พระวังหน้า ที่หลวงปู่บรมครูเทพโลกอุดรเสก ถ้าต้องการที่จะได้.....

ในห้อง 'งานบุญอื่นๆ' ตั้งกระทู้โดย sithiphong, 23 ธันวาคม 2005.

  1. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    เรียนท่านสมาชิกกองทุนหาพระถวายวัด , ท่านสมาชิกชมรมรักษ์พระวังหน้า และ ท่านสมาชิกคณะพระวังหน้า ทุกท่าน

    ผมได้ส่งรายละเอียดกิจกรรมงานบุญ การล้างพระวังหน้าและบรรจุลงกล่องสเตนเลสให้กับทุกๆท่านแล้ว ผมขอความกรุณาให้ทุกๆท่าน ช่วยตอบกลับมาให้ผมด้วยว่า สามารถไปได้หรือไม่ เพราะว่าผมจะต้องเตรียมเรื่องของอาหารให้กับท่านที่ไปงานครับ

    ขอบคุณครับ
     
  2. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    ยิ่งทำยิ่งได้ ยิ่งให้ยิ่งมี

    [​IMG]
     
  3. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
  4. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
  5. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
  6. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    พี่ชนิดาครับ

    [​IMG]
    250.8 KB, ดาวน์โหลด 3,203 ครั้ง

    [​IMG]
    246.8 KB, ดาวน์โหลด 3,285 ครั้ง

    เป็นพิมพ์ 2408 ชุด 44 พิมพ์ครับ

    [​IMG]
    195.9 KB, ดาวน์โหลด 931 ครั้ง

    เป็นพระวังหน้า สมัยอยุธยา ซุ้มไทรย้อย และ ซุ้มไข่ปลา

    ดีป่าวครับ แรงป่าวครับพี่ อิอิ

    .
    รูปผมสงวนลิขสิทธิ์
    .
     
  7. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
  8. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948

    สำหรับพระพิมพ์ หรือ เหรียญ หรืออื่นๆ ที่หลวงปู่ม่น วัดเนินตามากอธิษฐานจิต ผมรับประกันได้ว่า ดีเยี่ยมเช่นกัน เพราะเนื่องจากผมเองมีประสบการณ์ที่น่าอึ้ง ทึ่ง เสียว มาแล้วครับ

    .

    .
     
  9. psombat

    psombat เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    5 กุมภาพันธ์ 2009
    โพสต์:
    1,334
    ค่าพลัง:
    +5,431
    ขออนุญาตดูรูป ชุดที่ห้อยอยู่ในคอพี่วันนี้อ่ะครับ

    ดีป่าวครับ แรงป่าวครับ หนักป่าวครับพี่ หุหุ
     
  10. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    อ่า วันนี้ห้อยแค่ 5 องค์ เป็นเนื้อผง ไม่หนักครับ

    1.พระสมเด็จ กลักไม้ขีด
    2.พระสมเด็จ หลัง...
    3.พระสมเด็จ เนื้อเงิน
    4.พระสมเด็จ อกครุฑ อาบน้ำว่าน
    5.พิมพ์พิเศษ (เป็นที่รักของสามโลก)

    ดีครับ แรงครับ แต่ไม่หนัก อิอิ

    .
     
  11. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    ส่วนชุดที่เป็นพระกริ่งปวเรศ 9 องค์ ไม่ห้อยแล้วครับ ต้องยอมรับว่า หนักเหมือนกัน

    ก็เลยเปลี่ยนเป็นชุด พระกริ่งปวเรศ 5 องค์ พอห้อยไหวครับ

    .
     
  12. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
  13. psombat

    psombat เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    5 กุมภาพันธ์ 2009
    โพสต์:
    1,334
    ค่าพลัง:
    +5,431
    โมทนาสาธุครับ
    ขออนุญาตนำเรื่องแนวคิดข้างล่างมาเสริมละกัน

    สามแนวความคิดหลัก จากการศึกษาตามนัยพุทธธรรม
    โดย ศาสตราจารย์สุมน อมรวิวัฒน์

    1. หลักการบูรณาการทางการศึกษาตามนัยแห่งพุทธธรรม
    บูรณาการตามนัยแห่งพุทธธรรม หมายถึง ระบบและกระบวนการของชีวิตซึ่งครอบคลุมหลักการพัฒนามนุษย์ที่ว่าด้วยไตรสิกขาและหลักธรรมที่สำคัญในอันที่จะเป็นแนวปฏิบัติสู่ความเป็นคนเก่ง คนดี มีอิสรภาพ ส่วนบูรณาการทางการศึกษาตามนัยพุทธธรรม ท่านได้สรุปความคิดรวบยอดไว้ เป็นแนวทางสำหรับการจัดระบบ หลักการ กระบวนการ และปัจจัยสนับสนุนการศึกษา โดยใช้ชีวิต วิถีชีวิต การพัฒนาชีวิตที่ดี เป็นโจทย์หลัก จึงครอบคลุมทุกมิติ ทุกแก่นสาระ ทุกพื้นฐานของสังคม บูรณาการทางการศึกษาจะเป็นการจัดองค์ประกอบกลมกลืนได้สัดส่วน สมดุลและเชื่อมโยง จึงมีลักษณะที่เป็นองค์รวม หล่อหลอม เกิดประโยชน์ นำไปสู่การพัฒนา เป็นความเต็มในทุกมิติ ได้แก่ เต็มศักยภาพผู้เรียน พัฒนาทั่วทั้งกาย จิต และปัญญา ... ครูสอนเต็มเวลาเต็มใจ เนื้อหาสาระสอดคล้องกลมกลืน เต็มตามที่ควรจะเป็น กระบวนการครบถ้วน เต็มที่ตามที่ควรจะทำ ผลการศึกษาเต็มสนองตอบการพัฒนาชีวิตตามวิถีทางที่ดี ถูกต้อง กลมกลืนกับความเป็นจริงของชีวิตและสังคม เป็นการศึกษาที่กระจ่างชัด แจ่มโลก ส่องชีวิต สว่างเย็น ดุจเดือนเพ็ญ

    2. หลักการเรียนตามแนวพุทธศาสตร์
    กระบวนการเรียนรู้ในชีวิตตามหลักพุทธศาสตร์ มีลักษณะเป็นกระบวนการเรียนรู้ที่แท้ โดยท่านกล่าวว่า “การเรียนรู้เกิดขึ้นได้อย่างแท้จริง เมื่อผู้เรียนได้สัมผัส สัมพันธ์ คิดวิเคราะห์และปฏิบัติฝึกย้ำซ้ำทวนอย่างต่อเนื่อง (กล่าวคือเกิดกระบวนการเผชิญสถานการณ์) จนหยั่งรู้ซึมซับสู่ภายในจิตใจ กลั่นกรอง เกิดเป็นปัญญาของตนเอง ดังนั้นท่านจึงได้ประยุกต์แนวทางดังกล่าว เช่น การพัฒนาขันธ์ 5 และอายตนะ 6 เป็นต้น มาสู่การจัดการเรียนการสอน เรียกว่า กระบวนการซึมซับ”

    สรุปหลักการพัฒนาการเรียนรู้ตามแนวพุทธศาสตร์ มีนัยสำคัญดังต่อไปนี้

    ก. ความหมายของการเรียนรู้การเรียนรู้ คือ กระบวนการที่ผัสสะทั้ง 6 ของมนุษย์ได้สัมผัสสัมพันธ์สิ่งเร้า เกิดธาตุรู้ มีการกระทำโต้ตอบ ฝึกฝนอบรมตนเองหรือโดยกัลยาณมิตร จนประจักษ์ผล เกิดคุณภาวะ (ความรู้และความดี) สมรรถภาวะ (ความสามารถ) สุขภาวะ (ความผาสุก พอเหมาะพอควร) และอิสรภาวะ (พ้นจากทุกข์และความเป็นทาส)

    ข. หลักการเรียนรู้ 6 หลัก
    หลักที่หนึ่ง พระพุทธศาสนามองมนุษย์ทั้งในฐานะที่เป็นเอกัตบุคคลและในฐานะที่เป็นสมาชิกของสังคมซึ่งต้องอยู่ร่วมกับผู้อื่น
    [​IMG]

    หลักที่สอง มนุษย์เป็นเวไนยสัตว์หรือเวไนยบุคคล สามารถได้รับการสั่งสอน ฝึกฝนและอบรมบ่มนิสัยได้
    หลักที่สาม มนุษย์มีภาวะทางสติปัญญามาแต่กำเนิด (สชาติกปัญญา) แม้ว่ามนุษย์จะมีความแตกต่างกัน ก็จำเป็นต้องได้รับการพัฒนาให้เกิดการเรียนรู้ (โยคปัญญา)
    หลักที่สี่ พระพุทธศาสนาอธิบายหลักการเรียนรู้ของมนุษย์ว่า เกิดขึ้นในวิถีชีวิตทั้งชีวิต มีลักษณะเป็นองค์รวมของรูปกับนาม (รูป ได้แก่ กายภาพ : กาย – วาจา และนามคือ จิตภาวะ) ซึ่งเป็นการเรียนรู้ไปตามความเจริญเติบโต (พัฒนาการ) ของชีวิต
    หลักที่ห้า การเรียนรู้ของมนุษย์มีแกน 3 แกน คือ
    1. การฝึกฝนตนเองเรื่องศีล (Self-training in morality)
    2.การฝึกฝนตนเองเรื่องสมาธิ (Self-training in mentality or concentration)
    3.การฝนตนเองเรื่องปัญญา (Self-training in wisdom)
    หลักที่หก การพัฒนาปัญญา “จุดมุ่งหมายของการเรียนรู้ที่สำคัญ คือ การเกิดปัญญา” ต้องพัฒนาโดยการแสวงหาความรู้ (สุตมยปัญญา) การฝึกฝนคิดค้น (จินตามยปัญญา) และการฝึกฝนตนเอง (ภาวนามยปัญญา)
    ค. สรุปกระบวนการพัฒนาปัญญา ตามแนวทางพุทธศาสตร์ว่ามีคุณลักษณะ ดังต่อไปนี้
    (1) กระบวนการพัฒนาปัญญา มีความสมบูรณ์โดยตลอด
    (2) กระบวนการพัฒนาปัญญา มีลักษณะบูรณาการ
    (3) กระบวนการพัฒนาปัญญา มีลักษณะพัฒนาการที่หมุนเวียนขึ้นหาจุดสูงสุด (Spiral growth)
    (4) กระบวนการพัฒนาปัญญา มีลักษณะที่หยั่งรากลงลึกด้วย มิใช่พุ่งขึ้นอย่างเดียว
    (5) กระบวนการพัฒนาปัญญา เป็นการสร้างแรงจูงใจและสิ่งเร้า (ศรัทธา) และการฝึกฝนตนเอง ต่อเมื่อเกิดสมาธิและปัญญาแล้ว ต้องละสิ่งเร้านั้นเสีย
    (6) กระบวนการพัฒนาปัญญาตามนัยของพระพุทธศาสนา อุดมการณ์สูงสุดคือ การใช้ปัญญาปฏิบัติให้เกิดอิสรภาพอันสมบูรณ์

    3. การเรียนรู้โดยกระบวนการซึมซับ
    มนุษย์ซึมซับรับรู้จากการเผชิญสถานการณ์ บรรยากาศ และสิ่งแวดล้อม
    (1) การรับรู้ของเด็กในบางครั้งอาจเกิดขึ้นจากความรู้สึกชั่วแล่นและผิวเผิน กระบวนการซึมซับจึงมุ่งเน้นให้ผู้เรียนได้เผชิญสถานการณ์ต่างๆ บ่อยครั้ง เพื่อเปิดโอกาส (ให้เขาได้) พิจารณา วิเคราะห์ ไตร่ตรอง หาเหตุผลวิธีการต่างๆ ที่ทำให้ตนเองอยู่ท่ามกลางสิ่งแวดล้อมที่ดีและแก้ปัญญาอันเกิดจากสิ่งแวดล้อม
    (2) ความหมายของสิ่งแวดล้อมนั้น ครอบคลุมทั้งสรรพสิ่งในธรรมชาติและมนุษย์ด้วยกันเอง
    [​IMG]
    ซึ่งเป็นบทเรียนหรือแบบฝึกหัดที่ยิ่งใหญ่ หากเด็กๆ ได้มีความสัมพันธ์และมีปฏิกิริยาโต้ตอบสิ่งแวดล้อมนั้นๆ เขาจะเกิดการเรียนรู้ที่สูงขึ้นไปอีกระดับหนึ่ง จากระดับการรับรู้ สัมผัสและเข้าใจสิ่งต่างๆ (รูป – เวทนา – สัญญา) ไปสู่ระดับการคิดหลายๆ วิธี (สังขาร) ซึ่งเป็นกระบวนการซึมซับจากสถานการณ์ (ความจริงของธรรมชาติและของเพื่อนมนุษย์ด้วยกัน) ที่เผชิญทั้งทางวิวัฒน์และวิบัติแล้วคิดวิเคราะห์หาทางเลือก
    (3) การเรียนรู้ในส่วนนี้มีความซับซ้อน
    จากจุดที่เกิดความสนใจ ความสงสัย และความประสงค์ที่จะค้นคว้าหาคำตอบ จุดอ่อนของการสอนโดยทั่วไปนั้น มักจะเน้นให้นักเรียนได้สัมผัสและสัมพันธ์ เกิดความรู้สึกชอบ ไม่ชอบ อันเป็นเวทนาแล้วหยุดเพียงนั้น กระบวนการซึมซับจึง (เป็นการ) พัฒนาต่อไปจากเวทนา สู่การฝึกคุณสมบัติทางจิต ซึ่งเรียกว่า สังขาร ... เป็นกระบวนการปรุงแต่งคุณภาพทางจิต (Mental formation) หรืออีกนัยหนึ่ง คือ การคิดนั่นเอง

    4. ท่านได้นำเสนอหลักการคิดแบบโยนิโสมนสิการตามนัยแห่งพุทธธรรมไว้อย่างง่ายๆ ดังนี้
    คิดสืบค้นต้นเค้า คิดสืบสาวตลอดสาย
    คิดทบทวนต้นปลาย คิดโยงสายสัมพันธ์
    คิดจำแนกหมวดหมู่ คิดรู้เหตุผลมั่น
    คิดประจักษ์ลักษณ์สามัญ คิดเท่าทันความจริง
    คิดแบบแก้ปัญหา คิดค้นคว้าทุกสิ่ง
    คิดจุดหมายอ้างอิง คิดไม่ทิ้งหลักการ
    คิดทั้งคุณและโทษ คิดประโยชน์แก่นสาร
    คิดทางออกเหตุการณ์ คิดประมาณผลกรรม
    คิดคุณค่าที่แท้ คิดมุ่งแก้จิตต่ำ
    คิดปลุกเร้าคุณธรรม คิดมุ่งนำปัจจุบัน
    คิดความจริงถี่ถ้วน คิดแยกส่วนสิ่งสรรพ์
    คิดสำดับสำคัญ คิดสำคัญปัจจัย
    คิดจำแนกคำถาม คิดตอบตามเงื่อนไข
    คิดเพื่อรู้แจ้งใจ คิดสร้างนิสัยใฝ่ดี
    [​IMG]

    (5) เมื่อเด็กได้เผชิญสถานการณ์ (ความจริงของสิ่งแวดล้อม)และฝึกคิดปฏิบัติอย่างสม่ำเสมอ
    เด็กจะซึมซับประสบการณ์ อันเป็นผลมาจากกิจกรรมนั้นๆ เกิดความเข้าใจ ความสามารถ ความคิดเห็นที่จะต้องมาจากการปฏิบัติที่เกิดผลดีและผลร้าย (คุณ – โทษ) ผลจากการเรียนรู้เช่นนี้ ทางพุทธศาสตร์เรียกว่า วิญญาณ (Consciousness) ซึ่งเป็นความรู้ที่แจ่มแจ้งชัดเจน การเรียนรู้ที่พัฒนาขึ้นเป็นลำดับในรูป > เวทนา > สัญญา > สังขาร > วิญญาณ นี้ เรียกว่า เกิดความรู้ตามที่เป็นจริง เป็นความรู้ที่มีฐาน คือ สัมมาทิฐิและมีหลัก คือ ความไม่เห็นแก่ตัว มุ่งประโยชน์ของส่วนรวมเป็นที่ตั้ง

    ที่มา : แนวคิดการศึกษาแนวพุทธ
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 19 พฤษภาคม 2010
  14. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    ยิ่งทำยิ่งได้ ยิ่งให้ยิ่งมี

    [​IMG]<!-- google_ad_section_end -->

    .
     
  15. psombat

    psombat เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    5 กุมภาพันธ์ 2009
    โพสต์:
    1,334
    ค่าพลัง:
    +5,431
    ขอบพระคุณครับ

    1,3,4,5 OK!
    แต่
    2.พระสมเด็จ หลัง...
    ... = 3 พยางค์ หรือหลัง.ที่พระอาจารย์ท่านมอบให้พิเศษอ่ะครับ :)
     
  16. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    มาแจ้งไว้ก่อนครับ

    ผมกำลังจะเตรียม ชุดพระสมเด็จ กลักไม้ขีด ซึ่งในชุด จะมีพระสมเด็จ กลักไม้ขีด ไม่น้อยกว่า 10 องค์ แน่นอน และหนึ่งในนั้น จะมีพระสมเด็จ กลักไม้ขีดบุเงิน 1 - 2 องค์ด้วยแน่นอน

    ผมจะนำมาให้ร่วมทำบุญกับกองทุนหาพระถวายวัด ชุดละ 15,000 บาท

    ส่วนพระกริ่งปวเรศ ผมจะขอไปดูก่อนว่า จะมาให้ร่วมทำบุญกี่ชุด ( 1 ชุดมี 2องค์ )
    พระกริ่งปวเรศ เนื้อสเตอร์ริ่ง ซิลเวอร์ ผมจะให้ร่วมทำบุญองค์ละ 2,500 บาท
    พระกริ่งปวเรศ เนื้อนาค ผมจะให้ร่วมทำบุญ 2,500 บาทครับ
    โดยต้องทำบุญเป็นชุด คือ พระกริ่งปวเรศ เนื้อสเตอร์ริ่ง ซิลเวอร์ และพระกริ่งปวเรศ เนื้อนาคครับ

    โปรดติดตามนะครับสำหรับผู้ที่พลาดการร่วมทำบุญจากครั้งที่แล้ว

    หมายเหตุ การร่วมทำบุญและรับชุดพระสมเด็จ และพระกริ่งปวเรศ ผมจะไม่นำรายชื่อลงในรายชื่อที่ถวายวัดครับ

    .
     
  17. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    หลังไมค์ครับ อิอิ

    (ที่พี่เคยบอกว่า พริ้วมาก ไงครับ)
    .
     
  18. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    เรียน น้องchantasakuldecha

    พี่มาแจ้งเรื่องของพระบรมสารีริกธาตุ องค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าครับ

    1.พระบรมสารีริกธาตุ(พระอาโปธาตุ) องค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า พระนาม กกุสันโธ (วรรณะสีดำ)

    2.พระบรมสารีริกธาตุ(พระอาโปธาตุ) องค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า พระนาม โกนาคมน (วรรณะสีฟ้า)

    3.พระบรมสารีริกธาตุ(พระอาโปธาตุ) องค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า พระนาม กัสสปะ (วรรณะสีเหลือง)

    4.พระบรมสารีริกธาตุ(พระเสโทธาตุ) องค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า พระนาม สมณโคดม (วรรณะเพชร)

    .
     
  19. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    <TABLE class=tborder cellSpacing=1 cellPadding=6 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=thead>ขณะนี้มีคนกำลังดูกระทู้นี้อยู่ : 20 คน ( เป็นสมาชิก 2 คน และ บุคคลทั่วไป 18 คน ) </TD><TD class=thead width="14%"><CENTER">[ แนะนำเรื่องเด่น ] </TD></TR><TR><TD class=alt1 width="100%" colSpan=2>sithiphong, psombat+ </TD></TR></TBODY></TABLE>

    สวัสดีตอนบ่ายๆ อิอิ

    .
     
  20. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=headline vAlign=baseline align=left>หมิงลั่วซุนซาน : ซื่อต่อท้ายซุนซาน
    China - Manager Online

    </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD bgColor=#cccccc height=1>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left>โดย ASTVผู้จัดการออนไลน์</TD><TD class=date vAlign=baseline align=left>19 พฤษภาคม 2553 07:52 น.</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left><CENTER>《名落孙山》</CENTER>

    名(míng) อ่านว่า หมิง แปลว่า ชื่อ
    落( luò) อ่านว่า ลั่ว แปลว่า ตก
    孙山(sūn shān) อ่านว่า ซุนซาน เป็นชื่อคน


    </TD></TR><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 align=center border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=350 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle width=350> [​IMG]</TD></TR><TR><TD class=Image vAlign=baseline align=left><CENTER>ภาพจาก http://www.lsqn.cn</CENTER></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle height=5>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>ในสมัยราชวงศ์ซ่ง มีนักศึกษาผู้หนึ่งนามว่า ซุนซาน เป็นผู้ที่มีลักษณะนิสัยรื่นเริง เปี่ยมอารมณ์ขัน

    ในฤดูใบไม่ร่วงของปีหนึ่ง เขาเดินทางไปยังเมืองเอกของมณฑลเพื่อเข้าร่วมการสอบระดับท้องถิ่น โดยมีผู้เฒ่าแซ่เสียนในหมู่บ้านเดียวกัน ฝากฝังลูกชายที่ต้องการสอบให้เดินทางไปพร้อมกันซุนซานด้วย

    เมื่อผ่านการสอบ จนถึงวันประกาศผล ผู้สอบทุกคนต่างออกันอยู่หน้ากระดานรายชื่อผู้ผ่านการสอบอย่างร้อนใจ เพื่อหาชื่อของตนเอง ซุนซานก็เป็นหนึ่งในคนเหล่านั้น เขาไล่หารายชื่อตนเองบนประกาศอยู่ครึ่งค่อนวันจึงค่อยพบว่ารายชื่อของตนนั้นอยู่ที่ท้ายสุดของประกาศ เป็นคนสุดท้ายที่ผ่านการทดสอบครั้งนี้ ส่วนคนบ้านเดียวกันที่มาพร้อมเขานั้นทำข้อสอบไม่ได้ สอบไม่ผ่าน จึงไม่มีรายชื่ออยู่บนกระดาษ

    ซุนซานสอบติดแล้ว เขาจึงรีบร้อนเดินทางกลับบ้านเพื่อจะนำข่าวดีนี้ไปแจ้งต่อครอบครัว ส่วนคนบ้านเดียวกันรั้งอยู่ที่เมืองหลวงเพื่อท่องเที่ยวต่ออีกสักพัก

    เมื่อเดินทางกลับถึงหมู่บ้าน ครอบครัวทราบข่าวดีล้วนแล้วแต่ตื่นเต้นดีใจยิ่งนัก เพื่อนบ้านก็ต่างพากันมาร่วมแสดงความยินดี ส่วนผู้เฒ่าแซ่เสียนที่ฝากลูกชายให้เดินทางไปกับซุนซานก็เดินทางมาถามถึงผลการสอบของลูกชายตนเช่นกัน

    ซุนซานนั้นรู้สึกเกรงใจหากจะบอกผู้เฒ่าไปตรงๆ ว่าบุตรชายเขาสอบตก จึงได้กล่าวอ้อมๆ เป็นบทกวีว่า "พบชื่อซุนซานอยู่ท้ายสุด แซ่เสียนยิ่งอยู่หลังจากนั้น" ความหมายคือ ในบรรดาคนที่สอบติดนั้นนับซุนซานเองเป็นคนสุดท้าย ส่วนแซ่เสียนบุตรชายของท่านอยู่ด้านหลังจากชื่อของซุนซานไปอีก แสดงว่าสอบไม่ติดนั่นเอง

    ต่อมา สำนวน "หมิงลั่วซุนซาน" หรือ "ชื่อต่อท้ายซุนซาน" ใช้เพื่อเปรียบเทียบกับการสอบตก หรือไม่ผ่านการคัดเลือก

    ตัวอย่างประโยค
    昨天晚上梦见考试那天我迟到了,结果名落孙山
    เมื่อคืนวานฝันว่าวันสอบฉันไปสาย สุดท้ายจึงสอบตก




    ที่มา 毛强国。 《成语故事》 。北京。北京理工大学出版社

    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    แก้ไขครั้งล่าสุด: 19 พฤษภาคม 2010

แชร์หน้านี้

Loading...