มาดูสมเด็จกัน

ในห้อง 'วิธีดูพระเครื่อง-เครื่องรางของขลัง' ตั้งกระทู้โดย wasabi san, 25 พฤศจิกายน 2009.

สถานะของกระทู้:
กระทู้ถูกปิด ไม่สามารถโพสต์ตอบกลับได้
  1. fox2008

    fox2008 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 กุมภาพันธ์ 2008
    โพสต์:
    197
    ค่าพลัง:
    +403
    แวะเข้ามาชมครับ
    ขอบคุณคร๊าบ...
     
  2. จารุ

    จารุ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    15 สิงหาคม 2006
    โพสต์:
    23,747
    ค่าพลัง:
    +236,438
    ตอนนี้มีหลายเนื้อหลายราคาครับ จองก่อนแล้วโอนเข้าวัดเลยครับ ก่อนสิ้นเดือน 50 % ก่อน 21 พ.ย.50% แต่ต้องรีบหน่อยนะครับ เดี๋ยว 15 สิงหานี้หนังสืออกกลัวจะหมดซะก่อนครับ ลองเข้าไปดูตามลิ้งค์ครับ:cool:
     
  3. อังคาร99

    อังคาร99 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    30 เมษายน 2010
    โพสต์:
    628
    ค่าพลัง:
    +1,178
    ส่วนพิมพ์ที่เป็นแบบกรอบกระจกนั้นเกิดขึ้นในช่วงยุคปลาย...
    โดยหลวงวิจารได้นำวิธีการพิมพ์พระแบบมีกรอบบังคับเข้ามาช่วยให้การพิมพ์พระทำได้ง่าย ไว ไม่ต้องมาตัดขอบพระอีกเหมือนพระในยุคต้นที่ต้องใช้ตอกตัดขอบพระ....


    ดังนั้นจำนวนพระพิมพ์ที่เป็นกรอบกระจกเมื่อเทียบกับอายุของสมเด็จท่านที่เหลือในช่วงยุคปลายจึงมีจำนวนไม่มากนัก...
    แค่ 8 โอ่งมังกร กับกรุบางขุนพรหม กับอีกมากกว่านั้นเยอะๆๆๆๆ เองครับ 5555+

    สรุป กรอบกระจกมีจริงแน่นอนครับ....ส่วนฟันหนูคงต้องเก็บข้อมูลกันต่อไปครับ
    <!-- google_ad_section_end -->

    <TABLE id=post3619191 class=tborder border=0 cellSpacing=0 cellPadding=6 width="100%" align=center><TBODY><TR vAlign=top><TD style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid" id=td_post_3619191 class=alt1>ส่วนพิมพ์ที่เป็นแบบกรอบกระจกนั้นเกิดขึ้นในช่วงยุคปลาย...
    โดยหลวงวิจารได้นำวิธีการพิมพ์พระแบบมีกรอบบังคับเข้ามาช่วยให้การพิมพ์พระทำได้ง่าย ไว ไม่ต้องมาตัดขอบพระอีกเหมือนพระในยุคต้นที่ต้องใช้ตอกตัดขอบพระ....

    ดังนั้นจำนวนพระพิมพ์ที่เป็นกรอบกระจกเมื่อเทียบกับอายุของสมเด็จท่านที่เหลือในช่วงยุคปลายจึงมีจำนวนไม่มากนัก...
    แค่ 8 โอ่งมังกร กับกรุบางขุนพรหม กับอีกมากกว่านั้นเยอะๆๆๆๆ เองครับ 5555+

    สรุป กรอบกระจกมีจริงแน่นอนครับ....ส่วนฟันหนูคงต้องเก็บข้อมูลกันต่อไปครับ
    <!-- google_ad_section_end -->
    </TD></TR><TR><TD style="BORDER-BOTTOM: #ffffff 1px solid; BORDER-LEFT: #ffffff 1px solid; BORDER-TOP: #ffffff 0px solid; BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid" class=alt2>[​IMG] [​IMG]<SCRIPT type=text/javascript> vbrep_register("3619191")</SCRIPT> [​IMG] </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE id=post3619191 class=tborder border=0 cellSpacing=0 cellPadding=6 width="100%" align=center><TBODY><TR vAlign=top><TD style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid" id=td_post_3619191 class=alt1>ส่วนพิมพ์ที่เป็นแบบกรอบกระจกนั้นเกิดขึ้นในช่วงยุคปลาย...
    โดยหลวงวิจารได้นำวิธีการพิมพ์พระแบบมีกรอบบังคับเข้ามาช่วยให้การพิมพ์พระทำได้ง่าย ไว ไม่ต้องมาตัดขอบพระอีกเหมือนพระในยุคต้นที่ต้องใช้ตอกตัดขอบพระ....

    ดังนั้นจำนวนพระพิมพ์ที่เป็นกรอบกระจกเมื่อเทียบกับอายุของสมเด็จท่านที่เหลือในช่วงยุคปลายจึงมีจำนวนไม่มากนัก...
    แค่ 8 โอ่งมังกร กับกรุบางขุนพรหม กับอีกมากกว่านั้นเยอะๆๆๆๆ เองครับ 5555+

    สรุป กรอบกระจกมีจริงแน่นอนครับ....ส่วนฟันหนูคงต้องเก็บข้อมูลกันต่อไปครับ
    <!-- google_ad_section_end -->
    </TD></TR><TR><TD style="BORDER-BOTTOM: #ffffff 1px solid; BORDER-LEFT: #ffffff 1px solid; BORDER-TOP: #ffffff 0px solid; BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid" class=alt2>[​IMG] [​IMG]<SCRIPT type=text/javascript> vbrep_register("3619191")</SCRIPT> [​IMG] </TD></TR></TBODY></TABLE>
    ขอบคุณครับคุณ xlmen องค์ที่คุยอยู่นี้คือองค์ฟันหนูครับผู้อาวุโสเรียกพิมพ์ฟันหนู หรือพิมพ์กรอบกระจกนั่นเอง โฟกัสรูปไม่ชัดนัก ฟันหนูอยู่ขอบล่างสุดซ้อยมือเรา หรือขวามือพระครับ เส้นจากกรอบครอบแก้วไปจรดเส้นล่างสุดกรอบกระจก พิมพ์ฟันหนูมี 2 พิมพ์ครับ กล่าวคือมีเส้นอาสนะ กับไม่มีเส้นเป็นพิมพ์ไม่นิยมของเซียนทั้งหลาย เห็นลูกน้องบอกว่าเย็นนี้จะขอยืมพระฟันหนอีกองค์จากญาติแฟนไปถ่าย แล้วพรุ่งนี้จะมาให้ครับ ก็รอดูเหมือนกัน ความรู้ดี ร้านเดียวกับผมอิอิ แนะนำไปหลายราย ไม่ยอมให้ptomotion ถ่ายฟรีบ้างเลย อิอิ รอพรุ่งนี้ครับถ้าฝนไม่ตกแถวนั้นซะก่อน ขอบคุณคุณ wasabi san และคุณ xlmen
     
  4. xlmen

    xlmen เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    30 ตุลาคม 2005
    โพสต์:
    1,428
    ค่าพลัง:
    +3,291
    [​IMG][​IMG]
    พระของคุณ PuInvent<!-- google_ad_section_end --><SCRIPT type=text/javascript> vbmenu_register("postmenu_3616806", true); </SCRIPT>ถ้าพิจารณาจากพิมพ์แล้ว ถือว่ารูปลักษณ์พิมพ์เป็นแนวหลวงวิจาร เรียกว่า พิมพ์พระประธาน....
    ถ้าจะวัดกันที่พิมพ์ก็ถือว่าองค์นี้ใช้พิมพ์ไว้เป็นครูเพื่อการศึกษาได้ครับ....

    ส่วนเนื้อพระนั้นเป็นปูนเปลือกหอย ถามว่าเก่าพอไหม ?
    ปกติปูนเปลือกหอยที่เก่านั้นจะต้องผ่านกาลเวลา + ความร้อน ทั้งจากบรรยากาศ และจากเจ้าของพระเดิม ส่งผลให้ผิวปูนเปลือกหอยเกิดความมันโดยธรรมชาติ มีความหนึกนุ่ม ซึมเข้าไปในเนื้อพระทำให้เกิดความใส....

    ทีนี้ถามว่าพระองค์นี้นั้นความหนึก นุ่ม ซึ้งตาพอไหม ?
    เท่าที่ดู...ผิวเนื้อยังหนึกไม่พอครับ...การที่ผิวยังหนึกนุ่มไม่พอบ่งบอกว่าอายุของปูนนั้นไม่ถึงยุคครับ.....

    นอกจากนี้ยังมีคราบรักที่ดูเหมือนว่าจะมีการเป่าลมร้อนเฉพาะที่ด้านหน้าพระเพื่อให้เกิดการหดตัว...สีของรักดำนั้นยังสดเกินไปครับ...และส่วนมากพระที่ลงรักนั้นจะต้องเป็นพิมพ์ของวัดระฆังในยุคต้น กับยุคกลาง เท่านั้น....

    ดังนั้นการที่เราไปเจอพิมพ์นิยมของหลวงวิจารแต่กลับมีการลงรัก+ปิดทอง...ผมจะสงสัยไว้ก่อนว่าพระองค์นั้น...อาจจะมีกรรมวิธีการสร้างเริ่มจะไม่สอดคล้องกับประวัติศาสตร์การสร้างพระซะแล้ว....
    (อีกสมมุติฐานนึงก็อาจจะมีพระพิมพ์ของหลวงวิจารปิดทองก็เป็นได้)


    จุดตายที่เหมาะจะใช้ในการวิเคราะห์พระที่ลงรักมาก็คือ "ขอบพระ" การหดตัวของเนื้อจะต้องหดตั้งแต่ด้านหน้าไปถึงขอบพระที่ด้านหลัง แต่ไม่ทั้งหมดของด้านหลัง...

    การแตกลายงาจะต้องแตกเพราะหดตัวโดยธรรมชาติตลอดทั้งองค์ไม่ใช่หดเฉพาะผิวด้านบนเท่านั้น....

    ส่วนจะแท้หรือไม่นั้นคงต้องให้คุณ PuInvent<!-- google_ad_section_end --><SCRIPT type=text/javascript> vbmenu_register("postmenu_3616806", true); </SCRIPT>
    ตัดสินใจเอาเองแล้วหละครับ...หุหุหุ
     
  5. xlmen

    xlmen เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    30 ตุลาคม 2005
    โพสต์:
    1,428
    ค่าพลัง:
    +3,291
    [​IMG]
    พิมพ์นี้ผมไม่เคยเห็นครับคุณลูกเจี้ยบ.....ไม่ทราบว่าออกวัดไหนเหมือนกันครับ ?
    (อกกระบอกใหญ่แต่ขาเล็ก ฐานอาสนะโค้งน้อยเกินไปดูขัดตาตลอดทั้งองค์พระ)
     
  6. bikarn

    bikarn เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 มีนาคม 2010
    โพสต์:
    1,766
    ค่าพลัง:
    +1,524

    ขอบคุณมากขอรับ คุณจารุ

    สำหรับใบบุญ ขอให้คุณได้รับบุญอันยิ่งใหญ่ นะ ขอรับ
     
  7. จารุ

    จารุ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    15 สิงหาคม 2006
    โพสต์:
    23,747
    ค่าพลัง:
    +236,438
    ขอบคุณครับ ตอนนี้ก็อาศัยบารมีหลวงพ่อหลวงปู่ครับ:cool:
     
  8. keepwork

    keepwork เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    23 ตุลาคม 2009
    โพสต์:
    277
    ค่าพลัง:
    +770
    k.wsbs ครับ ผมลองส่องดูเนื้อสมเด็จองค์นี้หลายครั้ง..ผมเห็นว่ามีเส้นใยบางๆ..คือเส้นใยอะไรครับช่วยพิจารณาว่าเท็จจริงเป็นเช่นไร....ขอบคุณครับ
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

  9. wasabi san

    wasabi san เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    15 พฤษภาคม 2009
    โพสต์:
    2,009
    ค่าพลัง:
    +5,915
    [​IMG] [​IMG]

    ผมว่าไม่ผ่านครับ เท่าที่ดูล้อพระสมเด็จพิมพ์ใหญ่มาแต่เอาถอดพิมพ์มาไม่หมด ส่วนเนื้อหามวลสารยังไม่ถึงยุคครับ
     
  10. wasabi san

    wasabi san เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    15 พฤษภาคม 2009
    โพสต์:
    2,009
    ค่าพลัง:
    +5,915
    สวัสดี คุึณsinsen

    เรียนตามความจริง มวลสารอย่างนี้ผมได้มาราวปี 2535 พระชุดนี้ระบาดเมื่อเกือบ 20 ปีที่แล้ว ถ้าผิวแกร่งจนแห้งกระด้างเกินไปอย่างองค์นี้ ไม่ใช่พระกรุบางขุนพรหมอย่างแน่นอน
     
  11. wasabi san

    wasabi san เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    15 พฤษภาคม 2009
    โพสต์:
    2,009
    ค่าพลัง:
    +5,915
    [​IMG] [​IMG] [​IMG]

    [​IMG] [​IMG] [​IMG]

    ถ้าถามผมเรื่องพระหลังปี 2,500 ผมมีเก็บบ้าง แต่ผมไม่ได้ศึกษาเลย ส่วนใหญ่ผมชอบพระเก่ามากกว่า จับดูแล้วมันส์สะใจ น่าลุ้นมากกว่า แถมยังพุทธคุณแรงกว่ากันเยอะ(ความเชื่อส่วนตัว)
     
  12. kom_

    kom_ Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    16 พฤษภาคม 2010
    โพสต์:
    20
    ค่าพลัง:
    +48
    พระสมเด็จเสร็จหมดแล้วครับ รบกวนพี่วาซาบิและท่านอื่นๆ ดูพระปิดตาให้ด้วยนะครับ ขนาดประมาณ 1.5*1.5 ซม.ครับ
    ขอบคุณมากครับ
    [​IMG]
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 4 สิงหาคม 2010
  13. wasabi san

    wasabi san เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    15 พฤษภาคม 2009
    โพสต์:
    2,009
    ค่าพลัง:
    +5,915

    [​IMG] [​IMG]

    องค์นี้เรียก พระกรุวัดเงินคลองเตย พิมพ์ซุ้มกอฐานสูง ผมว่าเนื้อขาวและผิวอย่้างนี้น่าจะแท้ครับ ดูจากด้านหลังยังมีผิวฟองเต้าหู้อยู่บ้าง สวยใช้ได้ครับ
     
  14. wasabi san

    wasabi san เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    15 พฤษภาคม 2009
    โพสต์:
    2,009
    ค่าพลัง:
    +5,915
    [​IMG] [​IMG]

    ไม่ผ่านครับ พิมพ์น่าจะถอดมาครับ ส่วนเนื้อดินยังดูไม่ถึงยุค ครับเจ้านาย
     
  15. wasabi san

    wasabi san เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    15 พฤษภาคม 2009
    โพสต์:
    2,009
    ค่าพลัง:
    +5,915
    [​IMG] [​IMG]

    พระองค์นี้ ทั้งเนื้อ ทั้งพิมพ์ ไม่ถึงยุคครับ แต่อาจจะเป็นพระยุคหลังไม่ทราบวัด
     
  16. wasabi san

    wasabi san เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    15 พฤษภาคม 2009
    โพสต์:
    2,009
    ค่าพลัง:
    +5,915
    [​IMG]

    อาจจะเป็น "ใยมัวแต่สงสัยอยู่ได้" มั้งครับ

    องค์นี้ลงรักสมุก ใยที่เห็นน่าจะเป็นเศษใยใบตองเผา หรือไม่ก็ใยใบลานเผา ผมไม่มั่นใจว่าหลังจากการเผาแล้ว อาจจะนำไปหมักน้ำให้ยุ่ย เพราะบางส่วนยังไม่ได้ไหม้ไฟ แล้วตากแห้งหลังจากนั้นจึงน้ำมาผสมกับรัก ก่อนลงองค์พระสมเด็จ
    ลองพิจารณากันดูครับ
     
  17. otagon

    otagon เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    30 กรกฎาคม 2010
    โพสต์:
    78
    ค่าพลัง:
    +133

    ขอบคุณมากคร๊าบบบบบบ...............
     
  18. xlmen

    xlmen เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    30 ตุลาคม 2005
    โพสต์:
    1,428
    ค่าพลัง:
    +3,291
    ผมเห็นด้วยกับคุณวาซาบิ....
    ในกระทู้ที่ #2429 ,#2430 ,#2434 - 2436 อีก 1 เสียงครับ อิอิ....(สบายเลยเรา หุหุหุ)
     
  19. otagon

    otagon เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    30 กรกฎาคม 2010
    โพสต์:
    78
    ค่าพลัง:
    +133

    ขอบคุณมาก ๆ เลยครับที่ช่วยพิจารณา
     
  20. wasabi san

    wasabi san เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    15 พฤษภาคม 2009
    โพสต์:
    2,009
    ค่าพลัง:
    +5,915

    พระปิดตาผงผสมใบลานคลุกรัก ผมไม่รู้จะนิมนต์ท่านลงวัดไหนเหมือนกัน องค์นี้เก่าใช้ได้ ดีไม่ดีอยู่ในยุคหลวงพ่อแก้ว วัดปากทะเลได้เลย

    ใครพอจะมีข้อมูล ช่วยเพิ่มความกระจ่างด้วย จะเป็นพระคุณอย่างสูง
     
สถานะของกระทู้:
กระทู้ถูกปิด ไม่สามารถโพสต์ตอบกลับได้

แชร์หน้านี้

Loading...