ตีแผ่ข้อเท็จจริง สึนามิ (จะ) ถล่มไทยรอบสอง!?

ในห้อง 'วิทยาศาสตร์ทางจิต - ลึกลับ' ตั้งกระทู้โดย vacharaphol, 2 กุมภาพันธ์ 2010.

  1. vacharaphol

    vacharaphol เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    26 ตุลาคม 2005
    โพสต์:
    8,849
    ค่าพลัง:
    +27,173
    <TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width=500><TBODY><TR><TD>ตีแผ่ข้อเท็จจริง สึนามิ (จะ) ถล่มไทยรอบสอง!?

    </TD><TD vAlign=top width=155>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width=500><TBODY><TR><TD>รายงานโดย :สุรีย์รัตน์ พิทักษ์:
    </TD><TD>วันอังคารที่ 2 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2553
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    ข่าวคราวเรื่องสึนามิ คลื่นยักษ์ที่อาจจะกลับมาถล่มไทยอีกครั้งในปีนี้ แถมจะมีความรุนแรงเทียบเท่า หรือมากกว่าเหตุการณ์ที่เคยเกิดขึ้นเมื่อเดือนธ.ค. 2547 เสียอีก

    ทำให้หลายๆ คนเกิดความกังวลใจ ยิ่งไปกว่านั้น คือ ความสับสนว่าเป็นเรื่องจริงหรือไม่ และอย่างไร?
    คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จัดให้มีการเสวนาเรื่อง “ตีแผ่ความจริง เรื่องสึนามิในประเทศไทยที่อาจจะเกิดขึ้นในปี 2553 ร้ายแรงจริงหรือ?” เพื่อเป็นการสร้างความเข้าใจในเรื่องดังกล่าวอย่างถูกต้องตามหลักวิชาการ และอยู่บนพื้นฐานของข้อมูลจริงจากนักวิชาการ
    [​IMG]โอกาสเกิดแทบไม่มี
    ดร.สธน วิจารณ์วรรณลักษณ์ อาจารย์ประจำภาควิชาฟิสิกส์ เท้าความถึงวารสาร Nature Geoscience ที่ตีพิมพ์บทความของ ศ.จอห์น แมคคลอสคีย์ แห่งมหาวิทยาลัยอัลส์เตอร์ ในไอร์แลนด์เหนือ เนื้อหาเรียกร้องให้ประชาคมโลกเตรียมตัวสำหรับการกู้ภัยแผ่นดินไหว โดยมีการกล่าวว่าตำแหน่งที่เสี่ยงต่อการเกิดแผ่นดินไหว คือ สุมาตราตะวันตก แถบเมืองปาดัง ในเกาะสุมาตรา และหมู่เกาะเมนตาไว ประเทศอินโดนีเชีย รวมถึงผลกระทบของคลื่นสึนามิที่อาจจะเกิดขึ้น หากมีการเกิดแผ่นดินไหวตามคาดการณ์
    ในส่วนของประเทศไทย บทความของศาสตราจารย์จอห์นมีการกล่าวถึงเอาไว้ด้วย...
    “ข่าวที่ออกมาในตอนแรก ผมคิดว่ามีการเอาความคิดเห็นส่วนตัวไปสอดแทรกในข่าวที่เกิดขึ้น ไม่ได้มีการตรวจสอบกับแหล่งที่มาดั้งเดิมว่ามีความเป็นไปได้แค่ไหนที่จะเกิดสึนามิขึ้นในประเทศไทย”
    แต่ในความเป็นจริงแล้วข้อมูลที่ครบถ้วนจากงานวิจัยของศ.จอห์น แมคคลอสคีย์ ที่ได้ทำแบบจำลองสึนามิขึ้นมานั้น ดร.สธน บอกว่า พื้นที่เสี่ยง ณ ปัจจุบันที่วิตกกันว่าจะเกิดสึนามิน่าจะอยู่แถวสุมาตราตะวันตกค่อนไปทางใต้ แถบเมืองปาดัง และหมู่เกาะเมนตาไว แต่ไม่มีการระบุเวลาที่แน่นอนว่าจะเกิดเมื่อไหร่
    หากเกิดแผ่นดินไหวระดับ 8 ริกเตอร์จริง อินโดนีเซียที่อยู่ขอบเกาะสุมาตรา ซึ่งอยู่ติดกับรอยแยกซุนด้า จะได้รับสึนามิที่มีความสูงประมาณ 5 เมตร ในขณะที่ประเทศไทย บริเวณภูเก็ตนั้นจะมีคลื่นสูงเพียง 10 เซนติเมตรเท่านั้น และบริเวณที่จะเกิดแผ่นดินไหวก็ไม่ได้เข้าใกล้ประเทศไทยมากขึ้นอย่างที่เป็นข่าว แต่เป็นการเคลื่อนที่ห่างออกไปทางตอนใต้ ออกไปสู่มหาสมุทรอินเดียตอนใต้
    [​IMG]“การเกิดแผ่นดินไหวในแนวรอยเลื่อนที่มีการหดตัวเกิดจากการอัดแน่นของแผ่นดินสองส่วนที่ขยับเข้ามาชนกัน ในขณะที่เกิดแผ่นดินไหวก็จะมีพลังงานสะสมเข้าไปอยู่ในแนวเลื่อนนั้นมากขึ้นเรื่อยๆ คล้ายกับคันศรที่ค่อยขันให้ตึง และพอถึงจังหวะที่หลุดก็จะปล่อยพลังงานสะสมออกมา แต่หลังจากนั้นแล้วต้องอาศัยเวลาสะสม ซึ่งใช้เวลานานพอสมควร อาจจะ 1 ปี 10 ปี หรือ 100 ปี จนกว่าจะมีพลังงานมากพอที่จะเกิดแผ่นดินไหวอีกครั้งได้
    เพราะฉะนั้นถ้าพูดในหลักการก็คือ แผ่นดินจะไม่ไหวที่เดิมในระยะเวลาสั้นๆ และจากการค้นพบหลักฐานทางธรณีวิทยาที่ยืนยันได้ พบว่าในอดีตประเทศไทยเคยเกิดสึนามิมาแล้วเมื่อประมาณ 600 ปีที่ผ่านมา และมีแนวโน้มว่าเป็นสึนามิขนาดใหญ่เท่ากับเมื่อปี 2547 เพราะฉะนั้นการเกิดสึนามิครั้งหลังสุด พลังงานได้ถูกปลดปล่อยออกไปแล้วส่วนหนึ่ง ในช่วงนี้อยู่ในช่วงการสะสมพลังงานใหม่ที่ต้องใช้เวลานาน จึงมีโอกาสน้อยมาก หรือแทบไม่มีโอกาสที่จะเกิดสึนามิในประเทศไทย”
    เกิดได้หลายสาเหตุ
    รศ.ดร.ธนวัฒน์ จารุพงษ์สกุล อาจารย์ประจำภาควิชาธรณีวิทยา บอกว่า พิบัติภัยแผ่นดินไหว เป็นพิบัติภัยที่มนุษย์รู้จักกันมานานมาก และนักวิทยาศาสตร์ทั่วโลกก็ให้ความสนใจศึกษาเรื่องนี้มากว่า 200-300 ปี และพบว่าแผ่นดินไหวเป็นภัยพิบัติที่รับมือยากที่สุด เพราะไม่สามารถคาดเดาได้ว่าจะเกิดวันไหน เนื่องจากเป็นกระบวนการที่เกิดขึ้นภายในเปลือกโลก และจากการศึกษาของนักวิทยาศาสตร์ในระยะหลังๆ พบว่าแผ่นดินไหวนั้นเกี่ยวพันกับการเคลื่อนตัวของเปลือกโลก
    “สาเหตุหลักๆ ของการเกิดสึนามิมีมากมาย หนึ่งเกิดมาจากแผ่นดินไหว การเคลื่อนตัวของเปลือกโลก ซึ่งต้องมากกว่า 7 ริกเตอร์ขึ้นไปถึงจะเกิดสึนามิ นอกจากนั้นสิ่งที่เจอได้เป็นครั้งคราวในอดีตนั่นก็คือ การถล่มของตะกอนในท้องทะเล โดยเฉพาะตรงที่สโลปเยอะๆ ก็ทำให้เกิดสึนามิขึ้นได้
    [​IMG]อีกสาเหตุหนึ่งที่เห็นได้ อย่างเช่น ในฮาวายเราพบว่า ตรงรอยต่อของเปลือกโลกมีการสร้างเปลือกโลกใหม่ มีการระเบิดของภูเขาไฟใต้น้ำ ตรงนี้ทำให้เกิดการยกตัว หรือยุบตัวของแผ่นดิน ซึ่งทำให้เกิดสึนามิได้เช่นกัน อีกตัวหนึ่งในฐานข้อมูลก็เคยมีบ้างที่อุกกาบาตขนาดใหญ่ตกลงไปในมหาสมุทร และทำให้เกิดสึนามิ”
    ตามความเห็นของศ.จอห์น แมคคลอสคีย์ ที่ว่าอาจจะมีโอกาสที่จะเกิดเกิดสึนามิแถวสุมาตราตะวันตกค่อนไปทางใต้ แถบเมืองปาดัง และหมู่เกาะเมนตาไวนั้น รศ.ดร.ธนวัฒน์ บอกว่า ค่อนข้างเห็นด้วยว่าบริเวณดังกล่าวมีโอกาสสูง
    ส่วนบริเวณเดิมที่เคยเกิดขึ้นเมื่อปี 2547 นั้น มีโอกาสน้อย เพราะพลังงานได้ถูกปลดปล่อยไปแล้ว
    “แต่ทั้งนี้ทั้งนั้นเรื่องแผ่นดินไหวเป็นอะไรที่ไม่แน่นอน ผมการันตีไม่ได้ว่ามันจะไม่เกิด แต่ถ้าพูดถึงโอกาสมันก็มีน้อยมากๆ”
    [​IMG]การจัดการกับภัยพิบัติทางธรรมชาติ
    ผศ.ดร.สมบัติ อยู่เมือง อาจารย์ประจำภาควิชาธรณีวิทยา แนะนำว่า จากข่าวต่างๆ ที่ออกมานั้น หน่วยงานที่รับผิดชอบต้องช่วยกัน อย่างเช่น ศูนย์เตือนภัยแห่งชาติต้องรับผิดชอบในการให้ข้อมูลข่าวสารในการเตรียมความพร้อมด้านการเฝ้าระวัง และการเตือนภัยในเชิงรุกให้แก่ประชาชนอย่างมืออาชีพ เพื่อให้ประชาชนในพื้นที่ได้รับความมั่นใจ ไม่ตื่นตระหนกจนเกินควร และได้รับการแจ้งเตือนภัยอย่างเป็นระบบและประสิทธิภาพ รวมทั้งมีความน่าเชื่อถือที่สุดจากแหล่งอ้างอิงของรัฐเพียงแหล่งเดียว
    นอกจากนั้น หน่วยงานอื่นๆ ที่มีความปรารถนาดีต่อการช่วยเหลือประชาชนอย่างจริงใจต้องช่วยกันติดตาม ร้องเรียนการทำงานของหน่วยงานภาครัฐที่เกี่ยวข้องให้มีประสิทธิภาพอยู่เสมอในการให้ความรู้ การเฝ้าระวัง และเตือนภัย
    สุดท้ายคือ การให้ข่าวสารเกี่ยวกับพิบัติภัยธรรมชาติที่มีผลกระทบต่อความเป็นอยู่ สภาพจิตใจ สภาพเศรษฐกิจ ควรให้ข่าวสารในเชิงวิทยาศาสตร์ ที่มีหลักฐานทางวิชาการจากผู้ที่มีความรู้หลายส่วนประกอบกัน และผู้ที่ให้ข่าวต้องมีความรับผิดชอบมากกว่าแค่นำข่าวไปลงเท่านั้น
    หลายๆ คนคงจะเริ่มหายใจได้ทั่วท้อง โดยเฉพาะผู้ที่อยู่ในพื้นที่เสี่ยงภัยต่างๆ อย่างไรก็ตาม ควรเตรียมตัวให้พร้อมรับกับสถานการณ์ต่างๆ ที่อาจจะเกิดขึ้นได้เสมอ นั่นคือ ไม่ควรตั้งอยู่ในความประมาทนั่นเอง
     
  2. ๙๙๙๙๙๙๙๙๙

    ๙๙๙๙๙๙๙๙๙ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    30 กรกฎาคม 2005
    โพสต์:
    1,752
    ค่าพลัง:
    +2,808
    ไม่มีอะไรเกิดขึ้นก็ดีนะ จะได้ไม่มีความเสียใจ แต่ถ้าเกิดก็ต้องปลง
     
    แก้ไขครั้งล่าสุดโดยผู้ดูแล: 3 กุมภาพันธ์ 2010
  3. sutatip_b

    sutatip_b เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    13 สิงหาคม 2007
    โพสต์:
    3,197
    ค่าพลัง:
    +26,189
    ถามว่า ดร. สธนจบฟิสิกส์สาขาไหน

    <table width="90%" align="center" border="0" cellpadding="2" cellspacing="2"> </table>
    <table width="100%" border="0" cellpadding="0" cellspacing="0"><tbody><tr> <td bgcolor="#336699" height="28"> </td> </tr> <tr> <td bgcolor="#ffffff" height="2" valign="top">
    [​IMG][​IMG]
    </td> </tr> <tr> <td bgcolor="#ffffff" height="2" valign="top"> <table width="100%" border="0" cellpadding="2" cellspacing="2"> <tbody><tr> <td valign="top"> สธน วิจารณ์วรรณลักษณ์
    ข้อมูลส่วนตัว

    <table width="600" border="0" cellpadding="0" cellspacing="0"><tbody><tr valign="top"><td> <table width="450" border="0" cellpadding="0" cellspacing="0"> <tbody><tr><td colspan="2">[​IMG]</td></tr> <tr> <td class="data" width="200">ชื่อ-นามสกุล</td> <td class="lines" width="250" valign="middle">นายสธน วิจารณ์วรรณลักษณ์
    Mr. Sathon Vijarnwannaluk</td> </tr> <tr><td colspan="2">[​IMG]</td></tr> <tr> <td class="data" width="200">สายงาน/ตำแหน่ง</td> <td class="lines" width="250" valign="middle">อาจารย์</td> </tr> <tr><td colspan="2">[​IMG]</td></tr> <tr> <td class="data" width="200">ระดับ</td> <td class="lines" width="250" valign="middle">7</td> </tr> <tr><td colspan="2">[​IMG]</td></tr> <tr> <td class="data" width="200">สำนัก/กอง/ภาควิชา/คณะ</td> <td class="lines" width="250" valign="middle">ภาควิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์</td> </tr> <tr><td colspan="2">[​IMG]</td></tr> <tr> <td class="data" width="200">กรม</td> <td class="lines" width="250" valign="middle">จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย</td> </tr> <tr><td colspan="2">[​IMG]</td></tr> <tr> <td class="data" width="200">กระทรวง</td> <td class="lines" width="250" valign="middle">กระทรวงศึกษาธิการ</td> </tr> <tr><td colspan="2">[​IMG]</td></tr> <tr> <td class="data" width="200">ความเชี่ยวชาญ/ความสนใจ</td> <td class="lines" width="250" valign="middle">1. Semiconductor Physics (Raman Scattering)
    2. Astronomy and Astrophysics
    3. Physics Education</td> </tr> <tr><td colspan="2">[​IMG]</td></tr> </tbody></table> ส่ง e-mail ถึง สธน วิจารณ์วรรณลักษณ์
    </td><td align="right">[​IMG]</td></tr></tbody></table>ข้อมูลการศึกษา


    ปริญญาตรี <table width="600" border="0" cellpadding="0" cellspacing="0"> <tbody><tr><td colspan="2">[​IMG]</td></tr> <tr> <td class="data" width="200">แหล่งทุน</td> <td class="lines" width="400" valign="middle">ทุนส่วนตัว</td> </tr> <tr><td colspan="2">[​IMG]</td></tr> <tr> <td class="data" width="200">ชื่อปริญญา</td> <td class="lines" width="400" valign="middle">วิทยาศาสตรบัณฑิต,ปริญญา</td> </tr> <tr><td colspan="2">[​IMG]</td></tr> <tr> <td class="data" width="200">สาขาวิชาเอก</td> <td class="lines" width="400" valign="middle">ฟิสิกส์</td> </tr> <tr><td colspan="2">[​IMG]</td></tr> <tr> <td class="data" width="200">เน้น</td> <td class="lines" width="400" valign="middle">ดาราศาสตร์</td> </tr> <tr><td colspan="2">[​IMG]</td></tr> <tr> <td class="data" width="200">สถาบันการศึกษา</td> <td class="lines" width="400" valign="middle">จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย</td> </tr> <tr><td colspan="2">[​IMG]</td></tr> <tr> <td class="data" width="200">ประเทศ</td> <td class="lines" width="400" valign="middle">ไทย</td> </tr> <tr><td colspan="2">[​IMG]</td></tr> <tr> <td class="data" width="200">สำเร็จการศึกษาปี พ.ศ.</td> <td class="lines" width="400" valign="middle">2528</td> </tr> <tr><td colspan="2">[​IMG]</td></tr> </tbody></table>
    ปริญญาโท <table width="600" border="0" cellpadding="0" cellspacing="0"> <tbody><tr><td colspan="2">[​IMG]</td></tr> <tr> <td class="data" width="200">แหล่งทุน</td> <td class="lines" width="400" valign="middle">ทุนส่วนตัว</td> </tr> <tr><td colspan="2">[​IMG]</td></tr> <tr> <td class="data" width="200">ชื่อปริญญา</td> <td class="lines" width="400" valign="middle">วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต,ปริญญา</td> </tr> <tr><td colspan="2">[​IMG]</td></tr> <tr> <td class="data" width="200">สาขาวิชาเอก</td> <td class="lines" width="400" valign="middle">ฟิสิกส์</td> </tr> <tr><td colspan="2">[​IMG]</td></tr> <tr> <td class="data" width="200">เน้น</td> <td class="lines" width="400" valign="middle">ดาราศาสตร์</td> </tr> <tr><td colspan="2">[​IMG]</td></tr> <tr> <td class="data" width="200">สถาบันการศึกษา</td> <td class="lines" width="400" valign="middle">จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย</td> </tr> <tr><td colspan="2">[​IMG]</td></tr> <tr> <td class="data" width="200">ประเทศ</td> <td class="lines" width="400" valign="middle">ไทย</td> </tr> <tr><td colspan="2">[​IMG]</td></tr> <tr> <td class="data" width="200">สำเร็จการศึกษาปี พ.ศ.</td> <td class="lines" width="400" valign="middle">2532</td> </tr> <tr><td colspan="2">[​IMG]</td></tr> <tr> <td class="data" width="200">วิทยานิพนธ์</td> <td class="lines" width="400" valign="middle">Design and construction of a grating speetrograph and its utilization in collecting and priliminavy analysis of astronomical data</td> </tr> <tr><td colspan="2">[​IMG]</td></tr> </tbody></table>
    ปริญญาเอก <table width="600" border="0" cellpadding="0" cellspacing="0"> <tbody><tr><td colspan="2">[​IMG]</td></tr> <tr> <td class="data" width="200">แหล่งทุน</td> <td class="lines" width="400" valign="middle">ทุนรัฐบาล (กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี : ว.ว. )</td> </tr> <tr><td colspan="2">[​IMG]</td></tr> <tr> <td class="data" width="200">ชื่อปริญญา</td> <td class="lines" width="400" valign="middle">DOCTOR OF PHILOSOPHY</td> </tr> <tr><td colspan="2">[​IMG]</td></tr> <tr> <td class="data" width="200">สาขาวิชาเอก</td> <td class="lines" width="400" valign="middle">ฟิสิกส์</td> </tr> <tr><td colspan="2">[​IMG]</td></tr> <tr> <td class="data" width="200">เน้น</td> <td class="lines" width="400" valign="middle">Semiconductor Physics</td> </tr> <tr><td colspan="2">[​IMG]</td></tr> <tr> <td class="data" width="200">สถาบันการศึกษา</td> <td class="lines" width="400" valign="middle">VIRGINIA POLYTECHNIC INSTITUTE & STATE UNIVERSITY</td> </tr> <tr><td colspan="2">[​IMG]</td></tr> <tr> <td class="data" width="200">ประเทศ</td> <td class="lines" width="400" valign="middle">สหรัฐอเมริกา</td> </tr> <tr><td colspan="2">[​IMG]</td></tr> <tr> <td class="data" width="200">สำเร็จการศึกษาปี พ.ศ.</td> <td class="lines" width="400" valign="middle">2545</td> </tr> <tr><td colspan="2">[​IMG]</td></tr> <tr> <td class="data" width="200">วิทยานิพนธ์</td> <td class="lines" width="400" valign="middle">Optical Studies of GaAs:C grown at low temperature and of localized vibrations in normal GaAs:C</td> </tr> <tr><td colspan="2">[​IMG]</td></tr> </tbody></table> โครงการวิจัย


    <table width="600" border="0" cellpadding="0" cellspacing="0"><tbody><tr><td>Optical Studies of Semiconductor by Raman Scattering and InfraredSpeefruscopy</td></tr></tbody></table> <table width="600" border="0" cellpadding="0" cellspacing="0"> <tbody><tr><td colspan="2">[​IMG]</td></tr> <tr> <td class="data" width="200">ผู้ให้ทุน</td> <td class="lines" width="400" valign="middle">ทุนรัชดาภิเษกสมโภช</td> </tr> <tr><td colspan="2">[​IMG]</td></tr> <tr> <td class="data" width="200">ผู้วิจัยร่วม</td> <td class="lines" width="400" valign="middle">นายอธิดม มาน้อย</td> </tr> <tr><td colspan="2">[​IMG]</td></tr> <tr> <td class="data" width="200">สาขาวิชา</td> <td class="lines" width="400" valign="middle">ฟิสิกส์</td> </tr> <tr><td colspan="2">[​IMG]</td></tr> <tr> <td class="data" width="200">สาขาวิจัย</td> <td class="lines" width="400" valign="middle">สารกึ่งตัวนำ</td> </tr> <tr><td colspan="2">[​IMG]</td></tr> <tr> <td class="data" width="200">ระยะวิจัย</td> <td class="lines" width="400" valign="middle"><nobr> 2546</nobr></td> </tr> <tr><td colspan="2">[​IMG]</td></tr> <tr> <td class="data" width="200">สถานภาพ</td> <td class="lines" width="400" valign="middle">อยู่ระหว่างการดำเนินการ</td> </tr> <tr><td colspan="2">[​IMG]</td></tr> </tbody></table>
    <table width="600" border="0" cellpadding="0" cellspacing="0"><tbody><tr><td>การศึกษาสมบัติเชิงแสงของฟิล์มบาง GaAsN</td></tr></tbody></table> <table width="600" border="0" cellpadding="0" cellspacing="0"> <tbody><tr><td colspan="2">[​IMG]</td></tr> <tr> <td class="data" width="200">ผู้ให้ทุน</td> <td class="lines" width="400" valign="middle">สวทช. กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี</td> </tr> <tr><td colspan="2">[​IMG]</td></tr> <tr> <td class="data" width="200">ผู้วิจัยร่วม</td> <td class="lines" width="400" valign="middle">อ.ดร.สกุลธรรม เสนาะพิมพ์</td> </tr> <tr><td colspan="2">[​IMG]</td></tr> <tr> <td class="data" width="200">สาขาวิชา</td> <td class="lines" width="400" valign="middle">ฟิสิกส์</td> </tr> <tr><td colspan="2">[​IMG]</td></tr> <tr> <td class="data" width="200">สาขาวิจัย</td> <td class="lines" width="400" valign="middle">สารกึ่งตัวนำ</td> </tr> <tr><td colspan="2">[​IMG]</td></tr> <tr> <td class="data" width="200">ระยะวิจัย</td> <td class="lines" width="400" valign="middle"><nobr>1 พฤษภาคม 2548</nobr></td> </tr> <tr><td colspan="2">[​IMG]</td></tr> <tr> <td class="data" width="200">ถึง</td> <td class="lines" width="400" valign="middle"><nobr>30 เมษายน 2549</nobr></td> </tr> <tr><td colspan="2">[​IMG]</td></tr> <tr> <td class="data" width="200">สถานภาพ</td> <td class="lines" width="400" valign="middle">อยู่ระหว่างการดำเนินการ</td> </tr> <tr><td colspan="2">[​IMG]</td></tr> <tr> <td class="data" width="200">บทคัดย่อ</td> <td class="lines" width="400" valign="middle">Recently the progress in the growth of small band-gap III-V-N alloy semiconductors such as GaAs N and GaP N promises major improvements in the performence of light-emitting optoelectronic devices (1-3) based on III-V materials and their quantum well (QW)structures.The studies of dilute GaAs N alloys are of great fundamental interest</td> </tr> <tr><td colspan="2">[​IMG]</td></tr> </tbody></table> ผลงานวิจัย/วิชาการ

    <table width="600" border="0" cellpadding="0" cellspacing="0"><tbody><tr><td>
    • "Properties of carbon-doped low-temperature GaAs and InP grown by solid-source molecular-beam epitaxy using CBr4" Liu. W.K., Lubyshev D.I., Specht P., Zhao R., Webber E.R., Gebauer J., SpringThorpe A.J., Streater R.W., Vijarnwannaluk S., Songprokob W., Zallen R. Journal of Vacuum Science and Technology B, vol.18, no.3, May 2000, pp.1594-7. USA
    • "Local-mode infrared avsorption in heavily-doped p-type MBE grown GaAs:C." S. Vijarnwannaluk, W. Songprakob, R. Zallen (Dept. of Physics, Virginia Tech.), W.K. Liu, K.L. Bacher (Quantum Epitaxial Designs.) APS 1999 Centennial Meeting, Atlanta, Georgia
    • "Optical studies of GaAs:C grown at low temperatures by molecular bean epitaxy" S. Vijarnwannaluk, R. Zallen (Virginia Tech, Blacksburg, VA), W.K. Liu (IQE Inc., Bethlehem), M.L. Hsieh, R.A. Stradling (Imperial College, London). APS 2001 Meeting, Seattle, Washington
    </td></tr></tbody></table></td></tr></tbody></table></td></tr></tbody></table>ฟิสิกส์ของเซมิคอนดักเตอร์

    จะรู้เรื่องธรณีวิทยามากไหม...
     
  4. sutatip_b

    sutatip_b เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    13 สิงหาคม 2007
    โพสต์:
    3,197
    ค่าพลัง:
    +26,189
    <table border="0" cellpadding="5" cellspacing="5"><tbody><tr><td valign="top"> [​IMG]
    </td> <td valign="top">Professor John McCloskey
    John is the leader and founder of the Geophysics Research Group.
    He is from Derry and his main research interests involve the application of ideas of chaos and complexity to a variety of geophysical problems including earthquake dynamics, fluid flow in fractured porous rock, ice sheet processes and aeolian sediment transport.
    </td> </tr> <tr> <td valign="top"> Education
    Experience
    Community Service
    Awards
    Publications
    Research Grants
    </td> <td> Education
    1980 B.Sc. (Hons) Geology with Physics, Queen's University Belfast
    1982 PGCE Physics (Chemistry) Queen's University Belfast
    1993 D.Phil. Geophysics แปลว่าธรณีฟิสิกส์University of Ulster
    Thesis title: 'The Dimensionality of Crustal Structure'
    Experience
    2002-2006 Head of School, Environmental Sciences, University of Ulster
    2001-present Professor of Geophysics, University of Ulster
    1999-2001 Reader in Environmental Science, University of Ulster
    1995-1999 Senior Lecturer in Environmental Science, University of Ulster
    1993-1995 Lecturer in Environmental Science, University of Ulster
    Mar - Nov 1993 Research Officer Environmental Science, University of Ulster
    1990-1993 Tutor with Open University
    1983 -1993 Teacher of Physics, Dept. Education for NI
    Community Service
    Member of the NERC Geophysical Equipment Pool Steering Committee
    Member of the National Committee for Geodesy and Geophysics
    Member of University of Ulster Research Foresight Group
    Reviewer for NERC, Phys. Rev. Lett., J. Geophys. Res., Geophys. J. Int., Geophys. Res. Lett., and EPSL.
    Awards
    European Geophysical Society รางวัลนักวิทยาศาสตร์หนุ่ม เรื่องโมเดลการเกิดแผ่นดินไหวบนชิ้นติดกันของรอยแยกที่มีความเปลี่ยนแปลงแล้ว'Young Scientist's Publication Award' 1994 for paper 'A Hierarchical Model for Earthquake Generation on Coupled Segments of a Transform Fault.' Geophysical Journal International 115, 538-551
    Publications
    <o:p></o:p>
    McCloskey, J., Antonioli A , Piatanesi, A., Sieh , K., Steacy, S., Nalbant, S., Cocco, M, Guinchi, C., Huang, J., and Dunlop, P., Tsunami risk in the Indian Ocean from threatened megathrust earthquake west of Sumatra, Earth and Planetary Science Letters, 265, 61-81, 2008. ( pdf )
    McCloskey, J., Antonioli A , Piatanesi, A., Sieh , K., Steacy, S., Nalbant, S., Cocco, M, Guinchi, C., Huang, J., and Dunlop, P., Near-field Propagation of Tsunamis from Megathrust Earthquakes, Geophysical Research Letters, 34, L14316, doi:10.1029/2007GL030494, 2007. ( pdf )
    Nalbant, S.S., S. Steacy, and J. McCloskey, Stress Transfer Relations Among the Earthquakes that Occurred in Kerman Province, Southern Iran Since 1981, Geophysical Journal International, in press, 2006. ( pdf )
    Cassidy, R., P.J. Morrow and J. McCloskey, A machine vision system for quantifying velocity fields in complex rock models, Machine Vision and Applications 16(6): 343–355, 2006. ( pdf )
    McCloskey, J., S.S. Nalbant, and S. Steacy, Earthquake risk from co-seismic stress,Nature, 434, 291, 2005.(pdf)
    Cassidy, R., McCloskey, J., and P. Morrow, Fluid velocity fields in 2D heterogeneous porous media: empirical measurement and validation of numerical prediction, Understanding the Micro to Macro Behavior of Rock-Fluid Systems, Geological Society, London, Special Publications, 249, 115-130, 2005. ( pdf )
    Steacy, S., S.S. Nalbant, J. McCloskey, C. Nostro, O. Scotti, and D. Baumont, Onto what planes should Coulomb stress perturbations be resolved?, Journal of Geophysical Research, 110, B05S15, doi:10.1029/2004JB003356, 2005. (pdf)
    Steacy, S., J. Gomberg, and M. Cocco, Introduction to Special Section: Stress transfer, earthquake triggering, and time-dependent seismic hazard, Journal of Geophysical Research, 110, B05S01, doi:10.1029/2005JB003692, 2005. (pdf)
    Nalbant, S.S., Steacy, S., Sieh, K., Natawidjaja, D., and J. McCloskey, Updated earthquake hazard in Sumatra, Nature, 435, 756-757, 2005.<o:p>(pdf) </o:p>
    Nalbant, S.S., J. McCloskey, and S. Steacy, Lessons on the calculation of static stress loading from the 2003 Bingol, Turkey earthquake, Earth and Planetary Science Letters, 235, 632-640, 2005. (pdf)
    Steacy, S., J. McCloskey, D. Marsan, and S.S. Nalbant, The dependence of static stress calculations on the details of the earthquake slip distribution, Journal of Geophysical Research, 109, B04303, doi:10.1029/2002JB002365, 2004. (pdf)
    Utkucu, M., S. Nalbant, J. McCloskey, S. Steacy, and O. Alptchin, Slip Distribution and stress changes associated with the November 12, 1999, Düzce (Turkey) Earthquake (Mw=7.1), Geophysical Journal International, 153, 229-241, 2003.<o:p> (pdf)</o:p>
    McCloskey, J., S.S. Nalbant, S. Steacy, O. Scotti, C. Nostro, and D. Baumont, Structural constraints on the spatial distribution of aftershocks, Geophysical Research Letters, 30 (12), 1610-1614, 2003. (pdf)<o:p> </o:p>
    McMenamin, R., Cassidy, R., and McCloskey, J., Self-organised criticality at the onset of aeolian sediment transport, Journal of Coastal Research, SI36, 498-505, 2002.<o:p> </o:p>
    Nalbant, S.S., J. McCloskey, S. Steacy, and A.A. Barka, Stress accumulation and increased seismic risk in Eastern Turkey, Earth and Planetary Science Letters, 195, 291-298, 2002. (pdf) <o:p> </o:p>
    Cassidy, R., J. McCloskey and P.J. Morrow, Estimating fluid flow velocities: an image analysis approach, Proc. IEEE International Conference on Image Processing (ICIP2001), Vol. I, 285-288, 2001.
    Marsan, D., C. Bean, S. Steacy, and J. McCloskey, Observation of diffusion processes in earthquake populations and implications for the predictability of seismicity systems, Journal of Geophysical Research, 105, 28081-28094, 2000. (pdf)
    Marsan, D., C. Bean, S. Steacy, and J. McCloskey, Spatio-temporal analysis of stress diffusion in a mining-induced seismicity system, Geophysical Research Letters, 26, 24, 3697-3700, 1999. (pdf)
    Steacy, S., and J. McCloskey, Heterogeneity and the earthquake magnitude-frequency distribution, Geophysical Research Letters, 26, 7, 899-902, 1999. (pdf)
    Dardis, O. and McCloskey, J., Permeability-Porosity Relationships from Numerical Simulations of Fluid Flow, Geophysical Research Letters, <>25, 9, 1471-1474, 1998.
    Hamilton, A. and McCloskey, J., The predictability of large earthquakes: evidence from an analogue model of earthquake rupture, Pure and Applied Geophys.,
    Steacy, S., and J. McCloskey, What controls an earthquake's size? Results from a heterogeneous cellular automaton, Geophysical Journal International, 133, F11-F14, 1998.
    Hamilton, A. and McCloskey, J., Breakdown in power-law scaling in an analogue model of rupture and stick slip, Geophysical Research Letters,, 4, 465-468, 1997.
    Jackson, D.W.T. and McCloskey, J., Preliminary results from a field investigation of aeolian sand transport using high resolution wind and transport measurements, Geophysical Research Letters,24, 2, 163-166, 1997.
    O'Doherty, K.B., Bean, C.J. and McCloskey, J., Coda wave imaging of the Long Valley caldera using a spatial stacking technique, Geophy Res Lett,>24, 13, 1547-155, 1997.
    Dardis, O. and McCloskey, J., A modified lattice Boltzmann scheme for the calculation of permeability in complex geological media in The proceedings of the second International Conference on Fluid Evolution, Migration and Interaction in Sedimentary Basins and Orogenic Belt,. Hendry, J, Carey, P Parnell, J. Ruffell A. and Worden, R. (eds) Anthony Rowe, Wiltshire, 1997.
    Dardis, O. and McCloskey, J., A lattice Boltzmann scheme with real numbered solid density for the simulation of flow in porous media, Phys. Rev. E,4, 4837-4837, 1997.
    Steacy, S., J. McCloskey, C. Bean, and J. Ren, Simulating seismicity in Creighton Mine: A 3-D self-organized critical model, in Gibowicz, S.J., and S. Lasocki, eds., Rockbursts and Seismicity in Mines, A.A. Balkema, Rotterdam, p. 201-206, 1997. <o:p> </o:p>
    Steacy, S., J. McCloskey, C. Bean, and J. Ren, Heterogeneity in a self-organized critical earthquake model, Geophysical Research Letters, 23, 4, 383-386, 1996. (pdf)
    Cook, S and McCloskey, J., Comment on the predictive equation published by Spanton (1983), Atmospheric Environment, 29, 22, 3381-3383, 1995.
    Bean, C.J. and McCloskey, J., Constraints on Statistical Models for Upper Crustal Heterogeneity, First Break, 13, 3, 105-110, 1995.<o:p> </o:p>
    Sherman, D.J., Carter, R.W.G., Jackson, D.W.T., McCloskey, J., Davidson-Arnott, R.G.D., Gares, P.A., Jackson, N.L., Nordstrom, K.F., The Aeolus Project: Measuring Coastal Wind and Sediment System,. Proceedings of Coastal Dynamics '94, Feb. 21-25 Barcelona, Spain. pp. 476-487, 1994.
    Gomes, N., Andradre, C., Nevin, G.H., McCloskey, J. and Jackson, D.W.T., Aeolian sediment transport in the Culatra Barrier, Ria Formosa, (Algarve-Portugal). Proceedings of International Symposium Littoral '94, Lisboa, Sept. 26-29, pp. 509-516, 1994.<o:p> </o:p>
    McCloskey, J. and Bean, C.J., Temporally Unstable Recurrence Behaviour in Large Earthquakes Due to Breaks in Fractal Scaling, Science, V266, 410, 1994.
    McCloskey, J., A Hierarchical Model for Earthquake Generation on Coupled Segments of a Transform Fault, Geophysical Journal International, 115, 538-551, 1993.<o:p> </o:p>
    Bean, C.J. and McCloskey, J., Power-law Random Behaviour of Seismic Reflectivity in Boreholes: Implications for Chaotic Crustal Deformation Models, Earth and Planetary Science Letters,V117, 423-429, 1993. <o:p> </o:p>
    McCloskey, J., Bean, C.J. and O'Reilly, B., An Earthquake Model with Magnitude Sensitive Dynamics, Geophysical Research Letters, V20, 13, 1403, 1993. <o:p> </o:p>
    McCloskey, J. and Bean, C.J., Time and Magnitude Predictions in Shocks due to Chaotic Fault Interactions, Geophysical Research Letters 19, 2, 119-122, 1992.<o:p> </o:p>
    <o:p></o:p>
    McCloskey, J., Bean, C.J. and Jacob, B., Evidence for Chaotic Behaviour in Seismic Wave Scattering, Geophysical Research Letters, 18, 10, 1901-1904, 1991. <o:p> </o:p>
    Research Grants
    Leverhulme Trust. Personal research fellowship: "Modelling Seismicity in a fractally fractured crust" <o:p> </o:p>
    European Social Fund. "Preferred porosity directions and azimuthal variations of the fractal statistics of the upper lithosphere"<o:p> </o:p>
    INCO Mines Ltd. with Dr. C.J. Bean, University College "Modelling rockbursts and mining induced seismicity in Creighton mine, Sudbury, Ontario, Canada using customised, self-organised critical cellular automata with long range deterministic coupling"
    EC/Fobairt. "The Formulation of a Coastal Sensitivity Index Based on Wave Sediment Interaction"
    EC. with Prof. Julian Orford, and Prof. R.W.G. Carter, "Variation in coastal forcing and its response along the European Atlantic shoreline"
    Esme Fairbairn Trust. with Dr. Derek Jackson, Department of Environmental Studies: "Experimental and Theoretical Investigation of Littoral Aeolian Sediment Transport and its Importance in Coastal Management."<o:p> </o:p>
    INCO mines Canada. Stage II of Seismic Simulation Project<o:p> </o:p>
    Natural Environment Research Council "A Search for Repeating Microearthquakes in the G.Corinth, Greece"<o:p> </o:p>
    NERC Geophysical Equipment Pool<o:p> </o:p>
    Natural Environment Research Council with Sandy Steacy. An Investigation of the Relation Between Coulomb Stress Perturbations, Large Aftershocks, and Fault Structure.<o:p> </o:p>
    European Commission Framework V with Sandy Steacy. Towards Practical, Real-Time Estimation of Spatial Aftershock Probabilities: a Feasibility Study in Earthquake Hazard (PRESAP).<o:p> </o:p>
    INTEREG "An integrated geophysical approach to the preliminary assessment of potential waste disposal sites"
    NERC "Fully determined fluid velocity fields for complex 2D media with multi-scaled heterogeneity
    Engineering and Physical Sciences Research Council with Sandy Steacy and Philip Morrow.An Investigation of the Origin and Nature of the Gutenberg-Richter Relation.
    Natural Environment Research Council with Sandy Steacy and Suleyman Nalbant. Urgent assessment of the location and orientation of the Bingöl rupture by mapping surface breaks, J. McCloskey.
    European Commission Framework VI Marie Curie with Sandy Steacy and Andrea Antonioli, Constrained heterogeneous loading of complex fault networks (CONSTRAIN).
    Natural Environment Research Council with Tony Bjourson and Rachel Cassidy. An investigation of the time dependency of concentration of naked and armoured DNA tracers under environmental conditions.
    Natural Environment Research Council with Suleyman Nalbant and Sandy Steacy. The influence of viscoelastic relaxation on the effective duration of Coulomb stress perturbations.
    Natural Environment Research Council with Sandy Steacy and Suleyman Nalbant. Tsunami Risk in the Indian Ocean from Threatened M>8 Event Under Mentawai Islands.
    Royal Society with Sandy Steacy. Summer Science Exhibition.
    Engineering and Physical Sciences Research Council with Sandy Steacy. Assessing tsunami hazard in Sumatra: A Royal Society summer science exhibit.
    Griffith Geoscience Research Award: Capability building for the enhanced geophysical interpretation of the dynamics of CO2 sequestration, J. McCloskey, C. Bean (UCD) and R. Cassidy, 2007-2012.​
    Natural Environment Research Council: Urgent assessment of the earthquake and tsunami hazard in western Sumatra following the 09/07 Mentawai Islands earthquake sequence, J. McCloskey, S. Steacy, and S. S. Nalbant, 2007 – 2008. ​
    Natural Environment Research Council: Evaluation of historical earthquake interaction and seismic risk to western Sumatra, J. McCloskey, S. Steacy, and S. S. Nalbant, 2008 – 2009. ​

    </td></tr></tbody></table>
     
  5. sutatip_b

    sutatip_b เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    13 สิงหาคม 2007
    โพสต์:
    3,197
    ค่าพลัง:
    +26,189
    ข้อความดั้งเดิมโดยคุณ sutatip_b [​IMG]
    เดี๋ยวนี้แม้แต่รายการทีวีระบบก็จัดให้ดู

    เมื่อกลางปีที่แล้ว พาสามีไปพบแพทย์ ได้ดูแนชันแนลจีโอกราฟฟิค (ที่บ้านไม่มีเคเบิ้ล)
    ได้ดูเรื่องภัยนาร์กิส จึงได้รู้ว่าคนส่วนใหญ่ตายเพราะคลื่นยักษ์และน้ำท่วมจากคลื่นที่เกิดจากพายุ ไม่ใช่ตายเพราะพายุจริงๆ
    ที่ติดตามภาพนิมิตรของกัลยาณมิตรเรื่องคลื่นยักษ์เดือนพค. จากมหาสมุทรอินเดียนั้นมาจริงๆ คนตายสิบเท่าสึนามิ ๒๐๐๔ จริงแต่ไม่ได้มาจากแผ่นดินไหว

    วันนี้ที่บ้านมีเคเบิ้ลแล้ว เพิ่งย้ายจากเคเบิ้ลปรกติเป็นยูบีซีเดิมเมื่อเดือนก่อน
    สามีดูช่องประวัติศาสตร์ กลับมีรายการเรื่องแผ่นดินไหวภูเขาไฟระเบิดที่น่าจะเกิดทีวนอุทยานเยลโล่สโตน สหรัฐอเมริกา

    เขาว่าเทือกเขางูใกล้เยลโล่สโตนนั้นเป็นร่องรอยการประทุของภูเขาไฟเป็นแถว (แบบงูสวัสดิ์) แต่ละจุดห่างกันหกแสนปี ทะเลสาปในอุทยานคือปล่องที่ปิดแล้วจากการประทุครั้งสุดท้าย ที่เกิดเมื่อราวหกแสนปีเศษที่ผ่านมา

    อึ๋ย หกแสนปีล่วงไปแล้ว ของใหม่จะประทุเมื่อไร
    ปล่องแมกม่าใต้ดินลึก ๔๐๐ กม. มีแมกม่าเหลว เคลื่อนตัวเหมือนงูใต้ดินด้วยความร้อนสูง
    ความร้อนนี้เองที่ให้กำเนิดน้ำพุร้อนและธารน้ำร้อนทั้งหมดในวนอุทยานเยลโล่สโตน

    ก่อนภูเขาไฟระเบิดจะมีแผ่นดินไหวมาก
    เยลโล่สโตนมีแผ่นดินไหววันละ ๑๐-๑๒ ครั้งทุกวัน แต่ไหวแบบแผ่วๆ
    ตั้งแต่มกรา ๐๙ เยลโล่สโตนมีแผ่นดินไหวทุกวันๆละ ๓๖-๔๘ ครั้ง ๓-๔ ริกเตอร์
    แถมผืนดินพองตัวสูงขึ้น ขณะนี้เรือทีจมทะเลสาปถูกยกขึ้นมาพ้นน้ำแล้ว
    นักธรณีวิทยาบอกว่า ก่อนภูเขาไฟจะระเบิดแผ่นดินเหนือปล่องจะยกตัวสูงขึ้น
    เหมือนเราเป่าลูกโป่งแล้วมันพองขึ้นๆนั่นเอง
    นักะรณีเขาวัดจีพีเอสพื้นดิน
    พบว่าขณะนี้มันสูงขึ้นปีละสอง-สามนิ้ว จริงๆ

    เยลโล่สโตนแผ่นดินไหว ๔ ริกเตอร์เขายังกลัวๆ แล้ว ring of fire ของเราไหววันละสี่ห้าหน ห้าริกเตอร์ขึ้นทุกวันนี่หล่ะ

    นึกถึงกว๊านพะเยา ปัจจุบันวัดที่จมไปหลายร้อยปีโผล่ขึ้นมา
    หรือเป็นปล่องภูเขาไฟโบราณ....
    เห้นไหมว่าเรามีแนวตะเข็บน้ำพุร้อน ตั้งแต่ระนองขึ้นไปทางพร้าว ฟังแล้วเหมือนเยลโล่สโตนไหม
    ที่คำทำนายกล่าวว่าภูเขาไฟจะระเบิดที่ทิวเขาตะนาวศรี และอีกที่ๆอีสาณ (จำชื่อไม่ได้)
    ทิวเขาตะนาวศรีก้กั้นไทยกับพม่า จากตะวันตกขึ้นไปถึงทางเหนือ

    คณะมโนมยิทธิเห็เส้นไฟสีอมแดงอมส้มวิ่งใต้ดิน
    ชาวพลังเมื่อปีที่แล้วสัมผัสได้ถึงเส้นไฟใต้พิพภพวิ่งใต้ประเทศไปบุรีรัมย์

    หินที่ภูหินร่องกล้า เพชรบูรณ์ เป็นแมกม่าเย็นตัวจากภูเขาไฟ

    หมดนี่ข้อมูลแจ้งอะไรแก่เรา
    เรานี้เป็นแค่มดปลวกในโลกใบนี้...
     
  6. sutatip_b

    sutatip_b เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    13 สิงหาคม 2007
    โพสต์:
    3,197
    ค่าพลัง:
    +26,189
    [​IMG]ที่นิวกิีนี
    ๑ กพ ๕๓

    Update time = Tue Feb 2 16:02:02 UTC 2010


    <table border="0" cellpadding="1" cellspacing="1"> <tbody><tr> <th>
    </th> <th align="center">MAG </th> <th align="center">UTC DATE-TIME
    y/m/d h:m:s
    </th> <th align="center">LAT
    deg
    </th> <th align="center">LON
    deg
    </th> <th align="center">DEPTH
    km
    </th> <th> Region</th> </tr> <tr><td align="center" nowrap="nowrap" valign="top">MAP</td><td align="center" nowrap="nowrap" valign="top"> 5.0 </td><td align="center" nowrap="nowrap" valign="top">2010/02/02 06:45:06 </td><td align="right" nowrap="nowrap" valign="top"> -0.322 </td><td align="right" nowrap="nowrap" valign="top"> -16.199 </td><td align="right" nowrap="nowrap" valign="top"> 10.0 </td><td valign="top"> NORTH OF ASCENSION ISLAND</td></tr> </tbody></table><hr> <table border="0" cellpadding="1" cellspacing="1"> <tbody><tr><td align="center" nowrap="nowrap" valign="top">MAP</td><td align="center" nowrap="nowrap" valign="top"> 6.2 </td><td align="center" nowrap="nowrap" valign="top">2010/02/01 22:28:18 </td><td align="right" nowrap="nowrap" valign="top"> -6.102 </td><td align="right" nowrap="nowrap" valign="top"> 154.424 </td><td align="right" nowrap="nowrap" valign="top"> 33.0 </td><td valign="top"> BOUGAINVILLE REGION, PAPUA NEW GUINEA</td></tr> </tbody></table><hr> <table border="0" cellpadding="1" cellspacing="1"> <tbody><tr><td align="center" nowrap="nowrap" valign="top">MAP</td><td align="center" nowrap="nowrap" valign="top"> 5.1 </td><td align="center" nowrap="nowrap" valign="top">2010/01/31 15:18:45 </td><td align="right" nowrap="nowrap" valign="top"> -18.751 </td><td align="right" nowrap="nowrap" valign="top"> 169.394 </td><td align="right" nowrap="nowrap" valign="top">231.5 </td><td valign="top"> VANUATU</td></tr> <tr><td align="center" nowrap="nowrap" valign="top">MAP</td><td align="center" nowrap="nowrap" valign="top"> 5.1 </td><td align="center" nowrap="nowrap" valign="top">2010/01/31 09:55:46 </td><td align="right" nowrap="nowrap" valign="top"> -25.489 </td><td align="right" nowrap="nowrap" valign="top"> -176.662 </td><td align="right" nowrap="nowrap" valign="top"> 35.0 </td><td valign="top"> SOUTH OF THE FIJI ISLANDS</td></tr> <tr><td align="center" nowrap="nowrap" valign="top">MAP</td><td align="center" nowrap="nowrap" valign="top"> 5.3 </td><td align="center" nowrap="nowrap" valign="top">2010/01/31 07:02:47 </td><td align="right" nowrap="nowrap" valign="top"> -2.920 </td><td align="right" nowrap="nowrap" valign="top"> 100.863 </td><td align="right" nowrap="nowrap" valign="top"> 61.7 </td><td valign="top"> KEPULAUAN MENTAWAI REGION, INDONESIA</td></tr> <tr><td align="center" nowrap="nowrap" valign="top">MAP</td><td align="center" nowrap="nowrap" valign="top"> 5.0 </td><td align="center" nowrap="nowrap" valign="top">2010/01/31 02:01:10 </td><td align="right" nowrap="nowrap" valign="top"> -20.897 </td><td align="right" nowrap="nowrap" valign="top"> -178.653 </td><td align="right" nowrap="nowrap" valign="top">544.5 </td><td valign="top"> FIJI REGION</td></tr> </tbody></table><hr> <table border="0" cellpadding="1" cellspacing="1"> <tbody><tr><td align="center" nowrap="nowrap" valign="top">MAP</td><td align="center" nowrap="nowrap" valign="top"> 5.1 </td><td align="center" nowrap="nowrap" valign="top">2010/01/30 23:00:03 </td><td align="right" nowrap="nowrap" valign="top"> -22.360 </td><td align="right" nowrap="nowrap" valign="top"> 171.492 </td><td align="right" nowrap="nowrap" valign="top">163.9 </td><td valign="top"> SOUTHEAST OF THE LOYALTY ISLANDS</td></tr> <tr><td align="center" nowrap="nowrap" valign="top">MAP</td><td align="center" nowrap="nowrap" valign="top"> 5.1 </td><td align="center" nowrap="nowrap" valign="top">2010/01/30 21:36:58 </td><td align="right" nowrap="nowrap" valign="top"> 30.236 </td><td align="right" nowrap="nowrap" valign="top"> 105.612 </td><td align="right" nowrap="nowrap" valign="top"> 14.4 </td><td valign="top"> EASTERN SICHUAN, CHINA</td></tr> <tr><td align="center" nowrap="nowrap" valign="top">MAP</td><td align="center" nowrap="nowrap" valign="top"> 5.4 </td><td align="center" nowrap="nowrap" valign="top">2010/01/30 15:59:47 </td><td align="right" nowrap="nowrap" valign="top"> 2.271 </td><td align="right" nowrap="nowrap" valign="top"> 126.678 </td><td align="right" nowrap="nowrap" valign="top"> 49.9 </td><td valign="top"> MOLUCCA SEA</td></tr> <tr><td align="center" nowrap="nowrap" valign="top">MAP</td><td align="center" nowrap="nowrap" valign="top"> 5.3 </td><td align="center" nowrap="nowrap" valign="top">2010/01/30 05:50:10 </td><td align="right" nowrap="nowrap" valign="top"> -28.152 </td><td align="right" nowrap="nowrap" valign="top"> -70.629 </td><td align="right" nowrap="nowrap" valign="top"> 48.0 </td><td valign="top"> ATACAMA, CHILE</td></tr> </tbody></table><hr> <table border="0" cellpadding="1" cellspacing="1"> <tbody><tr><td align="center" nowrap="nowrap" valign="top">MAP</td><td align="center" nowrap="nowrap" valign="top"> 5.1 </td><td align="center" nowrap="nowrap" valign="top">2010/01/29 20:47:53 </td><td align="right" nowrap="nowrap" valign="top"> 1.591 </td><td align="right" nowrap="nowrap" valign="top"> -90.537 </td><td align="right" nowrap="nowrap" valign="top"> 10.0 </td><td valign="top"> GALAPAGOS ISLANDS REGION</td></tr> <tr><td align="center" nowrap="nowrap" valign="top">MAP</td><td align="center" nowrap="nowrap" valign="top"> 5.0 </td><td align="center" nowrap="nowrap" valign="top">2010/01/29 14:24:33 </td><td align="right" nowrap="nowrap" valign="top"> -23.997 </td><td align="right" nowrap="nowrap" valign="top"> -66.412 </td><td align="right" nowrap="nowrap" valign="top">166.7 </td><td valign="top"> SALTA, ARGENTINA</td></tr> <tr><td align="center" nowrap="nowrap" valign="top">MAP</td><td align="center" nowrap="nowrap" valign="top"> 5.5 </td><td align="center" nowrap="nowrap" valign="top">2010/01/29 13:16:29 </td><td align="right" nowrap="nowrap" valign="top"> 1.979 </td><td align="right" nowrap="nowrap" valign="top"> -90.303 </td><td align="right" nowrap="nowrap" valign="top"> 10.0 </td><td valign="top"> GALAPAGOS ISLANDS REGION</td></tr> <tr><td align="center" nowrap="nowrap" valign="top">MAP</td><td align="center" nowrap="nowrap" valign="top"> 5.8 </td><td align="center" nowrap="nowrap" valign="top">2010/01/29 09:19:55 </td><td align="right" nowrap="nowrap" valign="top"> -18.928 </td><td align="right" nowrap="nowrap" valign="top"> 169.647 </td><td align="right" nowrap="nowrap" valign="top"> 10.0 </td><td valign="top"> VANUATU</td></tr> <tr><td align="center" nowrap="nowrap" valign="top">MAP</td><td align="center" nowrap="nowrap" valign="top"> 5.1 </td><td align="center" nowrap="nowrap" valign="top">2010/01/29 08:15:33 </td><td align="right" nowrap="nowrap" valign="top"> -19.220 </td><td align="right" nowrap="nowrap" valign="top"> 169.094 </td><td align="right" nowrap="nowrap" valign="top"> 35.0 </td><td valign="top"> VANUATU</td></tr> </tbody></table><hr> <table border="0" cellpadding="1" cellspacing="1"> <tbody><tr><td align="center" nowrap="nowrap" valign="top">MAP</td><td align="center" nowrap="nowrap" valign="top"> 5.1 </td><td align="center" nowrap="nowrap" valign="top">2010/01/28 23:52:30 </td><td align="right" nowrap="nowrap" valign="top"> -0.872 </td><td align="right" nowrap="nowrap" valign="top"> 29.178 </td><td align="right" nowrap="nowrap" valign="top"> 10.0 </td><td valign="top"> LAKE EDWARD REGION, DEM REP OF THE CONGO</td></tr> <tr><td align="center" nowrap="nowrap" valign="top">MAP</td><td align="center" nowrap="nowrap" valign="top"> 5.1 </td><td align="center" nowrap="nowrap" valign="top">2010/01/28 09:55:24 </td><td align="right" nowrap="nowrap" valign="top"> 3.123 </td><td align="right" nowrap="nowrap" valign="top"> 126.670 </td><td align="right" nowrap="nowrap" valign="top"> 76.5 </td><td valign="top"> KEPULAUAN TALAUD, INDONESIA</td></tr> <tr><td align="center" nowrap="nowrap" valign="top">MAP</td><td align="center" nowrap="nowrap" valign="top"> 5.9 </td><td align="center" nowrap="nowrap" valign="top">2010/01/28 08:04:09 </td><td align="right" nowrap="nowrap" valign="top"> -23.404 </td><td align="right" nowrap="nowrap" valign="top"> -66.627 </td><td align="right" nowrap="nowrap" valign="top">161.8 </td><td valign="top"> JUJUY, ARGENTINA</td></tr> <tr><td align="center" nowrap="nowrap" valign="top">MAP</td><td align="center" nowrap="nowrap" valign="top"> 5.0 </td><td align="center" nowrap="nowrap" valign="top">2010/01/28 04:01:21 </td><td align="right" nowrap="nowrap" valign="top"> -9.833 </td><td align="right" nowrap="nowrap" valign="top"> 108.842 </td><td align="right" nowrap="nowrap" valign="top"> 34.2 </td><td valign="top"> SOUTH OF JAVA, INDONESIA</td></tr> </tbody></table><hr> <table border="0" cellpadding="1" cellspacing="1"> <tbody><tr><td align="center" nowrap="nowrap" valign="top">MAP</td><td align="center" nowrap="nowrap" valign="top"> 5.1 </td><td align="center" nowrap="nowrap" valign="top">2010/01/27 19:00:33 </td><td align="right" nowrap="nowrap" valign="top"> -7.126 </td><td align="right" nowrap="nowrap" valign="top"> 125.108 </td><td align="right" nowrap="nowrap" valign="top">528.7 </td><td valign="top"> KEPULAUAN BARAT DAYA, INDONESIA</td></tr> <tr><td align="center" nowrap="nowrap" valign="top">MAP</td><td align="center" nowrap="nowrap" valign="top"> 5.9 </td><td align="center" nowrap="nowrap" valign="top">2010/01/27 18:49:33 </td><td align="right" nowrap="nowrap" valign="top"> 13.684 </td><td align="right" nowrap="nowrap" valign="top"> 125.440 </td><td align="right" nowrap="nowrap" valign="top"> 24.7 </td><td valign="top"> PHILIPPINE ISLANDS REGION</td></tr> <tr><td align="center" nowrap="nowrap" valign="top">MAP</td><td align="center" nowrap="nowrap" valign="top"> 5.8 </td><td align="center" nowrap="nowrap" valign="top">2010/01/27 17:42:45 </td><td align="right" nowrap="nowrap" valign="top"> -14.139 </td><td align="right" nowrap="nowrap" valign="top"> -14.563 </td><td align="right" nowrap="nowrap" valign="top"> 10.0 </td><td valign="top"> SOUTHERN MID-ATLANTIC RIDGE</td></tr> <tr><td align="center" nowrap="nowrap" valign="top">MAP</td><td align="center" nowrap="nowrap" valign="top"> 5.1 </td><td align="center" nowrap="nowrap" valign="top">2010/01/27 12:31:36 </td><td align="right" nowrap="nowrap" valign="top"> -38.763 </td><td align="right" nowrap="nowrap" valign="top"> -15.721 </td><td align="right" nowrap="nowrap" valign="top"> 10.0 </td><td valign="top"> TRISTAN DA CUNHA REGION</td></tr> <tr><td align="center" nowrap="nowrap" valign="top">MAP</td><td align="center" nowrap="nowrap" valign="top"> 5.2 </td><td align="center" nowrap="nowrap" valign="top">2010/01/27 11:20:37 </td><td align="right" nowrap="nowrap" valign="top"> -38.555 </td><td align="right" nowrap="nowrap" valign="top"> -15.911 </td><td align="right" nowrap="nowrap" valign="top"> 9.9 </td><td valign="top"> TRISTAN DA CUNHA REGION</td></tr> <tr><td align="center" nowrap="nowrap" valign="top">MAP</td><td align="center" nowrap="nowrap" valign="top"> 5.0 </td><td align="center" nowrap="nowrap" valign="top">2010/01/27 06:53:36 </td><td align="right" nowrap="nowrap" valign="top"> -6.247 </td><td align="right" nowrap="nowrap" valign="top"> 155.059 </td><td align="right" nowrap="nowrap" valign="top">238.4 </td><td valign="top"> BOUGAINVILLE REGION, PAPUA NEW GUINEA</td></tr></tbody></table>[​IMG]
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 2 กุมภาพันธ์ 2010
  7. sutatip_b

    sutatip_b เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    13 สิงหาคม 2007
    โพสต์:
    3,197
    ค่าพลัง:
    +26,189
    ริงก์ออฟไฟร์ ไหวทุกวัน
    ถ้าคุณมีลูกทำงานอยู่พังงาจะบอกเขาไหมว่าเลิกตื่นข่าวได้แล้ว
     
  8. sutatip_b

    sutatip_b เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    13 สิงหาคม 2007
    โพสต์:
    3,197
    ค่าพลัง:
    +26,189
    <table id="post2889463" class="tborder" width="100%" align="center" border="0" cellpadding="6" cellspacing="0"><tbody><tr><td class="thead" style="border-style: solid none solid solid; border-color: rgb(255, 255, 255) -moz-use-text-color rgb(255, 255, 255) rgb(255, 255, 255); border-width: 1px 0px 1px 1px; font-weight: normal;">[​IMG] 24-01-2010, 07:15 PM </td> <td class="thead" style="border-style: solid solid solid none; border-color: rgb(255, 255, 255) rgb(255, 255, 255) rgb(255, 255, 255) -moz-use-text-color; border-width: 1px 1px 1px 0px; font-weight: normal;" align="right"> #12620 </td> </tr> <tr valign="top"> <td class="alt2" style="border-style: none solid; border-color: -moz-use-text-color rgb(255, 255, 255); border-width: 0px 1px;" width="175"> <!-- google_ad_section_start(weight=ignore) -->sutatip_b<!-- google_ad_section_end --> <script type="text/javascript"> vbmenu_register("postmenu_2889463", true); </script>
    สมาชิก

    [​IMG]

    วันที่สมัคร: Aug 2007
    ข้อความ: 3,224
    พลังการให้คะแนน: 2844 [​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG]


    </td> <td class="alt1" id="td_post_2889463" style="border-right: 1px solid rgb(255, 255, 255);"> <!-- google_ad_section_start -->
    ข่าวจากไทยรัฐ


    สมิทธ - โสรัจจะ ฟันธง กลางปีเกิด สึนามิ โดนไทยเต็ม ๆ

    อดีต ผู้อำนวยการศูนย์เตือนภัยพิบัติแห่งชาติ กับโหรชื่อดังฉายา "นอสตราดามุสเมืองไทย" ทำนายตรงกัน กลางปีนี้ประเทศไทยเจอสึนามิถล่มหนักแน่ ๆ

    หลังจากเป็นที่ฮือฮากับรายงานข่าวจากต่างประเทศ เมื่อคณะผู้เชี่ยวชาญด้านธรณีวิทยาจากประเทศไอร์แลนด์เหนือ นำโดย ศาสตราจารย์จอห์น แมคคลอสคีย์ สถาบันวิจัยนิเวศวิทยาแห่งมหาวิทยาลัยอัลส์เตอร์ ไอร์แลนด์เหนือ ซึ่งเป็นกลุ่มนักวิชาการที่ขึ้นชื่อว่าทำนายเหตุการณ์สึนามิได้แม่นยำมากที่ สุด ได้ส่งจดหมายเตือนภัยว่าอาจจะเกิดคลื่นยักษ์ที่เป็นผลมาจากแผ่นดินไหวถล่ม ชายฝั่งเกาะสุมาตราในอนาคตอันใกล้

    คำ เตือนที่ว่านั้นยิ่งสร้างความสะพรึงกลัวให้กับคนไทย เมื่อมันมาตรงกับคำทำนายของนักวิชาการและโหราศาสตร์ชื่อดังก่อนหน้านี้ ที่ว่าสึนามิจะเกิดขึ้นในอีกไม่ช้า ที่สำคัญประเทศไทยจะได้รับความเสียหายมากมายกว่าสึนามิ เมื่อวันที่ 26 ธ.ค. 2547

    ผู้สื่อข่าวไทยรัฐออนไลน์ สอบถามไปยัง ดร.สมิทธ ธรรมสโรช อดีต ผู้อำนวยการศูนย์เตือนภัยพิบัติแห่งชาติ ผู้ที่เคยทำนายว่าประเทศไทยจะเกิดสึนามิครั้งใหญ่อีกครั้งในอนาคตอันใกล้ โดยเขาเห็นด้วยกับคำเตือนของศาสตราจารย์สถาบันวิจัยนิเวศวิทยาแห่งมหาวิยา ลัยอัลส์เตอร์ ไอร์แลนด์เหนือ และว่าถ้าเกิดสึนามิครั้งนี้ ประเทศไทยจะได้รับผลกระทบผู้คนจะล้มหายตายจากมากมายกว่าครั้งที่แล้วมาก

    "ปีที่แล้วผมมีโอกาสเข้าไปร่วมประชุมกับนักวิจัยญี่ปุ่น ซึ่งเขาก็พูดถึงเรื่องของศาสตราจารย์จอห์น แมคคลอสคีย์ ออกมาบอกว่าอีกไม่นานจะเกิดสึนามิอีกครั้ง ในส่วนประเทศไทย จะได้รับผลกระทบมาก ๆ เพราะว่ารอยเลื่อนแผ่นดินที่เกิดขึ้นเมื่อวันที่ 26 ธ.ค. 2547 มันเลื่อนแค่เศษ 1 ส่วน 4 เท่านั้น ดังนั้นจะเหลืออีกเศษ 3 ส่วน 4 ที่ยังไม่เกิด ซึ่งแผ่นดินมันค่อย ๆ เลื่อนขึ้นมาทางเหนือระหว่างเกาะนิโคบาและเกาะอันดามัน โดยการเลื่อนในครั้งนี้มันจะเขยิบเข้ามาใกล้กับชายฝั่งของประเทศไทยมากขึ้น จากครั้งที่แล้ว"


    ดร.สมิทธ กล่าวต่อว่า ครั้งนี้ไม่จำเป็นต้อง 9 ริกเตอร์เหมือนกับครั้งที่แล้ว เรียกว่าขอให้เกิดสึนามิขึ้นเมื่อใด ประเทศไทยจะได้รับผลกระทบมหาศาล

    "คำนวณง่าย ๆ ว่าสึนามิครั้งที่แล้วมันไกลจาก 6 จังหวัดภาคใต้ถึง 1,200 กิโลเมตร แต่รอยเลื่อนอีกเศษ 3 ส่วน 4 มันอยู่ใกล้ประเทศไทยเพียง 300-400 กิโลเมตร ดังนั้นถ้าเกิดสึนามิขึ้นไม่ว่าจะกี่ริกเตอร์ ประเทศไทยจะได้รับความเสียหายมากกว่าครั้งที่แล้วแน่นอน"

    ถามว่าจังหวัดไหนบ้างที่จะได้รับผลกระทบมากที่สุด ดร.สมิทธ กล่าวว่า คงไม่พ้น 6 จังหวัดที่โดนสึนามิครั้งที่แล้วถล่ม

    "ที่ น่ากลัวที่สุดก็ไล่ไปตั้งแต่ จ.ระนอง, พังงา, ภูเก็ต, กระบี่, ตรัง และสตูล และเรื่อยลงไปอีกซึ่งมันจะกินพื้นที่มาก ๆ อย่างไรก็ดี สิ่งที่ผมกล่าวมาทั้งหมดปัจจัยหลักก็ต้องดูจุดเกิดสึนามิที่แน่นอนอีกที ซึ่งไม่มีใครพยากรณ์ได้ตรงเป๊ะ ๆ แต่รวม ๆ แล้ว 6 จังหวัดที่ว่าโดนผลกระทบมหาศาลมาก ๆ ถ้าไม่เฝ้าระวัง ซึ่งเรื่องนี้ในการประชุมเรื่องสึนามิที่ประเทศไทยเมื่อปีที่แล้วเราพูดกัน เยอะ แต่ก็เขาก็ไม่ได้บอกชัดเรื่องเกี่ยวกับประเทศไทย ระบุแต่ถ้าเกิดสึนามิอีกครั้ง ตั้งแต่พม่าโดนหมด อย่างแผ่นดินไหวที่เฮติในครั้งนี้ บางคนก็พยากรณ์ว่าอีกนานจะเกิด 10-100 ปี แต่ผมเชื่อว่ามันพยากรณ์ไม่ได้ อยู่ๆ มันเกิดตูมขึ้นมา ภายใน 1-5 ปีนับจากนี้อาจไม่เกิดก็ได้ หรืออาจจะเกิดพรุ่งนี้ก็ได้ ไม่มีใครพยากรณ์ได้ ประเทศไทยก็เหมือนกัน แต่เราก็ทำได้แค่ระวังตัว"

    สำหรับ วิธีป้องกัน อดีตผู้อำนวยการศูนย์เตือนภัยพิบัติแห่งชาติ กล่าวว่า ประเทศไทยก็ต้องมีระบบเตือนภัยที่ดี ซึ่งอาจจะช่วยผ่อนหนักให้เป็นเบา ซึ่งเห็นคนในพื้นที่บอกว่า ทุ่นเตือนภัยก็แบตฯ หมด หอเตือนภัยก็ใช้การได้ไม่หมด ทั้งนี้ ตนคงพูดอะไรไม่ได้มาก เพราะโดนรัฐฟ้องอยู่ข้อหาหมิ่นประมาท

    "สิ่งที่ผมทำได้ก็คือ ปัจจุบันผมทำมูลนิธิเตือนภัยโดยไม่หวังกำไรทำงานคู่ขนานไปกับศูนย์เตือนภัย พิบัติแห่งชาติของรัฐ โดยมูลนิธิเรามีหน้าที่เตือนภัยทำเหมือนกับศูนย์เตือนภัยพิบัติทุก ๆ อย่าง โดยเรามีเครือข่ายจากลูกทุ่งเน็ตเวิร์คกระจายเสียงทั้งหมด 81 สถานี ทั้งเอฟเอ็ม เอเอ็มทั่วประเทศที่จะติดตามความเหตุการณ์พร้อมกับเตือนภัยได้ 24 ชั่วโมง โดยมีสถานีวิทยุให้การสนับสนุนค่าใช้จ่ายสนุนค่าใช้จ่าย"

    สุดท้าย ดร.สมิทธ ฝากไปถึงประชาชนในพื้นที่เสี่ยงภัยว่า มูลนิธิจะพยายามเตือนให้ทราบล่วงหน้าว่า ภัยธรรมชาติชนิดไหนจะเกิดขึ้นที่ไหน เราจะทำให้ดีที่สุดขอให้ติดตามรับฟังเครือข่ายและสถานีวิทยุของเรา โดยสามารถสอบถามและแจ้งเหตุได้ที่ โทร.0-2888-2215 ได้ 24 ชั่วโมง

    ด้านโหรชื่อดัง นายโสรัจจะ นวลอยู่ ฉายานอสตราดามุสเมืองไทย ผู้ที่เคยทำนายประเทศไทยจะเกิดสึนามิใหญ่ อีกทั้งยังฟันธงอีกว่า กลางปีนี้ประเทศไทยจะมีสึนามิอีกครั้ง กล่าวว่า

    "ตามดวง ดาวจริงแล้วมีเกณฑ์กลางปีนี้ 100% ซึ่งผมดูจากดวงดาวแล้ว กลางปีนี้ค่อนข้างจะน่าเป็นห่วงมาก ๆ เพราะว่าดาวที่สำคัญอย่าง ดาวเสาร์ อยู่ในภพอริของดวงเมือง อีกทั้งราหูมาอยู่ในภพที่ 9 ซึ่งตรงนี้มีผลมาก ๆ คือดาวสองดวงนี้ทำมุมกัน แล้วดาวพฤหัสก็เกี่ยวกับน้ำ พฤหัสอยู่ในตำแหน่งที่ไม่ค่อยดี อย่างไรก็ดี ผมก็คิดว่าเป็นไปได้ว่าประเทศไทยมีโอกาสใกล้เคียงจะเกิดทั้งแผ่นดินไหวแล้ว ก็เกิดสึนามิด้วย โดยเฉพาะชาวบ้านที่อาศัยอยู่ริมชายฝั่ง หรือแถบอันดามันตั้งแต่ระนองลงไปอันตรายมาก ๆ"

    เมื่อถามถึงวิธีป้องกัน โหรชื่อดังกล่าวว่า เป็นเรื่องที่ยากมาก ๆ เพราะว่ามันเป็นกฎแห่งดวงดาว ที่มาบรรจบกับภัยธรรมชาติ

    "สิ่งที่เตือนได้นอกจากการทำบุญแล้ว ผมอยากให้ภาครัฐใส่ใจตรวจสอบเครื่องเตือนภัยต่าง ๆ ให้สมบูรณ์แบบ ส่วนประชาชนก็ต้องคอยระมัดระวังฟังศูนย์เตือนภัย ซึ่งอาจจะทำให้เหตุการณ์ที่หนักหนาสาหัสในกลางปีนี้ทุเลาลงไปได้" นายโสรัจจะ กล่าว


    ขอขอบคุณข้อมูลและภาพประกอบจาก
    [​IMG]

    ข่าวจากระบบ



    http://english.cri.cn/2239/2005-6-9/51@245407.html
    UU Scientists Issue Indonesia Earthquake Warning

    [​IMG]


    ภาพจาก This Week @ UU




    มหันตภัยสึนามิในเอเชีย กำลังรอเกิด


    สำนักข่าวฝรั่งเศส มิถุนายน 2549 This Week @ UU และข่าวจาก innovation report
    นัก ธรณีวิทยาแผ่นดินไหวกล่าวว่า เกาะสุมาตรา ประเทศอินโดนีเซีย ซึ่งเป็นเหยื่อสึนามิเมื่อธันวาคม 2547 และเกิดแผ่นดินไหวครั้งใหญ่เมื่อ มีนาคม 2548 นั้น ปัจจุบันมีความเสี่ยงจากแผ่นดินไหวใหญ่อีก 1-2 ครั้งซึ่งอาจก่อให้เกิดคลื่นเกิน 10 เมตร เป็นคำกล่าวของทีมนักธรณีฟิสิกส์ที่ทำนายแผ่นดินไหวสุมาตราเมื่อ 28 มีนาคม 2548 อย่างแม่นยำ เพียงไม่กี่เดือนหลังจากแผ่นดินไหวใหญ่ที่ก่อโศกนาฏกรรมรอบทะเลอันดามัน

    ศ. จอห์น แมคคลอสกีย์ เกรงว่าแผ่นดินไหวครั้งหน้าอาจมีขนาด 7.5 ถึง 9 ริกเตอร์ ในกรณีหลังเมืองต่างๆบนฝั่งซ้ายของเกาะสุมาตราจะได้รับผลกระทบจากสึนามิดัง กล่าว

    "ผมคิดว่าใครที่รับ ผิดชอบพื้นที่ดังกล่าวจะไร้จริยธรรมอย่างมากถ้าเขาเหล่านั้นไม่เชื่อว่า เหตุการณ์ดังกล่าวจะเกิดขึ้นได้หลังจากหนึ่งปีเป็นต้นไป" ศ. แมคคลอสกีย์ นักธรณีฟิสิกส์ด้านวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยอัลสเตอร์ ไอร์แลนด์เหนือกล่าว

    การ ศึกษาดูการเคลื่อนไหวของชิ้นส่วนเกาะสุมาตราในแผ่นดินไหวใหญ่สองครั้งที่ ผ่านมา โดยเน้นการศึกษารอยแยกที่ใหญ่ที่สุดสองรอย (Faultline) รอยแยกแรกเป็นรอยแยกบนบกยาวราว 300 กม. วิ่งลงตามฝั่งตะวันตกของเกาะสุมาตรา สิ้นสุดที่ใต้เมืองบันดาอาเจะห์ รอยแยกนี้มีแรงเสียดทานด้านข้าง ฝั่งหนึ่งพยายามจะเคลื่อนตัวขึ้นบนทางตะวันตกเฉียงเหนือในขณะที่อีกฝั่ง พยายามจะเคลื่อนลงล่างทางตะวันออกเฉียงใต้ ความเครียด (stress) บนรอยแยกสุมาตรานี้เป็นความเครียดสูง โดยเฉพาะอย่างยิ่งในบริเวณตะวันตกเฉียงเหนือของบันดาอาเจะห์ ปัจจุบันยังมีความเสี่ยงในการเกิดแผ่นดินไหวราว 7.0-7.5 ริกเตอร์บนรอยแยกสุมาตราอยู่ คณะผู้วิจัยกล่าวในวารสาร Nature ซึ่งเป็นวารสารวิทยาศาสตร์ฉบับแนวหน้าของโลก ตีพิมพ์ในประเทศสหราชอาณาจักร

    แต่ ความเสี่ยงที่มากกว่านั้นอยู่ที่รอยแยกที่สอง ที่มีชื่อว่ารอยแยกซุนดรายาว 50 กม เป็นรอยแยกหายนะที่รู้จักกันดี อยู่ห่างจากสุมาตรา 200 กม.ทางตะวันตก ห่างจากปลายเกาะด้านเหนือราว 50 กม. บริเวณดังกล่าวมีรายละเอียดที่แตกต่างและอันตรายมากกว่ารอยแยกสุมาตรา เนืองจากรอยแยกซุนดรานี้มีการเคลื่อนไหวในแนวดิ่ง ถ้าเกิดการเคลื่อนไหวจะทำให้เกิดคลื่นยักษ์จากการยกตัวของก้นทะเลทั้งผืน รอยแยกซุนดราอยู่ในตำแหน่ง "Megathrust" หรือ "ยักษ์ผงาดยก" โดยมีเพลทออสเตรเลียผลักตัวเองเข้าใต้เพลทยุโรป-เอเชียทางด้านตะวันออกเฉียง เหนือ

    รอยแยกซุนดรานี้ เป็นหัวเทียนจุดประกายการเคลื่อนไหวเปลือกโลกมาเป็นเวลาหลายร้อยปีแล้ว ส่วนหนึ่งของรอยแยกซุนดราด้านเหนือตรงตำแหน่งรอยต่อเพลทย่อยพม่าที่รูปร่าง เหมือนลิ้นนั่นเองที่เป็นจุดศูนย์กลางการเกิดแผ่นดินไหว 9.3 ริกเตอร์เมื่อ 26 ธันวาคม 2547 นับเป็นแผ่นดินไหวครั้งใหญ่สุดอันดับสองที่มีการบันทึกไว้

    เหตุการณ์ แผ่นดินไหวดังกล่าวได้เพิ่มความเครียดบนรอยแยกทั้งสองข้างต้นอย่างมาก การวิเคราะห์ข้อมูลจากแผ่นดินไหวในบริเวณดังกล่าวเมื่อ 26 ธันวาคม 2547 พบว่าความเครียดในรอยแยกซุนดราเพิ่มขึ้น 5 บาร์ และเกิดการแบกรับความเครียดเชิงบวกเพิ่มขึ้นอีก 9 บาร์ในรอยแยกสุมาตรา รอยแยกซุนดรานี้เองที่อาจก่อให้เกิดเหตุการณ์สึนามิขึ้นอีก โดยมรประวัติการเกิดแผ่นดินไหวขนาดความแรงถึง 8.5 ริกเตอร์มาหลายครั้ง แผ่นดินไหวสองครั้งในปี 2376 และ 2404 เกิดสึนามิขนาดใหญ่ที่ทำให่ผู้คนล้มตาย ความร่วมมือกับศ. เคอรี่ เชียที่ Caltech พบว่า เมกะทรัสต์ที่รอยแยกซุนดราไม่เคลื่อนไหวมากว่า 2000 ปีแล้ว

    "ผม คิดว่าซับดักชั่นโซนของรอยแยกซุนดรานั้นแก่งอมที่จะเกิดเหตุใหญ่ เนื่องจากไม่มีแอคทิวิตี้มานากว่าสองร้อยปีแล้วในแดนที่เกิดเหตุเป็นประจำ" ศ. เคอรี่ เชียกล่าว

    ถ้ารอยแยกสุมาตราเกิดแผ่นดินไหวจะมีขนาดราว 7.5 ริกเตอร์ แต่เนื่องจากรอยแยกดังกล่าวไม่ได้อยู่ในทะเลจะไม่เกิดป็นสึนามิตามมา

    ศ. แมคคลอสกีย์กล่าวว่า "เป็นที่ทราบกันดีว่าปรากฏการณ์ฟ้าผ่าจะไม่เกิดซ้ำในที่เดิม แต่แผ่นดินไหวมักจะเกิดซ้ำใกล้ที่เดิม" ผู้สื่อข่าวของเราถามว่าเราจะเชื่อได้อย่างไรว่าจะเกิดแผ่นดินไหวใน
    บริเวณ ดังกล่าวอีก ศ. แมคคลอสกีย์กล่าวว่า "ความเครียดที่เพิ่มขึ้นนั้นคณะวิจัยของเราวัดได้จริง เนื่องจากความเครียดของรอยเลื่อนเป็นสาเหตุของการเกิดแผ่นดินไหว ดังนั้นเราจึงกล่าวว่ามีความเป็นไปได้อย่างยิ่งที่จะเกิดแผ่นดินไหวครั้ง ใหญ่ในอินโดนีเซียอีก"

    "เมื่อ ครั้งเกิดแผ่นดินไหวที่อิสมิตในประเทศตุรกี 7.4 ริกเตอร์นั้นเชื่อว่าถูกกระตุ้นด้วยความเครียดน้อยกว่า 2 บาร์ในบริเวณ 50 กม. เท่านั้น แต่เป็นเหตุเพียงพอให้เกิดแผ่นดินไหวขนาด 7.1 ริกเตอร์ในเขตใกล้เคียงในเวลาสามเดือนถัดมา ความเครียดของรอยแยกสุมาตราเพิ่มเป็น 9 บาร์และพบแป็นแนวบวกไปทางใต้ถึง 300 กม. ความเครียดนี้มีปริมาณสูงและครอบคลุมไปทั่ว"

    คณะ ผู้วิจัยเรียกร้องให้สร้างระบบเตือนภัยชนิดเตือนล่วงหน้าในเขตมหาสมุทร อินเดียเป็นการเร่งด่วน "ระบบเตือนภัยดังกล่าวมีใช้แล้วในมหาสมุทรแปซิฟิค การเตรียมตัว ความสำเหนียกรู้ของประชาชน และการให้การศึกษาถึงภัยดังกล่าวและการปฏบัติตนในบริเวณมหาสมุทรแปซิฟิคมี พร้อมเป็นอย่างดีและทำให้ประชาชนรักษาชีวิตไว้ได้ เป็นที่น่าเสียดายว่าประชาชนแถบมหาสมุทรอินเดียไม่ได้รับประโยชน์จากความรู้ นี้หรือสามารถใช้ข้อมูลจากเทคโนโลยีเตือนภัยปัจจุบันได้เลย"

    ข่าวจากเพื่อนชาว Zeta Reticuli ผู้หวังดี

    <table id="post2875411" class="tborder" width="100%" align="center" border="0" cellpadding="6" cellspacing="0"><tbody><tr><td style="border-style: solid none solid solid; border-color: rgb(255, 255, 255) -moz-use-text-color -moz-use-text-color; border-width: 1px 0px 1px 1px; font-weight: normal;" class="thead">[​IMG] 21-01-2010, 10:18 AM </td><td style="border-style: solid solid solid none; border-color: rgb(255, 255, 255) rgb(255, 255, 255) rgb(255, 255, 255) -moz-use-text-color; border-width: 1px 1px 1px 0px; font-weight: normal;" class="thead" align="right">#12579 </td></tr><tr valign="top"><td style="border-style: none solid; border-color: -moz-use-text-color; border-width: 0px 1px;" class="alt2" width="175"><!-- google_ad_section_start(weight=ignore) -->sutatip_b<!-- google_ad_section_end --><script type="text/javascript"> vbmenu_register("postmenu_2875411", true); </script>
    สมาชิก

    [​IMG]

    วันที่สมัคร: Aug 2007
    ข้อความ: 3,184
    พลังการให้คะแนน: 2839 [​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG]





    </td><td style="border-right: 1px solid rgb(255, 255, 255);" id="td_post_2875411" class="alt1"><!-- google_ad_section_start -->ได้สนทนาทางโทรศัพท์กับศ. ดร. นพ. เทพนม เมืองแมนเมื่อวานนี้
    เรื่องที่มีคนถ่ายวีดีโองานมหกรรมพลังจิต ที่จะจำหน่าย
    ท่านยังไม่เห็นผลงานที่ทำเสร็จ
    แต่ท่านได้กล่าวเรื่องอื่น

    เรื่องที่คุณเทพบุตรชาวดินพบมนุษย์ต่างดาว ในงานมหกรรมวิทยาศาสตร์ทางจิต
    ๑) ดร. เทพนม ได้อ่านภาษาอูโบ๊ตในเอกสารที่มนุษย์ต่างดาว (มาในร่างมนุษย์ แต่ไม่มีใครจากบู๊ตตรงข้ามมองเห็น มาหลังห้าโมงเย็นวันที่ ๑๒ ธันวาคม) เขียนสาส์นดังกล่าวแจ้งว่า เขามาจากจักรวาลอันไกลโพ้น ที่มีดวงอาทิตย์สองดวง มาเตือนเรื่องสึนามิเข้าไทย จะเป็นภัยใหญ่มาก ในข้อเขียนมีสัญญลักษณ์เหมือนไม้ม้วน แต่มีหางลากตามขวางยาวๆ นั่นคือคลื่นสึนามินั่นเอง เอกสารดังกล่าวดิฉันได้เห็นด้วยตนเอง แต่ตอนนี้ถูกระบบทำลายไปแล้วเพราะเอกสารได้ทำงานตามจุดประสงค์ของผู้เขียน แล้ว

    ท่านดร. เทพนมไปทำการบ้านมา พบว่าจักรวาลที่มีดวงอาทิตย์สองดวง คือ Zeta Reticuli อยู่ไกลจากสุริยจักรวาลไป 39 ปีแสง




    </td></tr></tbody></table>แจ้งเพื่อทราบ ของจริงยิ่งกว่านิยาย วันนี้หน้า 632
    6+3+2 = 11
    </td></tr></tbody></table>
     
  9. sutatip_b

    sutatip_b เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    13 สิงหาคม 2007
    โพสต์:
    3,197
    ค่าพลัง:
    +26,189
    <table id="post2917404" class="tborder" width="100%" align="center" border="0" cellpadding="6" cellspacing="0"><tbody><tr><td class="thead" style="border-style: solid none solid solid; border-color: rgb(255, 255, 255) -moz-use-text-color rgb(255, 255, 255) rgb(255, 255, 255); border-width: 1px 0px 1px 1px; font-weight: normal;">[​IMG] 31-01-2010, 07:10 AM </td> <td class="thead" style="border-style: solid solid solid none; border-color: rgb(255, 255, 255) rgb(255, 255, 255) rgb(255, 255, 255) -moz-use-text-color; border-width: 1px 1px 1px 0px; font-weight: normal;" align="right"> #12738 </td> </tr> <tr valign="top"> <td class="alt2" style="border-style: none solid; border-color: -moz-use-text-color rgb(255, 255, 255); border-width: 0px 1px;" width="175"> <!-- google_ad_section_start(weight=ignore) -->sutatip_b<!-- google_ad_section_end --> <script type="text/javascript"> vbmenu_register("postmenu_2917404", true); </script>
    สมาชิก

    [​IMG]

    วันที่สมัคร: Aug 2007
    ข้อความ: 3,225
    พลังการให้คะแนน: 2844 [​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG]


    </td> <td class="alt1" id="td_post_2917404" style="border-right: 1px solid rgb(255, 255, 255);"> <center><!-- google_ad_section_start -->ภัยพิบัติโลกครั้งนี้ใหญ่หลวงหนักหนาสาหัสเป็นประวัติการณ์<!-- google_ad_section_end -->

    </center>
    <hr style="color: rgb(255, 255, 255); background-color: rgb(255, 255, 255);" size="1"> <!-- google_ad_section_start -->ภัยพิบัติโลกครั้งนี้ใหญ่หลวงหนักหนาสาหัสยิ่ง ได้รับความช่วยเหลือจากสมาชิกสหพันธ์ดวงดาวได้มากที่สุดเป็นประวัติการณ์

    แจ้งเพื่อทราบ บันทึกไว้เป็นหลักฐาน

    ส่วนหนึ่งจากโน๊ตย่อบันทึกการสนทนาที่โรงแรมรัตนโกสินทร์
    คุณสุดใจ ชื่นสำนวน และศ.ดร. นพ. เทพนม เมืองแมน ๓๐ มค ๒๕๕๓ เวลา ๑๖.๐๐ น.

    ระบบแจ้งว่าให้ดูภัยพิบัติที่เกิดกับต่างประเทศ ความรุนแรงเกิดขึ้นที่ต่างประเทศก่อน ปัจจุบันการแพทย์ปัจจุบันและเพื่อนมนุษย์ยังพอชวยเหลือกันได้

    ดร.เทพนมถามว่าที่อยู่ข้าวปลาอาหารจะเตรียมกันอย่างไร จะไปอยู่ที่ไหนกัน

    พี่สุดใจแจ้งว่าสำหรับกลุ่มปฏิบัติการในช่วงนี้เรามีหน้าที่แค่ประสานงาน คนที่ทำเรื่องอาหาร ที่อยู่อาศัยเขารู้ตัวเองแล้ว เราแค่พบกับเขา ต่างดาวไม่ให้ข้อมูลเราทีละมากๆ เพราะขันธ์มนุษย์จะกลัวจนทำงานตามจุดมุ่งหมายไม่ได้ ในที่ๆเป็นที่กำหนดของเขาเขาจะทำบริเวณคลุมไว้ไม่ให้รังสีเข้าได้ สถานที่ๆเขากะลาจะเป็นแค่ที่ประสานงานส่งต่อ ไม่ใช่ที่อยู่ถาวร เก้าดวงดาวประสานงานเรื่องภัยพิบัติผ่านเขากะลา

    พี่สุดใจบอกว่าต่างดาวบอกว่าเรากลับกับคนอื่น เมื่อมีภัยคนอื่นหนีออก แต่ผู้ฝึกแล้ววิ่งเข้าแหล่งเกิดเหตุ (แปลว่าตอนเกิดเหตุเราต้องอยุ่นอกเหตุการณ์จึงจะรอดวิ่งเข้าไปทำการช่วย เหลือได้)

    ดร. เทพนมบอกว่าดาวอังคารจะมาเตือนท่านเมื่อถึงเวลา

    เทพบุตรชาวดินบอกว่า เมื่อสนทนากับมนุษย์ต่างดาว (ในร่างจำลองพลังงานเหมือนมนุษย์) เขาบอกว่าจะมาบอกเองเมื่อถึงเวลาว่าภัยมาเมื่อไร พี่สุดใจว่าคราวก่อนเขาจัดให้เตือนภัปรากฏตัวทางโทรทัศน์ ๑ๆ วันก่อนเกิดภัยพิบัติ แ่มนุษย์ต่างดาวไม่สามารถแทรกแซงวิบากกรรมได้ ต้องฝึกการลดละเลิก ว่าเราเก่งและแน่

    ดร. เทพนมกล่าวว่าทางกายภาพโลกเปลี่ยนไปแล้ว แผ่นดินไหวรุนแรงบ่อยครั้ง อากาสเปลี่ยน แม่คะนิ้งทางเหนือมีมากขึ้นอยุ่นานขึ้น อีกหน่อยหิมะจะตกในประเทศไทย

    ดร. เทพนมถามจะสื่อสารอย่างไร สนามแม่เหล้กจะเปลี่ยน เหนือบรรยากาศมีพายุสุริยะด้วยเครื่องบินขับเคลื่อนไม่ได้ การสื่อสารจะถูกตัดขาดหมด แม้แต่เรือน้ตเชื่อมเหล็กก็จะหลุดหมด

    พี่สุดใจกล่าวว่า ในอนาคตผุ้ปฏิบัติงานจะได้รับจอโทรภาพ คล้ายที่คุณบรรพตใช้สแกนกรรมในขณะนี้ แต่ละคนมีคนละเครื่องเหมือน CCTV เห็นสถานการณ์และสื่อสารกับคณะทำงานได้

    พี่สุดใจย้ำว่า ข้อมูลจากมนุษย์ต่างดาวกล่าวว่า งานช่วยเหลือภัยพิบัติโลกครั้งนี้ใหญ่หลวงหนักหนาสาหัสที่สุดในประวัติศาสตร์ดาวเคราะห์ดวงนี้
    และได้รับความช่วยเหลือจากสมาชิกสหพันธ์ดวงดาวมากที่สุดเป็นประวัติการณ์ โลกอื่นเคยเกิดภัยพิบัติในหลายดวงดาว เกิดขึ้นทีละดวงๆ แต่เขามีจานบินจอดบนโครงอาคาร อาศัยอยู่ข้างล่าง พอเกิดภัยเขาก็ขึ้นจานบินขับออกมา ความเสียหายจึงเกิดกับชีวิตเป็นส่วนน้อย โลกมนุษย์เคยเกิดภัย เขาช่วยมาหลายครั้งแล้ว แต่ครั้งนี้งานใหญ่ระดมความร่วมมือระหว่างดวงดาวมากเป็นประวัติการณ์ ดาวเสาร์ค้นคว้าเตรียมอาหารพลังงานเม็ด ดาวอังคารและ Zeta reticuli เตือนภัย ดาวพลูโตฝึกยกระดับจิต โลกุกะตาฯ เตรียมทีมทางจิตใจและให้อุปกรณ์เทคโนโลยี อุปกรณืเขาละเอียดอ่อนต้องฝึกลดละอัตตาจึงจะอนุญาตให้ติดตั้งใช้งานได้

    เรื่องขนาดของหายนะ และอุปกรณ์ช่วยเหลือนี้มนุษย์ต่างดาวกล่าวไว้นับสิบปีมาแล้ว เหมือนให้ทฤษฎีมาก่อน สค. ๕๑ เป็นต้นมาฝึกจิตให้ธรรมะปล่อยวางติดอุปกรณ์ ตั้งแต่ ๑ พย ๕๒ นี้เป็นปีภัยพิบัติ จะเริ่มเห็นว่าข้อความที่มนุษย์ต่างดาวให้ไว้ (ดูเป็นไปไม่ได้ในขณะนั้น) กลายเป็นถูกต้องขึ้นมา เขาเตรียมการความช่วยเหลือไว้มาก ฝึกให้กับบุคคลในหลายประเทศ ต้องรีบยกระดับจิตใจเร่งปฏิบัติตาม มนุษย์ต่างดาวไม่สามารถช่วยมนุษย์ได้หมดทุกคน ผู้ที่ติตังอุปกรณ์และได้ผ่านการใช้งานระยะหนึ่งแล้วจะได้รับการ upgrade และทำหน้าที่เป็นพี่เลี้ยงให้กับคนใหม่ที่รับอุปกรณืในภายหลังได้

    ดร. เทพนมกล่าวว่า ก็ช่วยได้เท่าที่ช่วยได้เท่านั้นคงไม่ใช่ทุกคน.....

    </td></tr></tbody></table>
     
  10. sutatip_b

    sutatip_b เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    13 สิงหาคม 2007
    โพสต์:
    3,197
    ค่าพลัง:
    +26,189



    <embed src="http://www.youtube.com/v/hW0TjfTCuVM&color1=0x6699&color2=0x54abd6&hl=en_US&feature=player_embedded&fs=1" type="application/x-shockwave-flash" allowfullscreen="true" allowscriptaccess="always" width="425" height="344">">


    ภาพการสื่อสารจาก Zeta reticuli
    ต่างดาวมาเตือน แต่คนไทยบอกไม่ต้องหวั่นใจ
    ทีหลินปิงวัดส่วนสูง ไปซื้อเลขท้ายกันใหญ่ ถูกรางวัลเสียด้วย...
    มันเป็นไปตามกรรม<object width="425" height="344">


    <embed src="http://www.youtube.com/v/hW0TjfTCuVM&color1=0x6699&color2=0x54abd6&hl=en_US&feature=player_embedded&fs=1" type="application/x-shockwave-flash" allowfullscreen="true" allowscriptaccess="always" width="425" height="344"></object>
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 3 กุมภาพันธ์ 2010
  11. Premsuda (May)

    Premsuda (May) เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 พฤษภาคม 2009
    โพสต์:
    181
    ค่าพลัง:
    +646
    อนุโมทนากับพี่ sutatip_b ทุกประการค่ะ พูดได้ถูกต้องแล้ว

    ดร.สธน วิจารณ์วรรณลักษณ์ พูดมาได้ว่า "โอกาสเกิดแทบไม่มี"
    แล้วสึนามี เมื่อวันที่ 26 ธันวาคม พ.ศ. 2547 (ค.ศ. 2004) ก่อนหน้านั้น
    ก็มีแต่คนบอกว่า "โอกาสเกิดแทบไม่มี"
    ทั้งๆที่ ดร.สมิทธ ธรรมสโรช
    ออกมาเตือนล่วงหน้าตั้งหลายปี แล้วเป็นไงคะ


    เรื่องภัยพิบัติ พอมีใครมาเตือน คนไทยมักทำเก่ง ทำเป็นไม่เชื่อ
    ตอนหลินปิงวัดส่วนสูง กลับตื่นข่าว เอาไปซื้อหวย
    ก้อนหินประหลาดรูปร่างคล้ายพระพิคเนตร ตื่นข่าว ตื่นตูม
    กระหน่ำข่าวกันเข้าไป ทีอย่างนี้เชื่อกันจริงๆ คนไทย


    พวกนักวิชาการสมัยนี้ มักจะอวดรู้ คงอยากดังอ่ะค่ะ อย่าไปสนใจเลยดีกว่า
    ควรจะเชื่อ ดร.สมิทธ ธรรมสโรช มากกว่าค่ะ น่าเชื่อถือกว่ามาก
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 3 กุมภาพันธ์ 2010
  12. com16

    com16 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    20 มกราคม 2005
    โพสต์:
    454
    ค่าพลัง:
    +1,182
    <iframe src="http://writer.dek-d.com/robokobo/writer/view.php?id=579675" style="display: none;">
    </iframe>ขอบคุณที่นำลิ้งมาแปะครับ
     
  13. Dookbuabarn

    Dookbuabarn เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 มิถุนายน 2009
    โพสต์:
    96
    ค่าพลัง:
    +225
    :cool: พูดได้ดีมากๆๆ เลย น้องเรา ขอชมเชยที่กล้าแสดงความคิดเห็นที่ถูกต้อง ตรงไปตรงมาได้ดี :cool::cool::cool:
     
  14. Bill PEA31

    Bill PEA31 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 สิงหาคม 2007
    โพสต์:
    124
    ค่าพลัง:
    +417
    ผมว่าใครจะเชื่อหรือไม่เชื่อมันเป็นกรรมของเค้า
    หน้าที่ของพวกเราคือช่วยกระจายข่าวกันดีกว่าครับ
    เค้าจะได้เตรียมตัวเตรียมใจ กับสิ่งที่จะเกิดขึ้น โดยที่ไม่บ้ากันไปเสียก่อน
    ขอโมทนา กับทุกๆกระทู้นะครับ
     
  15. deejaimark

    deejaimark เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    16 มกราคม 2006
    โพสต์:
    1,844
    ค่าพลัง:
    +16,511
    ขอคั่นรายการนิดนึงนะคะ.....


    ขออภัยหากเป็นการรบกวน

    ขอเชิญร่วมลงนะ รับศักราชใหม่มหามงคล รับโชคลาภ สำเร็จสมปรารถนา กับหลวงปู่คำเป็ง
    กระทู้ลงนะ...
    http://palungjit.org/forums/%E0%...ml#post2808212
     
  16. sutatip_b

    sutatip_b เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    13 สิงหาคม 2007
    โพสต์:
    3,197
    ค่าพลัง:
    +26,189
    ขอบคุณในข่าวสารค่ะ
     
  17. รพินทร์ไพรวัลย์

    รพินทร์ไพรวัลย์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    6 ตุลาคม 2007
    โพสต์:
    669
    ค่าพลัง:
    +1,122
    [​IMG]
    แน่ใจเหรอครับว่าการกระจายข่าวมันเป็นวิธีที่ดีที่ถูกต้อง
    คิดดีกันแล้วหรือ การที่ใครจะรอดหรือไม่รอด มิได้ขึ้นอยู่กับเวรกับกรรมที่เค้าได้กระทำไว้มิใช่หรือ
    แล้วถ้ามีภัยพิบัติจริงๆคุณแน่ใจหรือ ว่ากระต่ายตื่นตูมอย่างพวกคุณจะรอด หึหึหึ เคยหันไปมองหน้าลูกๆใหม เปิดภาพเฮติให้ลูกคุณดูสิ...แล้วบอกเค้าว่าเรากำลังจะเจออย่างนี้ เร็วนี้นะ โรงเรียนและเพื่อนที่หนูรัก กำลังจะพังทลาย ร่างที่ถูกอุ้มออกมาอาจเป็นใครก็ได้ในครอบครัว
    ...ถ้ายังทำไม่ได้ไม่ต้องมาทำเป็นหวังดีกระจายข่าวผู้อื่นให้เค้าวิตกกันหรอกครับ จะเกิดอะไรขึ้นกับเด็กของเราหนอที่มีพ่อแม่อย่างนี้ เค้าจะจิตนาการไปถึงไหน เค้าจะคิดอย่างไร จะหวาดกลัวสิ่งที่ยังมาไมถึงมากมั้ย อย่างไรเสียเค้าก็คือเด็ก ไม่อาจแยกความจริงกับความเฟ้อของผู้ใหญ่บางคนได้
    วันนี้คุณกำลังยัดเยียดอะไรลงไปในตัวลูกโดยไม่ได้ตั้งใจเพราะการกระทำของคุณ ถ้าอะไรมันจะเกิดมันก็ต้องเกิด พวกที่อยู่กับความหวาดระแวงและถึงเวลาก็อาจจะไม่รอด เคยดูหนังเรื่องนี้ใหม พ่อยอมทำทุกอย่างเพื่อรักษา ความบริสุทธิ์ ความหวังไว้ให้ลูกชายแม้เหตุการณ์จะเลวร้ายอย่างไร
    แม้ลมหายใจสุดท้าย ก็ยังเต้นเพื่อให้ลูกชายยิ้ม และเชื่อที่จะสู้ต่อจนได้รางวัลที่เด็กชายหวังไว้ นี่คือหัวใจที่ทำเพือผู้อื่น ห่วงใยผู้อื่นอย่างบริสุทธิ์ใจ
    ถ้าจะกระจายข่าวเพื่อตั้งสมาคมวิตกจริตเพื่อนัดไปสังสรรค์คุยเรื่องธรรมะ อาหารเสริม กันก็หาเรื่องที่เป็นมงคลหน่อยมิดีกว่าหรือ
    ต่อให้โลกจะแตกพรุ่งนี้ เย็นวันนี้ลูกชายผมก็จะได้ดูเบน 10 อยู่ถ้าเค้าอยากดู

    ปล.เลิกเห็นแก่ตัวหันมามองลูกๆมองครอบครัวทำเพื่อลูกเพื่อครอบครัว แล้วจะหายบ้าเอง
     
    แก้ไขครั้งล่าสุดโดยผู้ดูแล: 5 กุมภาพันธ์ 2010
  18. k.kwan

    k.kwan เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 พฤศจิกายน 2007
    โพสต์:
    15,900
    ค่าพลัง:
    +7,310
    ต่อให้โลกจะแตกพรุ่งนี้ เย็นวันนี้ลูกชายผมก็จะได้ดูเบนเทนอยู่ถ้าเค้าอยากดู<!-- google_ad_section_end -->
    เราฟังแล้วน้ำตาไหลเลยนะ (ซึ้ง)
    ถ้าวันนั้นมาถึงเราก็อยากอยู่พร้อมหน้ากับครอบครัวของเราจับมือกันไว้แล้วไปด้วยกัน
    ลูกชายเราก่อนจะนอนต้องขอให้เรากอดถึงนอนหลับได้ เราอยากมีสติเป็นตัวของตัวเอง
    มีสติสัมปชัญญะ ส่งให้ลูกนอนหลับอย่างเป็นสุขจนถึงวาระสุดท้ายของเรา
     
  19. emaN resU

    emaN resU เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    12 ธันวาคม 2009
    โพสต์:
    2,944
    ค่าพลัง:
    +3,294
    [​IMG]
    ซึ้งมากครับ อาเฮีย อาเจ้ บอกเค้าด้วยว่ามีคนที่รักเค้าอยู่ที่นี่อีกคนนะฮะ
    ลูกที่เป็นมนุษย์... พรานไม่มี ลูกที่เป็นสัตว์ก็ไปอยู่ตามธรรมชาติหมดแล้ว

    ต่อแต่นี้พรานจะทุ่มเทความรักให้กับน้องๆนักฉึกฉาอย่างเต็มที่

    Clip นี้พรานฝากให้หลานๆนะฮะ
    [ame=http://www.youtube.com/watch?v=TCAFVsAff2c]YouTube - Ben 10 movie[/ame]
     
  20. k.kwan

    k.kwan เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 พฤศจิกายน 2007
    โพสต์:
    15,900
    ค่าพลัง:
    +7,310
    หูย.... [​IMG]
    ซึ้งจริงๆ ซึ้งมาก(มีเป็นโหล) ด้วยนะ เหอๆ

    อาเจ้ คิดว่า จะมีชีวิตอยู่มากหรือน้อย ยาวหรือสั้น ก็อยู่ที่ผลกรรมที่ทำแล้วบันดาลให้
    เป็นไปส่วนหนึ่ง แต่การที่เราจะอยู่อย่างเป็นสุข ด้วยความมีสติ และตายอย่างเป็นสุขในขณะ
    ที่มีสติสัมปชัญญะบริบูรณ์ เราเลือกให้ตัวเราเองได้ ด้วยการทำกรรมในปัจจุบัน เลือกทำเอา
    วันนี้เราอยู่ด้วยสติสัมปชชัญะเนืองๆ ไม่ปล่อยให้ตัวเอง หลงไปกับสิ่งภายนอก และสิ่งที่
    เราไม่รู้จักมันดีพอ(แบบว่ามันมาลับๆล่อๆไม่รู้ชัด) เมื่อเราอยู่กับตัวเองมีสติได้ด้วยขาของ
    ตัวเราเอง เราก็จะแข็งแกร่งขึ้นเรื่อยๆพอเป็นที่พึ่งให้ตัวเราเองได้โดยไม่ต้องหวังพึ่งปัจจัย
    จากภายนอก อย่างน้อยเราก็จะมีทุนที่เป็นของเราเองสะสมไป วันนี้ไม่รอด วันหน้าเราก็ยัง
    มีทุนตั้งต้นที่เราสร้างมาเองด้วยมือของเรา ดีกว่าวันนี้เรารอดอยู่ต่อไปได้แต่ไม่ได้มีอะไรที่เป็น
    ของเราจริงมีแต่อยู่ได้เพราะคนอื่นบันดาลให้เรา อาเจ้ก็คิดของอาเจ้คนเดียวแบบนี้แหละ
    อาจจะไม่ตรงกับอุดมคติของคนอื่น อยู่หรือตายไม่สำคัญเท่า เราได้ประสบการณ์อะไร
    ที่ทำให้เราได้สติปัญญางอกเงย จากการอยู่และตาย ในแต่ละครั้ง ตะหาก
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 5 กุมภาพันธ์ 2010

แชร์หน้านี้

Loading...