พระวังหน้า ที่หลวงปู่บรมครูเทพโลกอุดรเสก ถ้าต้องการที่จะได้.....

ในห้อง 'งานบุญอื่นๆ' ตั้งกระทู้โดย sithiphong, 23 ธันวาคม 2005.

  1. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    การศึกษาพระพิมพ์ของพระพิมพ์กรุวัดพระแก้ว(ทั้งพระพิมพ์ของวังหน้า,วังหลวงหรือวังหลัง)นั้น ต้องศึกษากันทั้งรูป(เนื้อหาทรงพิมพ์) และนาม(พลังอิทธิคุณขององค์พระพิมพ์) ประกอบกันไปทั้งสองอย่าง หากศึกษาเพียงอย่างใดอย่างหนึ่งแล้ว ผลที่ได้มานั้น ก็จะมีโอกาสที่จะได้พระปลอมสูงมากๆ <O:p</O:p
    <O:p</O:p

    ถ้าศึกษาเพียงแต่รูป(เนื้อหาทรงพิมพ์)นั้น บางครั้งบางช่าง(ช่างสิบหมู่หรือช่างราษฎร์)อาจมีโค๊ดของตนเอง ช่างสิบหมู่หรือช่างราษฎร์นั้นก็ไม่ได้มีเพียงคนเดียว การตำผงพระก็เช่นกัน ใช้เวลาการตำผงต่อ 1 ครกนั้น ใช้ระยะเวลา 4 ชั่วโมง แต่บางท่านที่ตำพระ ถ้าตำผงพระใช้ระยะเวลา 3 หรือ 2 ชั่วโมงนั้น เนื้อพระพิมพ์ที่ได้ก็จะแตกต่างกัน <O:p</O:p
    <O:p</O:p

    ถ้าศึกษาเพียงแต่นาม(พลังอิทธิคุณขององค์พระพิมพ์) หากมีการนำพระปลอมไปเข้าพิธีพุทธาภิเษก หรือนำผงพระแท้ มาเป็นส่วนผสม พระพิมพ์ปลอมนั้นก็สามารถมีพลังอิทธิคุณได้เช่นกัน เพียงแต่ว่ามากหรือน้อยเป็นอีกเรื่องนึงครับ <O:p</O:p
    <O:p</O:p

    สำหรับการตรวจสอบพลังอิทธิคุณขององค์พระพิมพ์นั้น ก็จะแบ่งเป็นสองลักษณะคือ <O:p</O:p
    1.การตรวจสอบพลังอิทธิคุณขององค์พระพิมพ์ได้ เป็นการตรวจสอบดูได้แต่เพียงว่าพระพิมพ์นั้นมีพลังอิทธิคุณหรือไม่เท่านั้น<O:p></O:p>
    2.การตรวจสอบพลังอิทธิคุณขององค์พระพิมพ์เป็น เป็นการตรวจสอบทั้งการจับพลังหรือการนั่งสมาธิ โดยสามรถตรวจสอบได้ว่าพระองค์ใดเป็นผู้ที่อธิษฐานจิต พระผู้อธิษฐานจิตแต่ละองค์กระแสจะไม่เหมือนกัน เปรียบเทียบให้เห็นง่ายๆก็คือคลื่นวิทยุที่มีหลายๆสถานี เช่นกันกระแสพระผู้อธิษฐานจิตแต่ละองค์ก็ไม่เหมือนกัน อีกกรณีหนึ่งก็คือผู้ที่ตรวจสอบพลังอิทธิคุณขององค์พระพิมพ์เป็นนั้น สามารถคุยกับพระผู้ที่อธิษฐานจิตได้ และสามารถเห็นพิธีการพุทธาภิเษกด้วย ในกรณีนี้จะเป็นการที่ดีที่สุดครับ<O:p</O:p
    <O:p</O:p

    ดังนั้นการศึกษาพระพิมพ์ของพระกรุวัดพระแก้วนั้น เป็นเรื่องที่เราๆท่านๆ ไม่สามารถจะระบุลงไปได้ว่า พระพิมพ์องค์นี้ต้องมีลักษณะพิมพ์เป็นอย่างนี้ ต้องมีลักษณะเนื้อหาเป็นอย่างนี้ ทั้งๆที่บางครั้งพระพิมพ์เดียวกัน แต่พระผู้อธิษฐานจิตคนละองค์กันก็มี (เนื่องจากนำเข้าพระราชพิธีพุทธาภิเษก คนละพระราชพิธี) ต้องศึกษาให้ละเอียด ท่านอาจารย์ประถม อาจสาคร ท่านเคยสอนผมและคณะที่ไปหาท่านกับผมว่า อย่าทำตัวเป็นลิงติดแป้น วิทยาการไม่มีจุดจบง่ายๆ ผมจะยกตัวอย่างสักสองเรื่องให้เห็นกันเป็นรูปธรรม เช่นไฟฟ้า สมัยโบราณคนยังไม่มีไฟฟ้าใช้ อยู่ตามถ้า ต่อมาก็เกิดมีไฟ(ที่ให้ความร้อนและแสงสว่าง) ต่อมาก็เกิดเป็นกระแสไฟฟ้าให้เราๆท่านๆได้ใช้กัน หรือสมัยโบราณ คนยังมีไม่โทรศัพท์หรืออินเตอร์เน็ต คนที่อยู่คนละทวีปไม่สามารถติดต่อกันได้ ไม่สามารถพูดคุยกันได้ แต่ในปัจจุบัน คนที่อยู่ในอเมริกา ในญี่ปุ่น สามารถพูดคุยผ่านอินเตอร์เน็ตหรือโทรศัพท์ได้<O:p</O:p
    <O:p</O:p

    รู้น้อยว่ามากรู้ เริงใจ<O:p</O:p
    กลกบเกิดอยู่ใน สระจ้อย<O:p</O:p
    ไป่เห็นชะเลไกล กลางสมุทร<O:p</O:p
    ชมว่าน้ำบ่อน้อย สุดล้ำลึกเหลือ<O:p</O:p
    (เป็นคำพูดของท่านอาจารย์ประถม อาจสาครที่ท่านสอนผม)<O:p</O:p
     
  2. chaipat

    chaipat เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    5 มกราคม 2007
    โพสต์:
    1,282
    ค่าพลัง:
    +11,099
    ผมขอขอบพระคุณในคำชี้แนะครับ
    เป็นประโยชน์ยิ่งครับ

    มีข้อสงสัย เพื่อความกระจ่างนะครับ
    "
    ผมแนะนำให้เลี่ยมกรอบสแตนเลส เพราะว่าสามารถเปิดเพื่อนำพระมาทำความสอาดได้ครับ เนื้อพระก็ไม่ละลายง่ายๆครับ เมื่อวานนี้ ผมลองนำพระมาล้างรักออก ผมนำมาแช่น้ำมันสน 45 นาที แล้วผมใช้ผ้าชุปน้ำมันสนเช็ดรัก และนำพระจุ่มน้ำมันสนบ่อยๆ ผมล้างรักไม่เกลี้ยงครับ แถมผมแช่น้ำไว้ตั้งแต่ 5 ทุ่มเมื่อคืนนี้ กระทั่งตอนนี้ก็ยังแช่น้ำอยู่ พระก็ยังไม่ละลายครับ
    "
    เมื่อวานผมกลับไปคิด ถ้าลงรักไม่ปิดทองจะเป็นการรักษาพระไหม แต่คำตอบข้างต้น ก็สวนทางกัน ก็ยังงงใหญ่ การใช้น้ำมันสนทำความสะอาด
    เอารักออกเพื่อ? กับมีรักอยู่ แตกต่างกันอย่างไรครับ

    ขอเรียนถามเพื่อความรู้ และจะนำไปใช้ให้ถูกต้องครับ
    ขอขอบคุณในเมตตาจิต ที่ให้ความรู้ครับ
     
  3. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948

    สาเหตุที่ผมล้างรักออกนั้น ผมต้องการจะศึกษาดูเนื้อในของพระที่ลงรักว่ามีเนื้อลักษณะอย่างไร

    แต่สำหรับท่านที่บูชาไปแล้วนำไปห้อยนั้น ไม่ต้องล้างรักออกครับ เนื่องจากว่ารักจะเป็นสิ่งที่ช่วยในการรักษาเนื้อพระได้เป็นอย่างดี ถ้าจะล้างทำความสะอาดก็ล้างด้วยน้ำเปล่าก็พอแล้ว และน้ำเปล่าที่ใช้ล้างพระพิมพ์นั้น ก็ให้นำไปรดน้ำต้นไม้ อย่าไปทิ้งลงท่อน้ำทิ้งครับ

    การที่พระพิมพ์มีรักเดิมๆอยู่ก็สวยงามครับ
     
  4. chaipat

    chaipat เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    5 มกราคม 2007
    โพสต์:
    1,282
    ค่าพลัง:
    +11,099
    ขอขอบพระคุณครับ
    เจตนายังคงเหมือนเดิมครับ ในกระทู้ก่อนๆ

    ที่เรียนถามมิใช่เพื่อตนเองเป็นสำคัญนะครับ

    แต่ความรู้ที่ได้ จักนำไปใช้ให้ลูกหลานปฏิบัติกัน ได้ถูกต้อง

    สอน และชี้แนะได้ถูกต้อง ทุกวันนี้เห็นความสำคัญของคำว่า

    "รู้ กับไม่รู้ แตกต่างกันมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ผลที่ได้จากการปฏิบัติ"

    และเมื่อรู้แล้ว ปฏิบัติเป็น ปฏิบัติได้ ช่วยชี้แนะ ชี้ทาง สอนสั่ง

    จะเป็นประโยชน์ต่อผู้คนอีกมากมายนัก ประเมินค่าไม่ได้ จริงๆ นะครับ

    ขอขอบคุณครับ
     
  5. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    <TABLE class=tborder cellSpacing=1 cellPadding=6 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=thead>ขณะนี้มีคนกำลังดูกระทู้นี้อยู่ : 6 คน ( เป็นสมาชิก 3 คน และ บุคคลทั่วไป 3 คน ) </TD><TD class=thead width="14%"></TD></TR><TR><TD class=alt1 width="100%" colSpan=2>sithiphong, chaipat, golfpy </TD></TR></TBODY></TABLE>

    ผมเองก็ใช่ว่าจะรู้ทุกเรื่อง ยังคงต้องศึกษากับท่านอาจารย์ประถม และกลุ่มลูกศิษย์ของท่านอยู่เสมอๆ และที่สำคัญต้องก้าวให้ทันและรู้เท่าทันกับเณร(กลุ่มผมใช้เรียกพระปลอมว่าเณร)ใหม่ๆอยู่เสมอ

    ผมขอกราบขอบพระคุณอย่างสูงต่อท่านอาจารย์ประถม อาจสาคร และกลุ่มลูกศิษย์ของท่านที่ได้ให้ความรู้ต่างๆมากมายกับผมและคณะอยู่เสมอมาครับ

    .
     
  6. ไอ้ใบ้

    ไอ้ใบ้ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    7 เมษายน 2005
    โพสต์:
    2,252
    ค่าพลัง:
    +7,241
    ขออนุญาตท่านเจ้าของกระทู้อีกนิดส์สสค่ะ

    เรียนคุณสิทธิพงศ์
    พระทั้งหมด 12 องค์พร้อมค่าจัดส่ง อ้อยจัดส่งไปให้คุณสิทธิพงศ์ทั้งหมดเพื่อนำไปมอบต่อกับคณะ ได้ไหมค่ะ เพื่อความสะดวกในการที่จะไม่ต้องแจ้งที่อยู่ของบางท่านค่ะ
    รบกวนหน่อยนะ (verygood) ​
     
  7. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948

    ได้ครับ ไม่มีปัญหาทุกเรื่องครับ

    โมทนาสาธุครับ
     
  8. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948

    อีกเรื่องนึงก็คือ เวลาที่คุณอ้อยจะนำเรื่องอะไรก็แล้วแต่มาลงในกระทู้นี้ ไม่ต้องขออนุญาตนะครับ ผมรู้สึกแปลกๆครับ ไม่ว่าจะนำเรื่องอะไรมาลง ลงได้ตลอดเวลาครับ อย่าขออนุญาตเลยนะครับ

    (f)
     
  9. พันวฤทธิ์

    พันวฤทธิ์ เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    3,784
    ค่าพลัง:
    +16,097
    ขอขอบพระคุณ คุณอ้อย (หวานแบบลายคราม) อีกครั้ง อ่านการหามวลสารแล้วโอ้โฮ ยากเย็นแสนเข็ญจริงๆ อ่านแล้วขนลุกแทนกรรมการจริงๆ ครับ
     
  10. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948

    เกือบลืม เรื่องค่าจัดส่งไม่ต้องนะครับ เพราะว่าอย่างไรก็ดี จะต้องเจอกันอยู่แล้วครับ ผมนัดกันไว้1-2เดือน พบกันครั้งนึงครับ

    โมทนาสาธุครับ
    .
     
  11. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    วิธีการส่ง pm ครับ

    ให้นำเม้าไปคลิกที่ชื่อ sithiphong<SCRIPT type=text/javascript> vbmenu_register("postmenu_516198", true); </SCRIPT> จะมีรายละเอียดให้ดังนี้ <TABLE cellSpacing=1 cellPadding=4 border=0><TBODY><TR><TD class=thead>sithiphong</TD></TR><TR><TD class="vbmenu_option vbmenu_option_alink" style="CURSOR: default" target controlkey="postmenu_516198" islink="true" href="http://www.palungjit.org/board/member.php?u=16245">ดูรายละเอียดของ</TD></TR><TR><TD class="vbmenu_hilite vbmenu_hilite_alink" style="CURSOR: hand" target controlkey="postmenu_516198" islink="true" href="http://www.palungjit.org/board/private.php?do=newpm&u=16245">ส่งข้อความส่วนตัวถึงคุณ sithiphong</TD></TR><TR><TD class="vbmenu_option vbmenu_option_alink" style="CURSOR: default" target controlkey="postmenu_516198" islink="true" href="http://www.palungjit.org/board/search.php?do=finduser&u=16245">ค้นหาโพสเพิ่มเติมของ sithiphong</TD></TR><TR><TD class="vbmenu_option vbmenu_option_alink" style="CURSOR: default" target controlkey="postmenu_516198" islink="true" href="http://www.palungjit.org/board/profile.php?do=addlist&userlist=buddy&u=16245">เพิ่ม sithiphong ในรายชื่อคู่หูของคุณ</TD></TR></TBODY></TABLE>

    ไปที่ส่งข้อความส่วนตัวถึง... แล้วคลิกเข้าไป จะปรากฎ
    <TABLE class=tborder cellSpacing=1 cellPadding=6 width="100%" align=center border=0><TBODY><TR><TD class=tcat>Send New Private Message</TD></TR><TR><TD class=panelsurround align=middle><TABLE style="WIDTH: 480px; min-width: 480px; max-width: 100%" cellSpacing=0 cellPadding=0><TBODY><TR><TD>
    <!-- recipients field --><FIELDSET class=fieldset><LEGEND>Recipients</LEGEND><TABLE cellSpacing=3 cellPadding=0 border=0><TBODY><TR><TD><SCRIPT src="clientscript/vbulletin_ajax_namesugg.js?v=362" type=text/javascript></SCRIPT>Recipient Username(s)
    <TEXTAREA id=pmrecips_txt tabIndex=1 name=recipients cols=50>sithiphong</TEXTAREA>

    <SCRIPT type=text/javascript> <!-- vbmenu_register('pmrecips', true); recip_sugg = new vB_AJAX_NameSuggest('recip_sugg', 'pmrecips_txt', 'pmrecips'); recip_sugg.allow_multiple = true; //--> </SCRIPT>[BCC] BCC Recipient Username(s)
    <TEXTAREA id=bccpmrecips_txt tabIndex=1 name=bccrecipients cols=50></TEXTAREA>

    <SCRIPT type=text/javascript> <!-- vbmenu_register('bccpmrecips', true); bccrecip_sugg = new vB_AJAX_NameSuggest('bccrecip_sugg', 'bccpmrecips_txt', 'bccpmrecips'); bccrecip_sugg.allow_multiple = true; fetch_object('bccpmrecips').style.display = 'none'; fetch_object('bccspan2').style.display = 'none'; fetch_object('bccspan1').style.display = ''; function swapbcc(obj) { obj.style.display = 'none'; fetch_object('bccpmrecips').style.display = ''; fetch_object('bccspan2').style.display = ''; return false; } //--> </SCRIPT></TD></TR><TR><TD>You may send your message to up to 20 people at a time.
    Separate multiple user names with ';'
    </TD></TR></TBODY></TABLE></FIELDSET> <!-- / recipients field --><!-- subject field --><TABLE class=fieldset cellSpacing=0 cellPadding=0 border=0><TBODY><TR><TD class=smallfont colSpan=3>ชื่อกระทู้:</TD></TR><TR><TD><INPUT class=bginput tabIndex=1 maxLength=85 size=50 name=title></TD><TD></TD><TD>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><!-- / subject field --><!-- message area -->ข้อความ:
    <!-- EDITOR SCRIPTS --><SCRIPT src="clientscript/vbulletin_textedit.js?v=362" type=text/javascript></SCRIPT><SCRIPT type=text/javascript><!--var fontoptions = new Array("Arial", "Arial Black", "Arial Narrow", "Book Antiqua", "Century Gothic", "Comic Sans MS", "Courier New", "Fixedsys", "Franklin Gothic Medium", "Garamond", "Georgia", "Impact", "Lucida Console", "Lucida Sans Unicode", "Microsoft Sans Serif", "Palatino Linotype", "System", "Tahoma", "Times New Roman", "Trebuchet MS", "Verdana");var sizeoptions = new Array(1, 2, 3, 4, 5, 6, 7);var smilieoptions = new Array(); smilieoptions = { 'Standard Smilies' : { '33' : new Array('images/smilies/lightbulb.gif', '(i)', 'Light bulb'), '136' : new Array('images/smilies/b-one-eye.gif', '(b-oneeye)', ''), '22' : new Array('images/smilies/in-love.gif', '(f)', 'flower'), '119' : new Array('images/smilies/b-good.gif', '(verygood)', ''), '7' : new Array('images/smilies/cool.gif', ':cool:', 'Cool'), '129' : new Array('images/smilies/b2-no-good.gif', '(nogood)', ''), 'more' : 'Show all Smilies'} };var istyles = new Array(); istyles = { "pi_button_down" : [ "#98B5E2", "#000000", "0px", "1px solid #316AC5" ], "pi_button_hover" : [ "#C1D2EE", "#000000", "0px", "1px solid #316AC5" ], "pi_button_normal" : [ "#E1E1E2", "#000000", "1px", "none" ], "pi_button_selected" : [ "#F1F6F8", "#000000", "0px", "1px solid #316AC5" ], "pi_menu_down" : [ "#98B5E2", "#316AC5", "0px", "1px solid #316AC5" ], "pi_menu_hover" : [ "#C1D2EE", "#316AC5", "0px", "1px solid #316AC5" ], "pi_menu_normal" : [ "#FFFFFF", "#000000", "0px", "1px solid #FFFFFF" ], "pi_popup_down" : [ "#98B5E2", "#000000", "0px", "1px solid #316AC5" ] };var smiliewindow_x = 240;var smiliewindow_y = 280;var ignorequotechars = 1;// vB Phrasesvbphrase["wysiwyg_please_wait"] = "Please wait for the WYSIWYG editor to finish loading...";vbphrase["wysiwyg_initialized"] = "WYSIWYG Editor initialized for %1$s in %2$s seconds.";vbphrase["wysiwyg_command_invalid"] = "This command is invalid or not implemented.";vbphrase["moz_must_select_text"] = "Mozilla requires that you must select some text for this function to work";vbphrase["moz_edit_config_file"] = "You need to edit your Mozilla config file to allow this action.";vbphrase["enter_tag_option"] = "Please enter the option for your %1$s tag:";vbphrase["must_select_text_to_use"] = "You must select some text to use this function.";vbphrase["browser_is_safari_no_wysiwyg"] = "The Safari browser does not support WYSIWYG mode.";vbphrase["enter_option_x_tag"] = "Enter the option for the [%1$s] tag:";vbphrase["enter_text_to_be_formatted"] = "Enter the text to be formatted";vbphrase["enter_link_text"] = "Enter the text to be displayed for the link (optional):";vbphrase["enter_list_type"] = "What type of list do you want? Enter '1' for a numbered list, enter 'a' for an alphabetical list, or leave blank for a list with bullet points:";vbphrase["enter_list_item"] = "Enter a list item.\r\nLeave the box empty or press 'Cancel' to complete the list:";vbphrase["must_enter_subject"] = "You must enter a title / subject!";vbphrase["message_too_short"] = "The message you have entered is too short. Please lengthen your message to at least %1$s characters.";vbphrase["enter_link_url"] = "Please enter the URL of your link:";vbphrase["enter_image_url"] = "Please enter the URL of your image:";vbphrase["enter_email_link"] = "Please enter the email address for the link:";vbphrase["complete_image_verification"] = "You did not complete the Image Verification";vbphrase["iespell_not_installed"] = "ieSpell is a spell-checking tool for Internet Explorer.\r\n\r\nIf you would like to download ieSpell, click OK; otherwise click Cancel.\r\n\r\nieSpell can be downloaded from http://www.iespell.com";vbphrase["click_quick_reply_icon"] = "";vbphrase["insert_all"] = "Insert All";//--></SCRIPT><!-- END EDITOR SCRIPTS --><!-- EDITOR STYLES --><LINK href="clientscript/vbulletin_editor.css" type=text/css rel=stylesheet><STYLE type=text/css><!--.vBulletin_editor { background: #E1E1E2; padding: 6px;}.imagebutton { background: #E1E1E2; color: #000000; padding: 1px; border: none;}.ocolor, .ofont, .osize, .osmilie, .osyscoloar, .smilietitle { background: #FFFFFF; color: #000000; border: 1px solid #FFFFFF;}.popup_pickbutton { border: 1px solid #FFFFFF;}.popup_feedback { background: #FFFFFF; color: #000000; border-right: 1px solid #FFFFFF;}.popupwindow { background: #FFFFFF;}#fontOut, #sizeOut, .popup_feedback div { background: #FFFFFF; color: #000000;}.alt_pickbutton { border-left: 1px solid #E1E1E2;}.popup_feedback input, .popup_feedback div{ border: 0px solid; padding: 0px 2px 0px 2px; cursor: default; font: 11px tahoma; overflow: hidden;}--></STYLE><!-- END EDITOR STYLES --><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 border=0><TBODY><TR><TD class=controlbar id=vB_Editor_001_controls colSpan=2 unselectable="on"><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 border=0 unselectable="on"><TBODY unselectable="on"><TR unselectable="on"><TD unselectable="on">[​IMG]
    </TD><TD unselectable="on">[​IMG]</TD><TD unselectable="on"><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 border=0 unselectable="on"><TBODY unselectable="on"><TR unselectable="on"><TD class=popup_feedback unselectable="on">Fonts
    Arial
    Arial Black
    Arial Narrow
    Book Antiqua
    Century Gothic
    Comic Sans MS
    Courier New
    Fixedsys
    Franklin Gothic Medium
    Garamond
    Georgia
    Impact
    Lucida Console
    Lucida Sans Unicode
    Microsoft Sans Serif
    Palatino Linotype
    System
    Tahoma
    Times New Roman
    Trebuchet MS
    Verdana
    </TD><TD class=popup_pickbutton unselectable="on">[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>
    </TD><TD unselectable="on"><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 border=0 unselectable="on"><TBODY unselectable="on"><TR unselectable="on"><TD class=popup_feedback unselectable="on">Sizes
    1
    2
    3
    4
    5
    6
    7
    </TD><TD class=popup_pickbutton unselectable="on">[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>
    </TD><TD unselectable="on">[​IMG]</TD><TD unselectable="on"><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 border=0 unselectable="on"><TBODY unselectable="on"><TR unselectable="on"><TD id=vB_Editor_001_color_out unselectable="on">[​IMG]
    [​IMG]</TD><TD class=alt_pickbutton unselectable="on">[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>
    </TD><TD unselectable="on">[​IMG]</TD><TD unselectable="on"><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 border=0 unselectable="on"><TBODY unselectable="on"><TR unselectable="on"><TD unselectable="on">[​IMG]</TD><TD class=alt_pickbutton unselectable="on">[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>
    </TD><!-- <td>[​IMG]</td> <td>[​IMG]
    </td> <td>[​IMG]
    </td> <td>[​IMG]
    </td> --><TD unselectable="on">[​IMG]</TD><TD unselectable="on">[​IMG]
    </TD><TD unselectable="on">[​IMG]
    </TD><TD width="100%" unselectable="on"></TD><TD unselectable="on">[​IMG]
    </TD><TD unselectable="on">[​IMG]
    [​IMG]
    </TD><TD unselectable="on">[​IMG]
    </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 border=0 unselectable="on"><TBODY unselectable="on"><TR unselectable="on"><TD unselectable="on">[​IMG]
    </TD><TD unselectable="on">[​IMG]
    </TD><TD unselectable="on">[​IMG]
    </TD><TD unselectable="on">[​IMG]</TD><TD unselectable="on">[​IMG]
    </TD><TD unselectable="on">[​IMG]
    </TD><TD unselectable="on">[​IMG]
    </TD><TD unselectable="on">[​IMG]</TD><TD unselectable="on">[​IMG]
    </TD><TD unselectable="on">[​IMG]
    </TD><TD unselectable="on">[​IMG]
    </TD><TD unselectable="on">[​IMG]
    </TD><TD unselectable="on">[​IMG]</TD><TD unselectable="on">[​IMG]
    </TD><TD unselectable="on">[​IMG]
    </TD><TD unselectable="on">[​IMG]
    </TD><TD unselectable="on">[​IMG]
    </TD><TD unselectable="on">[​IMG]</TD><TD unselectable="on">[​IMG]
    </TD><TD unselectable="on">[​IMG]</TD><TD unselectable="on">[​IMG]
    </TD><TD unselectable="on">[​IMG]
    </TD><TD unselectable="on">[​IMG]
    </TD><TD unselectable="on">[​IMG]
    </TD><TD unselectable="on">[​IMG]
    </TD><TD unselectable="on">[​IMG]
    </TD><TD unselectable="on">[​IMG]
    </TD><TD unselectable="on">[​IMG]
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR vAlign=top><TD class=controlbar><TEXTAREA id=vB_Editor_001_textarea dir=ltr style="DISPLAY: none; WIDTH: 380px; HEIGHT: 250px" tabIndex=1 name=message rows=10 cols=60></TEXTAREA><IFRAME id=vB_Editor_001_iframe style="WIDTH: 380px; HEIGHT: 250px" tabIndex=1></IFRAME></TD></TR></TBODY></TABLE>
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    </TD></TR></TBODY></TABLE>

    ให้พิมพ์หัวเรื่องที่จะส่ง
    <TABLE class=fieldset cellSpacing=0 cellPadding=0 border=0><TBODY><TR><TD class=smallfont colSpan=3>ชื่อกระทู้:</TD></TR><TR><TD><INPUT class=bginput tabIndex=1 maxLength=85 size=50 name=title></TD><TD></TD><TD>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>

    และพิมพ์ข้อความ เมื่อพิมพ์ข้อความเรียบร้อยก็เลื่อนลงไปด้านล่าง จะมีปุ่ม Submit Message (คือปุ่มส่งข้อความ) เมื่อกดปุ่มแล้ว ข้อความที่เขียนก็จะส่งไปยังผู้รับตาม Recipient Username(s)
    <TEXTAREA id=pmrecips_txt tabIndex=1 name=recipients cols=50>sithiphong</TEXTAREA>

    ตามที่อธิบายนี้นะครับ เป็นวิธีที่ส่ง pm ครับ

    หรือไปที่ ข้อความส่วนตัว ซึ่งอยู่บริเวณชื่อของแต่ละท่าน ก็สามารถส่ง pm ได้เช่นกันครับ

    ยินดีต้อนรับ คุณ sithiphong
    คุณมาครั้งล่าสุดเมื่อ วันนี้ เวลา 02:12 PM
    ข้อความส่วนตัว: ยังไม่ได้อ่าน 0, รวม 1514
     
  12. พชร (พสภัธ)

    พชร (พสภัธ) ผู้สนับสนุนเว็บพลังจิต ผู้สนับสนุนเว็บพลังจิต

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 พฤศจิกายน 2005
    โพสต์:
    5,746
    กระทู้เรื่องเด่น:
    10
    ค่าพลัง:
    +49,866
    โต..กุมารน้อย วันนี้ขอแจ้งเรื่องการเจาะบ่อน้ำบาดาลให้คุณโยมที่ได้ร่วมบริจาคเข้ามาได้รับทราบ ผู้รับเหมาได้นำเอารถมาเพื่อขุดเจาะบ่อบาดาลอีกครั้งหนึ่งตามที่ตกลงกันไว้ว่า น้ำในหนึ่งชม.น้ำจะต้องขึ้นมา 3,000 ลิตร แต่ครั้งที่แล้วน้ำที่ขึ้นมายังไม่เพียงพอ ช่างรับเหมาจึงต้องมาตั้งแท่นขุดเจาะใหม่ จึงขออนุโมทนาบุญกับทุกท่านที่ได้ร่วมบริจาคปัจจัยเข้ามา โดยยอดที่คุณสิทธิพงษ์ได้รับบริจาคมาคือ 81,220 บาท ค่ารับเหมาขุดเจาะบ่อบาดาล 65,000 บาท ส่วนที่เหลือนั้นจะนำไปทำแทงค์เก็บน้ำตกราคาประมาณ 50,000 บาท จึงขออนุโมทนาบุญมา ณ. โอกาสนี้เป็นอย่างยิ่ง ถ้าเจาะได้น้ำอย่างไรจะรายงานให้ทราบอีกครั้งหนึ่ง สาธุ สาธุ อนุโมทามิ
    <!-- / message --><!-- sig -->
     
  13. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948

    กราบนมัสการพระคุณเจ้าครับ

    กราบโมทนาสาธุครับ

    .
     
  14. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
  15. กุ้งมังกอน

    กุ้งมังกอน เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    10 สิงหาคม 2006
    โพสต์:
    142
    ค่าพลัง:
    +1,181
    ผมกับน้องที่ทำงานก็ลูกหลานพระยานาคครับ เพิ่มอีกสัก 2 องค์ได้ไม๊ครับคุณอ้อย ถ้าได้ฝากกับคุณหนุ่มด้วยนะครับ ขอโมทนาด้วยครับ สาธุ
     
  16. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    คำถวายเครื่องสังเวยพระภูมิ<O:p</O:p
    นโม ๓ จบ<O:p</O:p

    นะโม เม พระภูมิเทวานัง ธูปะทีปะ จะ ปุปผัง สักการะวันทะนัง สูปะพะยัญชะนะสัมปันนัง โภชะนานัง สาลีนัง สะปะริวารัง อุทะกังวะรัง อาคัจฉันตุ ปะริภุญชันตุ สัพพะทา หิตายะ สุขายะ สันติเทวา มะหิทธิกา เตปิ อัมเห อะนุรักขันตุ อาโรคะเยนะ สุเขนะ จะ<O:p</O:p
    <O:p</O:p

    คำลาเครื่องสังเวยพระภูมิ<O:p</O:p
    อายันตุ โภนโต อิธะ ทานะสีละ เนกขัมมะปัญญา สะหะ วิริยะ ขันตี สัจจาธิฏฐานะ เมตตุเปกขายุทธายะโว ทิสสาวินะติ อะเสสะโต<O:p</O:p
    <O:p</O:p

    คำบูชาพระภูมิด้วยดอกไม้ธูปเทียนหรือพวงมาลัย<O:p</O:p
    นโม ๓ จบ<O:p</O:p

    ภุมมัสสะมิง ทิสาภาเค สันติ ภุมมา มะหิทธิกา เตปิ อัมเห อะนุรักขันตุ อาโรคะเยนะ สุเขนะ จะ ฯ<O:p</O:p

    หมายเหตุ มิง อ่านว่า หมิง<O:p</O:p


    คำถวายเครื่องสังเวย พระภูมิ เจ้าที่<O:p</O:p
    นโม ๓ จบ<O:p</O:p

    อิมัง สูปะพะยัญชนะ สัมปันนัง สะอุทะกังวะรัง ภุมมัสสะเทมิ ฯ<O:p</O:p

    <O:p</O:p
    คำลาเครื่องสังเวย พระภูมิ เจ้าที่<O:p</O:p
    เสสัง มังคะลัง ยาจามิ<O:p</O:p

    <O:p</O:p
    คำถวายดอกไม้ธูปเทียนเพื่อบูชาพระ<O:p</O:p
    นโม ๓ จบ<O:p</O:p

    .อิมัง มะยัง ภันเต ทีปะธูปะปุปผะวะรานัง ระตะนัตตะยัสเสวะ อะภิปูเชมิ อัมหากัง ระตะนัตตะยัสสะ ปูชา ทีฑะรัตตัง หิตะสุขาวะหาโหตุ อาสะวักขะยัปปัตติยา <O:p</O:p
    .อิมานิ มะยัง ภันเต ทีปะธูปะปุปผะวะรานิ ระตะนัตตะยัสเสวะ อะภิปูเชมะ อัมหากัง ระตะนัตตะยัสสะ ปูชา ทีฆะรัตตัง หิตะสุขาวะหาโหตุ อาสะวักขะยัปปัตติยา<O:p</O:p
    หมายเหตุ บุคคลคนเดียว ใช้บทที่ ๑ , บุคคลตั้งแต่สองคนขึ้นไป ใช้บทที่ ๒<O:p</O:p

    คำแปล<O:p</O:p

    ข้าแต่พระคุณเจ้าทั้งหลายผู้เจริญ ข้าพเจ้าทั้งหลายขอบูชาธูปเทียนและดอกไม้อันประเสริฐเหล่านี้ แก่พระรัตนตรัย กิริยาที่บูชาแก่พระรัตนตรัยนี้ จงเป็นผลนำมาซึ่งประโยชน์และความสุข แก่ข้าพเจ้าทั้งหลาย สิ้นกาลนาน จงเป็นไปเพื่อให้ถึงซึ่งพระนิพพาน เป็นที่สิ้นไปแห่งอาสวะกิเลส เทอญ ฯ<O:p</O:p
    <O:p</O:p
     
  17. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
  18. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    ขอความเมตตาช่วยต่อชีวิตพระเณร - เชิญร่วมบริจาคค่าขุดบ่อบาดาล สนส บ่อเงินบ่อทอง บัญชีออมทรัพย์ 2030-06304-5 บัญชี รร.พระปริยัติธรรมบ่อเงินบ่อทอง ปริยัติศึกษา บมจ.ธ.กรุงไทย สาขาพนมสารคาม

    <TABLE class=tborder id=post521343 cellSpacing=0 cellPadding=6 width="100%" align=center border=0><TBODY><TR><TD class=thead style="BORDER-RIGHT: #ffffff 0px solid; BORDER-TOP: #ffffff 1px solid; FONT-WEIGHT: normal; BORDER-LEFT: #ffffff 1px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 1px solid">วันนี้, 05:50 AM <!-- / status icon and date --></TD><TD class=thead style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid; BORDER-TOP: #ffffff 1px solid; FONT-WEIGHT: normal; BORDER-LEFT: #ffffff 0px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 1px solid" align=right> #268 </TD></TR><TR vAlign=top><TD class=alt2 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid; BORDER-TOP: #ffffff 0px solid; BORDER-LEFT: #ffffff 1px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 0px solid" width=175>toe<SCRIPT type=text/javascript> vbmenu_register("postmenu_521343", true); </SCRIPT>
    สมาชิก GOLD
    สมาชิกยอดฮิต

    [​IMG]

    เข้ามาครั้งสุดท้ายเมื่อ: วันนี้ 05:50 AM
    วันที่สมัคร: Nov 2005
    สถานที่: //////////////
    ข้อความ: 2,141 <!-- Start Post Thank You Hack -->
    ได้ให้อนุโมทนา 3,654 ครั้ง
    ได้รับอนุโมทนา 16,466 ครั้ง ใน 2,012 โพส <!-- End Post Thank You Hack -->
    พลังการให้คะแนน: 1973 [​IMG][​IMG][​IMG]
    [​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG]


    </TD><TD class=alt1 id=td_post_521343 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid"><!-- message -->โต..(กุมารน้อย) เช้าวันนี้หลังจากเจริญพระกัมมัฏฐาน (นั่งสมาธิ) ก็มารายงานให้ทุกท่านได้รับทราบ...ช่วงนี้ตอนเช้ามืด..พระ-เณรหยุดกิจวัตร..สวดมนต์เช้ามืด เพราะพระ อ. ท่านสงสารเณร ที่ใช้แรงงานมากตอนนี้..ก็ช่วยกันขนดิน..ย้ำดิน..ก่อดินเป็นกุฏิ..เริ่มช่วงเช้าเลย..ภาคบ่ายก็ 3 โมงเย็นเป็นตอนไป..เลิกก็ 2-3 ทุ่ม.(กลางวันอากาศร้อนมากๆ ) บางรูป..บางคณะ ต้องคอยดูเพราะเลิกเที่ยงคืน..อย่างเมื่อคืนวานนี้บางรูปเลิก ตี 3 ..พอพระ อ. ทราบท่านก็บอกว่าต้องออกกฏใหม่..ห้ามทำงานกลางคืนเลย 2 ทุ่ม..มิฉะนั้นจะถูกลงโทษ...สาเหตุ..เพราะแบ่งกลุ่มกันทำก็มีการแข่งขันกันว่าใครจะเสร็จก่อน..เด็กๆ วัยนี้คืออนาคตของชาติ..ปลูกฝังอบรย์ในด้านของความดี..เป็นประโยชน์แก่ประเทศชาติ...ตรงกันข้าม..ตัวอย่าง สามจังหวัดชายแดนภาคไต้..เป็น "เมืองมิคสัญญี"ไปแล้วฆ่าฟันกันอย่างสัตว์เดรัจฉาน ไม่มีมโนธรรมในดวงจิต..ทำร้ายผู้บริสุทธิ์..เข็นฆ่าผู้ที่อ่อนแอ..ฆ่าเสร็จแล้วก็หนี้ "อย่างหมาขี้เรื้อนไร้ศักศรี" ไอ้พวกนี้มันไม่ใช่คน..ไม่ใช่มนุษย์..พวกมันคือ."สัตว์นรกหนี้มาเกิด"...อีกไม่นานกฏของกรรมจะต้องตามสนองพวกมัน..ญาติพีน้อง..ลูกหลาน..ของมันอย่างแน่นอน..(อารมย์ไม่ใช่พระแล้วท่าน) ขอแผ่และอุทิศส่วนบุญ..ให้แก่ทุกท่านผู้เสียชีวิตไปแล้ว (8 ศพที่ถูกฆ่าอย่างน่าสงสาร) ขอให้ทุกท่านไปสู่สุขคติโลกสวรรค์..เถิด..เวรกรรม..บุญกรรม..บาปกรรม..ทำดีได้ดี..ทำชั่วได้ชั่ว..โลกนี้วุ่นวายหนอ..โลกนี้ขัดข้องหนอ...สูทั้งหลายจงมาดูโลกนี้ดุจราชรถ ที่พวกคนเขลาหมกอยู่..แต่ท่านผู้รู้หาหมกอยู่ไม่...(สองบทนี่พระพุทธท่านตรัสไว้) ในปัจจุบันนี้เราท่านทั้งหลาย..จะทราบข่าวภายในโลกนี้ใบนี้..ล้วนแต่การเข็นฆ่ากัน..เบียดเบียนกัน..เอาความตายมาบริจาคผู้อื่น..ทั้งๆ ที่เขาไม่ต้องการ..โรคภัยต่างๆ มีอาการแปลกๆ..ร่างกายนี้มีแต่ความทุกข์..หิวกระหาย..เจ็บป่วย..กระทบกับอารมณ์ที่ขัดใจ..ต้องทนทุกข์กับผู้อื่น..ร่างกายนี้ก็ไม่มีความสมบูรณ์เลย..เจ็บโน้น..ปวดนี่..การทำมาหากินก็แสนจะลำบาก..กว่าปกติ ฯลฯ ความตายมันก็ใกล้เข้ามาทุกวันเวลา..ลองคิดถึงความตายเสียบ้าง...พิจารณาถึงผู้อื่นและตัวเอง...มีใครบ้างอยู่ค้ำฟ้าดิน..ยากดี..มีจนล้วนจบลงด้วยกองเพลิง (เมรุเผาศพ)และก็ไม่เคยมีใครเลยที่นำเอาสิ่งที่เป็นที่รักขนไปเมื่องผี..ล้วนแต่ทิ้งไว้ทั้งนั้น..ทรัพย์สมบัติที่หามาได้ด้วยความเหนื่อยยาก..ก็ตกไปเป็นสมบัติของผู้อื่น...มีบุญและบาปเท่านั้นแหละ..ที่จะติดตัวเราไปได้...คิดบ้างปลงบ้าง..ปล่อยวางบ้าง..ถือว่าถ้าเราจะต้องตายแล้ว..เราจะเป็นคนสำคัญของคนอื่นอีกไหม..???มีแต่เขาเอาเราไปเผาทิ้ง..ไปเก็บไว้ข้างกำแพงโบด..กำแพงรอบวัด...มีบ้านที่สร้างไว้ใหญ่โตก็ไม่ได้อยู่..เพราะเขากลัวเรานะ..ซิ..(วันนี้เอายาขมมาฝากให้ทานกัน..นะ..จ๊ะ..)อาตมาเองก็ฉันอยู่ทุกวัน..ลากลับก่อน..สาธุ..สาธุ..สาธุ..
    <!-- / message --><!-- sig -->
    <!-- / message --><!-- sig -->
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  19. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    เมื่อเจ้ามา มีอะไร มาด้วยเจ้า <O:p</O:p
    เจ้าจะเอา แต่สุข สนุกไฉน<O:p</O:p
    เจ้ามามือเปล่า เจ้าจะ เอาอะไร <O:p</O:p
    เจ้าก็ไป มือเปล่า เหมือนเจ้ามา<O:p</O:p
    ยศและลาภ หาบไป ไม่ได้แน่ <O:p</O:p
    มีเพียงแต่ ต้นทุน บุญกุศล<O:p</O:p
    ทรัพย์สมบัติ ทิ้งไว้ ให้ปวงชน <O:p</O:p
    แม้ร่างตน เขาก็เอา ไปเผาไฟ
     
  20. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    [​IMG]


    รูปคณะหลวงปู่บรมครูเทพโลกอุดร (คณะโสณะ-อุตร)


    1.หลวงปู่พระอุตรเถระเจ้า
    2.หลวงปู่พระโสณเถระเจ้า
    3.หลวงปู่พระมูนียะเถระเจ้า (หลวงปู่อิเกสาโร)
    4.หลวงปู่พระฌาณียะเถระเจ้า (หลวงปู่ขรัวขี้เถ้า หรือหลวงพ่อกบ วัดเขาสาริกา ลพบุรี)
    5.หลวงปู่พระภูริยะเถระเจ้า (หลวงปู่หน้าปาน หรือหลวงพ่อโอภาสี อาศรมบางมด วัดโอภาสี กรุงเทพฯ)


    หมายเหตุ จากรูปนั้น ชื่อองค์แรกคือพระภูริยะเถระเจ้า แต่ที่ถูกต้องคือพระฌาณียะเถระเจ้า ส่วนองค์สุดท้ายคือพระฌาณียะเถระเจ้า ที่ถูกต้องคือพระภูริยะเถระเจ้า


    โดยปกติที่เห็นหลวงปู่บรมครูเทพโลกอุดรกันทั่วๆไปนั้น จะเป็นรูปของหลวงปู่พระมูนียะเถระเจ้า(หลวงปู่อิเกสาโร)ครับ
    [​IMG]
    <O:pหลวงปู่พระมูนียะเถระเจ้า(หลวงปู่อิเกสาโร)</O:p
    <!-- / message --><!-- / message --><!-- sig -->​


    วิธีบูชาพระบรมครูพระเทพโลกอุดร<O:p</O:p

    จะเป็นภาพถ่ายหรือรูปหล่อของหลวงปู่ท่าน หรือพระพิมพ์ที่หลวงปู่ท่านได้อธิษฐานจิตไว้ย่อมใช้ได้ทั้งสิ้น หลวงปู่ท่านโปรดผู้ประพฤติอยู่ในศีลธรรม ชอบอาหารมังสะวิรัติ ชอบฟังคำสวดยอดพระกัณฑ์ไตรปิฎก ชอบบูชาด้วยดอกมะลิสด น้ำฝน 1 แก้ว เทียนหนักหนึ่งบาท 1 คู่ ธูปหอม 5 ดอก (คณะหลวงปู่บรมครูเทพโลกอุดร 1.หลวงปู่พระอุตรเถระเจ้า 2.หลวงปู่พระโสณเถระเจ้า 3.หลวงปู่พระมูนียะเถระเจ้า(หลวงปู่อิเกสาโร)4.หลวงปู่พระฌาณียะเถระเจ้า(หลวงปู่ขรัวขี้เถ้าหรือหลวงพ่อกบ วัดเขาสาริกา) 5.หลวงปู่พระภูริยะเถระเจ้า(หลวงปู่หน้าปานหรือหลวงพ่อโอภาสี วัดโอภาสี บางมด) ) การปฏิบัติธรรมสังวรณ์ในกายกรรม วจีกรรม มโนกรรม ประกอบด้วยศีล 5 เป็นอย่างน้อย ย่อมเป็นสิ่งพึงพอใจของหลวงปู่และทั้งยังให้ความสุชความเจริญทั้งคดีโลกและคดีธรรมแก่ผู้ปฏิบัติ

    สำหรับพิมพ์อรหันต์ พิมพ์ปิดตา และพิมพ์มหากัจจายนะซึ่งเป็นองค์เดียวกันแต่ปางต่างกันหากจะอาราธนาอย่างพิศดารก็ย่อมกระทำได้ กล่าวคือพิมพ์อรหันต์ใหญ่ พิมพ์อรหันต์กลางและพิมพ์อรหันต์น้อย อยู่ในหมวดพระมหากัจจายนะรูปงามซึ่งเป็นรูปเดิมก่อนการอธิษฐานวรกายให้ต่อท้ายด้วยคาถาดังนี้

    พิมพ์อรหันต์
    อรหันติกัจจายนะเถโร มหาโภโค มหาลาโภ รูปะวะระเชยยะสิทธิเม
    (เชยยะ อ่านว่า ไชยะ ; รูปะวะระ แปลว่า รูปงาม)
    *** โลกุตตะโร ปัญจะ มหาเถโร อะหัง วันทามิตัง สะทา อรหันติกัจจายนะเถโร มหาโภโค มหาลาโภ รูปะวะระเชยยะสิทธิเม ***

    สำหรับสำหรับพิมพ์พระปิดตาซึ่งเป็นปางอธิษฐานวรกายให้สวดพระคาถา โลกุตตะโร ปัญจะ มหาเถโร อะหัง วันทามิตัง สะทา แล้วต่อท้ายด้วยพระคาถาต่อไปนี้
    พิมพ์พระภควัมปติ(ปิดตา)
    ควัมปติ จะ มหาเถโร มหาโภโค มหาลาโภ เชยยะสิทธิเม
    *** โลกุตตะโร ปัญจะ มหาเถโร อะหัง วันทามิตัง สะทา ควัมปติ จะ มหาเถโร มหาโภโค มหาลาโภ เชยยะสิทธิเม ***

    สำหรับพิมพ์พุงพลุ้ยที่นิยมเรียกกันว่า พระสังกัจจายน์ คำนี้ไม่มีศัพท์นี้ในภาษาบาลี ที่ถูกต้องคือ พระมหากัจจายนะ เถระเจ้าอัน
    เป็นปางหลังจากที่นิมิตวรกายแล้ว ให้สวดพระคาถา โลกุตตะโร ปัญจะ มหาเถโร อะหัง วันทามิตัง สะทา แล้วต่อท้ายด้วย พระคาถาต่อไปนี้
    อรหันติกัจจายนะเถโร มหาโภโค มหาลาโภ เชยยะสิทธิเม
    ***โลกุตตะโร ปัญจะ มหาเถโร อะหัง วันทามิตัง สะทา อรหันติกัจจายนะเถโร มหาโภโค มหาลาโภ เชยยะสิทธิเม ***
    จะเห็นว่าตัดเอาคำว่า รูปะวะระออกไปเพราะสิ้นความงดงามแล้ว

    พระพิมพ์ของคณะพระเทพโลกอุดรนั้นทุกรูปแบบทุกพิมพ์ทรงมีอานุภาพครอบจักรวาล อาราธนาทำน้ำมนต์ประสิทธิ์ยิ่งนัก โดยให้นำเอาพระแช่ในภาชนะที่บรรจุน้ำเรียบร้อยแล้ว บูชาด้วยดอกไม้ จุดธูปเทียน แล้วอธิษฐานตามความมุ่งหมาย เสร็จแล้วให้รีบนำพระขึ้นเช็ดน้ำด้วยสำลีหรือผ้าสะอาด ผึ่งลมให้แห้งก่อนนำไปบรรจุตลับ องค์พระจะไม่ละลายลบเลือนและไม่ควรแช่ในน้ำนานเกินควร จงทะนุถนอมให้จงดี เพราะหาไม่ได้อีกแล้ว

    สำหรับท่านที่มีพระอันเป็นทิพยสมบัติอันทรงคุณค่า โดยได้รับสืบทอดมาจากบรรพชนหรือได้รับจากทางใดทางหนึ่งก็ตาม เสมือนมีแก้วสารพัดนึกอยู่กับตัว ไม่จำเป็นต้องขวนขวายในอิทธิวัตถุอื่นอีก<O:p</O:p

    วิธีบูชาพระบรมครูพระเทพโลกอุดร

    คำบูชาบรมครูพระโลกอุดร
    นะโมตัสสะภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ ฯลฯ ( 3 จบ )<O:p</O:p
    โย อะริโย มะหาเถโร อะระหัง อะภิญญาธะโร ปฎิสัมภิทัปปัตโต เตวิชโช พุทธะสาวะโก พะหู เมตตาทิวาสะโน มะหาเถรา นุสาสะโก โส โลกุตตะโร นาโม อัมเหหิ อะภิปูชิโต อิฐะ ฐานูปะมาคัมมะ กุสะเล โน นิโยชะเย ปุตตะเมวะ ปิยัง เทสิ มัคคะผะลัง วะ เทสสะติ ปะระมะสาริกะธาตุ วะชิรัญจา ปิวานิตัง โส โลเก จะ อุปปันโน เอเกเนวะ หิตังกะโร อะยัง โน โข ปุญญะลาโภ อัปปะมัตโต ภะเวตัพโพ สาธุกันตัง อะนุกะริสสามะ ยัง เวเรนะ สุภาสิตัง โลกุตตะโร จะ มหาเถโร เทวะตา นะระปูชิโต โลกุตตะระคุณัง เอตัง อะหัง วันทามิ ตัง สะทา มะหาเถรา นุภาเวนะ สุขัง โสตถี ภะวันตุ เม

    บทสวด แบบย่อหรืออาราธนาพระพิมพ์ (ได้ทุกทรงพิมพ์)<O:p</O:p
    โลกุตตะโร ปัญจะ มะหาเถโร อะหัง วันทามิ ตัง สะทา
    หรือภาวนา ๓ จบ , ๗ จบ , ๙ จบ (เช้า-เย็น ตื่นนอนและก่อนนอน)<O:p</O:p
    โลกุตตะโร ปัญจะ มะหาเถโร อะหัง วันทามิ ตัง สะทา เมตตาลาโภ นะโสมิยะ อะหะพุทโธ

    หมายเหตุ : บทความที่นำมาเสนอนี้ได้รับการอนุญาตในการคัดลอกและเรียบเรียงเพื่อเผยแพรเป็นวิทยาทานจากท่าน อาจารย์ ประถม อาจสาครเป็นที่เรียบร้อยแล้ว นับเป็นพระคุณและความกรุณาอย่างยิ่ง<O:p</O:p

    ผมขอเสริมนะครับ ท่านสามารถอาราธนาเป็นภาษาไทย ได้นะครับ ถ้ายังจำบทสวดของท่านไม่ได้ครับ

    ท่านที่ห้อยพระหลวงปู่บรมครูเทพโลกอุดร ที่ท่านเมตตาเสกให้นั้น หากมีความจำเป็นที่ต้องไปในสถานที่อโคจรทั้งหลาย ผมมีบทสวดที่ใช้ในการนี้มาฝากทุกท่านครับ

    ก่อนที่จะเข้าไปในสถานที่อโคจรให้สวด อิติภะคะโว
    กลับออกมาจากสถานที่อโคจรให้สวด โสภะคะวา

    หรือก่อนที่จะเข้าไปในสถานที่อโคจรให้สวด อะระหัง
    กลับออกมาจากสถานที่อโคจรให้สวด หังระอะ

    บทแผ่เมตตาโบราณ<O:p</O:p
    นะเมตตา โมเมตตา ปะวาเสนตัง อะหังโหมิ สุจิตตาปะมาทาตุ สุจิตโตปะโมทาตุ<O:p</O:p
    <O:p</O:p
    บทแผ่เมตตาอันยิ่งใหญ่<O:p</O:p
    มหาโคตะโมปาทะเกอิ จะอะปาทะเกอิ เมเมตตังเมตตัง<O:p</O:p
    <O:p</O:p
    สำหรับท่านที่ได้บูชาพระวังหน้า ที่หลวงปู่บรมครูเทพโลกอุดร อธิษฐานจิตไว้ให้นั้น ผมขอเรียนชี้แจงให้ทราบกันนะครับว่า การวางพระพิมพ์หรือวัตถุมงคลต่างๆ ต้องวางไว้ในที่เหมาะสม ควรใช้พวงมาลัยไว้พระพิมพ์ (เป็นการไหว้หลวงปู่บรมครูเทพโลกอุดร และเทวดาผู้ที่รักษาพระพิมพ์) พวงมาลัยที่ใช้ไหว้นั้น ต้องเป็นพวงมาลัยที่มีดอกรัก ,ดอกมะลิ ,ดอกกุหลาบ หรืออย่างใดอย่างหนึ่งก็ได้ แต่ห้ามใช้พวงมาลัยที่เป็นดอกดาวเรืองโดยเด็ดขาด ส่วนการวางพวงมาลัย ควรหาพานมาเพื่อใช้ในการวางพวงมาลัยครับ<O:p</O:p
    <O:p</O:p

    หากท่านใดที่ได้ทำบุญไม่ว่าจะเป็นการทำบุญเรื่องอะไรก็ตาม ควรที่จะกรวดน้ำให้กับผู้เสก,ผู้สร้าง และเทวดาประจำองค์พระพิมพ์ด้วยทุกๆครั้งนะครับ<O:p</O:p
    <!-- / message --><!-- sig -->
    <!-- / message --><!-- sig -->
    **************************************************



    ไหว้ 5 ครั้ง<O[​IMG]</O[​IMG]


    ของสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ ( เจริญ ญาณวรเถระ )
    วัดเทพศิรินทราวาส<O[​IMG]</O[​IMG]

    [​IMG]

    คัดลอกจาก http://www.konmeungbua.com/saha/Lung...pu_armpan.html<O[​IMG]</O[​IMG]

    ในวันหนึ่งกับคืนหนึ่ง ไม่ว่าเวลาไร ตามแต่เหมาะต้องไหว้ให้ได้ 5 ครั้งเป็นอย่างน้อย ในคราวเดียวนั้น ถ้ามีดอกไม้ธูปเทียนก็บูชา ถ้าไม่มีก็มือ 10 นิ้วและปากกับใจ ควรไหว้จนตลอดชีวิต คือ<O[​IMG]</O[​IMG]
    <O[​IMG]</O[​IMG]

    ครั้งที่ 1 พึงนั่งกระโหย่งเท้าประณมมือว่า<O[​IMG]</O[​IMG]
    นโม ตสฺส ภควโต อรหโต สมฺมาสมฺพุทฺธสฺส ฯ 3 หน แล้วว่าพระพุทธคุณ คือ<O[​IMG]</O[​IMG]
    อิติปิโส ภควา อรหํ สมฺมาสมฺพุทฺโธ วิชฺชาจรณสมฺปนฺโน สุคโต โลกวิทู อนุตฺตโร ปุริสทมฺมสารถิ สตฺถา เทวมนุสฺสานํ พุทฺโธ ภควาติ ฯ<O[​IMG]</O[​IMG]
    หยุดระลึกถึงพระปัญญาคุณทรงรู้ดีรู้ชอบสิ้นเชิง พระบริสุทธิคุณทรงละความเศร้าหมองได้หมด พระกรุณาคุณทรงสงสารผู้อื่นและสั่งสอนให้ปฏิบัติตามของพระพุทธเจ้า จนเห็นชัดแล้วกราบลงหน 1 ฯ <O[​IMG]</O[​IMG]
    <O[​IMG]</O[​IMG]

    ครั้งที่ 2 ว่าพระธรรมคุณ คือ<O[​IMG]</O[​IMG]
    สฺวากฺขาโต ภควตา ธมฺโน สนฺทิฆฐิโก อกาลิโก เอหิปสฺสิโก โอปนยิโก ปจฺจตฺตํ เวทิตพฺโพ วิญญูหีติ ฯ<O[​IMG]</O[​IMG]
    หยุดระลึกถึงคุณพระธรรมที่รักษาผู้ปฏิบัติตามไม่ให้ตกไปในที่ชั่ว จนเห็นชัดแล้วกราบลงหน 1 ฯ <O[​IMG]</O[​IMG]
    <O[​IMG]</O[​IMG]

    ครั้งที่ 3 ว่าพระสังฆคุณ คือ<O[​IMG]</O[​IMG]
    สุปฏิปนฺโน ภควโต สาวกสงฺโฆ อุชุปฏิปนฺโน ภควโต สาวกสงฺโฆ ญายปฏิปนฺโน ภควโต สาวกสงฺโฆ สามีจิปฏิปนฺโน ภควโต สาวกสงฺโฆ ยทิทํ จตฺตาริ ปุริสยุคานิ อฏฐปุริสปุคฺคลา เอส ภควโต สาวกสงฺโฆ อาหุเนยฺโย ปาหุเนยฺโยทกฺขิเนยฺโย อญฺชลิกรณีโย อนุตฺตรํ ปุญฺญกฺเขตฺตํ โลกสฺสาติฯ<O[​IMG]</O[​IMG]
    หยุดระลึกถึงคุณ คือ ความปฏิบัติดี ปฏิบัติตรง ปฏิบัติถูก ปฏิบัติชอบ ของพระอริยสงฆ์ จนเห็นชัดแล้วกราบลงหน 1 ฯ<O[​IMG]</O[​IMG]
    นั่งพับเพียบประณมมือตั้งใจถึงพระรัตนตรัยเป็นสรณะไม่ถือสิ่งอื่นยิ่งกว่าจนตลอดชีวิต ว่าสรณคมน์ คือ<O[​IMG]</O[​IMG]
    พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ<O[​IMG]</O[​IMG]
    ธมฺมํ สรณํ คจฺฉามิ<O[​IMG]</O[​IMG]
    สงฺฆํ สรณํ คจฺฉามิ<O[​IMG]</O[​IMG]
    ทุติยมฺปิ พุทธํ สรณํ คจฺฉามิ <O[​IMG]</O[​IMG]
    ทุติยมฺปิ ธมฺมํ สรณํ คจฺฉามิ<O[​IMG]</O[​IMG]
    ทุติยมฺปิ สงฺฆํ สรณํ คจฺฉามิ <O[​IMG]</O[​IMG]
    ตติยมฺปิ พุทธํ สรณํ คจฺฉามิ <O[​IMG]</O[​IMG]
    ตติยมฺปิ ธมฺมํ สรณํ คจฺฉามิ<O[​IMG]</O[​IMG]
    ตติยมฺปิ สงฺฆํ สรณํ คจฺฉามิ <O[​IMG]</O[​IMG]
    <O[​IMG]</O[​IMG]

    ครั้งที่ 4 ระลึกถึงคุณมารดาบิดาของตน จนเห็นชัดแล้ว กราบลงหน 1 ฯ<O[​IMG]</O[​IMG]
    ข้า ฯ ขอ กราบไหว้คุณท่านบิดาและมารดา<O[​IMG]</O[​IMG]
    เลี้ยงลูกเฝ้ารักษา แต่คลอดมาจึงเป็นคน<O[​IMG]</O[​IMG]
    แสนยากลำบากกายไป่คิดยากลำบากตน<O[​IMG]</O[​IMG]
    ในใจให้กังวลอยู่ด้วยลูกทุกเวลา<O[​IMG]</O[​IMG]
    ยามกินพอลูกร้องก็ต้องวางวิ่งมาหา<O[​IMG]</O[​IMG]
    ยามนอนห่อนเต็มตาพอลูกร้องก็ต้องดู<O[​IMG]</O[​IMG]
    กลัวเรือดยุงไรมดจะกวนกัดรีบอุ้มชู<O[​IMG]</O[​IMG]
    อดกินอดนอนสู้ ทนลำบากหนักไม่เบา<O[​IMG]</O[​IMG]
    คุณพ่อแม่มากนักเปรียบน้ำหนักยิ่งภูเขา<O[​IMG]</O[​IMG]
    แผ่นดินทั้งหมดเอามาเปรียบคุณไม่เท่าทัน<O[​IMG]</O[​IMG]
    เหลือที่ จะแทนคุณ ของท่านนั้น ใหญ่อนันต์<O[​IMG]</O[​IMG]
    เว้นไว้ แต่เรียนธรรม์ เอามาสอนพอผ่อนคุณ<O[​IMG]</O[​IMG]
    สอนธรรมที่จริงให้ รู้ไม่เที่ยงไว้เป็นทุน<O[​IMG]</O[​IMG]
    แล้วจึงแสดงคุณ ให้เห็นจริงตามธรรมดา<O[​IMG]</O[​IMG]
    นั่นแหละจึงนับได้ ว่าสนองซึ่งคุณา<O[​IMG]</O[​IMG]
    ใช้ค่าข้าวป้อนมาและน้ำนมที่กลืนกิน ฯ<O[​IMG]</O[​IMG]
    <O[​IMG]</O[​IMG]

    ครั้งที่ 5 ระลึกถึงคุณของบรรดาท่านผุ้มีอุปการคุณแก่ตน เช่น พระมหากษัตริย์และครูบาอาจารย์ เป็นต้นไป จนเห็นชัดแล้วกราบลงหน 1 ฯ<O[​IMG]</O[​IMG]
    ข้า ฯ ขอนอบน้อมคุณแด่ท่านครู ผู้อารี<O[​IMG]</O[​IMG]
    กรุณาและปรานีอุตส่าห์สอนทุก ๆ วัน<O[​IMG]</O[​IMG]
    ยังไม่รู้ ก็ได้รู้ ส่วนของครูสอนทั้งนั้น<O[​IMG]</O[​IMG]
    เนื้อความทุกสิ่งสรรพ์ดีชั่วชี้ ให้ชัดเจน<O[​IMG]</O[​IMG]
    จิตมากด้วยเอ็นดูอยากให้รู้เหมือนแกล้งเกณฑ์<O[​IMG]</O[​IMG]
    รักไม่ลำเอียงเอนหวังให้แหลมฉลาดคม<O[​IMG]</O[​IMG]
    เดิมมืดไม่รู้แน่เหมือนเข้าถ้ำเที่ยวคลำงม<O[​IMG]</O[​IMG]
    สงสัยและเซอะซมกลับสว่างแลเห็นจริง<O[​IMG]</O[​IMG]
    คุณส่วนนี้ควรไหว้ ยกขึ้นไว้ ในที่ยิ่ง<O[​IMG]</O[​IMG]
    เพราะเราพึ่งท่านจริงจึงได้รู้ วิชาชาญ ฯ<O[​IMG]</O[​IMG]

    (บทประพันธ์สรรเสริญคุณมารดาบิดา และ ครูบาอาจารย์ของ ท่านอาจารย์ จางวางอยู่ เหล่าวัตร วัดเทพศิรินทราวาส<O[​IMG]</O[​IMG]

    ลิขสิทธิ์เป็นของ ท่านเจ้าคุณพระโศภนศีลคุณ (หลวงปู่หลุย พาหิยาเถร) วัดเทพศิรินทราวาส)
    <O[​IMG]</O[​IMG]
    ต่อไปนี้ไม่ต้องประณมมือ ตั้งใจพิจารณาเรื่อง และร่างกายของตนว่า จะต้องแก่ หนีความแก่ไปไม่พ้น จะต้องเจ็บ หนีความเจ็บไปไม่พ้น จะต้องตาย หนีความตายไปไม่พ้น จะต้องพลัดพรากจากของรักของชอบใจทั้งสิ้น มีกรรมเป็นของตัว คือ ทำดีได้ดี ทำชั่วได้ชั่ว เป็นอนิจจังไม่เที่ยง ไม่แน่นอน เป็นทุกข์ลำบากเดือดร้อน เป็นอนัตตา ไม่อยู่ในอำนาจบังคับบัญชาของตน ฯ ครั้งพิจารณาแล้ว พึงแผ่กุศลทั้งปวงมีการกราบไหว้เป็นต้นนี้ อุทิศให้แก่ท่านผู้มีคุณมีมารดาบิดา เป็นต้น ตลอดจนชั้นสูงสุด คือพระมหากษัตริย์ ทั้งเทพยดามนุษย์และสัตว์ทั้งหลายว่า จงเป็นสุข ๆ อย่ามีเวรมีภัยเบียดเบียนกันและกัน รักษาตนให้พ้นจากทุกข์ภัยทั้งสิ้นเถิด ฯ
    <O[​IMG]</O[​IMG]
    การไหว้ 5 ครั้งนี้ ถ้าวันไหนขาด ให้ไหว้ใช้ 5 ครั้งในวันรุ่งขึ้น ถ้านั่งกระโหย่งเท้าไม่ได้ ก็นั่งพับเพียบ ถ้าไม่ได้ ก็นอนไหว้ เมื่อยกมือไม่ขึ้น ก็ปากกับใจ ถ้าทำได้อย่างนี้เป็นเครื่องพยุงตนให้เป็นคนดี ไม่ให้เป็นคนชั่ว และให้ตั้งอยู่ในที่ดี ไม่ให้ตกไปในที่ชั่ว ถ้าผู้ใดประพฤติได้เสมอตลอดชีวิต ผู้นั้นจะอุ่นใจในตัวของตัวเอง มีความเจริญงอกงามไพบูลย์ยิ่ง ๆ ขึ้นเสมอทุกคืนทุกวัน คุ้มครองป้องกันภยันตรายปราศจากความเสียหายที่ไม่เหลือวิสัย และ ตั้งตัวได้ในทางคดีโลกและทางคดีธรรม เต็มภูมิเต็มขั้นของตน ๆ ทุกประการ จบเท่านี้ ฯ

    สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ ( เจริญญาณวรเถระ )

    http://72.14.235.104/search?q=cache:...h&ct=clnk&cd=7

    [​IMG]

    สมเด็จพระพุทธโฆษจารย์ นามเดิม เจริญ สุขบท เกิดในรัชกาลที่ 5 เมื่อวันที่ 9 กรกฎาคม พ.ศ.2415 ที่จังหวัดชลบุรี เป็นบุตรนาย ทองสุก และนางย่าง

    เมื่ออายุ 8 ปี ได้เป็นศิษย์ของท่านเจ้าคุณชลโธปมคุณมุณี (พุฒ ปุณณกเร) ปฐมวัยอาวาสวัดเขาบางทราย

    เมื่ออายุ 12 ปีได้บรรพชาที่วัดเขาบางทราย และเข้าศึกษาพระปริยัติธรรมที่วัดราชบพิธอุปสมบทเมื่อวันศุกร์ที่ 11 มิถุนายน พ.ศ.2435 ที่วัดเขาบางทราย จังหวัดชลบุรี พ.ศ.2439 ได้ศึกษาพระวินัยปิฎกในสำนัก สมเด็จพระมหาสมณเจ้ากรมพระยาวชิรญาณวโรรส ที่วัดเทพศิรินทราวาส

    "ตาบุญ (พระยาธรรมปรีชา) ผู้เป็นอาจารย์สอนบาลีของ
    เจ้าพระคุณสมเด็จฯ มอบช้างเผือกส่งเข้ามาให้ "
    สมเด็จพระมหาสมณเจ้ากรมพระยา วชิรญาณวโรรส ออกพระโอษฐ์รับสั่งเมื่อครั้งสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ญาณวรเร) สอบไล่ภาษาบาลี ในมหามงกุฎราชวิทยาลัยได้ที่ 1ทุกชั้นเป็นลำดับมา

    พ.ศ.2441 ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เป็นพระราชาคณะที่พระอัมราภิลักขิต เป็นผู้อำนวยการศึกษามณฑลปราจีนบุรี ต่อมาได้ตำแหน่งเจ้าอาวาสวัดเทพศิรินทราวาสได้เลื่อนสมณศักดิ์เรื่อยมา

    พ.ศ.2471 โปรดให้สถาปนาขึ้นเป็นสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์

    พ.ศ.2476กรรมการเถรสมาคมมีมติให้ท่าน เป็นประธานกรรมการมหาเถรสมาคมบัญชาการคณะสงฆ์แทนพระสังฆราชเจ้าซึ่งสิ้นพระชนม์ ประมวลเกียรติคุณพิเศษสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ญาณวรเร)เป็นพระเถระบริหารงานพระศาสนาถึง 5 แผ่นดิน คือแต่รัชกาลที่ 5-9 เป็นพระราชาคณะแต่อายุ 28 ปี เป็นสมเด็จพระราชาคณะแต่อายุ 57 ปี นับเป็นพระเถระที่ได้รับพระราชทานสมณศักดิ์พรรษาน้อยกว่า พระเถระหลายรูปเป็นเจ้าอาวาสวัดเทพศิรินทราวาส แต่อายุ 28 ปี ถึง 80 ปีรวม 53 ปี นับว่ายาวนานที่สุดไม่มีใครเทียบได้
    เมื่อสอบนักธรรม หรือบาลีจะสอบได้ที่ 1 ทุกชั้นทุกประโยคเป็นรูปเดียวในสังฆมณฑล ดำรงตำแหน่งแม่กองธรรมสนามหลวง แม่กองบาลีสนามหลวง องค์เดียวกัน
    ในวันที่ 8 มิถุนายน พ.ศ.2494เวลา 10.30 น. สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ญาณวรเระ)มรณภาพด้วยโรคเนื้องอกที่ตับรวมอายุได้ 80 ปี พรรษาที่ 59

    ความคิดเห็นส่วนตัวผม
    ท่านสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (เจริญ ญาณวรเถระ) ท่านเป็นพระอุปัชฌาย์ของท่านเจ้าคุณนรรัตนราชมานิต (ตรึก จินตยานนท์) ท่านบอกกับผู้ที่ไปกราบท่านว่า ขอให้ทุกๆวันได้ไหว้ 5 ครั้ง จะได้เป็นศิริมงคลกับตนเอง จะเหมือนกับชื่อของท่าน (เจริญ) ครับ ท่านเจ้าคุณนรเอง ก็มีความเคารพในท่านสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (เจริญ)มาก โดยท่านเจ้าคุณนรเอง เวลาเดินผ่านกุฎิของท่านสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์(เจริญ)ทุกครั้ง ท่านเจ้าคุณนร ก็จะก้มลงกราบที่กุฎิอยู่ทุกครั้งครับ

    .*********************************************.
     

แชร์หน้านี้

Loading...