อยากย้อนไปกล่าวถึงที่มาของนามธาตุ หรือ "ธาตุจิต" อีกสักเล็กน้อย เมื่อในคัมภีร์ทางพุทธศาสนาไม่ได้ให้คำอธิบายอย่างอื่นไว้นอกจากว่ามาจากอวิชชา และทั้งเราจะหาคำอธิบายจากวิทยาศาสตร์โดยตรก็ไม่ได้ดังนี้แล้วเราลองสันนิษฐานกันดูตามเหตุผลบ้าง ข้าพเจ้าอยากจะสันนิษฐานไว้ที่ก่อนว่า มาจากปฏิกิริยาของปรมาณูที่เป็นส่วนประกอบของคณิตชีวิน(Living cells) นั่นเอง (คณิตชีวิน คือตัวจุลินทรีย์ที่เจริญจนถึงขีดที่เราเรียก กันว่า มีชีวิตแล้ว ซึ่งมันจับตัวรวมกลุ่มกันเข้า เป็นเยื่อเนื้อของคนเรา หรือ ต้นไม้ ใบไม้อีกต่อหนึ่ง) เราแยกดูเป็นอย่าง ๆ ดังต่อไปนี้ เมื่อปรกติภาพของวิชชุรูป ซึ่งหมุนอยู่รอบ ๆ มูลรูปถูกแรงงานอย่างใดอย่างหนึ่ง มากระชาก ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นคือกำลังไฟ้า แต่ปฏิกิริยาของมันเมื่อหมุนอยู่ตามปรกติโดยไม่มีอะไรมากระชากนั้น จะไม่มีเจียวหรือ แม้ว่าจะมีน้อย หรือเบา เพียงไรก็ตาม เชื่อว่าคงมีเพราะมันก็เป็นการเคลื่อนไหวหรือกิริยาอย่างหนึ่งอยู่เสมอ
    เมื่อยอมรับว่ามี เราจึงเริ่มพิจารณาต่อไปว่า ปฏิกิริยาของปรมาณู ตามปรกตินั้นย่อมแตกต่างกันในระหว่างปรมาณูของธาตุล้วน ๆ ที่ยังไม่เจริญจนถึงกับเรียกได้ว่าเป็นคณิตชีวิน กับของปรมาณูของธาตุที่เจริญแล้วจนถึงกับเกิดเป็นคณิตชีวินขึ้น ปฏิกิริยาของปรมาณูอย่างแรกไม่สูงพอที่จะเรียกว่านามธาตุ, แต่ก็ค่อน ๆ เข้าไป ส่วนปฏิกิริยาของปรมาณูอย่างหลังนั้นสูงพอที่จะเรียกว่านามธาตุได้แล้ว แต่ยังเป็นขนาดต่ำหรืออย่างเลวอยู่ เป็นได้เพียงเชื้อ ซึ่งต่อเมื่อถูกจุดขึ้นอีกครั้งหนึ่งเราจึงจะได้นามธาตุ(หรือธาตุใจ) ที่สูงพอที่จะเรียกได้ว่า ตัว " ชีวิต " จริง ๆ อย่างไรก็ดี นี่เป็นเพียงการสันนิษฐาน
    เพราะอยากรู้ ให้นอกออกไปากที่รู้อยู่แล้วเท่านั้น ซึ่งนับว่าก้าวมากออกไปจนถึงขีดที่ควร หยุดก้าวกันเสียทีอยู่แล้ว, และขอฝากท่านผู้รู้
    ไว้วินิจฉัยด้วย..."
     
  5. tapranksan

    tapranksan สมาชิก

    วันที่สมัครสมาชิก:
    10 ธันวาคม 2008
    โพสต์:
    21
    ค่าพลัง:
    +5
    *** บางส่วนจากหนังสือ "พระพุทธศาสนาแสดงเรื่องปรมาณูมากกว่า ๒๕๐๐ ปี" ของ อ. บุญมี เมธางกูร
    -----------------------------------------------------
    ดังคาถาจาปลินิคัณฑุ (อภิธานัปปทีปิกา) คาถาที่ ๑๙๔ และ คาถาที่ ๑๙๕ ในภูมิกัณฑ์ ว่า
    ----- ฉตฺตึส ปรมาณูน เมโก ณุจ ฉตึ เต
    ----- ตชฺชรี ตาปี ฉตฺตึส รถเรณุจฺ ฉตึส เต
    --- ลิกฺขา ตา สตฺต อูกา ตา ธญฺญามาโสติ สตฺต เต
    -- แปลว่า ๓๖ ปรมาณู เป็น ๑ อณู
    - ๓๖ อณู เป็น ๑ ตัชชารี
    - ๓๖ ตัชชารี เป็น ๑ รถเรณู
    - ๓๖ รถเรณู เป็น ๑ ลิกขา
    - ๗ ลิกขา เป็น ๑ อูกา
    - ๗ อูกา เรียกว่า ธัญญามาส (เม็ดข้าวเปลือก)
    - ท่านสาธุชนทั้งหลาย ถ้าคูณตัวเลขเหล่านี้ดูแล้วก็จะได้ถึง ๘๒ ล้านส่วน กับเศษอีกหลายแสน ท่านจะเห็นได้ว่า ใน ๑ ปรมาณูนั้น มาจากเม็ดข้าว ๑ เม็ด ซึ่งแยกออกเรื่อยๆไป แต่รูปปรมาณูทั้งหมดเหล่านี้ แม้เราเห็นหรือสัมผัสถูกต้องไม่ได้แล้ว ก็ยังจัดเป็นรูปหยาบอยู่มาก เพราะยังมีรูปที่ละเอียดยิ่งกว่านี้อีกต่างหาก
    - รูปทั้งหมดมีอยู่ ๒๘ รูป เป็นรูปหยาบเสีย ๑๒ รูป เหลืออีก ๑๖ รูป เป็นรูปละเอียดประณีตยิ่งกว่าปรมาณูดังได้แสดงมาแล้ว
    - ทุกๆปรมาณู แม้จะเห็นไม่ได้ และสัมผัสทางกายไม่ได้ก็ดี แต่ก็ประกอบไปด้วย ปฐวี อาโป เตโช วาโย วัณณะ คัณธะ รสะ โอชะ คือ ธาตุ ดิน น้ำ ไฟ ลม สี กลิ่น รส และโอชะ เรียกชื่อ ปรมาณูนี้ว่า อวินิพโภครูป ๘
    - อาโป= ธาตุน้ำ ไม่ใช่น้ำที่เราดื่มกัน วาโย = ธาตุลม ก็ไม่ใช่ลมที่พัดไปมา และโอชะ ก็ไม่ใช่แปลว่า อร่อย ผู้ที่ศึกษามีความเข้าใจแล้ว จะเห็นความพิศดารเป็นอันมาก
    - ปรมาณูทั้งหลายเหล่านี้ เรียกว่า อวินิพโภครูป และอวินิพโภครูปนี้จะต้องมีธาตุทั้ง ๘ เสมอไป จะไม่มีปรมาณูใด ปรมาณูหนึ่งที่มีธาตุเกินกว่า ๘ หรือน้อยกว่า ๘ อย่างแน่นอน คือจะแยกอย่างไรก็จะต้องมี ๘ เสมอ เพราะธาตุทั้ง ๘ นี้แยกออกจากกันไม่ได้
    - แม้ว่าปรมาณูนั้นจะเล็กน้อยเพียงใดก็ตาม แม้ว่าจะเห็นไม่ได้ สัมผัสด้วยกายไม่ได้ แต่ถึงกระนั้น พระสัมมาสัมพุทธเจ้าก็ยังแสดงว่า ทุกปรมาณูนั้นมิได้ติดกัน หากแต่มีช่องว่างระหว่างปรมาณู เรียกในภาษาธรรมะว่า ปริเฉทรูป ซึ่งเป็นชื่อของรูปอย่างหนึ่ง ด้วยเหตุที่มีปรมาณูขึ้นมาแล้ว มันจะต้องมีช่องว่างระหว่างปรมาณูเสมอไป
    -------------------------------------------------------
    ** ประวัติของ อ. บุญมี เมธางกูร:
     
  6. tapranksan

    tapranksan สมาชิก

    วันที่สมัครสมาชิก:
    10 ธันวาคม 2008
    โพสต์:
    21
    ค่าพลัง:
    +5
    สรรพสิ่ง โลก และมนุษย์
    มีสิ่งพื้นฐานตั้งต้นเป็นสิ่งเดียวกัน
    เราเรียก การโพลงอยู่ของมนุษย์ว่า ชีวิต
    ดังนั้น การตั้งอยู่ของโลกรวมไปถึงสรรพสิ่ง เราก็หมายถึงชีวิตได้ เหมือนกันใช่ไหมครับ
    สรรพสิ่งคือชีวิต ชีวิต คือ สรรพสิ่ง
    ลองมาดูมุมมองของนักปราชญ์ชาวพุทธท่านหนึ่ง ดูบ้างไหมครับว่า สรรพสิ่งหรือชีวิตเกิดมาได้อย่างไร

    ดวงชีวิตที่ลุกขึ้น
    " ดวงชีวิตจะลุกเป็นดวงขึ้นได้อย่างไร ก็ต้องย้อนไปดูลักษณะที่ดวงไฟจะลุกขึ้นอีกใหม่
    ตามกฎแห่งสังขตธรรม (คือสิ่งที่มีสิ่งอื่นหลายสิ่งรวมกันประกอบหรือปรับปรุงขึ้น)
    นั้นไฟจะลุกขึ้นได้ ก็ต้องมีเชื้อ มีผู้จุด และมีเครื่องช่วยเหลือเกื้อกูล เช่นอากาศ และที่ตั้งกองไฟ เป็นต้น
    ดวงชีวิตนี้ก็ฉันนั้น มันมีอวิชชา คือความมืดบอดไม่รู้ว่าอะไรเป็นอะไร เป็นผู้จุดขึ้น ถ้าเราจะถามนักวิทยาศาสตร์ว่า
    "ทำไมวิชชุรูปจึงหมุนอยู่รอบ ๆ มูลรูป" นักวิทยาศาสตร์ก็จะต้องตอบว่า เพราะมันเป็นธรรมดาเช่นนั้นเองถ้าเราไม่ยอม
    ให้ตอบอย่างกำปั้นทุบดิน เช่นนั้นและถามใหม่อีกว่า "ทำไมมันจึงได้เกิดไปมีธรรมดาเช่นนั้นขึ้นเล่า" เขาก็จะต้องตอบว่าเพราะธรรมดามันย่อมให้เกิดธรรมดาเช่นนั้น ถามอีกกี่ครั้งหรือกี่ชั้น ก็หลีกธรรมดาไม่ได้ในที่สุด ถ้าเขาไม่หาว่าแกล้งถามเซ้าซี้ก็จะตอบว่า มันมีสิ่งที่นอกเหนือไปจากความรู้
    ความเข้าใจของ วิทยาศาสตร์เหมือนกัน และขอเรียกสิ่งนั้นว่า "สิ่งซึ่งยังไม่รู้ว่าอะไรกันแน่" ในที่นี้เรากล่าวได้ว่า สิ่งนั้นคือ "อวิชชาของวิทยาศาสตร์" และมันมีแนวสัมพันธ์ดังนี้;
    1) คนเกิดมาจากธาตุ (Elements)
    2) ธาตุเกิดมาจากอณู (Molecules)
    3) อณูเกิดมาจากปรมาณู (Atoms)
    4) ปรมาณูเกิดจากวิชชุรูป (Electrons) หมุนอยู่รอบ ๆ มูลรูป(Proton) ในที่ว่าง(Vacumm)
    อยู่อย่างสม่ำเสมอเป็นกลุ่ม ๆ กลุ่มหนึ่งเรียกปรมาณูอันหนึ่ง
    5) ความหมุนเวียนของวิชชุรูปเกิดมาจาก "สิ่งที่เรายังไม่รู้"
    6) นั่นคือ "อวิชชาของวิทยาศาสตร์"

    ปัญหาก็เกิดขึ้นว่า สิ่งที่เรายังไม่รู้อันนั้นคือ อวิชชา เหมือนกัน ต่างกันแต่ว่า อวิชชาของวิทยาศาสตร์นั้นคือ
    สิ่งที่ยังไม่รู้ว่าอะไร, ส่วนอวิชชาของพุทธศาสนา นั้นคือ ความมืดบอดไม่รู้ว่าอะไรเป็นอะไร ลงกันได้ไหม ?
    เป็นสิ่งที่ควรพิจารณา <!--MsgFile=53-->
     
  7. tapranksan

    tapranksan สมาชิก

    วันที่สมัครสมาชิก:
    10 ธันวาคม 2008
    โพสต์:
    21
    ค่าพลัง:
    +5
    เราจับหลักได้ขั้นหนึ่งแล้วว่า อวิชชานั้นวิทยาศาสตร์หมายเอาตัวกรรมการก (Object) หรือสิ่งที่เราไม่รู้ได้ว่าเป็นอะไร
    ส่วนพุทธศาสนาหมายเอาตัวความไม่รู้ ไม่อาจรู้ ในวัตถุหรือสิ่งอันนั้น หรือของวัตถุอันนั้นเอง, บางคนอาจหัวเราะเยาะว่า นี่จะเกณฑ์
    ให้ปรมาณูหรือแม้ที่สุดแต่ก้อนกรวดก้อนหิน มีจิตคิดรู้และไม่รู้เสียแล้วกระมัง ข้าพเจ้าอยากจะขอร้องด้วยความเคารพว่าขอให้ท่านลอง
    คิดดูด้วยความ ตั้งอกตั้งใจสักครั้งหนึ่งเถิด ถ้าหากว่าปรมาณู มันมีความรู้ที่ถูกต้อง (คืออวิชชา) เล่า มันจะหมุนไปอย่างไม่รู้จักจบจักสิ้นอย่างนั้นเจียวหรือ(นี่เป็นการสมมติว่าถ้าหากมันมีได้) ถ้ามันมีได้มันคงไม่ยอมหมุนอย่างไม่รู้จักหยุด ปราศจากเป็นอิสระเช่นนั้นเป็นแน่ แน่นอนทีเดียวเพราะ
    มันไม่มีหรือเพราะมันขาดความรู้อันนี้นั่นเองปรมาณูจึงหมุนเวียนเช่นนั้น และความหมุนเวียนเป็นเหตุให้เกิดสิ่งทั้งหลายขึ้น เราจึงกล่าว ได้ว่า
    เพราะสิ่งนั้น ๆ ไม่มีความรู้หรือเพราะขาดความรู้หรือเพราะไม่มีความรู้ผสมเป็นส่วนผสมอยู่ในตัวมันด้วย มันจึงหมุนเวียน การขาดความรู้
    กับความไม่มีความรู้หรือผลก็คือความไม่อาจจะรู้ นั่นเป็นอันเดียวกัน คือ "ไม่รู้" นั่นเอง! เราจึงกล่าวได้ว่า อำนาจที่ทำให้หมุนเวียน ก็คือความที่มันขาดความรู้นั่นเอง และนั่นคือสิ่งที่เราเรียกกันในพุทธศาสนาว่า อวิชชา ส่วนที่ว่าเพราะเหตุไรมันจึงไม่มีความรู้ หรือไม่อาจจะรู้ นั้นเป็นอีกปัญหาหนึ่ง แม้ว่าหลักอันนี้จะเป็นตรรก(Logic) อยู่มาก ท่านก็ต้องเห็นพ้องว่ามันเป็นความจริง คือ เพราะมันไม่มีความรู้ในตัวมัน มันขาดความรู้ คือไม่รู้,
    จึงได้หมุนเป็นธรรมดาไป ทีนี้อาจเกิดปัญหาขึ้นว่า คนเราเล่า มีจิตใจคิดนึกแล้ว ทำไมจึงต้องหมุนเวียนเหมือนกันเล่า

    ตอบว่า คนเรานั้นไม่มีความรู้ดอก นี่หมายถึงความรู้ที่ถูกต้อง คนธรรมดาปุถุชนเรามีแต่ความรู้ที่ผิด เราจึงหมุนเวียน ความรู้ที่ผิด ๆ นั่นก็เป็น
    อวิชชาเหมือนกัน เราจะเห็นได้ชัดเจนแล้วว่า อวิชชา เหมือนกันนั้นเพราะว่าผลมันเท่ากัน และที่แท้แล้ว มันก็อันเดียวกันนั่นเอง
    พระโสดาบัน พระสกิทาคามี พระอนาคามี ก็ยังมีอวิชชา แต่ว่าเบาบางมากแล้ว พระอรหันต์เท่านั้นหมดอวิชชาท่านจึงหยุดหมุนเวียน
    และในไม่ช้าก็ดับสนิทไป รวมความในที่สุดก็คือว่า อวิชชาเป็นเหตุให้เกิดอำนาจหมุนเวียน ซึ่งเป็นกฎธรรมดาของทุก ๆ สิ่งบรรดาที่เป็นสังขตธรรม
    หรืออีกอย่างหนึ่งก็พูดว่าเป็นกฎธรรมดา ของทุก ๆ สิ่งในสากลจักรวาลทุก ๆ จักรวาล

    เมื่ออวิชชาสามารถทำให้เกิดอำนาจหมุนเวียนแก่วิชชุรูปในปรมาณู โดยที่บังคับให้แรงเหวี่ยงออกของวิชชุรูป เท่า ๆ กับแรงดูดเข้าของมูลรูป
    ดังนี้ได้แล้ว ก็ทำนองเดียวกันกับที่มันจะให้เกิดอำนาจการหมุนเวียนในภวังคจิต คือให้นามธรรมหมู่หนึ่งหรือส่วนหนึ่งเกิดขึ้น--ตั้งอยู่--ดับไป ๆ ๆ
    อย่างไม่รู้จักสิ้นสุด และ ดวงชีวิตล้วน ๆ ไม่มีอะไรเจือ ก็ลุกโพลงขึ้นได้ด้วยประการฉะนี้! เราเรียกอวิชชา เป็นผู้จุด ปัญหาต่อไปก็คือ อะไรเป็นเชื้อที่ถูกจุดและอะไรช่วยเกื้อกูล และเป็นสิ่งที่ตั้งอาศัย

    เชื้อที่ถูกจุดในที่นี้ก็คือสิ่งที่เรียกว่า นามธาตุ ซึ่งก็เป็นเพียงธรรมชาติที่มีการปรากฏตัว(Phenomena) ชนิดหนึ่งเท่านั้น แต่ยังเป็นชั้นที่
    ยังดิบหรือหลับอยู่(Dormant--Conscious element) นามธาตุคืออะไร และมาจากอะไรอีกเล่า? มันก็มาจากอวิชชาอีกเหมือนกัน
    นามธาตุที่ยังไม่ถูกจุด ก็ยังไม่ลุกโพลงเป็น "ดวงไฟชีวิต" ขึ้นเท่านั้น ถ้าเราจะถามนักวิทยาศาสตร์ว่า มูลรูป และวิชชุรูป [รวมไปถึงสิ่งพื้นฐานตั้งต้นที่วันหนึ่งอาจหาเจอนำ(อันหลังนี้ผู้พิมพ์เพิ่มเข้าไปเองครับ)]นั้นเล่า มาจากอะไร ที่มารวมกันหมุนเวียนจนเกิดเป็นปรมาณูขึ้น? นั่นก็คงจะส่ายหน้าไปตามกัน ถ้าคะยั้นคะยอถามหนักเข้าก็ต้องตอบว่า มาจากสิ่งที่ยังไม่รู้ว่าอะไรนั่นเองอีก

    พุทธศาสนายังไปได้ไกลกว่านั้นคือสามารถตอบขยายออกไปได้อีกว่า นาม (ซึ่งหมายถึงนามธาตุในที่นี้) และรูป (ซึ่งหมายถึงเนื้อวัตถุ ซึ่งรวมถึงชั้น
    มูลรูปและวิชชุรูปในที่นี้) ทั้งสองอย่างมาจาก "อภิสังขาร" หรือเรียกกันสั้น ๆ ว่า "สังขาร" แต่มิใช่สังขารร่างกายเป็นคำบัญญัติหรือ(Technical term)
    คำหนึ่งอีกต่างหาก และสังขารอันนี้มาจากอวิชชา ต่อนั้นก็ไม่มีอะไรอีก มีแต่อวิชชา คือที่ไม่รู้ก็เพราะไม่รู้ ที่ไม่รู้นั่นก็เพราะไม่รู้ ฯลฯ
    ความไม่รู้ให้เกิดสังขารหรืออำนาจพิเศษอันหนึ่งอันมีปฏิกิริยาสามารถให้เกิดสิ่งหนึ่งสิ่งใดขึ้น เมื่อมันทำหน้าที่ตามประสิทธิภาพของมัน สิ่งอีก
    สิ่งหนึ่ง ก็ต้องผลิออกมาโดยแน่นอน และสิ่งที่ผลิตออกมานั้นคือ นามธาตุกับรูปธาตุ เมื่อนามรูปสองอย่างนี้มีแล้ว อวิชชาก็จุดนามให้ลุกโพลงเป็น
    ดวงชีวิตขึ้นซึ่งมีรูปธาตุอันละเอียดประณีตที่สุดเป็นที่ตั้งอาศัย, เช่นเดียวกับคนเราจุดเชื้อเพลิงเช่นฟืนเป็นต้น บนพื้นแผ่นดิน, และมีผลกรรมบางอย่างช่วยสนับสนุน ผลกรรมก็คือปฏิกิริยา ที่เป็นผลเกิดออกจากการเคลื่อนไหวเปลี่ยนตัวแปรสภาพของมันในขณะที่ผ่านไป ๆ เป็นระยะ ๆ นั่นเอง
    เมื่อมีสิ่งต่าง ๆ พร้อมบริบูรณ์ ชุมนุมกันได้ที่แล้วดวงไฟชีวิต ก็ลุกโพลงขึ้นได้ด้วยเหตุนี้ และเกิดอุปกรณ์ อื่น ๆ ขึ้นตามลำดับจนครบ

    อยากย้อนไปกล่าวถึงที่มาของนามธาตุ หรือ "ธาตุจิต" อีกสักเล็กน้อย เมื่อในคัมภีร์ทางพุทธศาสนาไม่ได้ให้คำอธิบายอย่างอื่นไว้นอกจากว่ามาจากอวิชชา และทั้งเราจะหาคำอธิบายจากวิทยาศาสตร์โดยตรก็ไม่ได้ดังนี้แล้วเราลองสันนิษฐานกันดูตามเหตุผลบ้าง ข้าพเจ้าอยากจะสันนิษฐานไว้ที่ก่อนว่า มาจากปฏิกิริยาของปรมาณูที่เป็นส่วนประกอบของคณิตชีวิน(Living cells) นั่นเอง (คณิตชีวิน คือตัวจุลินทรีย์ที่เจริญจนถึงขีดที่เราเรียก กันว่า มีชีวิตแล้ว ซึ่งมันจับตัวรวมกลุ่มกันเข้า เป็นเยื่อเนื้อของคนเรา หรือ ต้นไม้ ใบไม้อีกต่อหนึ่ง) เราแยกดูเป็นอย่าง ๆ ดังต่อไปนี้ เมื่อปรกติภาพของวิชชุรูป ซึ่งหมุนอยู่รอบ ๆ มูลรูปถูกแรงงานอย่างใดอย่างหนึ่ง มากระชาก ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นคือกำลังไฟ้า แต่ปฏิกิริยาของมันเมื่อหมุนอยู่ตามปรกติโดยไม่มีอะไรมากระชากนั้น จะไม่มีเจียวหรือ แม้ว่าจะมีน้อย หรือเบา เพียงไรก็ตาม เชื่อว่าคงมีเพราะมันก็เป็นการเคลื่อนไหวหรือกิริยาอย่างหนึ่งอยู่เสมอ
    เมื่อยอมรับว่ามี เราจึงเริ่มพิจารณาต่อไปว่า ปฏิกิริยาของปรมาณู ตามปรกตินั้นย่อมแตกต่างกันในระหว่างปรมาณูของธาตุล้วน ๆ ที่ยังไม่เจริญจนถึงกับเรียกได้ว่าเป็นคณิตชีวิน กับของปรมาณูของธาตุที่เจริญแล้วจนถึงกับเกิดเป็นคณิตชีวินขึ้น ปฏิกิริยาของปรมาณูอย่างแรกไม่สูงพอที่จะเรียกว่านามธาตุ, แต่ก็ค่อน ๆ เข้าไป ส่วนปฏิกิริยาของปรมาณูอย่างหลังนั้นสูงพอที่จะเรียกว่านามธาตุได้แล้ว แต่ยังเป็นขนาดต่ำหรืออย่างเลวอยู่ เป็นได้เพียงเชื้อ ซึ่งต่อเมื่อถูกจุดขึ้นอีกครั้งหนึ่งเราจึงจะได้นามธาตุ(หรือธาตุใจ) ที่สูงพอที่จะเรียกได้ว่า ตัว " ชีวิต " จริง ๆ อย่างไรก็ดี นี่เป็นเพียงการสันนิษฐาน
    เพราะอยากรู้ ให้นอกออกไปากที่รู้อยู่แล้วเท่านั้น ซึ่งนับว่าก้าวมากออกไปจนถึงขีดที่ควร หยุดก้าวกันเสียทีอยู่แล้ว, และขอฝากท่านผู้รู้
    ไว้วินิจฉัยด้วย..."
    <!--MsgFile=54-->
     
  8. tapranksan

    tapranksan สมาชิก

    วันที่สมัครสมาชิก:
    10 ธันวาคม 2008
    โพสต์:
    21
    ค่าพลัง:
    +5
    ตอบว่า คนเรานั้นไม่มีความรู้ดอก นี่หมายถึงความรู้ที่ถูกต้อง คนธรรมดาปุถุชนเรามีแต่ความรู้ที่ผิด เราจึงหมุนเวียน ความรู้ที่ผิด ๆ นั่นก็เป็น
    อวิชชาเหมือนกัน เราจะเห็นได้ชัดเจนแล้วว่า อวิชชา เหมือนกันนั้นเพราะว่าผลมันเท่ากัน และที่แท้แล้ว มันก็อันเดียวกันนั่นเอง
    พระโสดาบัน พระสกิทาคามี พระอนาคามี ก็ยังมีอวิชชา แต่ว่าเบาบางมากแล้ว พระอรหันต์เท่านั้นหมดอวิชชาท่านจึงหยุดหมุนเวียน
    และในไม่ช้าก็ดับสนิทไป รวมความในที่สุดก็คือว่า อวิชชาเป็นเหตุให้เกิดอำนาจหมุนเวียน ซึ่งเป็นกฎธรรมดาของทุก ๆ สิ่งบรรดาที่เป็นสังขตธรรม
    หรืออีกอย่างหนึ่งก็พูดว่าเป็นกฎธรรมดา ของทุก ๆ สิ่งในสากลจักรวาลทุก ๆ จักรวาล

    เมื่ออวิชชาสามารถทำให้เกิดอำนาจหมุนเวียนแก่วิชชุรูปในปรมาณู โดยที่บังคับให้แรงเหวี่ยงออกของวิชชุรูป เท่า ๆ กับแรงดูดเข้าของมูลรูป
    ดังนี้ได้แล้ว ก็ทำนองเดียวกันกับที่มันจะให้เกิดอำนาจการหมุนเวียนในภวังคจิต คือให้นามธรรมหมู่หนึ่งหรือส่วนหนึ่งเกิดขึ้น--ตั้งอยู่--ดับไป ๆ ๆ
    อย่างไม่รู้จักสิ้นสุด และ ดวงชีวิตล้วน ๆ ไม่มีอะไรเจือ ก็ลุกโพลงขึ้นได้ด้วยประการฉะนี้! เราเรียกอวิชชา เป็นผู้จุด ปัญหาต่อไปก็คือ อะไรเป็นเชื้อที่ถูกจุดและอะไรช่วยเกื้อกูล และเป็นสิ่งที่ตั้งอาศัย

    เชื้อที่ถูกจุดในที่นี้ก็คือสิ่งที่เรียกว่า นามธาตุ ซึ่งก็เป็นเพียงธรรมชาติที่มีการปรากฏตัว(Phenomena) ชนิดหนึ่งเท่านั้น แต่ยังเป็นชั้นที่
    ยังดิบหรือหลับอยู่(Dormant--Conscious element) นามธาตุคืออะไร และมาจากอะไรอีกเล่า? มันก็มาจากอวิชชาอีกเหมือนกัน
    นามธาตุที่ยังไม่ถูกจุด ก็ยังไม่ลุกโพลงเป็น "ดวงไฟชีวิต" ขึ้นเท่านั้น ถ้าเราจะถามนักวิทยาศาสตร์ว่า มูลรูป และวิชชุรูป [รวมไปถึงสิ่งพื้นฐานตั้งต้นที่วันหนึ่งอาจหาเจอนำ(อันหลังนี้ผู้พิมพ์เพิ่มเข้าไปเองครับ)]นั้นเล่า มาจากอะไร ที่มารวมกันหมุนเวียนจนเกิดเป็นปรมาณูขึ้น? นั่นก็คงจะส่ายหน้าไปตามกัน ถ้าคะยั้นคะยอถามหนักเข้าก็ต้องตอบว่า มาจากสิ่งที่ยังไม่รู้ว่าอะไรนั่นเองอีก

    พุทธศาสนายังไปได้ไกลกว่านั้นคือสามารถตอบขยายออกไปได้อีกว่า นาม (ซึ่งหมายถึงนามธาตุในที่นี้) และรูป (ซึ่งหมายถึงเนื้อวัตถุ ซึ่งรวมถึงชั้น
    มูลรูปและวิชชุรูปในที่นี้) ทั้งสองอย่างมาจาก "อภิสังขาร" หรือเรียกกันสั้น ๆ ว่า "สังขาร" แต่มิใช่สังขารร่างกายเป็นคำบัญญัติหรือ(Technical term)
    คำหนึ่งอีกต่างหาก และสังขารอันนี้มาจากอวิชชา ต่อนั้นก็ไม่มีอะไรอีก มีแต่อวิชชา คือที่ไม่รู้ก็เพราะไม่รู้ ที่ไม่รู้นั่นก็เพราะไม่รู้ ฯลฯ
    ความไม่รู้ให้เกิดสังขารหรืออำนาจพิเศษอันหนึ่งอันมีปฏิกิริยาสามารถให้เกิดสิ่งหนึ่งสิ่งใดขึ้น เมื่อมันทำหน้าที่ตามประสิทธิภาพของมัน สิ่งอีก
    สิ่งหนึ่ง ก็ต้องผลิออกมาโดยแน่นอน และสิ่งที่ผลิตออกมานั้นคือ นามธาตุกับรูปธาตุ เมื่อนามรูปสองอย่างนี้มีแล้ว อวิชชาก็จุดนามให้ลุกโพลงเป็น
    ดวงชีวิตขึ้นซึ่งมีรูปธาตุอันละเอียดประณีตที่สุดเป็นที่ตั้งอาศัย, เช่นเดียวกับคนเราจุดเชื้อเพลิงเช่นฟืนเป็นต้น บนพื้นแผ่นดิน, และมีผลกรรมบางอย่างช่วยสนับสนุน ผลกรรมก็คือปฏิกิริยา ที่เป็นผลเกิดออกจากการเคลื่อนไหวเปลี่ยนตัวแปรสภาพของมันในขณะที่ผ่านไป ๆ เป็นระยะ ๆ นั่นเอง
    เมื่อมีสิ่งต่าง ๆ พร้อมบริบูรณ์ ชุมนุมกันได้ที่แล้วดวงไฟชีวิต ก็ลุกโพลงขึ้นได้ด้วยเหตุนี้ และเกิดอุปกรณ์ อื่น ๆ ขึ้นตามลำดับจนครบ

    อยากย้อนไปกล่าวถึงที่มาของนามธาตุ หรือ "ธาตุจิต" อีกสักเล็กน้อย เมื่อในคัมภีร์ทางพุทธศาสนาไม่ได้ให้คำอธิบายอย่างอื่นไว้นอกจากว่ามาจากอวิชชา และทั้งเราจะหาคำอธิบายจากวิทยาศาสตร์โดยตรก็ไม่ได้ดังนี้แล้วเราลองสันนิษฐานกันดูตามเหตุผลบ้าง ข้าพเจ้าอยากจะสันนิษฐานไว้ที่ก่อนว่า มาจากปฏิกิริยาของปรมาณูที่เป็นส่วนประกอบของคณิตชีวิน(Living cells) นั่นเอง (คณิตชีวิน คือตัวจุลินทรีย์ที่เจริญจนถึงขีดที่เราเรียก กันว่า มีชีวิตแล้ว ซึ่งมันจับตัวรวมกลุ่มกันเข้า เป็นเยื่อเนื้อของคนเรา หรือ ต้นไม้ ใบไม้อีกต่อหนึ่ง) เราแยกดูเป็นอย่าง ๆ ดังต่อไปนี้ เมื่อปรกติภาพของวิชชุรูป ซึ่งหมุนอยู่รอบ ๆ มูลรูปถูกแรงงานอย่างใดอย่างหนึ่ง มากระชาก ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นคือกำลังไฟ้า แต่ปฏิกิริยาของมันเมื่อหมุนอยู่ตามปรกติโดยไม่มีอะไรมากระชากนั้น จะไม่มีเจียวหรือ แม้ว่าจะมีน้อย หรือเบา เพียงไรก็ตาม เชื่อว่าคงมีเพราะมันก็เป็นการเคลื่อนไหวหรือกิริยาอย่างหนึ่งอยู่เสมอ
    เมื่อยอมรับว่ามี เราจึงเริ่มพิจารณาต่อไปว่า ปฏิกิริยาของปรมาณู ตามปรกตินั้นย่อมแตกต่างกันในระหว่างปรมาณูของธาตุล้วน ๆ ที่ยังไม่เจริญจนถึงกับเรียกได้ว่าเป็นคณิตชีวิน กับของปรมาณูของธาตุที่เจริญแล้วจนถึงกับเกิดเป็นคณิตชีวินขึ้น ปฏิกิริยาของปรมาณูอย่างแรกไม่สูงพอที่จะเรียกว่านามธาตุ, แต่ก็ค่อน ๆ เข้าไป ส่วนปฏิกิริยาของปรมาณูอย่างหลังนั้นสูงพอที่จะเรียกว่านามธาตุได้แล้ว แต่ยังเป็นขนาดต่ำหรืออย่างเลวอยู่ เป็นได้เพียงเชื้อ ซึ่งต่อเมื่อถูกจุดขึ้นอีกครั้งหนึ่งเราจึงจะได้นามธาตุ(หรือธาตุใจ) ที่สูงพอที่จะเรียกได้ว่า ตัว " ชีวิต " จริง ๆ อย่างไรก็ดี นี่เป็นเพียงการสันนิษฐาน
    เพราะอยากรู้ ให้นอกออกไปากที่รู้อยู่แล้วเท่านั้น ซึ่งนับว่าก้าวมากออกไปจนถึงขีดที่ควร หยุดก้าวกันเสียทีอยู่แล้ว, และขอฝากท่านผู้รู้
    ไว้วินิจฉัยด้วย..."
     
  9. tapranksan

    tapranksan สมาชิก

    วันที่สมัครสมาชิก:
    10 ธันวาคม 2008
    โพสต์:
    21
    ค่าพลัง:
    +5
    ตอบว่า คนเรานั้นไม่มีความรู้ดอก นี่หมายถึงความรู้ที่ถูกต้อง คนธรรมดาปุถุชนเรามีแต่ความรู้ที่ผิด เราจึงหมุนเวียน ความรู้ที่ผิด ๆ นั่นก็เป็น
    อวิชชาเหมือนกัน เราจะเห็นได้ชัดเจนแล้วว่า อวิชชา เหมือนกันนั้นเพราะว่าผลมันเท่ากัน และที่แท้แล้ว มันก็อันเดียวกันนั่นเอง
    พระโสดาบัน พระสกิทาคามี พระอนาคามี ก็ยังมีอวิชชา แต่ว่าเบาบางมากแล้ว พระอรหันต์เท่านั้นหมดอวิชชาท่านจึงหยุดหมุนเวียน
    และในไม่ช้าก็ดับสนิทไป รวมความในที่สุดก็คือว่า อวิชชาเป็นเหตุให้เกิดอำนาจหมุนเวียน ซึ่งเป็นกฎธรรมดาของทุก ๆ สิ่งบรรดาที่เป็นสังขตธรรม
    หรืออีกอย่างหนึ่งก็พูดว่าเป็นกฎธรรมดา ของทุก ๆ สิ่งในสากลจักรวาลทุก ๆ จักรวาล

    เมื่ออวิชชาสามารถทำให้เกิดอำนาจหมุนเวียนแก่วิชชุรูปในปรมาณู โดยที่บังคับให้แรงเหวี่ยงออกของวิชชุรูป เท่า ๆ กับแรงดูดเข้าของมูลรูป
    ดังนี้ได้แล้ว ก็ทำนองเดียวกันกับที่มันจะให้เกิดอำนาจการหมุนเวียนในภวังคจิต คือให้นามธรรมหมู่หนึ่งหรือส่วนหนึ่งเกิดขึ้น--ตั้งอยู่--ดับไป ๆ ๆ
    อย่างไม่รู้จักสิ้นสุด และ ดวงชีวิตล้วน ๆ ไม่มีอะไรเจือ ก็ลุกโพลงขึ้นได้ด้วยประการฉะนี้! เราเรียกอวิชชา เป็นผู้จุด ปัญหาต่อไปก็คือ อะไรเป็นเชื้อที่ถูกจุดและอะไรช่วยเกื้อกูล และเป็นสิ่งที่ตั้งอาศัย

    เชื้อที่ถูกจุดในที่นี้ก็คือสิ่งที่เรียกว่า นามธาตุ ซึ่งก็เป็นเพียงธรรมชาติที่มีการปรากฏตัว(Phenomena) ชนิดหนึ่งเท่านั้น แต่ยังเป็นชั้นที่
    ยังดิบหรือหลับอยู่(Dormant--Conscious element) นามธาตุคืออะไร และมาจากอะไรอีกเล่า? มันก็มาจากอวิชชาอีกเหมือนกัน
    นามธาตุที่ยังไม่ถูกจุด ก็ยังไม่ลุกโพลงเป็น "ดวงไฟชีวิต" ขึ้นเท่านั้น ถ้าเราจะถามนักวิทยาศาสตร์ว่า มูลรูป และวิชชุรูป [รวมไปถึงสิ่งพื้นฐานตั้งต้นที่วันหนึ่งอาจหาเจอนำ(อันหลังนี้ผู้พิมพ์เพิ่มเข้าไปเองครับ)]นั้นเล่า มาจากอะไร ที่มารวมกันหมุนเวียนจนเกิดเป็นปรมาณูขึ้น? นั่นก็คงจะส่ายหน้าไปตามกัน ถ้าคะยั้นคะยอถามหนักเข้าก็ต้องตอบว่า มาจากสิ่งที่ยังไม่รู้ว่าอะไรนั่นเองอีก

    พุทธศาสนายังไปได้ไกลกว่านั้นคือสามารถตอบขยายออกไปได้อีกว่า นาม (ซึ่งหมายถึงนามธาตุในที่นี้) และรูป (ซึ่งหมายถึงเนื้อวัตถุ ซึ่งรวมถึงชั้น
    มูลรูปและวิชชุรูปในที่นี้) ทั้งสองอย่างมาจาก "อภิสังขาร" หรือเรียกกันสั้น ๆ ว่า "สังขาร" แต่มิใช่สังขารร่างกายเป็นคำบัญญัติหรือ(Technical term)
    คำหนึ่งอีกต่างหาก และสังขารอันนี้มาจากอวิชชา ต่อนั้นก็ไม่มีอะไรอีก มีแต่อวิชชา คือที่ไม่รู้ก็เพราะไม่รู้ ที่ไม่รู้นั่นก็เพราะไม่รู้ ฯลฯ
    ความไม่รู้ให้เกิดสังขารหรืออำนาจพิเศษอันหนึ่งอันมีปฏิกิริยาสามารถให้เกิดสิ่งหนึ่งสิ่งใดขึ้น เมื่อมันทำหน้าที่ตามประสิทธิภาพของมัน สิ่งอีก
    สิ่งหนึ่ง ก็ต้องผลิออกมาโดยแน่นอน และสิ่งที่ผลิตออกมานั้นคือ นามธาตุกับรูปธาตุ เมื่อนามรูปสองอย่างนี้มีแล้ว อวิชชาก็จุดนามให้ลุกโพลงเป็น
    ดวงชีวิตขึ้นซึ่งมีรูปธาตุอันละเอียดประณีตที่สุดเป็นที่ตั้งอาศัย, เช่นเดียวกับคนเราจุดเชื้อเพลิงเช่นฟืนเป็นต้น บนพื้นแผ่นดิน, และมีผลกรรมบางอย่างช่วยสนับสนุน ผลกรรมก็คือปฏิกิริยา ที่เป็นผลเกิดออกจากการเคลื่อนไหวเปลี่ยนตัวแปรสภาพของมันในขณะที่ผ่านไป ๆ เป็นระยะ ๆ นั่นเอง
    เมื่อมีสิ่งต่าง ๆ พร้อมบริบูรณ์ ชุมนุมกันได้ที่แล้วดวงไฟชีวิต ก็ลุกโพลงขึ้นได้ด้วยเหตุนี้ และเกิดอุปกรณ์ อื่น ๆ ขึ้นตามลำดับจนครบ

    อยากย้อนไปกล่าวถึงที่มาของนามธาตุ หรือ "ธาตุจิต" อีกสักเล็กน้อย เมื่อในคัมภีร์ทางพุทธศาสนาไม่ได้ให้คำอธิบายอย่างอื่นไว้นอกจากว่ามาจากอวิชชา และทั้งเราจะหาคำอธิบายจากวิทยาศาสตร์โดยตรก็ไม่ได้ดังนี้แล้วเราลองสันนิษฐานกันดูตามเหตุผลบ้าง ข้าพเจ้าอยากจะสันนิษฐานไว้ที่ก่อนว่า มาจากปฏิกิริยาของปรมาณูที่เป็นส่วนประกอบของคณิตชีวิน(Living cells) นั่นเอง (คณิตชีวิน คือตัวจุลินทรีย์ที่เจริญจนถึงขีดที่เราเรียก กันว่า มีชีวิตแล้ว ซึ่งมันจับตัวรวมกลุ่มกันเข้า เป็นเยื่อเนื้อของคนเรา หรือ ต้นไม้ ใบไม้อีกต่อหนึ่ง) เราแยกดูเป็นอย่าง ๆ ดังต่อไปนี้ เมื่อปรกติภาพของวิชชุรูป ซึ่งหมุนอยู่รอบ ๆ มูลรูปถูกแรงงานอย่างใดอย่างหนึ่ง มากระชาก ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นคือกำลังไฟ้า แต่ปฏิกิริยาของมันเมื่อหมุนอยู่ตามปรกติโดยไม่มีอะไรมากระชากนั้น จะไม่มีเจียวหรือ แม้ว่าจะมีน้อย หรือเบา เพียงไรก็ตาม เชื่อว่าคงมีเพราะมันก็เป็นการเคลื่อนไหวหรือกิริยาอย่างหนึ่งอยู่เสมอ
    เมื่อยอมรับว่ามี เราจึงเริ่มพิจารณาต่อไปว่า ปฏิกิริยาของปรมาณู ตามปรกตินั้นย่อมแตกต่างกันในระหว่างปรมาณูของธาตุล้วน ๆ ที่ยังไม่เจริญจนถึงกับเรียกได้ว่าเป็นคณิตชีวิน กับของปรมาณูของธาตุที่เจริญแล้วจนถึงกับเกิดเป็นคณิตชีวินขึ้น ปฏิกิริยาของปรมาณูอย่างแรกไม่สูงพอที่จะเรียกว่านามธาตุ, แต่ก็ค่อน ๆ เข้าไป ส่วนปฏิกิริยาของปรมาณูอย่างหลังนั้นสูงพอที่จะเรียกว่านามธาตุได้แล้ว แต่ยังเป็นขนาดต่ำหรืออย่างเลวอยู่ เป็นได้เพียงเชื้อ ซึ่งต่อเมื่อถูกจุดขึ้นอีกครั้งหนึ่งเราจึงจะได้นามธาตุ(หรือธาตุใจ) ที่สูงพอที่จะเรียกได้ว่า ตัว " ชีวิต " จริง ๆ อย่างไรก็ดี นี่เป็นเพียงการสันนิษฐาน
    เพราะอยากรู้ ให้นอกออกไปากที่รู้อยู่แล้วเท่านั้น ซึ่งนับว่าก้าวมากออกไปจนถึงขีดที่ควร หยุดก้าวกันเสียทีอยู่แล้ว, และขอฝากท่านผู้รู้
    ไว้วินิจฉัยด้วย..."
     

แชร์หน้านี้

Loading...