ขอเชิญท่านที่มีความจงรักภักดีและเทิดทูนในสมเด็จพระนเรศวรมหาราช

ในห้อง 'งานบุญอื่นๆ' ตั้งกระทู้โดย จงรักภักดี, 28 เมษายน 2009.

  1. นารถะสุญญตา

    นารถะสุญญตา เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    31 พฤษภาคม 2007
    โพสต์:
    110
    ค่าพลัง:
    +676
    ถ้าพูดว่าอยากเฝ้าแผ่นดินต่อหรือ คงตอบได้ว่าเพราะความที่มีทิฎิ โทสะ โมหะอยู่ ยังละวาง ยังยึดมั่นถือมั่น อยู่มาก จึงยังคงไม่ได้ไปไหนเพราะยังแก้ปมเหล่านี้ยังไม่ได้ แต่เมื่อเขาเหล่านั้นเริ่มละวางได้บ้าง และประจวบเหมาะกับเราตั้งจิตมั่นอุทิศถึงแก่พวกเขาเหล่านั้นก็จะไปได้เร็วครับ ยกตัวอย่างคนที่กำลังโกรธมากๆๆเป็นฟื้นเป็นไฟ (เพราะยึดมั่นกับอารมย์โกรธมาก) ใครจะพูดอะไร แนะอะไรก็คงไม่ฟังอะไรทั้งนั้น แต่เมื่ออารมย์โกรธเหล่านั้นเริ่มผ่อนคลายลงมา แล้วมีคนที่สนิท หรือญาติพี่น้องที่นับถือกัน พูดว่ากล่าวตักเตือนชี้ผลที่จะเกิด เขาเหล่านั้นก็ยอมต้องมีใจคิดตามบ้าง เมื่อเราชี้ให้เขาเห็นซึ่งผลเหล่านั้นให้เขาเห็นอย่างถ่องแท้ในจิตเขาเหล่านั้น เขาเหล่านั้นย่อมหลุดพ้นมาได้... จิงมั๊ยครับ ผิดรู้ถูกอย่างไรโปรดใช้สติพิจารณาครับ

     
  2. นารถะสุญญตา

    นารถะสุญญตา เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    31 พฤษภาคม 2007
    โพสต์:
    110
    ค่าพลัง:
    +676
    น่าสนใจครับ ขอเสนอความคิดของผมที่มีต่อสองพระองค์บ้างนะครับ

    สมเด็จพระนเรศวรมหาราชพระองค์ทรงมีพระปรีชาสามารถในด้านการศึก ถ้าเปรียบเทียบกับปัจจุบันก็คงจะเป็นกระทรวงกลาโหมครับ เพราะพระองค์มีปณิธานอันแรงกล้าที่จะคงความเป็นไท ไม่เป็นทาสใคร คงไม่ต้องบอกนะครับว่าพระองค์ท่านศึกษามาจากที่ใด
    สมเด็จพระเอกาทศรุจพระองค์ทรงมีพระปรีชาสามารถในด้านการปกครองถ้าเปรียบเทียบกับปัจจุบันก็คงจะเป็นทางด้านรัฐศาสตร์-การฑูต ทรงได้แบบอย่างมาจากพระมหาจักรพรรดิ์(สมเด็จตาของพระองค์)
    ส่วนที่ทั้งสองพระองค์ไม่มีอะไรขัดแย้งกันนั้น ถ้าจะพูดตามความคิดของผมก็คงต้องมีบ้างครับ แต่ทั้งสองพระองค์ทรงเคารพซึ่งกันและกัน มีความรักใคร่ปรองดองกัน ยึดถือประโยชน์ส่วนรวมมากกว่าส่วนตนเป็นที่ตั้ง สมเด็จพระนเรศทรงนับถือพระอนุชาในด้านการบริหารบ้านเมืองเป็นอย่างมาก จึงไม่ทรงระแวง และไว้พระราชหฤทัยในตัวพระอนุชาจึงทรงยกย่องให้พระอนุชาเสมือนหนึ่งเป็นพระองค์(เปรียบได้กับกษัตริย์คนหนึ่งในขณะนั้น) เพราะสมเด็จพระนเรศทรงตั้งใจกอบกู้บ้านเมืองให้เป็นปึกแผ่น ถ้าจะให้มานั่งว่าราชการแผ่นดินบริหารประเทศนั้น เห็นท่าว่าจะทรงทำไม่ดีเท่าที่ควร และปณิธานของพระองค์คงจะไม่สำเร็จผลในระยะอันใกล้นี้เป็นแน่ ส่วนพระอนุชาสมเด็จพระเอกาทศรุจก็ทรงนับถือพระองค์พี่ สมเด็จพระนเรศเป็นอย่างยิ่ง ว่าทรงพระปรีชาสามารถในด้านกลศึก ขวัญทหาร และรู้ดีในพระราชหฤทัยของสมเด็จพี่ว่ามีประสงค์เช่นใด และก็เป็นพระประสงค์ของพระองค์เช่นกัน
    จึงคิดว่าทั้งสองพระองค์จะไม่ก้าวก่ายซึ่งกันและก่าย แต่จะคอยให้ความคิดเห็น ให้ข้อเสนอแนะซึ่งกันและกัน ในกรณีที่อีกฝ่ายต้องการขอความคิดเห็น และก็จะไม่มีการโกรธเคืองกัน ถ้าความคิดของทั้งสองไม่ตรงกัน แต่จะทรงตรึกตรองกันหนักอีกครั้งก่อนที่จะทำอะไรลงไป
    ส่วนเรื่องพระโอรสสมเด็จผมไม่ขอกล่าวในที่นี้ครับ ด้วยเหตุผลบางประการครับ

    (หากมีเหตุผิดพลาดอะไรกระผมก็ขออภัยท่านผู้อ่านทุกท่านมา ณ ที่นี้ด้วยนะขอรับ )




     
  3. ทางสายธาตุ

    ทางสายธาตุ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 มกราคม 2009
    โพสต์:
    2,897
    ค่าพลัง:
    +6,434
    สวัสดีค่ะ เห็นด้วยในข้อคิดเห็น

    นึกถึงเรื่องที่ทางสายธาตุเคยล้อคุณนารถฯโดยเอาเพลงไก่จ๋ามาล้อเล่น ต้องขอโทษด้วยค่ะ
     
  4. ทางสายธาตุ

    ทางสายธาตุ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 มกราคม 2009
    โพสต์:
    2,897
    ค่าพลัง:
    +6,434
    คุณนารถฯว่าถ้าเป็นตัวบางแต่ตัวอักษรขนาด 4 จะดีกว่าไหมคะ ตาลาย มักฮวย เป็นเยอะขึ้นแล้วเดี๋ยวนี อิชั้นเนี่ยแหละค่ะ อิอิ
     
  5. ทางสายธาตุ

    ทางสายธาตุ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 มกราคม 2009
    โพสต์:
    2,897
    ค่าพลัง:
    +6,434
    เรื่องของคำว่า เจ้าขรัว และ ขรัว ที่ดิฉันได้อ่านจากหนังสือสมบัติพระนเรศวร ของคุณชวลิต ยิ้มประเสริฐ นะคะพี่จงรักภักดี และคุณ puken

    ขรัว ไว้เรียกคนแก่ ขรัวตาขรัวยาย ไว้เรียกคุณตาคุณยายที่มีหลานเป็นลูกเจ้า อีกวิธีที่ใช้เรียก ขรัวคือเรียกพระที่อายุสูงๆ

    ซึ่งทางสายธาตุก็เห็นว่ามีความเป็นไปได้สูงมากที่พระนางมณีรัตนาก็คือเจ้าขรัวมณีจันทร์นั่นเอง น่าจะทรงเป็นพระองค์เดียวกัน มีคนทำวิกิพีเดียเกี่ยวกับพระนางมณีรัตนาไว้แล้ว ทางสายธาตุไปเติมเรื่องพระราชพิธีอาสวยุทธไว้เพื่อให้ข้อมูลสมบูรณ์ขึ้นด้วยค่ะ

    พระมณีรัตนา - วิกิพีเดีย
     
  6. ทางสายธาตุ

    ทางสายธาตุ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 มกราคม 2009
    โพสต์:
    2,897
    ค่าพลัง:
    +6,434
    Hua-zhao-song (華招宋)

    宋 ซ่ง มาจาก Song Dynasty หรือราชวงศ์ซ่ง

    ราชวงศ์ซ่ง เป็นราชวงศ์ของชาวฮั่น ก่อนที่จะล่มสลาย เพราะกองทัพของเจงกีสข่าน

    เจงกีสข่านไล่คนไทลงมาทางใต้ ซึ่งตอนนั้นทางใต้ของจีนปกครองอยู่ภายใต้อาณาจักรซ่งใต้

    และหลังจากเจงกีสข่านตายไปได้ 20 ปี จึงก่อตั้งอาณาจักรสุโขทัย ซึ่งตอนนั้นเมืองจีนอยู่ใต้การปกครองของ กุบไลข่าน (หลานของเจงกีสข่าน)

    และกุบไลข่านก็ได้ส่งพระราชธิดาพระองค์หนึ่งมาถวายพ่อขุนรามคำแหงมหาราช

    บางทีคนจีนก็อาจจะถือว่าคนไทคือคนในอาณาจักรซ่งใต้ (หนานซ่ง) มีเชื้อสายความเป็นฮั่นเหมือนๆกับคนจีน

    ถ้ารวบรวมคนไทได้ น่าจะมากเท่าๆกับคนจีนในปัจจุบันนี้ก็ได้ค่ะ เคยอ่านเจอข้อมูลเขาเขียนไว้ดังนี้

    ถ้าคนเชื้อสายไททุกสายมารวมกัน คงจะมีมากมายแน่ๆเลยค่ะ
     
  7. ทางสายธาตุ

    ทางสายธาตุ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 มกราคม 2009
    โพสต์:
    2,897
    ค่าพลัง:
    +6,434
    งักฮุย ขุนพลแห่งอาณาจักรซ่งใต้

    นึกถึงเรื่องงักฮุย ที่พี่จงรักภักดีเคยเขียนถึงด้วยค่ะ ท่านงักฮุยเป็นยอดขุนพลแห่งอาณาจักรซ่งใต้

    กำเนิดวีรบุรุษ

    งักฮุย หรือเย่ว์เฟย (Yue Fei) (ค.ศ.1103 - 1142) ถือเป็นตัวแทนของวีรบุรุษผู้รักชาติแห่งราชวงศ์ซ่งใต้ เกิดในครอบครัวชาวนาในมณฑลเหอหนาน ค.ศ.1125 ขณะที่งักฮุยอายุได้ 22 ปี เมื่อกองทัพจินบุกลงใต้ เขาได้ร่วมกับกองทัพในการปกป้องเมืองไคเฟิง ด้วยความเก่งกาจในการรบของงักฮุยทำให้เขาได้รับชัยชนะในการต่อสู้กับกองทัพจินโดยตลอด ในเวลาต่อมาเมื่อได้เลื่อนขึ้นเป็นแม่ทัพ งักฮุยได้ฝึกฝนกองทัพอันเข้มแข็งของตัวเองขึ้นในในนาม "กองทัพงักฮุย" ความเข้มแข็งและชัยชนะอย่างต่อเนื่อง ทำให้ทหารจินนั้นครั่นคร้ามต่อกองทัพงักฮุยเป็นอย่างยิ่ง จนมีคำร่ำลือกันในหมู่ทหารจินว่า "โยกภูเขานั้นง่าย คลอนทัพงักฮุยนั้นยากยิ่ง"


    [​IMG] [​IMG]
    อักษรจีน "รู้รักภักดี แทนคุณแผ่นดิน" ที่ถูกจารึกไว้บนกำแพงศาลเจ้างักฮุย เมืองหางโจว
    คำสี่คำนี้เป็นคำที่มารดาของงักฮุย สลักไว้บนหลังของบุตรชาย

    ในปี ค.ศ.1140 ภายในอาณาจักจินเกิดความเปลี่ยนแปลงทางการเมือง โดยแม่ทัพสายเหยี่ยวอย่างอูจู๋ขึ้นมามีอิทธิพลในราชสำนักจิน ส่งผลให้ในเวลาต่อมากองทัพจินยกทัพลงมารุกรานอาณาจักรซ่งใต้อย่างเต็มรูปแบบ โดยมีการแบ่งการเดินทัพออกเป็นหลายสาย อย่างไรก็ตาม ด้วยการต่อต้านอันเข้มแข็งของประชาชนและทหารซ่งทำให้สามารถยันกองทัพจินเอาไว้ได้ นอกจากนี้ ด้วยความกล้าหาญและสามารถของแม่ทัพแห่งราชวงศ์ซ่งหลายต่อหลายนาย อย่างเช่น หานซื่อจง จางจุ้น รวมไปถึงงักฮุย ทำให้นอกจากจะสามารถป้องกันอาณาเขตไว้ได้แล้ว กองทัพซ่งยังสามารถรุกเอาดินแดนคืนได้อีกมากมายด้วย โดยกองทัพของงักฮุยสามารถยึดเอาไช่โจว (ปัจจุบันอยู่ในมณฑลเหอหนาน) อิ่งชาง (ปัจจุบันอยู่ในเหอหนาน) เจิ้งโจว และลั่วหยาง คืนมาจากจินได้ โดยในเวลาต่อมากองทหารม้าของงักฮุยยังสามารถรักษาเหยี่ยนเฉิง (ปัจจุบันอยู่ในเหอหนาน) และตีกองทัพทหารม้าอันเข้มแข็งของอูจู๋เสียกระเจิงอีกด้วย โดยชัยชนะครั้งนั้นในหน้าประวัติศาสตร์จีนบันทึกเอาไว้ว่าคือ "ชัยชนะที่เหยี่ยนเฉิง"



    [​IMG]
    รูปปั้นงักฮุย ที่เมืองหางโจว ด้านบนเป็นตัวอักษรมีความหมายว่า "เอาแผ่นดินของข้าคืนมา"

    ณ เวลานั้นแม้ว่าสถานการณ์จะเป็นใจอย่างยิ่งต่อการฟื้นฟูประเทศของราชวงศ์ซ่งใต้ แต่ฮ่องเต้ซ่งเกาจงที่ได้รับคำแนะนำจากขุนนาง ฉินฮุ่ย (Qin Hui) กลับมีแนวนโยบายในการเจรจาสงบศึกกับอาณาจักรจิน โดยมองว่า งักฮุยนั้นคืออุปสรรคของการเจรจา ทำให้มีการส่งป้ายทองอาญาสิทธิ์ 12 ป้ายภายในวันเดียวเรียกให้งักฮุยถอนทัพกลับมาทางใต้ แม้งักฮุยจะพยายามฝืนคำสั่งของราชสำนักเช่นไร แต่สุดท้ายก็ทัดทานไว้ไม่ไหวต้องยกทัพกลับเมืองหลวง ปล่อยให้กองทัพจินยึดดินแดนคืนกลับไป

    หลังงักฮุยถอนทัพกลับมายังเมืองหลวง ฉินฮุ่ยก็ใส่ร้ายว่า งักฮุยนั้นมักใหญ่ใฝ่สูง คิดการใหญ่จะก่อกบฏล้มล้างราชสำนักจนถูกส่งเข้าคุก ในเวลาเดียวกันราชสำนักซ่งก็บรรลุข้อตกลงในสัญญาสงบศึกกับอาณาจักรจิน สัญญาสงบศึกดังกล่าวลงนามกันในปี ค.ศ.1141 อันเป็นปีที่ 11 ของศักราชเส้าซิง ทำให้ได้ชื่อว่าเป็น "สัญญาสงบศึกเส้าซิง" (Treaty of Shaoxing) สัญญาดังกล่าวเป็นสัญญาที่ซ่งใต้เสียเปรียบจินเป็นอย่างมาก เนื่องจากต้องซ่งใต้ต้องยอมลดตัวเป็น "บ่าว" ยกย่องจินไว้เป็น "นาย" ทุกปีซ่งต้องส่งของบรรณาการไปให้กับจินเป็นเงิน 250,000 ตำลึง กับผ้าไหมจำนวน 250,000 พับ ทั้งต้องยอมยกดินแดนถังโจว เติ้งโจวทั้งหมด รวมไปถึงพื้นที่ครึ่งหนึ่งของซังโจว และฉินโจวให้กับจินด้วย ทั้งนี้ ภายหลังการเซ็นสัญญาสงบศึกดังกล่าวได้ไม่นาน งักฮุยก็ต้องโทษถึงขั้นประหารชีวิต
     
  8. ทางสายธาตุ

    ทางสายธาตุ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 มกราคม 2009
    โพสต์:
    2,897
    ค่าพลัง:
    +6,434
    ตำนานปาท่องโก๋ (ฉินฮุ่ยทอดน้ำมัน)

    [​IMG]


    เมื่อนานมาแล้ว ในประเทศจีน มีขุนพลผู้กล้าหาญและซื่อสัตย์สุจริตคนหนึ่งชื่อว่า ขุนพลงักฮุยขุนพลงักฮุย เป็นผู้ที่รักชาติบ้านเมืองอย่างมาก นำกองทัพ ออกสู้รบกับข้าศึกอย่างสุดความสามารถชื่อเสียงเรื่องความ ซื่อสัตย์รักชาติของ ขุนพลงักฮุยขจรขจาย จนแม้แต่ทหารข้าศึกเมื่อเห็นธงของกองทัพของงักฮุย ซึ่งมีตัวอักษร ว่า ”งักฮุยยักผู้จงรัก” เท่านั้น ก็ตกใจจนขวัญบิน และต่างพากันแตกนี้กระเจิงไม่กล้าเข้ารบด้วย

    มีเรื่องเล่าว่า ครั้งหนึ่ง ข้าศึกเคยส่งของขวัญราคาแพง เป็นทองคำห้าร้อยแท่งเพชรนิลจินดาห้าร้อยหีบ ไข่มุกห้าร้อยเส้น เพื่อให้ขุนพลงักฮุยแกล้งยอมแพ้และยอมให้ข้าศึกรุกรานประเทศโดยง่ายขุนพลงักฮุย โกรธมาก จึงประหารคนที่ข้าศึกส่งมาทันที และนำสมบัติดังกล่าวไปเททิ้งในแม่น้ำ

    แต่น่าเสียดาย ในสมัยนั้น มีขุนนางขี้โกงไร้คุณธรรมอยู่คนหนึ่ง ชื่อว่าฉินฮุ่ย ขุนพลฉินฮุ่ยเป็นผู้มีอำนาจสูงสุด ในหมู่ขุนนางทั้งหลาย เขาและภรรยาพยายามกลั่นแกล้ง ใส่ร้าย ขุนพลงักฮุย ตลอดเวลา เพราะสองสามีภรรยาต้องการขายชาติให้ แก่ศัตรูจนในที่สุด ขุนพลงักฮุยก็ถูกขุนพลฉินฮุ่ยประหารชีวิต ด้วยความผิดที่กลับมาเมืองหลวงไม่ทันประชาชนรับฟังข่าวนี้ด้วยความเดือดแค้น ต่างร้องไห้อาลัยรักขุนพลงักฮุยกันทั่วหน้า

    ประชาชนแสดงออกถึงความโกรธแค้นฉินฮุ่ยคนขายชาติ ด้วยการนำแป้งสาลีมาปั้นเป็นรูปของฉินฮุ่ยกับภรรยาแล้วติดกันเป็นคู่ นำไปทอดในกระทะน้ำมัน เพื่อแก้แค้นแทน ขุนพลงักฮุย แล้วเรียกว่า "ฉินฮุ่ยทอดน้ำมัน" หรือ ปาท่องโก๋ในปัจจุบัน

    ปัจจุบัน ที่ริมทะเลสาบในเมืองหังโจว มีสุสานของขุนพลงักฮุยตั้งอยู่ ผู้ที่ไปเที่ยวทะเลสาบซีหู จะต้องพากันไปเยือนเพื่อเคารพวีรชนขุนพลงักฮุยทุกคน

    ส่วนรูปหุ่นเหล็กหล่อของฉินฮุ่ยสามีภรรยาซึ่งคงเข่าอยู่หน้าหลุมศพของขุนพลงักฮุย กลับถูกเตะถีบถ่ม น้ำลายจากผู้ไปเยือนไม่เว้นแต่ละวัน แม้รูปหล่อนี้จะชำรุดและซ่อมแซมหลายครั้งก็ตาม ก็ยังถูกผู้คนทั้งหลายที่ชิงชังในพฤติกรรมของฉินฮุ่ยถีบกระทืบและถ่มน้ำลายรดอยู่ไม่ขาด ฉินฮุ่ยผู้รักตัวกลัวตาย เมื่อตอนที่มีอำนาจอยู่ได้กระทำแต่เรื่องเลวๆ อย่างหน้าไม่อายหึกเหิม กล้าแม้กระทั่งขายชาติหาศีลธรรมและความดีอะไรไม่ได้เลย เขาจึงได้รับแต่การด่าทอสาปแช่ง ชื่อเสียงเหม็นคลุ้งไปทั่วฟ้าดิน ตราบเท่าทุกวันนี้

    ส่วนขุนพลงักฮุย แม้จะ ถูกกล่าวหาต่างๆนานา และต้องตายในเงื้อมมือของคนเลว แต่ชื่ออันทรงเกียรติของเขาได้จารึกอยู่ในใจของประชาชนอยู่เป็นนิรันดร์ และขจรขจายไปชั่วฟ้าดินสลาย

    เรียบเรียงใหม่จากหนังสือ สายธารแห่งปัญญา โดย หงอิ้งหมิง, บุญศักดิ์ แสงระวี เรียบเรียง
     
  9. ทางสายธาตุ

    ทางสายธาตุ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 มกราคม 2009
    โพสต์:
    2,897
    ค่าพลัง:
    +6,434
    ทำไมวันนี้อยากรู้เรื่องท่านเจงกีสข่านกับการก่อตั้งอาณาจักรสุโขทัยจัง

    อ่านแล้วคร่าวๆมาแบบนี้ค่ะ

    เจงกีสข่านไล่โจมตีถึงแม่น้ำล้านช้างหรือแม่น้ำโขง เจงกีสข่านเสียชีวิตในปี พ.ศ. 1770

    เมื่อมาอ่านเรื่องของพ่อขุนนาวนำถม ได้ความว่า

    พ่อขุนศรีนาวนำถม สิ้นพระชนม์ปี พ.ศ. 1724 (เจงกิสข่านยังไม่ตาย) ต่อจากพ่อขุนศรีนาวนำถม เป็น ขอมสบาดโขลญลำพง



    ระยะการปกครองของขอมสบาดโขลญลำพง ตอนนั้นเจงกีสข่านยังเรืองอำนาจอยู่ ขอมสบาดฯอาจจะจำเป็นต้องพึ่งขอมเพื่อให้พ้นอิทธิพลของเจงกีสข่านก็ได้ พอขอมสบาดฯสิ้นพระชนม์ ในปี พ.ศ. 1782 (เจงกีสข่านตายไปแล้ว 12 ปี)

    พ่อขุนบางกลางหาว และพ่อขุนผาเมือง จึงร่วมมือกันขับไล่ขอมออกจากดินแดนนี้

    โดยพ่อขุนบางกลาวหาวได้ปกครองสุโขทัย ตั้งราชวงศ์พระร่วงสุโขทัยขึ้น ในเมืองที่ขอมสบาดฯเคยปกครองอยู่

    [​IMG]
    พ่อขุนศรีอินทราทิตย์



    ส่วนพ่อขุนผาเมืองก็ปกครองเมืองราด(หล่มสัก)และปกครองสรลวงสองแคว(พิษณุโลก)ด้วย พ่อขุนผาเมืองเป็นต้นราชวงศ์ศรีนาวนำถม บริเวณจังหวัดเพชรบูรณ์และพิษณุโลก

    [​IMG]
    น่าสนใจมากว่าพ่อขุนผาเมืองที่เคยประทับที่เมืองเชียงทอง อยู่ในหลวงพระบาง ประเทศลาวในปัจจุบัน ซึ่งอยู่ทางใต้ของจีนลงมาไม่มาก

    [​IMG]

    ซึ่งบริเวณเมืองเชียงทองนี้เจงกีสข่านเคยบุกลงมาจากจีนเข้าถึงเมืองเชียงทองมาแล้ว


    อ่านแล้วสนุกดีค่ะ ราชวงศ์ศรีนาวนำถม เคยตั้งบ้านตั้งเมืองที่แถวเพชรบูรณ์ พิษณุโลก ก็คงมีความเจริญควบคู่ไปกับอาณาจักรสุโขทัย แต่อาจจะเป็นเพราะทางสุโขทัยได้เจริญพระราชไมตรีกับกุบไลข่าน ทางกุบไลข่านได้ถวายพระราชธิดาหนึ่งพระองค์ให้อภิเษกสมรสกับพ่อขุนรามคำแหง ทำให้ราชอาณาจักรสุโขทัยรุ่งเรืองและยาวนานกว่าอาณาจักรศรีนาวนำถมก็เป็นได้

    พระมหาฤทธิชัยลองอ่านดูนะเจ้าคะ ท่านจุดประกายมาเรื่องพ่อขุนรามคำแหง ทางสายธาตุได้ประกายเรื่องพระนาม Hua-zhao-song อ่านๆดูแล้ว เกือบๆจะเป็นเรื่องเดียวกัน หรือว่ามันคือเรื่องราวที่ต่อเนื่องและเกี่ยวเนื่องกันระหว่าประเทศต่างๆในภูมิภาคนี้กันหล่ะหนอ ....โปรดใช้วิจารณญานในการอ่านค่ะ
     
  10. ทางสายธาตุ

    ทางสายธาตุ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 มกราคม 2009
    โพสต์:
    2,897
    ค่าพลัง:
    +6,434
    คือข้อความในหมิงสือลู่ซึ่งแปลเป็นภาษาอังกฤษแล้วได้ดังนี้

    国王 ก๊กอ้วง(ออกเสียงแต้จิ๋ว) หรือ กวั๋วอ๋อง แปลว่าพระเจ้าแผ่นดิน

    华招宋 เป็นตัวเขียนอย่างง่าย(simply chinese) อ่านว่า หัวเจ้าซ่ง

    ตอนนั้นพระองค์ท่านทรงเป็นองค์รัชทายาท ยังไม่ได้เป็นก๊กอ๊วง ทำไมคนจีนบันทึกว่าทรงเป็นพระเจ้าแผ่นดินแล้วก็ไม่ทราบ แต่ธรรมเนียมแล้ว พระเจ้าแผ่นดินจะไม่ไปส่งเครื่องราชบรรณาการด้วยพระองค์เอง จะต้องเป็นบุคคลสำคัญรองลงไป สมัยนั้นสมเด็จพระนเรศวรทรงเป็นองค์รัชทายาท และพระชนม์เพียง 18 พรรษา ก็ดูน่าจะเหมาะสมด้วยประการทั้งปวงที่จะเป็นพระองค์ท่านเสด็จไปเมืองจีนในสมัยนั้น

    --------------------------------------------------------------------------------

    ทางสายธาตุหยุดค้นหาข้อมูล เอาไว้แค่นี้ก่อนนะคะ ข้อมูลเริ่มเยอะ แตะเบรคก่อนค่ะ

    คุณ Florence 125 เพลงอะไรหนอที่เกี่ยวกับรำวง

    น้องกิ๊บเก๋ คิดถึงเสมอค่ะ

    คุณพี่ดอก........ไม้ (ไม้วิ่งตามมาทันเสมอค่ะพี่ อิอิ) เข้าไปในโพรงเดี๋ยวนี้ กระรอกคุณพี่ดอก........ไม้(ไม้วิ่งตามมาติดๆ) ออกจากโพรงไม่ได้เมื่อไหร่ขอให้บอกนะคะ จะโค่นต้นไม้

    คุณนายเจ๊ เดี๋ยวบอกเจ๊รุ้งให้เรื่องสถานที่ Sleeping (beauty) นะคะ

    คุณน้องโมเย ไว้หลัง 7 ก.พ. หลังจากเจ๊จ่ายค่าใช้จ่ายโทรศัพท์ทุยมูผแล้วคงจะกลับมาโทรได้ปกติ
     
  11. จงรักภักดี

    จงรักภักดี เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    26 กุมภาพันธ์ 2009
    โพสต์:
    1,229
    ค่าพลัง:
    +2,466
    [​IMG]




    ขอกราบนมัสการบูชาหลวงตาด้วยเศียรเกล้า
     
  12. จงรักภักดี

    จงรักภักดี เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    26 กุมภาพันธ์ 2009
    โพสต์:
    1,229
    ค่าพลัง:
    +2,466
    อีกหนึ่งความเห็นครับ

    ...ความคิดเห็นที่ 11

    การถอดภาษาฝรั่งมาเป็นไทย คนแปลก็พยายามหาคำไทยที่เหมาะสมที่สุด
    Zian Crao Mady Tjan เจ้าขรัวมณีจันทร์???
    ผมจำไม่ได้ว่าคนแปล แปลจากฉบับอังกฤษ หรือต้นฉบับดัตช์ แต่ก็ได้ทำให้นามนี้เป็นที่แพร่หลาย
    เจ้าครอก=เจ้าโดยกำเนิด??? ใช้เรียกเจ้าที่เป็นหม่อมเจ้าขึ้นไป แต่ถ้าเป็นเจ้าฟ้า ใช้ว่า เจ้าครอกฟ้า น่าจะใช้มาแต่ปลายอยุธยาจนถึงต้นรัตนโกสินทร์ แต่สมัยร.๑ เจ้าเขมรมาอยู่ที่กรุงเทพฯ ราชสำนักกรุงเทพฯ เห็นชาวเขมรใช้ราชาศัพท์ไพเราะ เช่นเรียกเจ้าของตนว่าพระองค์ เปนต้น จึงรับธรรมเนียมเขมรมาใช้ คำว่าเจ้าครอกก็เลือนหายไป
    ส่วนคำว่าเจ้าขรัว เป็นการแปลมาจากภาษาฝรั่ง จะมีจริงๆ หรือไม่ ยังไม่ทราบ
    แต่ถ้ามีจริง อาจสันนิษฐานได้มาจากคำว่าขรัวตา ขรัวยาย ที่แปลว่า ตาหรือยาย(ที่เป็นสามัญชน) ของพระเจ้าลูกเธอ
    โดยเจ้าขรัวมณีจันทร์อาจมีศักดิ์เป็นยายของพระเจ้าแผ่นดินองค์ใดองคหนึ่ง (เช่น พระเชษฐาธิราช หรือพระอาทิตยวงศ์) จึงบัญญัติให้เรียก เจ้าขรัวมณีจันทร์

    แต่ถ้า croa ในภาษา dutch มันเป็นครอก อยางที่คุณnano191บอกไว้ในกระทู้ 435 ก็จะคลี่คลายข้อสงสัยทั้งหมด
    จาก : พญาสุเรนทร [ 2550-03-02 - 02:13:06 ]


    ....ความคิดเห็นที่ 19

    คห. 18 ครับ
    ผมคิดว่าถึงพระนเรศวรจะมีโอรสกับพระมหเสี พระเอกาทศรถก็เป็นกษัตรย์อยู่ดี
    เพราะพระเอกาทศรถเป็นกษัตริย์ตั้งแต่พระนเรศวรครองกรุงอยุธยาในปี 2133 (ส่วนพระนเรศวรมีศักดิ์เป็นกษัตริย์พิษณุโลกตั้งแต่อายุ 16 พ.ศ.2114)

    เพราะพระนเรศวรทรงตั้งให้เป็นกษัตริย์เทียบเท่ากันจริงๆ ใช้พระบรมราชโองการเหมือนกัน (ขนาดพระปิ่นเกล้ายังใช้แค่ พระบวรราชโองการ ส่วนพระมหาอุปราชใช้แค่ พระบัณฑูร) ซึ่งอาจเป็นครั้งเดียวนับแต่ตั้งกรุงศรีอยุธยาที่มีกษัตริย์จริงๆถึง 2 พระองค์

    พระพุทธเจ้าอยู่หัวทั้ง ๒ พระองค์ จะไม่ออกสงครามพร้อมกันถ้าไมใช่ศึกใหญ่ เช่น คราวยุทธหัตถี ส่วนใหญ่พระนเรศวรจะบู๊ และพระเอกาจะเฝ้าพระนคร (ฝ่ายบุ๋น) กฏหมายส่วนใหญ่พระเอกาจึงเป็นผู้ออก เช่น พระไอยการกระบดศึก ยกเว้นบางครั้งพระนเรศวรจะให้พระเอกาไปทำการแทน (จัดการเรื่องความขัดแย้งที่ล้านนาหรือจัดการออกญาศรไสยณรงค์เป็นกบฏที่ตะนาวศรี) พระนเรศวรก็จะไม่เสด็จไปเอง

    ดังนั้นเมื่อพระนเรศวรสวรรคตก็ไม่มีทางที่พระโอรสจะครองราชย์ต่อ เพราะยังมีกษัตริย์อีกพระองค์อยู่คือพระเอกาทศรถ .....


    King Naresuan Movie: Community
     
  13. ทางสายธาตุ

    ทางสายธาตุ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 มกราคม 2009
    โพสต์:
    2,897
    ค่าพลัง:
    +6,434
    การพบกันระหว่าง 2 มหาบุรุษของโลกในเดือนเมษายน ปี พ.ศ. 2116 ณ กรุงปักกิ่ง

    มหาบุรุษหนึ่งคือ ท่านราชเลขานุการเอก (ตำแหน่งเดียวกันกับตำแหน่งอัครมหาเสนาบดี) แห่งราชวงศ์หมิง รัชสมัยว่านลี่ ท่านราชเลขานุการ จางจวีเจิ้ง ในวัย 48 ปี ทำงานในตำแหน่งราชเลขานุการเอก(ไน่เก๋อ)หรืออัครมหาเสนาบดี(ไจ้เซี้ยง) ปีพ.ศ. 2116 คือปีที่ 2 ของการดำรงตำแหน่งสูงสุดของเหล่าเสนาบดีจีนในสมัยนั้น ได้พบกับสมเด็จพระนเรศวรมหาราชในช่วงเวลาที่พระองค์ได้ 18 พรรษา อายุห่างกัน 30 ปีแต่คบหากันในฐานะมิตรประเทศ เวลานั้นพระจักรพรรดิเสินจง (ว่านลี่) อายุได้ 10 ปี
    จาง จวีเจิ้ง

    <!-- /firstHeading --><!-- bodyContent --><!-- tagline -->จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
    <!-- /tagline --><!-- subtitle -->
    <!-- /subtitle --><!-- jumpto -->ไปที่: ป้ายบอกทาง, ค้นหา
    <!-- /jumpto --><!-- bodytext --><TABLE><TBODY><TR vAlign=center><TD style="FONT-SIZE: 300%">[​IMG]</TD><TD>บทความนี้ใช้ระบบปีคริสต์ศักราช เพราะอ้างอิงถึงคริสต์ศักราชและคริสต์ศตวรรษ หรืออย่างใดอย่างหนึ่ง

    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE style="TEXT-ALIGN: left; PADDING-LEFT: 0.5em; WIDTH: 24em; PADDING-RIGHT: 0.5em; FONT-SIZE: 90%" class=infobox><TBODY><TR><TD style="TEXT-ALIGN: center; FONT-SIZE: 140%" colSpan=2>จาง จวีเจิ้ง</TD></TR><TR><TD style="TEXT-ALIGN: center" colSpan=2>[​IMG]

    </TD></TR><TR><TD style="TEXT-ALIGN: center; FONT-SIZE: 110%" colSpan=2><HR>มหาอำมาตย์แห่งต้าหมิง
    (อัครมหาเสนาบดีคนที่ 47 แห่งต้าหมิง)

    </TD></TR><TR><TD style="BORDER-BOTTOM-STYLE: none; TEXT-ALIGN: center" colSpan=2>ดำรงตำแหน่ง
    ค.ศ. 1572ค.ศ. 1582

    </TD></TR><TR><TH>สมัยก่อนหน้า</TH><TD>เกา ก่ง (จีน: 高拱; พินอิน: Gāo Gǒng)</TD></TR><TR><TH>สมัยถัดไป</TH><TD>จาง ซื่อเหวย (จีน: 張四維; พินอิน: Zhāng Sìwéi)</TD></TR><TR><TD colSpan=2><HR></TD></TR><TR><TH>เกิด</TH><TD>24 พฤษภาคม ค.ศ. 1525
    เทศมณฑลเจียงหลิง มณฑลหูเป่ย์
    </TD></TR><TR><TH>ถึงแก่อสัญกรรม</TH><TD>9 กรกฎาคม ค.ศ. 1582
    (&&&&&&&&&&&&&057.&&&&&057 ปี, &&&&&&&&&&&&&046.&&&&&046 วัน)
    กรุงปักกิ่ง
    </TD></TR><TR><TH>ศาสนา</TH><TD>พุทธ</TD></TR></TBODY></TABLE>จาง จวีเจิ้ง (จีนตัวเต็ม: 張居正; จีนตัวย่อ: 张居正; พินอิน: Zhāng Jūzhèng; เวด-ไจลส์: Chang Chü-cheng) (ชาตะ: 24 พฤษภาคม<SUP id=cite_ref-0 class=reference>[1]</SUP> ค.ศ. 1525, เทศมณฑลเจียงหลิง มณฑลหูเป่ย์; มตะ: 9 กรกฎาคม<SUP id=cite_ref-1 class=reference>[2]</SUP> ค.ศ. 1582, กรุงปักกิ่ง; (&&&&&&&&&&&&&057.&&&&&057 ปี, &&&&&&&&&&&&&046.&&&&&046 วัน)) เป็นมหาอำมาตย์ (จีนตัวเต็ม: 內閣; พินอิน: Nèigé, เน้ย์เก๋อ; อังกฤษ: Grand Secretary) แห่งราชวงศ์หมิงของประเทศจีน ในรัชศกหลงชิ่งและว่านลี่

    <TABLE id=toc class=toc><TBODY><TR><TD>เนื้อหา

    [ซ่อน]
    </TD></TR></TBODY></TABLE><SCRIPT type=text/javascript>//<![CDATA[if (window.showTocToggle) { var tocShowText = "แสดง"; var tocHideText = "ซ่อน"; showTocToggle(); } //]]></SCRIPT>[แก้] ประวัติ

    [​IMG] [​IMG]
    พระมหากาญจนมกุฏของว่านลี่ สำเนาจากของเดิมที่ขุดพบในสุสานหลวง


    จาง จวีเจิ้งได้เผชิญประสบการณ์ความผันผวนอันร้ายกาจทางการเมืองนับแต่เริ่มรับราชการเมื่ออายุยี่สิบหกปีในรัชศกหลงชิ่ง ซึ่งการปกครองอ่อนแอและเกิดการฉ้อราษฎร์บังหลวงอย่างกว้างขวาง ก่อนจะไต่เต่าขึ้นมาตามตำแหน่งเรื่อย ๆ ต่อมาจาง จวีเจิ้งได้ร่วมมือกับมหาอำมาตย์เกา ก่ง (จีน: 高拱; พินอิน: Gāo Gǒng) ในการบริหารราชการร่วมกัน ก่อนจะหันไปร่วมมือกับมหาขันทีชื่อ เฝิง เป่า (จีน: 馮保; พินอิน: Féng Bǎo) เพื่อบีบบังคับให้เกา ก่งออกจากราชการกลับไปยังบ้านเกิด และจาง จวีเจิ้งก็เข้าสวมตำแหน่งมหาอำมาตย์แทน
    แม้จะได้ตำแหน่งมาโดยวิธีการอันมิชอบ ทว่า การบริหารอย่างประเสริฐ และรัฐประศาสโนบายอันเข้มแข็งด้านการต่างประเทศและเศรษฐกิจ ซึ่งจาง จวีเจิ้งดำเนินไปในระยะเวลาสิบปีของการอยู่ในตำแหน่งมหาอำมาตย์นั้น ส่งผลให้ยุคสมัยของเขารุ่งเรืองที่สุดในราชวงศ์หมิง จาง จวีเจิ้งเป็นที่ขึ้นชื่อในเรื่องการรวมศูนย์อำนาจการปกครอง การจำกัดเอกสิทธิ์ของชนชั้นสูง และการสำรวจที่ดินเพื่อปฏิรูประบบภาษี ในบั้นต้นรัชศกว่านลี่ซึ่งเสวยราชย์แต่ทรงพระเยาว์นั้น จาง จวีเจิ้งยังปฏิบัติหน้าที่สำคัญหลายประการ ทั้งเป็นพระอาจารย์ของพระมหากษัตริย์ และผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ เป็นอาทิ ในฐานะพระอาจารย์นั้น จาง จวีเจิ้งมีอิทธิพลต่อพระมหากษัตริย์ และพยายามประคับประคองพระมหากษัตริย์ตลอดพระชันษาอันเยาว์วัยให้ตลอดรอดฝั่ง ทว่าเมื่อว่านลี่เจริญพระชันษาขึ้น กลับทรงเบื่อหน่ายและมีพระราชหฤทัยรังเกียจจาง จวีเจิ้งขึ้นโดยลำดับ เหตุว่ามีพระราชสันดานใฝ่ในกามราคะ และมีพระราชประสงค์จำนงหมายจะบริหารอำนาจการปกครองโดยลำพัง ขณะที่จาง จวีเจิ้งกลับคอยกวดขันพระราชจริยวัตรเป็นอาจิณ นอกจากนี้ จาง จวีเจิ้งยังมิอาจควบคุมรายจ่ายของราชสำนัก เหตุว่าว่านลี่ทรงใช้พระราชทรัพย์เปลืองไปในทางปรนเปรอพระองค์เป็นอันมาก<SUP id=cite_ref-EB_2-0 class=reference>[3]</SUP><SUP id=cite_ref-3 class=reference>[4]</SUP>
    เมื่อจาง จวีเจิ้งถึงแก่อสัญกรรมใน ค.ศ. 1582 อันเนื่องมาจากความเหนื่อยล้าที่ทุ่มเทเพื่อแผ่นดินจนมิได้พักผ่อนติดต่อกันเป็นระยะเวลายาวนาน ส่วนการปฏิรูปของจาง จวีเจิ้งที่กำลังไปได้ก็ดีนั้น ว่านลี่ก็มีพระราชโองการให้ยกเลิกบ้าง และไม่ทรงนำพาบ้าง ทั้งยังไม่ทรงปฏิบัติพระราชกิจเช่นที่เคย ไม่ทรงออกว่าราชการมากขึ้นโดยลำดับ กลับทรงแสวงแต่จะสำราญพระราชหฤทัย ทรงใช้จ่ายพระราชทรัพย์อย่างสุรุ่ยสุร่าย และขูดรีดประชาชนอย่างกว้างขวาง จนส่งผลให้ราชวงศ์หมิงล่มสลายอย่างช้า ๆ
    อนึ่ง เมื่อจาง จวีเจิ้งถึงแก่อสัญกรรมแล้วไม่ถึงสองปีนั้น ว่านลี่ก็มีพระราชโองการให้ถอดยศจาง จวีเจิ้งย้อนหลัง ให้ทำลายป้ายเกียรติคุณและผลงานต่าง ๆ ของจาง จวีเจิ้ง ให้ประหารตระกูลจางทั้งตระกูล และให้ริบราชบาตรเสียสิ้น<SUP id=cite_ref-EB_2-1 class=reference>[3]</SUP>
    จนเมื่อเกือบครึ่งศตวรรษหลังจากนั้น ในรัชสมัยฉงเจิน ผู้ทรงพระราชอุตสาหะจะกอบกู้บ้านเมืองที่กำลังล่มจมลงอันเป็นผลสืบเนื่องมาจากการปกครองอันเหลวแหลกโดยพระมหากษัตริย์พระองค์ก่อน ๆ หน้า ฉงเจินได้ทรงพระอนุสรถึงจาง จวีเจิ้ง และได้มีพระราชโองการให้คืนเกียรติยศทั้งปวงให้แก่จาง จวีเจิ้ง ให้อนุรักษ์บ้านพักที่เขาเคยอาศัยในมณฑลหูเป่ย์ และให้สร้างรูปเคารพของเขาไว้หน้าบ้าน ซึ่งปัจจุบันจัดตั้งเป็นพิพิธภัณฑ์พื้นบ้านจาง จวีเจิ้ง<SUP id=cite_ref-4 class=reference>[5]</SUP>
    [แก้] บทสนทนาเรื่องตำราสี่เล่ม

    ใน ค.ศ. 1573 จาง จวีเจิ้งได้ทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายแก่ว่านลี่ซึ่งอรรถกถาตำราคำสอนขงจื๊อสี่เล่ม ขนานชื่อว่า "บทสนทนาเรื่องตำราสี่เล่ม" (จีน: 四书直解; พินอิน: Si Shu Zhijie; อังกฤษ: Colloquial Commentary on the Four Books) และอรรถกถาของจาง จวีเจิ้งได้รับตีพิมพ์เผยแพร่ในระหว่าง ค.ศ. 1573 ถึง ค.ศ. 1584
    เมื่อจาง จวีเจิ้งถึงแก่อสัญกรรมแล้ว อรรถกถาดังกล่าวรอดพ้นจากการถูกล้างผลาญตามพระราชโองการของว่านลี่ และได้รับตีพิมพ์เผยแพร่อีกในราว ๆ ค.ศ. 1651 ถึง ค.ศ. 1683 ผู้อ่านต่างยกย่องว่าเป็นหนังสือดีอย่างประเสริฐเล่มหนึ่งในประวัติศาสตร์จีน<SUP id=cite_ref-Mungello75_5-0 class=reference>[6]</SUP>
    ต่อมาในคริสต์ศตวรรษที่ 17 อรรถกถาดังกล่าวของจาง จวีเจิ้งก็เป็นที่เลื่องลือยิ่งขึ้น เมื่อคณะมิสชันนารีนิกายเยซูอิตเข้ามาเผยแพร่คริสต์ศาสนาในจีน เพราะจาง จวีเจิ้งตั้งใจเขียนให้เป็นปรัชญาสั่งสอนพระมหากษัตริย์ผู้ทรงพระเยาว์ในฐานะที่เป็นพระอาจารย์ โดยใช้ภาษาเรียบง่ายเพื่อให้เด็กอ่านแล้วเข้าใจ ชนิดเรียบง่ายยิ่งกว่าอรรถกถาที่ลัทธิขงจื๊อใหม่เขียนเผยแพร่ในภายหลัง ทำให้อรรถกถาของจาง จวีเจิ้งได้รับการอ้างถึงเป็นอันมาก และต่อมาก็ได้พิมพ์เผยแพร่ในกรุงปารีสเมื่อ ค.ศ. 1687<SUP id=cite_ref-6 class=reference>[7]</SUP>
    [แก้] ในวรรณกรรม

    [​IMG] [​IMG]
    ป้ายโฆษณาภาพยนตร์จีนชุด "ว่านลี่โชวโฝ่วจางจวีเจิ้ง"


    ในหนังสือสารคดีของ เรย์ หวง (อังกฤษ: Ray Huang) เรื่อง "1587 : อะเยียร์ออฟโนซิกนีฟีแคนซ์" (อังกฤษ: 1587: A Year of No Significance, "ค.ศ. 1587 ปีที่ไม่มีอะไรสำคัญ") จางจวีเจิ้งเป็นตัวละครเอก
    ในวรรณกรรมอินเทอร์เน็ตอันเป็นที่นิยมมากในจีนแผ่นดินใหญ่ เรื่อง "เดอะหมิงไดนาสตีส์อีเวนส์" (อังกฤษ: The Ming Dynasty's Events, "เหตุการณ์บ้านเมืองหมิง") จางจวีเจิ้งก็เป็นตัวละครเอก
    ใน ค.ศ. 2006 จีนแผ่นดินใหญ่ได้จัดทำภาพยนตร์ชุด เรื่อง "ว่านลี่โชวโฝ่วจางจวีเจิ้ง" (จีน: 万历首辅张居正; พินอิน: wàn lì shǒu fǔ zhāng jūzhèng, "มหาอำมาตย์จาง จวีเจิ้ง ของว่านลี่") ชื่อภาษาอังกฤษว่า "The Great Reformer" นำแสดงโดย ถัง กั๋วเฉียง และทีวีไทยนำออกฉายในประเทศไทยเมื่อกลาง ค.ศ. 2010 ให้ชื่อว่า "มหาบุรุษ จางจวีเจิ้ง
     
  14. ทางสายธาตุ

    ทางสายธาตุ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 มกราคม 2009
    โพสต์:
    2,897
    ค่าพลัง:
    +6,434
    และในเวลาเดียวกันนั้นคิดว่า สมเด็จพระนเรศวรคงจะทรงได้พบกับบุคคลสำคัญอีกคนหนึ่งที่ภายหลังพระนางทรงมามีบทบาทในราชสำนักไทยเป็นอย่างมาก .... โปรดใช้วิจารณญานในการอ่านค่ะ

    ท่านจางมีลูกชาย 6 คน ลูกสาว 1 คน และลูกสาวคนนี้คนจีนเขาร่ำลือกันว่า สวยราวกับเทพธิดาทีเดียว

    美如天仙 เหม่ยหยูเทียบเซียน งดงามราวกับเทพธิดา

    นางผู้งดงามนี้ งามเพียงใดหนอ จึงเรียกว่า งามราวกับเทพธิดา

    อ้างอิงกระทู้

     
  15. ทางสายธาตุ

    ทางสายธาตุ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 มกราคม 2009
    โพสต์:
    2,897
    ค่าพลัง:
    +6,434
    <TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=3 width="100%" align=center><TBODY><TR bgColor=#cccccc><TD vAlign=center></TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE border=0 cellSpacing=2 cellPadding=2 width="95%"><TBODY><TR><TD vAlign=top><TABLE border=0 cellSpacing=2 cellPadding=2 bgColor=#f5f5f5 align=center><TBODY><TR><TD>[​IMG]

    สวยหวานงดงามราวเทพธิดา แต่ว่าสดใส ร่าเริง มีชีวิตชีวา (คิดว่าอาจจะจินตนาการได้อนุโลมตามรูปวาดนี้ค่ะ)​
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  16. ทางสายธาตุ

    ทางสายธาตุ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 มกราคม 2009
    โพสต์:
    2,897
    ค่าพลัง:
    +6,434
    ณ เวลานั้น นางผู้งดงามมีอายุรุ่นราวคราวเดียวกับพระจักรพรรดิเสินจง หรืออาจจะอ่อนกว่าพระจักรพรรดิ 2-3 ปี ดังนั้น ปีพ.ศ. 2116 นางผู้งดงามนี้ทรงเยาว์อยู่มาก แต่พระอุปนิสัยร่าเริง สดใส เบิกบาน ทรงมีมาตั้งแต่ทรงพระเยาว์และไม่เปลี่ยนแปลงแม้ภายหลังจะเจริญพระชนม์แล้ว พระองค์ยังคงนำความเบิกบานใจมาสู่ผู้คนที่ใกล้ชิดเสมอๆ การได้อยู่ใกล้กับพระองค์เหมือนการได้อยู่ใกล้รุ่งอรุณที่เบิกบานสดใสเสมอ ...... อธิบายจากความรู้สึกของตนเอง รบกวนคุณนายเจ๊โหน่งเข้ามาแชร์ความเห็นด้วยซิคะ ทรงร่าเริง เบิกบาน สดใส งดงาม เสมอๆ ใช่ไหมคะคุณนายเจ๊โหน่ง
     
  17. gatsby_ut

    gatsby_ut เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 มิถุนายน 2009
    โพสต์:
    821
    ค่าพลัง:
    +14,291
    [​IMG]

    แวะผ่านมา น่ะ เป็นเรื่องที่น่าอ่าน น่าติดตาม ดีนะ ครับ
     
  18. ทางสายธาตุ

    ทางสายธาตุ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 มกราคม 2009
    โพสต์:
    2,897
    ค่าพลัง:
    +6,434

    สวัสดีค่ะ คุณอริยบุตร

    ขอบคุณที่ติดตามอ่านค่ะ ยินดีที่ได้รู้จักอีกครั้ง

    ตอนนี้กำลังอ่านประวัติราชวงศ์ซ่งอยู่ค่ะ โดยเฉพาะราชวงศ์ซ่งใต้ ก่อนจะเป็นราชวงศ์หยวน ที่มี พระเจ้าหงวนสีโจ๊วฮ่องเต้หรือกุบไลข่านเป็นองค์ปฐมของราชวงศ์หยวนค่ะ ซึ่งเกี่ยวเนื่องสัมพันธ์กับอาณาจักรสุโขทัย น่าสนใจดีค่ะ

    เพียงแวะเข้ามา เราก็แอบชื่นชมคุณ (ขอยืมสโลแกนร้านหนังสือแห่งหนึ่งมาใช้ค่ะ) ^^
     
  19. gatsby_ut

    gatsby_ut เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 มิถุนายน 2009
    โพสต์:
    821
    ค่าพลัง:
    +14,291
    แฮ่ะ ๆๆๆๆ รู้จักครั้งแรก น่ะครับ
     
  20. ดอกไม้เมืองบน

    ดอกไม้เมืองบน เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    9 มีนาคม 2008
    โพสต์:
    199
    ค่าพลัง:
    +518
    ---------------------------------------------------

    ขอแจมด้วยคนนะคะ คุณนารถะสุญญตา...

    เพราะค่อนข้างเห็นด้วยในการแสดงความคิดเห็นของคุณ
    ในหลาย ๆ ประเด็นเท่าที่ตามอ่านมา ไม่ค่อยไกลกัน..
    สภาวะความรู้สึก นึกคิด เมื่อเป็นคน กับเมื่อดับสลาย น่าจะต่างกัน..
    จริงอยู่บางจิตเมื่อแตกสลายไปใหม่ ๆ อาจจะยังติดยึดกับสภาวะ
    ที่ดำรงก่อนดับ แต่เมื่อสิ้นสุดสถานะแล้ว เวลาผ่านไป จิตวิญญาณ
    ก็น่าจะเริ่มสงบ เกิดความคิดใคร่ครวญ ประกอบกับสิ่งสมมุติ
    ิในการเป็นตัวตนขณะมีชีวิตอยู่ หมดสิ้นไปด้วย กลับสู่สภาวะ
    พลังงานเท่าเทียมกัน ไม่มีสิ่งสมมุติครอบงำไว้ จิตน่าจะ
    ปลดปล่อย..

    .ยกเว้นบางรายที่ติดยึดกับความทุกข์ทรมาน
    การเป็นตัวตนความเคียดแค้นประกอบกับบุญบารมีของพลังจิต
    ที่เคยสร้างสะสมมาอ่อนไปจิตย่อมอยู่ในสภาวะที่ไม่ดี เช่น ที่เคยได้ยินครูบาอาจารย์ท่านเล่ามา

    จิตก่อนดับหมกมุ่น ยึดติดกับทรัพย์สมบัติ หรือ อารมณ์ที่เปี่ยม
    ไปด้วยโมหะ โทสะ ย่อมนำจิตที่ดับให้ยึดติดกับสภาวะนั้น บางรายจิตวิญญาณไปไหนไม่ได้เพราะผูกติดกับสิ่งของหรือ
    อารมณ์เก่า...... พวกนี้น่าเวทนา

    จริงเท็จเช่นไรไม่ทราบ แต่เป็นมุมมองส่วนตัว ซึ่งอาจต่างจากท่านอื่น
     

แชร์หน้านี้

Loading...