พระวังหน้า ที่หลวงปู่บรมครูเทพโลกอุดรเสก ถ้าต้องการที่จะได้.....

ในห้อง 'งานบุญอื่นๆ' ตั้งกระทู้โดย sithiphong, 23 ธันวาคม 2005.

  1. พชร (พสภัธ)

    พชร (พสภัธ) ผู้สนับสนุนเว็บพลังจิต ผู้สนับสนุนเว็บพลังจิต

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 พฤศจิกายน 2005
    โพสต์:
    5,746
    กระทู้เรื่องเด่น:
    10
    ค่าพลัง:
    +49,866
    โต (กุมารน้อย) องค์พระแม่กวนอิมองค์ที่สร้างไว้ที่สำนักเรียน ฯ บ่อเงินบ่อทององค์..หลายๆท่านที่มาสักการะก็พูดเหมือนกันว่า...ท่านมีอำนาจ..มีพลังที่สื่อสารให้เราได้รับรู้ความรู้สึก..และเยือกเย็น..สบายใจ....และที่สำคัญท่านเมตตามากๆ กับ..สำนักเรียนของพระ-เณร..และตามที่คุณเม้าตาอินกล่าวไว้ว่า..ท่านมาช่วยรักษาโรคภัยไข้เจ็บด้วย..โดยที่นำเอาน้ำสอาดมาให้พระ อ. ท่านช่วยอธิฐานจิตให้...ก็น่าลองดูจะได้นะ...แต่ยังไม่มีใครมาขอพรเช่นนี้...ท่านใดที่เดินทางมา "สักการะหลวงพ่อพระพุทธโสธร" ก็วิ่งรถเลยมาหน่อย..นะ..จ๊ะ..จากวัดหลวงพ่อ ฯ สำนักเรียน ฯ ก็ ประมาณ 30 กิโล ถนนวิ่งสบายเป็นถนนลาดยางตลอดทาง...ซื้อข้าวสารอารแห้งติดรถมาถวายสังฆทานด้วย..ก็จะได้กุศลสงเคราะห์พระ-เณรท่านด้วย..และก็มาขอพรจากองค์พระแม่กวนอิม....เวลาเดินทางกลับ..ก็ขนเอาเงิน..ทอง..กลับไปบ้านด้วย..(สำนักสงฆ์บ่อเงินบ่อทอง) สาธุ..สาธุ...สาธุ...
    <!-- / message --><!-- sig -->
     
  2. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    ที่มา http://www.consumerthai.org//good/show_page.php?t=24&s_id=18&d_id=18

    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=778 bgColor=#ffffff border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top width="75%">
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" align=center border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top colSpan=2>[FONT=MS Sans Serif, Tahoma, sans-serif]<TABLE width="100%"><TBODY><TR><TD>
    [FONT=Tahoma, Verdana, Arial, Helvetica, Sans Serif]ระดมพลังทั่วประเทศ
    หยุดซื้อ หยุดใช้ สินค้าแอ๊บบอต (Boycott Abbott)

    [​IMG]
    [/FONT]เหตุผลที่หยุดซื้อ หยุดใช้ สินค้าแอ๊บบอต
    เหตุเกิดขึ้นก็เพราะ บริษัทแอบบอต แลบอราทอรี่ส์ ประเทศสหรัฐอเมริกา ได้มีหนังสือถึงกองควบคุมยา สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) เมื่อเร็วๆ นี้ เพื่อขอหยุดกระบวนการขึ้นทะเบียนยาใหม่ ๗ ตัว ประกอบด้วย ยาคาเลตร้า เป็นยาต้านไวรัส ที่ทำรูปแบบใหม่ ยาระงับปวด บรูเฟนที่ทำรูปแบบใหม่ ยาฆ่าเชื้อโรค/ยาปฏิชีวนะแอบบอติค ยาป้องกันการอุดตันของหลอดเลือด “คลีวารีน” ยารักษาอาการข้อต่ออักเสบ “ฮูไมร่า” ยารักษาความดัน “ทาร์ก้า” และ ยาสำหรับผู้ป่วยโรคไต “เซมปลาร์ ฯลฯ
    เพื่อตอบโต้กรณีที่ประเทศไทยประกาศบังคับใช้สิทธิ โดยรัฐ (Compulsory Licensing) กับยา ๓ รายการ ได้แก่ ๑) ยาต้านไวรัสเอฟฟาไวเรนซ์ ของบริษัท เมิร์ค ๒) ยารักษาโรคหัวใจ พลาวิกซ์ ของบริษัท ซาโนฟี่ อะเวนติส ๓) ยาต้านไวรัสคาเลตตร้า ของ บริษัท แอบบอต จนกว่ารัฐบาลจะเปลี่ยนท่าทีในเรื่องดังกล่าว

    <TABLE width="100%" border=0><TBODY><TR><TD>[​IMG]</TD><TD>ซึ่งการประกาศบังคับใช้สิทธิโดยรัฐนำโดย นพ.มงคล ณ สงขลา รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ให้เหตุผลของการตัดสินใจครั้งนี้ว่า “ยาเป็นสินค้าเชิงคุณธรรม มีความสำคัญต่อชีวิตจึงต้องแยกเงื่อนไขต่างออกจากสินค้าทั่วไป สิทธิของมนุษย์ที่ควรจะมีชีวิตอยู่เหนือผลประโยชน์เชิงการค้า ดังนั้น การดำเนินการใช้สิทธิโดยรัฐของกระทรวงสาธารณสุขต่อยาที่มีสิทธิบัตร จึงเป็นการดำเนินการที่ทั้งถูกกฎหมายสิทธิบัตร พ.ศ ๒๕๓๕ แก้ไข พ.ศ ๒๕๔๑ และถูกหลักมนุษยธรรม รวมทั้งเป็นการดำเนินการตามหน้าที่ที่ต้องจัดหายาจำเป็นตามบัญชียาหลักแห่งชาติให้แก่คนไทยทุกคนที่ใช้สิทธิตามนโยบายหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าด้วย” ซึ่งจะสามารถประหยัดงบประมาณแผ่นดินได้มากถึงปีละ ๑,๐๓๕ – ๑,๖๖๕ ล้านบาท และจะทำให้ผู้ป่วยสามารถเข้าถึงยาได้เพิ่มขึ้น ๖ - ๑๒ เท่าตัว ซึ่งนั่นหมายความว่า คนเหล่านี้จะมีชีวิตยืนยาวมากขึ้น และมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น เป็นกำลังสำคัญของครอบครัวและสังคมต่อไป</TD></TR></TBODY></TABLE>เราจะเห็นว่าการกระทำของ Abbott ที่ยึดคนไข้/ผู้บริโภคเป็นตัวประกันบีบรัฐบาลให้ยกเลิกมาตรการบังคับใช้สิทธิโดยรัฐของไทย ทั้ง ๆ ที่รัฐบาลไทยไม่ได้ดำเนินการใด ๆ ที่ขัดต่อกฎหมายภายในประเทศ และกติการะหว่างประเทศ
    การดำเนินการเพิกถอนการขึ้นทะเบียนยาจำเป็นสำหรับผู้บริโภคของ Abbott ในครั้งนี้ นับได้ว่าเป็นการทำการค้าที่ไม่มีจริยธรรม ไม่มีความรับผิดชอบต่อสังคม (CSR)
    เชิญชวนผู้บริโภค/ผู้ใช้ยาและคนไทย หยุดซื้อ หยุดใช้สินค้า Abbott
      1. เลิกซื้อเลิกใช้ผลิตภัณฑ์และสินค้าของ Abbott ทั้งหมด
      2. หากเป็นดาราไม่ร่วมโฆษณาหรือเป็นพรีเซ็นเตอร์ผลิตภัณฑ์ให้ Abbott
      3. ร้านค้าต่าง ๆ ไม่แนะนำผลิตภัณฑ์ Abbott ให้กับผู้บริโภค
      4. ชักชวนและทำความเข้าใจให้ ญาติ เพื่อน เลิกใช้ผลิตภัณฑ์ของบริษัทนี้
      5. โทรศัพท์ไปแสดงความเห็นเรื่องนี้ และประณามการกระทำของบริษัท Abbott ที่มีต่อประเทศไทย ได้ที่หมายเลข ๐๒-๖๕๗-๕๕๕๕ แฟกซ์ ๐๒-๒๕๒-๑๗๙๐ หรือที่หมายเลข ๐๘๑-๘๔๑๔๔๓๖
      6. ส่งจดหมายประณามการกระทำได้ที่ ๒/๔ อาคารนายเลิศทาวเวอร์ ชั้น ๕ และ ชั้น ๙ ถนนวิทยุ แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ ๑๐๓๓๐
      7. หากยังเพิกเฉย ให้หยุดใช้สินค้าของบริษัทในเครือ ได้แก่ บริษัทบอร์เนียว บริษัทแปซิฟิคเฮลท์แคร์ บริษัทซิลลิก และรวมทั้งจะประสานงานให้มีการหยุดซื้อหยุดใช้ผลิตภัณฑ์ชอง Abbott ทั่วโลก

    <TABLE width="100%" border=0><TBODY><TR><TD>[​IMG]</TD><TD>ผลิตภัณฑ์ Abbott มีอะไรบ้าง
    ๑. กลุ่มยาและเวชภัณฑ์ เช่น ยาปฏิชีวนะ Abbotic<SUP>@</SUP> (clarithromycin) และ Brufen<SUP>@</SUP> (ibuprofen) ยาลดไขมัน Raductil<SUP>@</SUP>(sibutramine HCl monohydrate) ยารักษาโรคไต Zemplar<SUP>@</SUP> (paricalcitol) ยารักษาโรคไมเกรน Valcote<SUP>@</SUP> (divalproex sodium) ยารักษาโรคไขมันในเลือดสูง TriCor<SUP>@</SUP> (fenofibrate tablets) ยารักษาโรคติดเชื้อทางเดินหายใจ Synagis<SUP>@</SUP> (palivizumab)
    ๒.ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร และนมสำหรับทารกและเด็ก เช่น เอนชัวร์ (Ensure) พีเดียชัวร์ (PaediaSure) ซิมิแลค (Similac) โซนเพอร์เฟคท์ (ZonePerfect)
    ๓.ผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพสัตว์เลี้ยง เช่น แอลฟาแทรค (AlphaTRAK) คลินิแคร์ (CliniCare) ไกลโค-เฟล็กซ์ (GLYCO-FLEX) ไอโซโฟล (isoflurane) และ ๔.อุปกรณ์ และเครื่องมือแพทย์
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    ผู้บริโภคเข้มแข็ง สังคมเข้มแข็ง
    มูลนิธิเพื่อผู้บริโภค
    </TD></TR><TR><TD align=right>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE width="100%"><TBODY><TR><TD align=right></TD></TR></TBODY></TABLE>
    [/FONT]</TD><TD vAlign=top background=../../web03/images/frem/blockblue_08.gif></TD><TR><TD>[​IMG]</TD><TD background=../../web03/images/frem/blockblue_14.gif colSpan=2></TD><TD>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>​
    </TD></TR><TR><TD vAlign=top></TD></TR><TR><TD vAlign=top colSpan=2>
    มูลนิธิเพื่อผู้บริโภค 211/2 ซ.งามวงศ์วาน 31 ถ.งามวงศ์วาน อ.เมือง จ.นนทบุรี 11000 โทร:0-2952-5060 -1 โทรสาร:0-2580-9337
    ติดต่อหรือแจ้ง link ผิดพลาดที่ webmaster@consumerthai.org
    เว็บไซต์นี้ไม่สงวนลิขสิทธิ์ในการนำไปเผยแพร่เพื่อความรู้ของประชาชนแต่ไม่อนุญาตให้นำไปเผยแพร่เพื่อผลประโยชน์ทางการค้า
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  3. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    ที่มา http://www.consumerthai.org/howtoboard/view.php?id=124

    สรรหามาฝาก l

    [FONT=MS Sans Serif, Tahoma, sans-serif]เรื่องเล่าดี - ดี ที่ต้องบอกต่อ....[/FONT]
    <SCRIPT language=JavaScript> function Popup(url, window_name, window_width, window_height) { settings= "toolbar=no,location=no,directories=no,"+ "status=no,menubar=no,scrollbars=yes,"+ "resizable=yes,width="+window_width+",height="+window_height; NewWindow=window.open(url,window_name,settings); }function icon(theicon) { document.webform.message.value += theicon; document.webform.message.focus(); } </SCRIPT><SCRIPT language=JavaScript type=text/javascript>defmode = "normalmode"; if (defmode == "advmode") { helpmode = false; normalmode = false; advmode = true;} else if (defmode == "helpmode") { helpmode = true; normalmode = false; advmode = false;} else { helpmode = false; normalmode = true; advmode = false;}function chmode(swtch){ if (swtch == 1){ advmode = false; normalmode = false; helpmode = true; alert("Help Mode\nClick on any of the formatting buttons for a description and instructions."); } else if (swtch == 0) { helpmode = false; normalmode = false; advmode = true; alert("Advanced Mode\nThe BB Code will be inserted without options as soon as you hit the button."); } else if (swtch == 2) { helpmode = false; advmode = false; normalmode = true; alert("Normal Mode\nPopups will bring you step by step through the process of inserting BB Code."); }}function AddText(NewCode) { if(document.all){ insertAtCaret(document.webform.message,NewCode); setfocus(); }else{ document.webform.message.value+=NewCode; setfocus(); }}function storeCaret (textEl){ if(textEl.createTextRange){ textEl.caretPos = document.selection.createRange().duplicate(); }}function insertAtCaret (textEl, text){ if (textEl.createTextRange && textEl.caretPos){ var caretPos = textEl.caretPos; caretPos.text = caretPos.text.charAt(caretPos.text.length - 1) == ' ' ? text + ' ' : text; }else{ textEl.value = text; }}function email() { if (helpmode) { alert("Email Tag\nTurns an email address into a mailto hyperlink.\nUsage: someone@anywhere.com\nUsage: link text"); } else if (advmode) { AddTxt=""; AddText(AddTxt); } else { txt2=prompt("ชื่อลิ้งค์ที่ต้องการแสดงก่อนที่จะระบุชื่อบัญชีอีเมล์ในลำดับต่อไป\nถ้าว่างไว้จะใช้ชื่อบัญชีอีเมล์แทน",""); if (txt2!=null) { txt=prompt("โปรดระบุอีเมล์ของท่าน ","name@domain.com"); if (txt!=null) { if (txt2=="") { AddTxt=""+txt+""; } else { AddTxt=""+txt2+""; } AddText(AddTxt); } } }}function chsize(size) { if (helpmode) { alert("0"); } else if (advmode) { AddTxt="[size="+size+"] [/size]"; AddText(AddTxt); } else { txt=prompt("Please enter the text to be size "+size,"Text"); if (txt!=null) { AddTxt="[size="+size+"]"+txt+"[/size]"; AddText(AddTxt); } }}function chfont(font) { if (helpmode){ alert("Font Tag\nSets the font face for the enclosed text.\nUsage: [font="+font+"]The font of this text is"); } else if (advmode) { AddTxt=""; AddText(AddTxt); } else { txt=prompt("Please enter the text to be in "+font,"Text"); if (txt!=null) { AddTxt="[FONT=+font+]"+txt+"[/FONT]"; AddText(AddTxt); } } }function bold() { if (helpmode) { alert("Bold Tag\nMakes the enlosed text bold.\nUsage: This is some bold text"); } else if (advmode) { AddTxt=""; AddText(AddTxt); } else { txt=prompt("โปรดกรอกข้อความที่ต้องการทำเป็นตัวหนา","Text"); if (txt!=null) { AddTxt=""+txt+""; AddText(AddTxt); } }}function italicize() { if (helpmode) { alert("Italicize Tag\nMakes the enlosed text italicized.\nUsage: This is some italicized text"); } else if (advmode) { AddTxt=""; AddText(AddTxt); } else { txt=prompt("โปรดกรอกข้อความที่ต้องการทำเป็นตัวเอียง","Text"); if (txt!=null) { AddTxt=""+txt+""; AddText(AddTxt); } }}function quote() { if (helpmode){ alert("Quote tag\nQuotes the enclosed text to reference something specific that someone has posted.\nUsage: อ้างอิง:
    <table cellpadding="6" cellspacing="0" border="0" width="100%"> <tr> <td class="alt2" style="border:1px inset"> This is a quote </td> </tr> </table>
    "); } else if (advmode) { AddTxt="\r อ้างอิง:
    <table cellpadding="6" cellspacing="0" border="0" width="100%"> <tr> <td class="alt2" style="border:1px inset"> \r </td> </tr> </table>
    "; AddText(AddTxt); } else { txt=prompt("โปรดกรอกข้อความที่ต้องการระบุเป็นคำกล่าวอ้าง","Text"); if(txt!=null) { AddTxt="\r อ้างอิง:
    <table cellpadding="6" cellspacing="0" border="0" width="100%"> <tr> <td class="alt2" style="border:1px inset"> \r"+txt+"\r </td> </tr> </table>
    "; AddText(AddTxt); } }}function chcolor(color) { if (helpmode) { alert("Color Tag\nSets the text color. Any named color can be used.\nUsage: [color="+color+"]This is some "+color+" text[/color]"); } else if (advmode) { AddTxt="[color="+color+"] [/color]"; AddText(AddTxt); } else { txt=prompt("Please enter the text that should be "+color,"Text "+color,"Text"); if(txt!=null) { AddTxt="[color="+color+"]"+txt+"[/color]"; AddText(AddTxt); } }}function center() { if (helpmode) { alert("Centered tag\nCenters the enclosed text.\nUsage: [align=center]This text is centered[/align]"); } else if (advmode) { AddTxt="[align=center] [/align]"; AddText(AddTxt); } else { txt=prompt("โปรดกรอกข้อความที่ต้องการจัดให้อยู่ตรงกลาง (centered)","Text"); if (txt!=null) { AddTxt="\r[align=center]"+txt+"[/align]"; AddText(AddTxt); } }}function hyperlink() { if (helpmode) { alert("Hyperlink Tag\nTurns an url into a hyperlink.\nUsage: http://www.anywhere.com\nUsage: link text"); } else if (advmode) { AddTxt=""; AddText(AddTxt); } else { txt2=prompt("ชื่อลิ้งค์ที่ต้องการแสดงก่อนที่จะระบุ url ของลิ้งค์ในลำดับต่อไป\nถ้าว่างไว้จะใช้ url แทน",""); if (txt2!=null) { txt=prompt("โปรดกรอก url สำหรับลิ้งค์","http://"); if (txt!=null) { if (txt2=="") { AddTxt=""+txt+""; AddText(AddTxt); } else { AddTxt=""+txt2+""; AddText(AddTxt); } } } }}function image() { if (helpmode){ alert("Image Tag\nInserts an image into the post.\nUsage: [​IMG]"); } else if (advmode) { AddTxt=" "; AddText(AddTxt); } else { txt=prompt("โปรดระบุบ URL แหล่งที่อยู่ของรูปภาพ","http://"); if(txt!=null) { AddTxt="[​IMG]"; AddText(AddTxt); } }}function code() { if (helpmode) { alert("Code Tag\nBlockquotes the text you reference and preserves the formatting.\nUsefull for posting code.\nUsage: รหัส:

    This is formated text​
    </pre>
    "); } else if (advmode) { AddTxt="\r รหัส:

    \r​
    </pre>
    "; AddText(AddTxt); } else { txt=prompt("โปรดกรอก Code Tag ที่ต้องการ blockquoted.",""); if (txt!=null) { AddTxt="\r รหัส:

    "+txt+"​
    </pre>
    "; AddText(AddTxt); } }}function list() { if (helpmode) { alert("List Tag\nBuilds a bulleted, numbered, or alphabetical list.\nUsage:
    • \n
    • item1\n
    • item2\n
    • item3\n
    "); } else if (advmode) { AddTxt="\r
    • \r
    • \r
    • \r
    • \r
    "; AddText(AddTxt); } else { txt=prompt("โปรดเลือก list type\n (กด 'A' สำหรับ aplhabetic, กด '1' สำหรับ nummeric)หรือท่านสามารถปล่อยว่างไว้",""); while ((txt!="") && (txt!="A") && (txt!="a") && (txt!="1") && (txt!=null)) { txt=prompt("ERROR!\nสามารถเลือก 'A' และ '1' หรือปล่อยว่างไว้เท่านั้น",""); } if (txt!=null) { if (txt=="") { AddTxt="\r
    • \r\n"; } else { AddTxt="\r
      1. \r"; } txt="1"; while ((txt!="") && (txt!=null)) { txt=prompt("List Item:\nถ้าจบการสร้าง list ให้ปล่อยว่างไว้",""); if (txt!="") { AddTxt+="
      2. "+txt+"\r"; } } AddTxt+="
      \r\n"; AddText(AddTxt); } }}function underline() { if (helpmode) { alert("Underline Tag\nUnderlines the enclosed text.\nUsage: This text is underlined"); } else if (advmode) { AddTxt=""; AddText(AddTxt); } else { txt=prompt("โปรดกรอกข้อความที่ต้องการทำเป็นตัวขีดเส้นใต้","Text"); if (txt!=null) { AddTxt=""+txt+""; AddText(AddTxt); } }}function setfocus() { document.webform.message.focus();}</SCRIPT><SCRIPT language=JavaScript><!--function setsmile(what){ document.webform.message.value = document.webform.elements.message.value+" "+what; document.webform.message.focus();}//--></SCRIPT>
      <TABLE class=test3 cellSpacing=0 cellPadding=1 width=700 align=center border=0><TBODY><TR bgColor=#ffffff height=23><TD vAlign=top align=left width="3%"></TD><TD class=test3 vAlign=right width="94%" bgColor=#ffffff>
      โคเลสเตอรอลกับโรคหัวใจขาดเลือด
      </TD><TD vAlign=top align=right width="3%"></TD></TR><TR bgColor=#ffffff><TD width="3%"></TD><TD width="94%"></TD><TD width="3%"></TD></TR><TR bgColor=#ffffff><TD width="3%"></TD><TD width="94%"><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" align=center border=0><TBODY><TR><TD class=test3>
      ในปัจจุบันโรคหัวใจขาดเลือดเป็นสาเหตุของการตายอันดับต้นๆของคนไทย ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญคือ ภาวะไขมันในเลือดสูง ความดันเลือดสูง และการสูบบุหรี่ ซึ่งทั้งหมดเป็นปัจจัยที่สามารถควบคุมได้

      โคเลสเตอรอล(cholesterol) เป็นไขมันชนิดหนึ่งที่ร่างกายใช้สร้างเป็นเยื่อบุเซลล์ สร้างเป็นฉนวนหุ้มเส้นประสาท สร้างฮอร์โมนต่างๆ ที่สำคัญคือฮอร์โมนเพศ นอกจากนี้ ยังใช้สร้างเกลือน้ำดี ซึ่งช่วยในการย่อยอาหาร ร่างกายได้รับโคเลสเตอรอลจาก 2 ทางคือ

      1.จากอาหารที่มาจากสัตว์ ทั้งนี้อาหารที่มาจากพืชไม่มีโคเลสเตอรอล อาหารที่มีโคลอสเตอรอลมากได้แก่ เครื่องในสัตว์ ไข่แดง และสัตว์ที่มีกระดอง เป็นต้น

      2. ร่างกายสร้างขึ้นเองที่ตับ เมื่อตับได้รับโคเลสเตอรอลจากอาหารมาก การสังเคราะห์โคเลสเตอรอลในตับจะลดลง ในทางกลับกันถ้าลดปริมาณโคเลสเตอรอลในอาหาร ตับจะสร้างโคเลสเตอรอลขึ้นมาเอง

      ไม่ว่าจะเป็นโคเลสเตอรอลที่ตับสร้างขึ้นเองหรือได้จากอาหาร ตับจะส่งโคเลสเตอรอลไปสู่เนื้อเยื่ออื่นๆของร่างกาย โดยส่งรวมกับกรดไขมันและไลโพโปรตีนที่มีความหนาแน่นต่ำมากเรียก วีแอลดีแอล(VLDL) ซึ่งสร้างจากตับ เมื่อวีแอลดีแอลส่งกรดไขมันไปให้เนื้อเยื่อไขมันแล้ว ตัวมันเองจะมีความหนาแน่นมากขึ้นกลายเป็นไลโพโปรตีนที่มีความหนาแน่นต่ำเรียกว่า แอลดีแอล(LDL) ซึ่งมีโคเลสเตอรอลเกาะอยู่ เนื้อเยื่ออื่นๆของร่างกายจะรับโคเลสเตอรอลไปได้ต้องมีตัวรับแอลดีแอล(LDL receptor) จากนั้นแอลดีแอลจะถูกพาเข้าเซลล์ แล้วถูกย่อยสลาย เซลล์จะนำโคเลสเตอรอลไปใช้สร้างหรือซ่อมแซมเยื่อเซลล์ของเนื้อเยื่อนั้น

      เอสดีแอล(HDL) ทำหน้าที่ตรงกันข้ามกับแอลดีแอล คือ ขนส่งโคเลสเตอรอลที่มากเกินพอในเซลล์กลับไปยังตับ

      โคเลสเตอรอล : สาเหตุสำคัญของโรคหัวใจขาดเลือด
      ในปัจจุบันโรคหัวใจขาดเลือดเป็นสาเหตุของการตายอันดับต้นๆของคนไทย ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญคือ ภาวะไขมันในเลือดสูง ความดันสูง และการสูบบุหรี่ ซึ่งทั้งหมดเป็นปัจจัยที่ท่านสามารถควบคุมได้

      โดยทั่วไปเมื่อคนเราอายุมากขึ้น ผนังของหลอดเลือดแดงจะแข็งตัวขึ้นทำให้ขาดความยืดหยุ่น ถ้ามีแผ่นคราบไขมันซึ่งส่วนใหญ่เป็นโคเลสเตอรอลมาเกาะติดที่ผนังด้านในจะทำให้หลอดเลือดแดงตีบแคบลง เกิดภาวะหลอดเลือดแดงแข็ง(atherosclerosis) เมื่อเป็นมากขึ้น เลือดจะไหลผ่านไม่ดี เกิดเป็นก้อนอุดตันได้ ซึ่งเป็นสาเหตุสำคัญที่ทำให้เกิดโรคหัวใจขาดเลือด(coronary heart discase)

      จากการศึกษาในประชากรทั่วโลกพบว่า ผู้ใหญ่ที่มีระดับโคเลสเตอรอลในเลือดสูงเกินกว่า 260 มิลลิกรัมต่อเดซิลิตร จะมีอุบัติการณ์ของโรคหัวใจขาดเลือดสูงกว่าคนที่มีระดับโคเลสเตอรอลในเลือดน้อยกว่า 220 มิลลิกรัมต่อเดซิลิตร ประมาณ 3-5 เท่า การที่มีระดับโคเลสเตอรอลรวม(total cholesterol) ในเลือดสูง ส่วนใหญ่เกิดจากการมีระดับแอลดีแอลโคเลสเตอรอลสูง(LDL-C)

      การมีระดับแอลดีแอลโคเลสเตอรอลมากกว่า 130 มิลลิกรัมต่อเดซิลิตร จัดเป็นปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของการเกิดภาวะหลอดเลือดแข็ง เราจึงถือว่า แอลดีแอลโคเลสเตอรอลเป็นโคเลสเตอรอลเหลว ส่วนเอชดีแอลโคเลสเตอรอลเป็นโคเลสเตอรอลดี เพราะทำหน้าที่ขนถ่ายโคเลสเตอรอลจากผนังหลอดเลือดแดงที่แอลดีแอลไปปล่อยไว้กลับคืนสู่ตับ ซึ่งตับจะเผาผลาญโคเลสเตอรอลเป็นน้ำดีแล้วขับออกจากร่างกายทางอุจจาระ เรายังพบว่า คนที่มีปริมาณระดับเอชดีแอลโคเลสเตอรอล(HDL-C)น้อยกว่า 35 มก./ดล. จะมีโอกาสเป็นโรคหัวใจขาดเลือดมากกว่าคนที่มีเอชดีแอลโคเลสเตอรอลสูง

      ผู้ที่เป็นโรคหัวใจขาดเลือด จะมีอาการเจ็บป่วย 3 แบบ ได้แก่
      1. มีอาการหัวใจวายเสียชีวิตปัจจุบันทันด่วน

      2. มีอาการของโรคหัวใจขาดเลือดชั่วขณะ(anginapectoris) คือมีอาการเจ็บหน้าอกแบบบีบรัดแน่นหน้าอก และปวดร้าวขึ้นคอ ขากรรไกร หรือไหล่ ซึ่งจะหายไปเองในช่วงเวลาสั้นๆ(มักไม่เกิน 5 นาที)

      3. ภาวะกล้ามเนื้อหัวใจตาย(myocardiai infarction) ผู้ป่วยจะเจ็บกลางหน้าอกรุนแรง เจ็บร้าวลามไปถึงแขน คอและไหล่ มักเจ็บติดต่อนานเป็นชั่วโมงๆขึ้นไปร่วมกับอาการอ่อนเปลี้ย หอบเหนื่อย

      เมื่อท่านอ่านถึงตรงนี้หยุดคิดถึงตัวท่านเอง และบุคคลที่ท่านรักสักครู่ ถ้าที่ผ่านมา ท่านหรือคนที่ท่านรักเคยเกิดอาการดังกล่าวมาแล้ว โปรดอย่านิ่งนอนใจ รีบพาตัวเองหรือคนที่ท่านรักไปพบแพทย์ เพื่อขอรับการรักษา หรือท่านที่มีอายุมากกว่า 40 ปีขึ้นไป ท่านควรเข้ารับการตรวจร่างกาย รวมทั้งตรวจหาระดับไขมันในเลือด

      สำหรับการเตรียมตัวก่อนเจาะเลือด ส่วนมากแพทย์จะนัดเจาะเลือดในตอนเช้า ท่านต้องอดอาหารก่อนตรวจไม่ต่ำกว่า 12 ชั่วโมง โดยหลัง 20.00 น.ของคืนก่อนตรวจ ท่านต้องไม่กินอาหารอะไรอีกยกเว้นน้ำเปล่าที่ดื่มได้

      ป้องกันโคเลสเตอรอลสูง
      ดังนั้น เรามีวิธีป้องกันไม่ให้เกิดปริมาณโคเลสเตอรอลสูงในเลือดได้อย่างไร เพราะสุดท้ายแล้ว อาหารคือตัวเรา(you are what you eat)

      1. กินโคเลสเตอรอลไม่เกินวันละ 300 มิลลิกรัม ทำได้โดยลดหรือเลิกกินอาหารที่มีโคเลสเตอรอลสูง โดยเฉพาะเครื่องในสัตว์ สมองหมู หนังสัตว์ เช่น หนังไก่ หนังเป็ด หนังหมู ไข่แดง(ไข่ขาวไม่มีโคเลสเตอรอล) ไข่ปลา ปลาหมึก หอยนางรม เป็นต้น เลือกกินเฉพาะเนื้อปลา เนื้อสัตว์ไม่ติดมัน นมพร่องไขมัน

      2. ใช้น้ำมันพืชปรุงอาหาร

      3. ไม่ควรกินอาหารทอดเป็นประจำ เช่นกล้วยแขก ปลาท่องโก๋ ไก่ทอด รวมทั้งแกงกะทิด้วย

      โภชนบัญญัติ 9 ประการ
      ผู้เขียนขอแนะนำให้พวกเราปฏิบัติตาม "ข้อปฏิบัติการกินอาหารเพื่อสุขภาพที่ดีของคนไทย หรือโภชนบัญญัต 9 ประการ" ซึ่งจัดพิมพ์เผยแพร่โดยกองโภชนาการ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข

      1.กินอาหารครบ 5 หมู่ แต่ละหมู่ให้หลากหลาย และหมั่นดูแลน้ำหนักตัวรักษาน้ำหนักตัวให้อยู่ในเกณฑ์ปกติ

      2.กินข้าวเป็นอาหารหลัก สลับกับอาหารประเภทแป้งเป็นบางมื้อ

      3.กินพืชผักให้มาก และกินผลไม้ให้เป็นประจำ

      4.กินปลา เนื้อสัตว์ไม่ติดมัน ไข่ และถั่วเมล็ดแห้งเป็นประจำ

      5.ดื่มนมให้เหมาะสมตามวัย

      6.กินอาหารที่มีไขมันแต่พอควร

      7.หลีกเลี่ยงการกินอาหารรสหวานจัด และเค็มจัด

      8.กินอาหารที่สะอาดปราศจากการปนเปื้อนจากเชื้อรา พยาธิ สารเคมีที่เป็นพิษ เป็นต้น

      9.งดหรือลดเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ และที่สำคัญคือออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ


      โดย ผศ.ดร.ศรีวัฒนา ทรงจิตสมบูรณ์ สำนักงานวิจัยคณะแพทย์ศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี
      </TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD width="3%"></TD></TR><TR bgColor=#ffffff><TD width="3%"></TD><TD align=right width="94%"></TD><TD width="3%"></TD></TR><TR bgColor=#ffffff><TD width="3%"></TD><TD class=test1 align=right>By : consumerthai (124.121.32.*) 15/08/2006 03:02 PM</TD><TD width="3%"></TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE class=test3 cellSpacing=5 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=test3 height=2></TD></TR><TR><TD class=test3></TD></TR><TR><TD class=test3 align=middle height=28>
      <LINK href="style.css" type=text/css rel=stylesheet><TABLE class=test3 cellSpacing=0 cellPadding=0 width=650 align=center border=0><TBODY><TR><TD class=test1 align=middle height=20>
      [FONT=MS Sans Serif, Tahoma, sans-serif].............................................................................................................................................................................................................
      มูลนิธิเพื่อผู้บริโภค 211/2 ซ.งามวงศ์วาน 31 ถ.งามวงศ์วาน อ.เมือง จ.นนทบุรี 11000
      โทร:0-2952-5060 -2 โทรสาร:0-2580-9337
      [/FONT]​
      </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></P>
     
  4. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    ที่มา http://www.consumerthai.org/howtoboard/view.php?id=137

    สรรหามาฝาก l

    [FONT=MS Sans Serif, Tahoma, sans-serif]เรื่องเล่าดี - ดี ที่ต้องบอกต่อ....[/FONT]
    <SCRIPT language=JavaScript> function Popup(url, window_name, window_width, window_height) { settings= "toolbar=no,location=no,directories=no,"+ "status=no,menubar=no,scrollbars=yes,"+ "resizable=yes,width="+window_width+",height="+window_height; NewWindow=window.open(url,window_name,settings); }function icon(theicon) { document.webform.message.value += theicon; document.webform.message.focus(); } </SCRIPT><SCRIPT language=JavaScript type=text/javascript>defmode = "normalmode"; if (defmode == "advmode") { helpmode = false; normalmode = false; advmode = true;} else if (defmode == "helpmode") { helpmode = true; normalmode = false; advmode = false;} else { helpmode = false; normalmode = true; advmode = false;}function chmode(swtch){ if (swtch == 1){ advmode = false; normalmode = false; helpmode = true; alert("Help Mode\nClick on any of the formatting buttons for a description and instructions."); } else if (swtch == 0) { helpmode = false; normalmode = false; advmode = true; alert("Advanced Mode\nThe BB Code will be inserted without options as soon as you hit the button."); } else if (swtch == 2) { helpmode = false; advmode = false; normalmode = true; alert("Normal Mode\nPopups will bring you step by step through the process of inserting BB Code."); }}function AddText(NewCode) { if(document.all){ insertAtCaret(document.webform.message,NewCode); setfocus(); }else{ document.webform.message.value+=NewCode; setfocus(); }}function storeCaret (textEl){ if(textEl.createTextRange){ textEl.caretPos = document.selection.createRange().duplicate(); }}function insertAtCaret (textEl, text){ if (textEl.createTextRange && textEl.caretPos){ var caretPos = textEl.caretPos; caretPos.text = caretPos.text.charAt(caretPos.text.length - 1) == ' ' ? text + ' ' : text; }else{ textEl.value = text; }}function email() { if (helpmode) { alert("Email Tag\nTurns an email address into a mailto hyperlink.\nUsage: someone@anywhere.com\nUsage: link text"); } else if (advmode) { AddTxt=" "; AddText(AddTxt); } else { txt2=prompt("ชื่อลิ้งค์ที่ต้องการแสดงก่อนที่จะระบุชื่อบัญชีอีเมล์ในลำดับต่อไป\nถ้าว่างไว้จะใช้ชื่อบัญชีอีเมล์แทน",""); if (txt2!=null) { txt=prompt("โปรดระบุอีเมล์ของท่าน ","name@domain.com"); if (txt!=null) { if (txt2=="") { AddTxt=""+txt+""; } else { AddTxt=""+txt2+""; } AddText(AddTxt); } } }}function chsize(size) { if (helpmode) { alert("0"); } else if (advmode) { AddTxt="[size="+size+"] [/size]"; AddText(AddTxt); } else { txt=prompt("Please enter the text to be size "+size,"Text"); if (txt!=null) { AddTxt="[size="+size+"]"+txt+"[/size]"; AddText(AddTxt); } }}function chfont(font) { if (helpmode){ alert("Font Tag\nSets the font face for the enclosed text.\nUsage: [font="+font+"]The font of this text is"); } else if (advmode) { AddTxt="[font="+font+"] [/font]"; AddText(AddTxt); } else { txt=prompt("Please enter the text to be in "+font,"Text"); if (txt!=null) { AddTxt="[font="+font+"]"+txt+"[/font]"; AddText(AddTxt); } } }function bold() { if (helpmode) { alert("Bold Tag\nMakes the enlosed text bold.\nUsage: This is some bold text"); } else if (advmode) { AddTxt=" "; AddText(AddTxt); } else { txt=prompt("โปรดกรอกข้อความที่ต้องการทำเป็นตัวหนา","Text"); if (txt!=null) { AddTxt=""+txt+""; AddText(AddTxt); } }}function italicize() { if (helpmode) { alert("Italicize Tag\nMakes the enlosed text italicized.\nUsage: This is some italicized text"); } else if (advmode) { AddTxt=" "; AddText(AddTxt); } else { txt=prompt("โปรดกรอกข้อความที่ต้องการทำเป็นตัวเอียง","Text"); if (txt!=null) { AddTxt=""+txt+""; AddText(AddTxt); } }}function quote() { if (helpmode){ alert("Quote tag\nQuotes the enclosed text to reference something specific that someone has posted.\nUsage:
    "); } else if (advmode) { AddTxt="\r
    "; AddText(AddTxt); } else { txt=prompt("โปรดกรอกข้อความที่ต้องการระบุเป็นคำกล่าวอ้าง","Text"); if(txt!=null) { AddTxt="\r
    "; AddText(AddTxt); } }}function chcolor(color) { if (helpmode) { alert("Color Tag\nSets the text color. Any named color can be used.\nUsage: [color="+color+"]This is some "+color+" text[/color]"); } else if (advmode) { AddTxt="[color="+color+"] [/color]"; AddText(AddTxt); } else { txt=prompt("Please enter the text that should be "+color,"Text "+color,"Text"); if(txt!=null) { AddTxt="[color="+color+"]"+txt+"[/color]"; AddText(AddTxt); } }}function center() { if (helpmode) { alert("Centered tag\nCenters the enclosed text.\nUsage: [align=center]This text is centered[/align]"); } else if (advmode) { AddTxt="[align=center] [/align]"; AddText(AddTxt); } else { txt=prompt("โปรดกรอกข้อความที่ต้องการจัดให้อยู่ตรงกลาง (centered)","Text"); if (txt!=null) { AddTxt="\r[align=center]"+txt+"[/align]"; AddText(AddTxt); } }}function hyperlink() { if (helpmode) { alert("Hyperlink Tag\nTurns an url into a hyperlink.\nUsage: http://www.anywhere.com\nUsage: link text"); } else if (advmode) { AddTxt=" "; AddText(AddTxt); } else { txt2=prompt("ชื่อลิ้งค์ที่ต้องการแสดงก่อนที่จะระบุ url ของลิ้งค์ในลำดับต่อไป\nถ้าว่างไว้จะใช้ url แทน",""); if (txt2!=null) { txt=prompt("โปรดกรอก url สำหรับลิ้งค์","http://"); if (txt!=null) { if (txt2=="") { AddTxt=""+txt+""; AddText(AddTxt); } else { AddTxt=""+txt2+""; AddText(AddTxt); } } } }}function image() { if (helpmode){ alert("Image Tag\nInserts an image into the post.\nUsage: [​IMG]"); } else if (advmode) { AddTxt=" "; AddText(AddTxt); } else { txt=prompt("โปรดระบุบ URL แหล่งที่อยู่ของรูปภาพ","http://"); if(txt!=null) { AddTxt="[​IMG]"; AddText(AddTxt); } }}function code() { if (helpmode) { alert("Code Tag\nBlockquotes the text you reference and preserves the formatting.\nUsefull for posting code.\nUsage:
    Code:
    This is formated text
    "); } else if (advmode) { AddTxt="\r
    Code:
    \r
    "; AddText(AddTxt); } else { txt=prompt("โปรดกรอก Code Tag ที่ต้องการ blockquoted.",""); if (txt!=null) { AddTxt="\r
    Code:
    "+txt+"
    "; AddText(AddTxt); } }}function list() { if (helpmode) { alert("List Tag\nBuilds a bulleted, numbered, or alphabetical list.\nUsage:
    • \n
    • item1\n
    • item2\n
    • item3\n
    "); } else if (advmode) { AddTxt="\r
    • \r
    • \r
    • \r
    • \r
    "; AddText(AddTxt); } else { txt=prompt("โปรดเลือก list type\n (กด 'A' สำหรับ aplhabetic, กด '1' สำหรับ nummeric)หรือท่านสามารถปล่อยว่างไว้",""); while ((txt!="") && (txt!="A") && (txt!="a") && (txt!="1") && (txt!=null)) { txt=prompt("ERROR!\nสามารถเลือก 'A' และ '1' หรือปล่อยว่างไว้เท่านั้น",""); } if (txt!=null) { if (txt=="") { AddTxt="\r
    • \r\n"; } else { AddTxt="\r
      • \r"; } txt="1"; while ((txt!="") && (txt!=null)) { txt=prompt("List Item:\nถ้าจบการสร้าง list ให้ปล่อยว่างไว้",""); if (txt!="") { AddTxt+="
      • "+txt+"\r"; } } AddTxt+="
      \r\n"; AddText(AddTxt); } }}function underline() { if (helpmode) { alert("Underline Tag\nUnderlines the enclosed text.\nUsage: This text is underlined"); } else if (advmode) { AddTxt=" "; AddText(AddTxt); } else { txt=prompt("โปรดกรอกข้อความที่ต้องการทำเป็นตัวขีดเส้นใต้","Text"); if (txt!=null) { AddTxt=""+txt+""; AddText(AddTxt); } }}function setfocus() { document.webform.message.focus();}</SCRIPT><SCRIPT language=JavaScript><!--function setsmile(what){ document.webform.message.value = document.webform.elements.message.value+" "+what; document.webform.message.focus();}//--></SCRIPT>
      <TABLE class=test3 cellSpacing=0 cellPadding=1 width=700 align=center border=0><TBODY><TR bgColor=#ffffff height=23><TD vAlign=top align=left width="3%"></TD><TD class=test3 vAlign=right width="94%" bgColor=#ffffff>
      10 วิธีทำความสะอาดด้วยวิธีธรรมชาติ
      </TD><TD vAlign=top align=right width="3%"></TD></TR><TR bgColor=#ffffff><TD width="3%"> </TD><TD width="94%"> </TD><TD width="3%"> </TD></TR><TR bgColor=#ffffff><TD width="3%"> </TD><TD width="94%"><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" align=center border=0><TBODY><TR><TD class=test3>1. การทำความสะอาดทั่วไป
      -ผสมสบู่เหลวหรือบอแรกซ์ 1 ช้อนชา ในน้ำอุ่น หรือน้ำร้อน 1 ลิตร เติมน้ำมะนาวหรือน้ำส้มสายชูลงไป 1-2 ช้อนชา แล้วนำไปเช็ดถูบริเวณที่เป็นคราบไขมันสกปรก
      -ผสม Washing Soda (hydrated sodium carbonate) ในน้ำอุ่น 1 ลิตร ใช้ได้กับทุกพื้นผิว ยกเว้นอลูมิเนียม

      2. วิธีกำจัดกลิ่นเหม็น/กลิ่นอับ
      - หาแหล่งกำเนิดกลิ่นเหม็นให้พบ แล้วกำจัดออกไปให้สะอาด และเปิดหน้าต่างให้อากาศถ่ายเทได้สะดวก
      - หมั่นทำความสะอาดบ้านเรือนและข้าวของเครื่องใช้ให้สะอาด และเปิดประตูหน้าต่างให้อากาศถ่ายเทให้สะดวก
      - ใช้น้ำส้มสายชูหรือผงฟู 2-4 ช้อนโต๊ะ ใส่จานแล้ววางไว้เพื่อดูดกลิ่น
      - นำไม้ประดับมาตั้งวางเพื่อดูดกลิ่นและฟองอากาศ
      - ใช้สมุนไพร หรือเครื่องเทศที่ให้กลิ่นหอมมาต้มแล้วตั้งวางไว้

      3. การทำความสะอาดพื้น
      - เช็ดถูด้วยน้ำธรรมดา
      - ใช้น้ำส้มสายชู 1 ถ้วย ผสมกับน้ำอุ่น 1 แกลลอน 5 ลิตร ถูทำความสะอาดพื้น

      4. การล้างจานชาม
      - ใช้สบู่เหลวธรรมดาทั่วๆ ไปล้างจาน
      - ใช้ฟองน้ำกับสบู่ก้อน
      - ผสมน้ำส้มสายชู หรือน้ำมะนาว 1-3 ช้อน ลงกับสบู่เหลวล้างจานชามที่สกปรกมีคราบไขมันมาก
      - การทำความสะอาดจานชามและอุปกรณ์ครัวที่ทำด้วยไม้ ให้ใช้มะนาวฝานเป็นชิ้นบางๆ แล้วขัดบนพื้นผิวของภาชนะเหล่านั้น ล้างออกแล้วเช็ดให้แห้งด้วยผ้าสะอาดและอาจโรยเกลือตาม เพื่อดูดความชื้นจากไม้ก็ได้ นอกจากนั้นยังอาจใช้ผงฟูผสมกับน้ำเช็ดภาชนะที่ทำด้วยไม้ได้ผลดี
      - ขจัดคราบตะกอนในกาน้ำ ให้ใช้น้ำส้มสายชูกลั่น 1 ถ้วยครึ่ง ละลายในน้ำเปล่า 1 ถ้วยครึ่ง เติมเกลือ 3 ช้อนชาลงในกาน้ำ ต้มให้เดือด 15 นาที ปล่อยทิ้งไว้ข้ามคืน 1 คืน จากนั้นล้างออกด้วยน้ำสะอาด
      - การล้างขวด ให้ใช้ทรายกรอกลงไปในขวดผสมกับน้ำ ปิดปากขวดด้วยฝ่าหนือมือ เขย่าแรงๆ คราบตะไคร่เขียวจะหลุดออก

      5. การทำความสะอาดท่อระบายน้ำ
      - ใช้ไม้ปั๊ม หรืองูเหล็กดันหรือเขี่ยเศษอาหารอุดตัน
      - เทผงฟู 1 กำมือ และน้ำส้มสายชูครึ่งถ้วยลงในท่อระบายน้ำ ปิดปากรูให้แน่นด้วยเศษผ้าประมาณ 1 นาที ปฏิกิริยาระวห่างผงฟูกับน้ำส้มสายชู จะทำให้เกิดแรงดันในท่อระบายน้ำ และดันเศษอาหารที่อุดตันอยู่ออกไป แล้วเทตามด้วยน้ำร้อน
      - เทเกลือและผงฟูอย่างละครึ่งถ้วยลงในท่อ แล้วเทน้ำเดือดตามลงไป 6 ถ้วย ทิ้งไว้ข้ามคืน จากนั้นราดน้ำแรงๆ ด้วยน้ำธรรมดา
      - ทางที่ดีในการป้องกันไม่ให้ท่อระบายน้ำทิ้งอุดตัน ด้วยการใช้ตะแกรงกรองเศษผง เศษอาหาร เศษขยะ เศษเส้นผมไม่ให้ไหลลงสู่ท่อระบายน้ำ และไม่ควรเทกากของเสียประเภทไขมันลงในท่อ ควรทิ้งลงในถังขยะหรือถังน้ำมัน และควรพยายามใช้น้ำมันจนกว่าจะหมดคุณภาพ

      6. การฆ่าเชื้อโรค
      - ชำระล้างข้าวของเครื่องใช้เป็นประจำด้วยสบู่และน้ำธรรมดา แล้วล้างอีกครั้งด้วยน้ำร้อน เพียงเท่านี้ก็สามารถฆ่าเชื้อแบคทีเรียและเชื้อราได้
      - ควรให้ข้าวของเครื่องใช้แห้งอยู่ตลอดเวลา เพราะแบคทีเรียและเชื้อราไม่สามารถมีชีวิตหรือเติบโตได้ในที่แห้ง
      - ใช้บอแรกซ์ครึ่งถ้วยละลายในน้ำร้อน 1 แกลลอน (5 ลิตร) ใช้ล้างข้าวของเครื่องใช้ที่ต้องการฆ่าเชื้อโรคได้

      7. การขัดเงาพื้นและเฟอร์นิเจอร์
      - ใช้ผ้านุ่มๆ เช็ดถูอย่างธรรมดาๆ
      - ใช้ผ้าชุบน้ำชาเช็ดถูพื้นเฟอร์นิเจอร์
      - ใช้น้ำมันมะกอก 1 ช้อนชา น้ำมะนาว 1 ผล ผสมกับน้ำ 1 ช้อนชา ชุบด้วยผ้าใช้เช็ดถู
      - ใช้น้ำมันพืช 1 ส่วน ผสมกับน้ำมะนาวหรือน้ำส้มสายชู 1 ส่วน ชุบด้วยผ้าบางๆ ใช้เช็ดถู วิธีนี้ยังสามารถช่วยลบรอยขูดขีดได้ด้วย
      - ใช้น้ำมันมะกอก 3 ส่วน ผสมกับน้ำส้มสายชู 1 ส่วน ชุบด้วยผ้าบางๆ เช็ดถู
      - กรณีที่มีรอยสกปรกจากคราบไขมัน ให้รีบเทเกลือลงไปบนรอยเปื้อนทันทีเพื่อให้ดูดซับคราบไขมัน และป้องกันไม่ให้เกิดคราบฝังแน่น

      8. การเช็ดกระจก
      - ใช้น้ำส้มสายชูผสมกับน้ำอย่างละ 1 ส่วน ชุบด้วยผ้านนุ่มๆ เช็ดกระจกหรือจะใส่กระบอกฉีดๆ ที่กระจก แล้วใช้ผ้านุ่มเช็ดตาม
      - หากใช้น้ำส้มสายชูผสมน้ำเช็ดกระจกแล้ว อาจจะเกิดคราบจากน้ำที่เช็ดเนื่องจากคราบตกค้างของน้ำยาเช็ดกระจกแบบที่มีส่วนผสมของสารเคมีตกค้างอยู่ จึงควรเช็ดออกก่อนด้วยแอลกอฮอล์ก่อน
      - สำหรับกระจกที่เป็นฝ้ามัว ให้ใช้ผ้าเปียกถูกับสบู่ก้อน แล้วเช็ดบนกระจก จากนั้นล้างออกแล้วเช็ดตามตามด้วยผ้าแห้ง
      - รอยขูดขีดบนกระจกให้ใช้ยาสีฟันถู แล้วใช้ผ้านุ่มเช็ดเบาๆ

      9. ทำความสะอาดพรม เฟอร์นิเจอร์ เบาะ นวม
      - การดูดกลิ่นให้ใช้ผงฟูหรือแป้งข้าวโพดโรยบนพรม โดยใช้อัตราส่วน 1 ถ้วย ต่อพื้นที่ห้องขนาดกลาง ทิ้งไว้ 30 นาที แล้วใช้เครื่องดูดฝุ่นดูดออก ถ้ากลิ่นติดแน่นให้โรยทิ้งไว้ข้ามคืนแล้วจึงดูดออก
      - การขจัดคราบเลือด ใช้ผ้าขนหนูชุบน้ำเย็นเช็ดเบาๆ จนกว่าจะหมด
      - คราบเหนียวเหนอะหนะ ใช้ผงฟูทาทับรอยเปื้อน แล้วใช้มือถูเบาๆ ทิ้งไว้ประมาณ 1 ชั่วโมง แล้วจึงเช็ดออก ทาซ้ำอีกถ้ารอยเปื้อนยังไม่หมด
      - คราบไขมัน ใช้แป้งข้าวโพดทาทับรอยเปื้อน ทิ้งไว้สัก 1 ชั่วโมง จากนั้นเช็ดออก
      - คราบเขม่าหรือเถ้าถ่าน ใช้เกลือทาทับบางๆ แล้วเช็ดออก
      - คราบปัสสาวะของเด็ก หรือสัตว์เลี้ยง เช็ดด้วยน้ำธรรมดา 1 ครั้ง จากนั้นใช้น้ำส้มสายชู 3 ช้อนโต๊ะ ผสมกับสบู่เหลว 1 ช้อนชา เช็ดถูบริเวณรอยเปื้อน ทิ้งไว้ 15 นาที จึงเช็ดออก

      10. การกำจัดมด แมลงสาบ ยุง มด
      - ใช้ฟองน้ำเปียกๆ เช็ดตามทางมด มดจะหาทางเดินไม่เจอ
      - โรยพริกป่น สะระแหน่แห้ง กากกาแฟ ตามบริเวณที่มดเดินหรือบีบมะนาวตามรูเข้าของมด แล้วทิ้งเปลือกมะนาวไว้ตรงนั้น ปลูกสะระแหน่ไว้รอบบ้าน มดจะไม่เข้าใกล้
      - ใช้ผงฟูโรยตามทางของมด ง ใช้น้ำส้มสายชูผสมน้ำเช็ดตามทางเดินมด แมลงสาบ
      - ใช้ข้าวโอ๊ตหรือแป้งข้าวโพดผสมปูนปาสเตอร์ในอัตราส่วนเท่าๆ กัน โรยบริเวณที่แมลงสาบมารบกวน เมื่อแมลงสาบกินเข้าไปปูนพลาสเตอร์จะแข็งตัวแมลงสาบจะตาย
      - ใช้ผงฟูผสมกับน้ำตาลทรายอย่างละเท่าๆ กัน โรยบริเวณที่แมลงสาบมารบกวน
      - ใช้แป้งข้าวโพด 2 ช้อนโต๊ะ บอแร๊กซ์ 4 ช้อนโต๊ะ ผสมให้เข้ากันใช้โรยบริเวณที่แมลงมารบกวน ยุง
      - เอาตะไคร้หอมหั่นแล้วตำ คั้นเอาแต่น้ำแล้วนำไปเคี่ยวจนเป็นน้ำมันใช้ทาผิวหนังกันยุง
      - ใช้กาบมะพร้าวหรือเปลือกส้มตากแห้งสุมไฟ เพื่อให้เกิดควันไล่ยุง
      - ปลูกต้นแก้วหรือต้นราตรีไว้บริเวณปากประตู หน้าต่าง จะช่วยไล่ยุงได้


      ที่มา : มูลนิธิสุขภาพไทย
      </TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD width="3%"> </TD></TR><TR bgColor=#ffffff><TD width="3%"> </TD><TD align=right width="94%"> </TD><TD width="3%"> </TD></TR><TR bgColor=#ffffff><TD width="3%"> </TD><TD class=test1 align=right> By : consumerthai (124.121.32.*) 16/11/2006 01:29 PM</TD><TD width="3%"> </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE class=test3 cellSpacing=5 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=test3 height=2> </TD></TR><TR><TD class=test3> </TD></TR><TR><TD class=test3 align=middle height=28>
      <LINK href="style.css" type=text/css rel=stylesheet><TABLE class=test3 cellSpacing=0 cellPadding=0 width=650 align=center border=0><TBODY><TR><TD class=test1 align=middle height=20>
      [FONT=MS Sans Serif, Tahoma, sans-serif].............................................................................................................................................................................................................
      มูลนิธิเพื่อผู้บริโภค 211/2 ซ.งามวงศ์วาน 31 ถ.งามวงศ์วาน อ.เมือง จ.นนทบุรี 11000
      โทร:0-2952-5060 -2 โทรสาร:0-2580-9337
      [/FONT]​
      </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  5. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    ที่มา http://www.thaihof.org/handmade/drink15.html

    [FONT=MS Sans Serif, Arial, AngsanaUPC]ที่มา : มูลนิธิสุขภาพไทย[/FONT]​
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=430 align=center border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle width=430 height=90>[FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]น้ำส้ม-มะนาว-ขิง[/FONT]

    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif][​IMG] [/FONT]
    </TD></TR><TR><TD vAlign=baseline width=430>
    [FONT=MS Sans Serif, Arial, AngsanaUPC]ปกติเราจะเคยดื่มแต่น้ำมะนาวหรือน้ำส้มคั้นบ้างปั่นบ้าง คราวนี้มาลองเอาทั้งส้มและมะนาวมาผสมกันแถมเติมขิงลงไปอีกต่างหาก เพื่อเพิ่มรสร้อนเข้าไปช่วยขับลมและช่วยย่อยอาหาร[/FONT]

    [FONT=MS Sans Serif, Arial, AngsanaUPC]น้ำส้ม-มะนาว-ขิง [/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, Arial, AngsanaUPC]ส่วยผสม[/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, Arial, AngsanaUPC]- น้ำมะนาว 1 ส่วน[/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, Arial, AngsanaUPC]- น้ำคั้นจากขิงแก่สด 2 ส่วน[/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, Arial, AngsanaUPC]- น้ำส้มคั้น 4 ส่วน[/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, Arial, AngsanaUPC]- น้ำเชื่อม 7 ส่วน[/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, Arial, AngsanaUPC]- น้ำต้มสุก 8 ส่วน[/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, Arial, AngsanaUPC]- เกลือป่นเล็กน้อย[/FONT]


    [FONT=MS Sans Serif, Arial, AngsanaUPC]วิธีทำ[/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, Arial, AngsanaUPC]นำมะนาว ขิง ส้ม(ส้มควรจะใช้ส้มเปรี้ยวอมหวาน) มาคั้นน้ำแยกเอาไว้ (ขิงแก่ให้ปอกเปลือกแล้วตำคั้นเอาแต่น้ำ) แล้วนำมาผสมรวมกันในอัตราส่วนตามสูตรข้างบน เติมน้ำเชื่อมและน้ำต้มสุกตามส่วน จากนั้นเติมเกลือป่นเล็กน้อย คนให้ละลายเข้ากันดี ชิมรสจนได้ที่[/FONT]


    [FONT=MS Sans Serif, Arial, AngsanaUPC]สรรพคุณ [/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, Arial, AngsanaUPC]แก้คลื่นไส้อาเจียน เบื่ออาหาร เหมาะสำหรับแก้อาการอาหารไม่ย่อย แก้อ่อนเพลีย[/FONT]

    [FONT=MS Sans Serif, Arial, AngsanaUPC]หมายเหตุ : [/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, Arial, AngsanaUPC]1.วิธีเตรียมน้ำเชื่อม ให้ใช้น้ำ 1 ส่วนเติมน้ำตาล 3 ส่วน ตั้งไฟอ่อนๆ เคี่ยวจนได้น้ำเชื่อมข้นเล็กน้อย[/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, Arial, AngsanaUPC]2. อัตราส่วนข้างต้นสามารถเปลี่ยนแปลงได้เพื่อให้มีรสชาติและสรรพคุณตามต้องการ เช่นถ้าต้องการรสเผ็ดร้อนและมีสรรพคุณขับลมและช่วยย่อยอาหารมากขึ้นก็เติมขิงมากหน่อย ถ้าต้องการสรรพคุณขับเสมหะแก้ไอก็เพิ่มน้ำมะนาว [/FONT]


    </TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  6. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    ที่มา http://www.thaihof.org/handmade/drink12.html

    [FONT=MS Sans Serif, Arial, AngsanaUPC]ที่มา : มูลนิธิสุขภาพไทย[/FONT]​
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=430 align=center border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle width=430 height=90>[FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]น้ำมะตูม-ขิง

    [​IMG]
    [/FONT]</TD></TR><TR><TD vAlign=baseline width=430>[FONT=MS Sans Serif, Arial, AngsanaUPC]
    ปกติเราจะคุ้นกับน้ำมะตูมกันดีอยู่แล้ว แต่น้ำมะตูมขิงนั้นหลายคนได้ยินชื่อแล้วทำหน้างงๆ คนที่คิดสูตรนี้บอกว่าที่เติมขิงลงไปด้วย ก็เพื่อเพิ่มสรรพคุณขับลมและกระตุ้นการทำงานของระบบย่อยอาหารด้วย สูตรนี้เหมาะสำหรับจิบตอนร้อนๆ โดยเฉพาะใครที่รู้สึกเพลียๆ ร่วมกับมีอาการท้องอืดมีลมในท้อง น้ำสมุนไพรสูตรนี้จะช่วยแก้ขับลมได้ดีนักแล

    น้ำมะตูม-ขิง
    [/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, Arial, AngsanaUPC]ส่วยผสม
    - มะตูมแห้ง(ที่ขายเป็นแว่นๆ ในท้องตลาด) 1 ขีด (ประมาณ 10ชิ้น)
    - ขิงแก่สดล้างสะอาดปอกเปลือกฝานเป็นแว่นๆ ประมาณ 10 - 15 ชิ้น
    - น้ำสะอาด 8 แก้ว (ประมาณ 2 ลิตร)
    - น้ำตาลทราย
    [/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, Arial, AngsanaUPC]วิธีทำ
    นำมะตูมแห้งใส่น้ำต้มให้เดือดนานประมาณ 15 นาที จากนั้นใส่ขิงที่เตรียมไว้ลงต้มต่ออีก 5 - 10 นาที แล้วยกลงกรองเอาแต่น้ำ เติมน้ำตาลทรายให้มีรสหวานตามใจชอบ

    สรรพคุณ
    บำรุงร่างกาย แก้อ่อนเพลีย ขับลม ช่วยย่อยอาหาร บำรุงไฟธาตุ (ช่วยให้ระบบย่อยอาหารทำงานดีขึ้น)
    [/FONT]

    </TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  7. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
  8. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
  9. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    ไม่ทราบที่มา และผู้เขียน
    โมทนาสาธุกับท่านผู้เขียนบทความนี้และขออนุญาตนำมาลงเป็นวิทยาทานครับ

    ประวัติ พระปฐมเจดีย์<O:p</O:p
    <O:p</O:p

    นับเป็นสัญลักษณ์ของประเทศไทยที่สำคัญและเก่าแก่ที่สุด เป็นปูชนียสถานสำคัญทางพระพุทธศาสนา และเป็นเจดีย์องค์แรกในดินแดนสุวรรณภูมิใหญ่ที่สุดในโลก จึงเป็นที่เชิดหน้าชูตาของชาวไทยทั้งชาติ แทบทุกวันจะมีนักทัศนาจร ทั้งชาวไทยและต่างประเทศมานมัสการอยู่เสมอ เป็นแหล่งศึกษาค้นคว้าทางประวัติศาสตร์ โบราณคดี เนื่องจากรวมโบราณวัตถุไว้มากมายเป็นที่ตั้งของพิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติพระปฐมเจดีย์<O:p</O:p
    จากหนังสือเรื่องพระปฐมเจดีย์กับนำเที่ยวของ ม.จ. สุภัทรดิศ ดิศกุล ทรงนิพนธ์ไว้ ท่านให้ความเห็นเกี่ยวกับการสร้างพระปฐมเจดีย์ว่า การที่จะทราบว่าพระปฐมเจดีย์สร้างขึ้นเมื่อใด และใครเป็นผู้สร้างนั้น จะต้องย้อนกล่าวตั้งแต่พระพุทธองค์เสด็จดับขันธ์ปรินิพพาน พระพุทธศาสนาได้แพร่หลายอยู่ในมัชฌิมประเทศ คือ อินเดียตอนกลาง แต่ยังหาได้เป็นศาสนาที่เป็นประธานของประเทศไม่ ต่อมาสมัยพระเจ้าอโศกมหาราชขึ้นครองราชสมบัติในแคว้นมคธของอินเดีย เมื่อ พ.ศ.274 ทรงเป็นกษัตริย์ที่มีพระเดชานุภาพใหญ่หลวง พระองค์สลดพระทัยในการรบพุ่ง จึงมุ่งหมายจะแผ่พระเดชานุภาพทางธรรม เพราะทรงเห็นว่า พระพุทธศาสนามีคติธรรมล้ำเลิศกว่าศาสนาอื่น ๆ จึงทรงอุปถัมภ์ และเผยแพร่ไปนานาประเทศ โดยส่งพระสงฆ์เป็นสมณฑูตออกไป มีข้อความตอนหนึ่งในหนังสือมหาวงศ์คือ พงศาวดารของเกาะลังกา โดยพรรณนาไว้ว่า '' สุวณ.ณภูม เถเร เทว โสณ อุตตารเมวจ'' แปลความว่า ให้พระโสณเถระกับพระอุตระเถระไปยังสุวรรณภูมิ นักปราชย์ทั้งหลายเห็นพ้องกับอาจารย์ ริสเดวิดส์ ที่ว่า สุวรรณภูมิมีอาณาเขตเริ่มตั้งแต่รามัญประเทศ ( คือเมืองมอญ ) ไปจดเมืองญวน และตั้งแต่พม่าไปจนถึงปลายแหลมมลายู เมืองนครปฐมน่าจะเป็นเมืองราชธานีของสุวรรณภูมิ และครั้งนั้นคงเรียกว่า สุวรรณภูมิ ตามประเพณีเดิมที่มักเรียกนามเมืองหลวงเป็นชื่อของประเทศ
    <O:p</O:p
    หลักฐานที่ปรากฏชัดว่า เมืองนครปฐมเป็นเมืองที่พระพุทธศาสนามาเผยแพร่เป็นครั้งแรกก็คือองค์พุทธเจดีย์ สันนิษฐานว่าสร้างในสมัยเดียวกับครั้งพระเจ้าอโศกมหาราชยังครองราชสมบัติอยู่ เพราะลักษณะองค์เจดีย์นั้น เดิมเป็นสถูปกลมรูปทรงคล้ายบาทคว่ำ ( โอคว่ำ) แบบสัญจิเจดีย์ ในประเทศอินเดีย ที่พระเจ้าอโศกมหาราชทรงสร้างไว้และวัดที่สร้างขึ้นเป็นวัดแรกในประเทศไทยก็คือ วัดพระปฐมเจดีย์นี่เอง ผู้ปกครองวัดหรือสมภารเจ้าวัดก็คือพระอรหันต์ ผู้นำพระพุทธศาสนามาเผยแพร่ในยุคนั้น ผู้สร้างพระเจดีย์ องค์เดิมจะต้องเป็นพระมหากษัตริย์ผู้ยิ่งใหญ่ที่มีกำลังความสามารถมาก และคงสร้างไว้ในเมืองหลวงด้วย พระสถูปองค์เดิมสูง 19 วา 2 ศอก ( 39 เมตร ) หลักฐานอื่น ๆ ที่พบมาก ได้แก่ พระสถูปต่าง ๆ ศิลาธรรมจักรจารึกพระธรรมเป็นภาษามคธ คือคาถาเยธมมา พระแท่นพุทธอาสน์ และรอยพระพุทธบาท ทำเป็นที่สักการะแทนพระพุทธรูป ในสมัยนั้นยังไม่มีพระพุทธรูป ลักษณะขององค์พระเจดีย์ตอนบนเป็นพุทธอาสน์สี่เหลี่ยมตั้งไว้มีฉัตรปักเป็นยอด ฐานพระสถูปเป็นรูปสี่เหลี่ยม รอบฐานทำเป็นที่เดินประทักษิณมีรั้วล้อมรอบภายนอกก่อด้วยอิฐชนิดเดียวกันเมื่อมีพระปฐมเจดีย์ก็น่าจะมีสิ่งก่อสร้างอื่น ๆ ตามมา มีการปฏิบัติธรรมของพระสงฆ์เป็นครั้งคราวโดยเฉพาะฤดูเข้าพรรษา สมเด็จกรมพระยาดำรงราชานุภาพได้ทรงกล่าวไว้ในหนังสือมูลเหตุแห่ง การสร้างวัดในประเทศสยาม ข้อ 3 ว่า
     
  10. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    ไม่ทราบที่มา และผู้เขียน
    โมทนาสาธุกับท่านผู้เขียนบทความนี้และขออนุญาตนำมาลงเป็นวิทยาทานครับ

    ประวัติ พระปฐมเจดีย์<O:p</O:p
    <O:p</O:p(ต่อครับ)

    ในสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดให้ปฏิสังขรณ์วิหารหลวงและให้เขียนภาพพระปฐมเจดีย์ ตั้งแต่ที่มีอยู่เดิมกับภาพเทวดา ครุฑ นาค และนักบวชในศาสนาต่าง ๆ ไว้ที่ผนัง ยังโปรดให้สร้างวิหารสำหรับประดิษฐานพระร่วงโรจนฤทธิ์ซึ่งเดิมได้อัญเชิญชิ้นส่วนพระเศียร พระหัตถ์ และพระบาท ซึ่งเป็นศิลปสุโทัยมาจากสวรรคโลก นำมาปฏิสังขรณ์จนเป็นพระพุทธรูปยืนที่สมบูรณ์ ทรงมีพระราชกระแสรับสั่งให้บรรจุพระสรีรางคารของพระองค์ไว้ในฐานพระพุทธรูปองค์นี้ด้วย และถวายพระนามพระพุทธรูปว่า "พระร่วงโรจนฤทธิ์ ศรีอินทราทิตย์ธรรโมภาส มหาวชิราวุธราชปูชนียบพิตร'' และทรงโปรดให้สร้างพระอุโบสถวัดพระปฐมเจดีย์ขึ้นใหม่แทนพระอุดโบสถหลังเก่าที่ชำรุด และมาเสร็จสิ้นในรัชกาลที่ 4 พระปฐมเจดีย์นิ้หน้าที่ธุรการขึ้นอยู่กับกระทรวงศึกษาธิการ หน้าที่ทางวิชาการขึ้นอยู่กับกรมศิลปากร<O:p</O:p
    <O:p</O:p
    <O:p</O:p


    <TABLE class=MsoNormalTable style="WIDTH: 100%; mso-cellspacing: 1.5pt" cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR style="mso-yfti-irow: 0; mso-yfti-firstrow: yes; mso-yfti-lastrow: yes"><TD style="BORDER-RIGHT: #ece9d8; PADDING-RIGHT: 0.75pt; BORDER-TOP: #ece9d8; PADDING-LEFT: 0.75pt; PADDING-BOTTOM: 0.75pt; BORDER-LEFT: #ece9d8; WIDTH: 34%; PADDING-TOP: 0.75pt; BORDER-BOTTOM: #ece9d8; BACKGROUND-COLOR: transparent" width="34%">
    ภาพตัดขวางแสดง
    ลักษณะองค์พระปฐมเจดีย์
    <O:p</O:p


    </TD><TD style="BORDER-RIGHT: #ece9d8; PADDING-RIGHT: 0.75pt; BORDER-TOP: #ece9d8; PADDING-LEFT: 0.75pt; PADDING-BOTTOM: 0.75pt; BORDER-LEFT: #ece9d8; WIDTH: 33%; PADDING-TOP: 0.75pt; BORDER-BOTTOM: #ece9d8; BACKGROUND-COLOR: transparent" width="33%">
    ภาพเทวดา ครุฑ นาค นักบวช<O:p</O:p


    </TD><TD style="BORDER-RIGHT: #ece9d8; PADDING-RIGHT: 0.75pt; BORDER-TOP: #ece9d8; PADDING-LEFT: 0.75pt; PADDING-BOTTOM: 0.75pt; BORDER-LEFT: #ece9d8; WIDTH: 33%; PADDING-TOP: 0.75pt; BORDER-BOTTOM: #ece9d8; BACKGROUND-COLOR: transparent" width="33%">
    พระพุ[​IMG]ทธรูปศิลาขาวในพระอุโบสถ
    ด้านทิศตะวันออก<O:p</O:p


    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    <O:p</O:p
    <TABLE class=MsoNormalTable style="WIDTH: 100%; mso-cellspacing: 1.5pt" cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR style="mso-yfti-irow: 0; mso-yfti-firstrow: yes; mso-yfti-lastrow: yes"><TD style="BORDER-RIGHT: #ece9d8; PADDING-RIGHT: 0.75pt; BORDER-TOP: #ece9d8; PADDING-LEFT: 0.75pt; PADDING-BOTTOM: 0.75pt; BORDER-LEFT: #ece9d8; WIDTH: 100%; PADDING-TOP: 0.75pt; BORDER-BOTTOM: #ece9d8; BACKGROUND-COLOR: transparent" width="100%">

    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    <O:p</O:p
    การปฏิสังขรณ์พระปฐมเจดีย์นั้น มีมาตั้งแต่สมันต้นรัตโกสินทร์มาจนถึงปัจจุบัน ก็ยังต้องบูรณะซ่อมแซมกันอยู่เรื่อย และต้องใช้งบประมาณเป็นจำนวนมาก ๆ ก็ยังไม่เพียงพอ คณะกรรมการวัดพระปฐมเจดีย์จึงได้จัดงานสมัสการองค์พระปฐมเจดีย์ขึ้นทุกปี เพื่อรวบรวมรายได้จากผู้ชมมาทำบุญและผู้ที่บริจาคเพื่อทำนุบำรุงปฏิสังขรณ์โบราณสถานที่สำคัญยิ่งของชาติไทยให้คงอยู่ชั่วกาลนาน โดยปกติจะจัดงานนมัสการองค์พระปฐมเจดีย์ระหว่างเดือนพฤศจิกายน หรือระหว่างกลางเดือน 12 ซึ่งชาวบ้านเรียกว่า งานกลางเดือน มีงานทั้งหมด 9 วัน 9 คืน เพื่อเปิดโอกาสให้ประชาชนทั่วทุกสารทิศ ได้มากราบไว้นมัสการร่วมกันทำบุญ การจัดงานทุกครั้ง ทางคณะกรรมการวัดจะขอให้ส่วนราชการทุกส่วนในจังหวัดให้ความร่วมมือด้วย มีการจัดนิทรรศการเกี่ยวกับการศึกษา เกี่ยวกับปากท้องของประชาชน การแสดงต่าง ๆ ของประขาชนและประชาชน ข้าราชการตำรวจ ลูกเสือชาวบ้าน การแสดงสินค้าพื้นเมือง การแสดงผลงานของทุกส่วนราชการ การจัดประกวดการแข่งขันหลายประเภท ฯลฯ เปิดโอกาสให้ประชาชนนำสินค้าพื้นเมืองและสินค้าต่างจังหวัดมาขาย มีมหรสพมากมาย นับว่าเป็นการจัดงาน ที่ใหญ่ที่สุดของจังหวัดนครปฐมเลยทีเดียว<O:p</O:p
    การปฏิสังขรณ์องค์พระปฐมเจดีย็ สร้างเป็นเจดีย็ใหญ่หุ้มองค์เดิมเปลี่ยนจากบาตรคว่ำมีพุทธบัลลังก์ฐานสี่เหลี่ยมซ้อนระฆัง มียอดนภศูลและมีพระมหามงกุฎสวมไว้บนยอดองค์พระปฐมเจดีย์ประดับด้วย กระเบื้องเคลือบสีเหลือง งดงามแวววาว มีขนาดสูง 3 เส้น 1 คืบ 6 นิ้ว ( 120.45 เมตร ) โดนฐานรอบยาว 5 เส้น 17 วา 3 ศอก ( 235.50 เมตร ) รอบฐานองค์พระปฐมเจดีย์สร้างเป็นบาตร หินกลมล้อมรอบเป็น 2 ชั้น ทั้ง 4 ทิศ มีพระวิหารและพระระเบียงต่อเชื่อมกันรอบพระเจดีย์พร้อมกับสร้างพระพุทธรูปปางต่าง ๆ ไว้ที่วิหารทั้ง 4 ทิศ ดังนี้ <O:p</O:p
    ทิศตะวันออกเรียกว่า '' พระวิหารหลวง '' ห้องนอกประดิษฐานพระพุทธรูปบางตรัสรู้ ประทับนั่งขัดสมาธิอยู่ใต้ต้นโพธิ์บัลลังก์ ต้นโพธิ์เป็นภาพเขียนฝีมืองดงามเหมือนของจริงมาก ส่วนห้องในพระวิหารหลวงปล่อยไว้โล่งๆ มีแท่นบูชาเป็นของเก่าในรัชกาลที่ 4 ซึ่งเป็นที่สมัสการองค์พระปฐมเจดีย์ ในสมัยรัชกาลที่ 6 โปรดเกล้า ฯ ให้วาดรูปองค์พระปฐมเจดีย์ แสดงให้เห็นถึงลักษณะขององเจดีย์ตั้งแต่สมัยเริ่มสร้างมาจนถึงปัจจุบัน ผนังห้องทั้งสองข้างเป็นภาพวาดรูปเทวดา นักพรต ฤาษี และพระยาครุฑ ทุกภาพ ประนมมือแสดงการสักการบูชาพระปฐมเจดีย์ วิหารทิศเหนือ สิ่งแรกที่เห็นจากด้านนอกคือ พระพุทธรูปขนาดใหญ่หล่อด้วยโลหะปิดทอง คือ พระร่วงโรจนฤทธิ์ ด้านในห้องหน้า ประดิษฐานพระพุทธรูปปางประสูติ ห้องในประดิษฐานพระพุทธรูปปางป่าเลไลก์มุขหลังไว้รูปพระยากงสำหรับวิหารอีก 3 หลัง 3 ทิศนั้น ประกอบด้วย วิหารทิศตะวันตก มีพระพุทธรูปปางไสยาสน์ประดิษฐ์อยู่ วิหารทิศใต้มีพระพุทธรูปปางปฐมเทศนาและปัญจวัคคีย์ประดิษฐ์อยู่ ส่วนวิหารทิศเหนือก็คือวิหารที่ประดิษฐ์พระพุทธรูป " พระร่วงโรจนฤทธิ์ " ซึ่งเป็นพระพุทธรูปที่สำคัญที่สุดหรืออาจเรียกได้ว่า เป็นพระพุทธรูปคู่บ้านคู่เมืองของจังหวัดนครปฐมนั่นเอง ประชาชนที่ไปนมัสการองค์พระปฐมเจดีย์แทบทั้งหมดต้องขึ้นบันไดทางทิศเนือและนมัสการพระพุทธรูปองค์นี้<O:p</O:p
    ที่ระเบียงกลม ( วิหารคด ) ล้อมรอบองค์พระเจดีย์ภายในจารึกกถาธรรมทุกห้อง รอบนอกก่อหอระฆังไว้เป็นระยะ ๆ มี 24 หอ ชั้นล่างก่อกำแพงถมดินเป็นกระเปาะขึ้นมาทั้ง 4 ทิศ บนกระเปาะด้านตะวันออก ทำโรงธรรมและพระอุโบสถด้านใต้ประดิษฐานพระคันธารราฐ ( พระพุทธรุปศิลาขาว ) ซึ่งได้มาจากวัดพระเมรุและจำลองรูปปฐมเจดีย์ไว้ทางด้านทิศตะวันออก หรือทางซ้ายของพระพุทธคันธารราฐ ได้จำลองรูปพระเจดีย์ เมืองนครศรีธรรมราชที่เรียกว่า พระมหาธาตุใหญ่<O:p</O:p
    หลังจากพุทธศักราช 1500 เป็นต้นมา พระพุทธเจดีย์ก็ทรุดโทรมคงเนื่องมาจากขาดการบำรุงทำนุรักษา เหตุที่เจ้าเมืองอ่อนอกก็เป็นได้ จนกระทั่งถูกพระเจ้าอนุรุธแห่งพม่าตีเมืองนครปฐม เพราะหลักฐานวัตถุโบราณที่ขุดได้จากเมืองนครปฐมก็ขุดได้ที่เมืองพุกามแห่งเดียว เช่นพระพิมพ์และเงินเหรียญของโบราณ เป็นรูปสังข์ข้างหนึ่ง ปราสาทข้างหนึ่ง อานันทเจดีย์ที่เมืองพุกามซึ่งสร้างขึ้นหลังพระเจ้าอนุรุธที่ 1 นั้นก็เป็นแบบเดียวกับวัดพระเมรุที่จังหวัดนครปฐมทุกอย่าง ยกเว้นพระพุทธรูปในซุ้มทั้ง 4 เป็นพระยืนแต่ที่วัดพระเมรุเป็นพระนั่งห้วยพระบาท หลังจากพระเจ้าอนุรุธตีเมืองนครปฐมได้ก็กวาดต้อนผู้คนไป เมืองนี้ ก็กลายเป็นเมืองร้าง สันนิษฐานว่า อู่ทองเป็นเมืองหลวงต่อมา สมเด็จฯ กรมพระยาดำรงเดชานุภาพว่าในศิลาจารึกของพ่อขุนรามคำแหง พ.ศ. 1835 ยังมีชื่อเมืองสุพรรณภูมิคือ ซึ่งก็คือ อู่ทองนั่นเอง ซึ่งเป็นเมืองหลวงสุดท้ายของอาณาจักรทวารดี ตามที่ มจ. สุภัทรดิศ ดิศกุล ทรงกล่าวว่า ถ้าพระวินิจฉัยของสมเด็จกรมพระยาดำรงฯ เรื่องพงศาวดารของพระเจ้าอู่ทองถูกต้องแล้ว ร้อยปีต่อมาเมื่อราว พ. ศ. 1731 พระเจ้าไชยศิริ ต้นวงศ์ของพระเจ้าอู่ทองสู้มอญไม่ได้ ก็อพยพลงมาตั้งที่เมืองนครปฐมอีกครั้งหนึ่ง ต่อมาเมืองร้างไปอีก เพราะแม่น้ำตื้นเขิน ครั้นถึงแผ่นดินสมเด็จพระมหาจักรพรรดิราว พ.ศ. 2091 จึงตั้งเมืองขึ้นอีกเรียกว่า เมืองนครชันศรี เพื่อเป็นเมืองต่อต้านข้าศึก ( รับศึก ) และเนื่องจากพระปฐมเจดีย์ห่างไกลจากเมืองนี้ ประกอบกับสมัยกรุงศรีอยุธยาเป็นต้นมาจนถึงรัตนโกสินทร์ เมืองไทยต้องคอยรับศึกจากพม่า จึงปล่อยให้พระปฐมเจดีย์ปรักหักพัง เต็มไปด้วยป่ารกไม่มีผู้ดูแลเป็นเวลานาน จนถึงแผ่นดินพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย พบว่าศาลาการเปรียญอยู่บริเวณต้นพระศรีมหาโพธิ์ หมู่กุฏิพระสงฆ์ปลูกอยู่ทางด้านตะวันตกของศาลาการเปรียญส่วนพระอุโบสถคงอยู่ ณ ที่เดิม คือ ด้านตะวันออกตรงกับพระอุโบสถขณะนี้ เพียงแต่อยู่กับพื้นดิน<O:p</O:p
    ในสมัยรัชกาลที่ 3 พ.ศ. 2374 พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ครั้นยังทรงผนวช ณ วัดสมอราย ( วัดราชาธิวาส ) ได้เสด็จธุดงค์มาที่เมืองนครปฐมพร้อมด้วยคณะสงฆ์และทรงปักกลดประทับ ณ โคลนต้นตะคร้อ ได้สังเกตลักษณะขององค์พระปฐมเจดีย์ ทรงเห็นว่า ไม่มีพระเจดีย์ใดที่เก่าแก่และยิ่งใหญ่เท่าเจดีย์องค์นี้ ตั้งแต่เสด็จไปพบเห็นมาทั่วประเทศไทย พระองค์ทรงเห็นว่า น่าจะบรรจุพระบรมสารีริกธาตุไว้เป็นแน่ หลังจากที่พระองค์เสด็จขึ้นสวดมนต์บนลานพระปฐมเจดีย์จบแล้ว ทรงอธิษฐานว่า ถ้าพระมหาเจดีย์นี้มีพระบรมธาตุบรรจุไว้ภายใน ขอเทพยดาผู้รักษาจงแบ่งให้สักสององค์ จะนำไปบรรจุไว้ภายในพระพุทธรูปที่สร้างใหม่ และในพระเจดีย์เงินเพื่อไว้บูชาในกรุงเทพฯ แล้วรับสั่งให้นายรื่น มหาดเล็กนำผอบใส่พานขึ้นตั้งไว้ในโพรงพระเจดีย์ทางด้านทิศตะวันออก ในตอนบ่ายวันที่จะเสด็จกลับให้เชิญผอบลงมาก็หาได้มีอะไรไม่<O:p</O:p
    หลังจากที่ท่านได้เสด็จกลับไปได้ประมาณเดือนเศษ คืนหนึ่งประมาณ 5 ทุ่ม ขณะที่พระสงฆ์สวดมนต์ในหอพระวัดมหาธาตุ ซึ่งพระองค์ทรงสร้างพระเนาวรัตน์ไว้องค์หนึ่ง ปรากฏว่า พระสงฆ์สวดมนต์ไปได้ครึ่งหนึ่ง ก็มีกลุ่มควันสีแดง กลิ่นหอมเหมือนควันธูป ควันนั้นมากขึ้น จนพระพุทธรูปแลดูแดงเหมือนสีนาก พระสงฆ์ทั้งปวงตกใจ ลุกไปดูด้วยสำคัญว่าไฟไหม้แต่ก็ไม่เห็นอะไร จึงสวดมนต์ต่อไปจนจบ เมื่อสวดจบแล้ว ควันจางลง จึงช่วยกันค้นดูว่าใครสุมไฟไว้ที่ไหนก็ไม่พบ รุ่งขึ้นไปกราบทูลให้ทราบ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้า ฯ จึงเสด็จทอดพระเนตรพระพุทธรูปพระเนาวรัตน์ พบพระธาตุมากขึ้นกว่าเก่า 2 องค์ รับสั่งถามพระสงฆ์ ก็ไม่ มีใครทราบ พระธาตุนั้นเล็กเท่าเมล็ดพันธ์ผักกาดสีขาวเหมือนดอกพิกุล จึงโปรดบรรจุไว้ในพระสัมพุทธพรรณีองค์หนึ่ง พระองค์มีศรัทธามากมุ่งจะทรงสถาปนาบูรณะปฏิสังขรณ์องค์พระปฐมเจดีย์ ด้วยมั่นพระทัยว่ามีพระบรมสารีริธาตุของพระพุทธเจ้าบรรจุอยู่ จึงนำความกราบทูลพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว ก็ไม่ทรงโปรดฯ เพราะทรงเห็นว่า เป็นของอยู่ในป่ารก จำทำขึ้นก็ไม่เห็นประโยชน์ใด พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว จึงทรงตั้งพระทัยไว้ว่า จะทรงบูรณปฏิสังขรณ์ให้จงได้<O:p</O:p
    เมื่อพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าฯ เสวยราชย์ได้ 2 ปี โปรดให้เริ่มลงมือก่อสร้าง ปฏิสังขรณ์องค์พระปฐมเจดีย์เป็นการใหญ่ ในปีแรก พ.ศ. 2396 โปรดให้สมเด็จพระยาพระบรมมหาประยุรวงศ์เป็นแม่กลอง เมื่อถึงแก่พิราลัย จึงโปรดเกล้าให้เจ้าพระยาทิพากรณ์มหาโกษาธิบดีเป็นแม่กลองเจ้าของจัดการทำต่อไป เมื่อวันอังคารที่ 23 มีนาคม พ.ศ. 2400 ( เดือน 5 ขึ้น 9 ค่ำ ปีมะเมีย ) พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวได้เสด็จพระราชดำเนินมายังวัดพระปฐมเจดีย์ และทรงก่อพระปฐมเจดีย์เป็นปฐมฤกษ์ ตามรูปแบบที่ช่างได้จัดทำรูปถวาย โดยจัดทำครอบองค์เดิมไว้ภายใน การเสด็จครั้งนี้นับเป็นครั้งแรกตั้งแต่เสด็จขึ้นครองราชย์ โดยเสด็จทางเรือขึ้นที่วัดไชยพฤกษมาลา ตอนนั้นคลองมหาสวัสดิ์ คลองเจดีย์บูชาขุดยังไม่เสร็จ แล้วเสด็จทางสถลมารค ไปประทับแรมที่พลับพลาท่าหวดคืนหนึ่ง วันรุ่งขึ้น คือวันพุธที่ 24 มีนาคม พ.ศ. 2400 ( เดือน 5 ขึ้น 10 ค่ำ ) เสด็จทางชลมารคขึ้นที่คลองเจดีย์บูชาแล้วเสด็จทางสถลมารคถึงองค์พระปฐมเจดีย์ ประทับที่พลับพลาค่ายหลวงเวลาบ่ายห้าโมงเย็นเสด็จขึ้นประทับพลับพลาบนลานพระปฐมเจดีย์ ฟังพระสงฆ์เจริญพระพุทธมนต์ จบแล้วเสด็จพระราชดำเนินประทักษิณ ( เวียนเทียน ) แล้วจุดดอกไม้เพลิงการทำสักการบูชา พอทรงจุดฝักแค ก็เห็นดวงย้อยออกมาจากซุ้มคูหาด้านทิศตะวันออกเป็นรัศมีขาวตกลงมาหลังพระวิหารพระไสยาสนาเก่า ซึ่งอยู่ที่วิหารหลวงเดี๋ยวนี้บรรดาผู้เข้าเฝ้าได้เห็นเป็นอันมาก<O:p</O:p
    วันพฤหัสบดีที่ 25 มีนาคม พ.ศ. 2400 ทรงก่อพระปฐมเจดีย์เป็นพระฤกษ์ โปรดให้เวียนเทียนสมโภชต่าง ๆ พระราชทานเงินสามสิบช่างเป็นพระราชกุศล และทรงโปรยทานแจกราษฎร ที่มาชมพระบารมี ข้าราชการที่ตามเสด็จเกิดศรัทธา บริจาคเงินโดยเสด็จพระราชกุศลทั่วทุกคน กับโปรดเกล้าฯ ให้ชายฉกรรจ์ที่อาศัยอยู่บริเวณใกล้เคียงพระปฐมเจดีย์ถวายเป็นข้าพระ 126 คน และทรงตั้งผู้ดูแลรักษาพระราชทานนาม ว่าขุนพุทธเกษตรนุรักษ์ และมีผู้ช่วยพระราชทานนามว่า ขุนพุทธจักรรักษาส่วนสมุหบัญชีพระราชทานนามว่า หมื่นฐานาภิบาล ทรงยกค่านา และสมพัตสร ( สมพัตสร คือ อากรที่เรียกเก็บเป็นรายปี ส่วนใหญ่เก็บจากผลไม้ยืนต้น ) ที่ใกล้องค์พระเป็นกัลปนาขึ้นวัด ( กัลปนาคือ สิ่งอื่นซึ่งเจ้าของอุทิศผลประโยชน์ให้แก่วัดเป็นส่วนบุญที่ผู้ทำอุทิศให้ผู้ตาย ) ทรงถวายนิตยภัตด้วย ( นิตยภัต คือ อาหารหรือค่าอาหารที่ถวายภิกษุสามเณรเป็นนิตย์ ) แล้วเสด็จพระราชดำเนินกลับพระนคร<O:p</O:p
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    แก้ไขครั้งล่าสุด: 1 เมษายน 2007
  11. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    ไม่ทราบที่มา และผู้เขียน
    โมทนาสาธุกับท่านผู้เขียนบทความนี้และขออนุญาตนำมาลงเป็นวิทยาทานครับ

    ประวัติ พระปฐมเจดีย์<O:p</O:p
    <O:p</O:p(จบครับ)

    องค์พระปฐมเจดีย์อายุเท่าไร?<O:p</O:p
    <?xml:namespace prefix = v ns = "urn:schemas-microsoft-com:vml" /><v:rect id=_x0000_s1026 style="MARGIN-TOP: 60pt; Z-INDEX: 1; MARGIN-LEFT: 0px; WIDTH: 170.25pt; POSITION: absolute; HEIGHT: 247.5pt" stroked="f" filled="f"></v:rect>องค์พระปฐมเจดีย์ จ.นครปฐม ที่สูงเด่นเป็นสง่าน่าเคารพกราบไหว้นั้น แท้ที่จริงเป็นองค์พระเจดีย์ทับซ้อนกันถึงสามองค์ แต่ละองค์มีอายุขัยและผู้สร้างแตกต่างกันไป องค์แรกอายุเท่าไร ? องค์ที่เห็นปัจจุบันนี้มีอายุการสร้าง ๑๕๐ ปี เขานับกันอย่างไร ? <O:p</O:p
    พระเทพปริยัติมุนี เจ้าอาวาสวัดพระปฐมเจดีย์ราชวรมหาวิหาร และเจ้าคณะภาค ๑๔ เล่าว่า เมื่อ พ.ศ. ๒๙๖ พระโสณเถระ พระอุตรเถระ ได้นำพระบรมสารีริกธาตุมาประดิษฐานไว้ในเจดีย์ทรงบาตรคว่ำ สูง ๑๘ วา ๒ ศอก นับอายุกว่า ๒,๒๕๐ ปี ถือกันว่าเป็นเจดีย์องค์ที่ ๑ ต่อมาเมื่อพญาพานได้กระทำปิตุฆาตพญากงผู้บิดาโดยรู้เท่าไม่ถึงการณ์ ทรงโทรมนัสมาก จึงได้สร้างเจดีย์ทรงปรางค์ สูงเท่านกเขาเหิน ๔๒ วา ๒ ศอก เมื่อ พ.ศ.๕๖๙ บรรจุพระบรมสารีริกธาตุ นับอายุได้ถึงปัจจุบันนี้ ๑,๙๗๗ ปี <O:p</O:p
    ครั้นถึงพ.ศ.๒๓๙๖ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ ๔ แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ทรงมีพระราชศรัทธาจึงได้โปรดเกล้าฯให้สร้างเจดีย์ทรงระฆังคว่ำ ครอบเจดีย์องค์เดิมสูง ๑๒๐ เมตร และบรรจุพระบรมสารีริกธาตุ นับอายุพระเจดีย์องค์ที่เห็นในปัจจุบันได้ ๑๕๐ ปีพอดี <O:p</O:p
    พระปฐมเจดีย์องค์นี้มีความสำคัญนัก มีพระบรมสารีริกธาตุบรรจุถึง ๓ ชุดด้วยกัน ต่างกรรมต่างวาระ การกราบไหว้พระปฐมเจดีย์เพียงครั้งเดียวองค์เดียวจึงได้อานิสงส์ถึงสามวาระด้วยกัน โดยเฉพาะอย่างยิ่งวัดพระปฐมเจดีย์เป็นพระอารามหลวงชั้นเอกพิเศษ ชนิดราชวรมหาวิหาร ซึ่งถือกันว่าเป็นสถาบันชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์ <O:p</O:p
    เจ้าคณะภาค ๑๔ บอกด้วยว่า ในอดีตถึงปัจจุบันนี้ คงมีแต่องค์พระปฐมเจดีย์เท่านั้นที่มีการสร้างเจดีย์สามครั้งในสถานที่จุดเดียวกัน นับว่าเป็นบุญของชาวนครปฐม เศรษฐกิจการเมืองการค้าและความร่มเย็น นครปฐมจึงได้รับความสมบูรณ์พูนสุขกว่าเมืองอื่นๆ พุทธศาสนิกชนที่อาศัยทำมาหากินก็เปี่ยมไปด้วยความสุข แม้กระทั่งคนชราที่หมดภาระหน้าที่แล้วหันหน้าเข้าวัด มาเล่นหมากรุกก็มีความสุข หรือช่วยหยิบจับอะไรให้ดีขึ้นก็ได้บุญบารมีมากขึ้น <O:p</O:p
    องค์พระปฐมเจดีย์มีปาฏิหาริย์เกิดขึ้นหลายครั้ง นับตั้งแต่อดีตกาลเมื่อครั้งพระปฐมเจดีย์องค์ที่ ๑ ชาวบ้านเห็นพระบรมธาตุพระพุทธเจ้าแสดงพลานุภาพเป็นฉัพพัณรังสี ๗ สี ๗ แสง <O:p</O:p
    ต่อมาก่อนที่พญาพานจะสร้างเจดีย์องค์ที่ ๒ ได้ร่วมกับข้าราชบริพารอีก ๙ คน ทุกคนแต่งชุดขาว สมาทานศีลห้า พญาพานและบริวารร่วมกันภาวนาอยู่ ๑ วัน แล้วอธิษฐานให้เกิดนิมิต ต่อมาเกิดฉัพพัณรังสีขึ้นจริง จึงได้สร้างเจดีย์ทรงปรางค์สูงเท่านกเขาเหิน <O:p</O:p
    และเมื่อครั้งรัชกาลที่ ๔ ขณะยังทรงผนวชอยู่ เสด็จมาพร้อมข้าราชบริพารหลายคน ทรงปักกลดโคนต้นตะคร้อ(สะคร้อ) ทางทิศเหนือขององค์พระปฐมเจดีย์ในปัจจุบันนี้ ครั้นค่ำย่ำลงเสด็จขึ้นไปสวดมนต์ยังลานพระปฐมเจดีย์ แล้วอธิษฐานขอพระบรมธาตุสัก ๒ องค์ เพื่อนำไปบรรจุในพระพุทธรูปหล่อใหม่องค์หนึ่ง จึงสั่งให้นายรื่นมหาดเล็กเอาผอบไปวางไว้ในโพรงเจดีย์ เมื่อเสด็จกลับพร้อมผอบไม่ปรากฏมีสิ่งใดๆ แต่อีกหนึ่งเดือนต่อมา เกิดมีพระบรมธาตุเกิดขึ้นในผอบ ๒ องค์จริง และทรงเห็นฉัพพัณรังสีเกิดขึ้น ๖ ครั้ง นี่คือตัวอย่างหนึ่งเท่านั้นเอง ในสมัยรัชกาลที่ ๕ พบเห็นปาฏิหาริย์แห่งองค์พระปฐมเจดีย์ ๓ ครั้ง เป็นต้น <O:p</O:p
    การนับอายุองค์พระปฐมเจดีย์ ๑๕๐ ปี จึงถือเอาแค่เมื่อสร้างครั้งหลังสุด ทั้งๆที่องค์พระปฐมเจดีย์มาอายุขัยกว่า ๒,๐๐๐ ปี บริเวณรอบองค์พระปฐมเจดีย์แต่ละชั้นมี ต้นไม้ใหญ่อายุยาวๆให้ร่มเงาอย่างร่มรื่น ช่วยเพิ่มบรรยากาศรอบอวค์พระให้น่านั่งและ ชมความสวยงามของหลายสิ่งหลายอย่าง พิพิธภัณฑสถานก็มีหลากหลายชนิด สรรพสิ่งให้ได้ศึกษาและชื่นชม ภาพจำลองการสร้างเจดีย์สามองค์ครอบทับซ้อนกันไว้ในวิหาร มีลวดลายบนผนังวิหารที่สวยวิจิตร แม้กระทั่งพระนอนอีกฟากหนึ่งก็ดูแล้วน่าศรัทธายิ่งนัก โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ในแต่ละวันมีพุทธศาสนิกชนมากราบไหว้พระร่วงโรจนฤทธิ์กันไม่ขาดสาย <O:p</O:p
    ในบริเวณองค์พระปฐมเจดีย์มีที่จอดรถมาก พื้นที่แต่ละมุมมีความน่าสนใจ ของฝากก็มีทั้งของใช้และของกิน เลือกเอาได้ตามใจชอบ ในวัดก็มี หน้าวัดในตลาดก็มี แต่ละปีมีพุทธศาสนิกชนมากราบไหว้ประจำมากมาย บางรายมาแล้วนับครั้งไม่ถ้วน คนที่ไม่เคยมาเลยจึงน่าจะมากราบไหว้หาสิริมงคลใส่ตัว วัดนี้ร่มรื่นน่านั่งเล่น พื้นที่ส่วนนี้แบ่งส่วนเอาไว้ค่อนข้างชัดเจน ส่วนกุฎีพระสงฆ์แยกไป อยู่อีกพื้นที่หนึ่ง เป็นสัดส่วนเฉพาะ สงบ วิเวก และเหมาะสมกับพระสงฆ์ที่จะจำวัดปฏิบัติธรรม <O:p</O:p
     
  12. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    ตามที่ผมได้เฉลยเรื่องพระพิมพ์สี่องค์ตามรูป ว่าเป็นเณร(หรือเก๊)

    <TABLE class=tborder cellSpacing=1 cellPadding=6 width="100%" align=center border=0><TBODY><TR><TD class=alt2>[​IMG]
    21.2 KB, ดาวน์โหลด 150 ครั้ง


    </TD><TD class=alt1>ชื่อกระทู้: พระวังหน้า ที่หลวงปู่บรมครูเทพโลกอุดรเสก ถ้าต้องการที่จะได้.....
    ส่งข้อความ: &laquo;ไม่มีข้อมูล&raquo;



    </TD><TD class=alt2>27-03-2007 02:03 PM


    </TD><TD class=alt1 style="PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 0px; PADDING-BOTTOM: 0px; PADDING-TOP: 0px" align=middle><INPUT type=checkbox value=yes name=deletebox[160016]></TD></TR><TR><TD class=alt2>[​IMG]
    22.9 KB, ดาวน์โหลด 150 ครั้ง


    </TD><TD class=alt1>ชื่อกระทู้: พระวังหน้า ที่หลวงปู่บรมครูเทพโลกอุดรเสก ถ้าต้องการที่จะได้.....
    ส่งข้อความ: &laquo;ไม่มีข้อมูล&raquo;



    </TD><TD class=alt2>27-03-2007 02:03 PM


    </TD><TD class=alt1 style="PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 0px; PADDING-BOTTOM: 0px; PADDING-TOP: 0px" align=middle><INPUT type=checkbox value=yes name=deletebox[160015]></TD></TR><TR><TD class=alt2>[​IMG]
    32.1 KB, ดาวน์โหลด 149 ครั้ง


    </TD><TD class=alt1>ชื่อกระทู้: พระวังหน้า ที่หลวงปู่บรมครูเทพโลกอุดรเสก ถ้าต้องการที่จะได้.....
    ส่งข้อความ: &laquo;ไม่มีข้อมูล&raquo;



    </TD><TD class=alt2>27-03-2007 02:03 PM


    </TD><TD class=alt1 style="PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 0px; PADDING-BOTTOM: 0px; PADDING-TOP: 0px" align=middle><INPUT type=checkbox value=yes name=deletebox[160014]></TD></TR><TR><TD class=alt2>[​IMG]
    21.6 KB, ดาวน์โหลด 149 ครั้ง


    </TD><TD class=alt1>ชื่อกระทู้: พระวังหน้า ที่หลวงปู่บรมครูเทพโลกอุดรเสก ถ้าต้องการที่จะได้.....
    ส่งข้อความ: &laquo;ไม่มีข้อมูล&raquo;



    </TD><TD class=alt2>27-03-2007 02:03 PM


    </TD><TD class=alt1 style="PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 0px; PADDING-BOTTOM: 0px; PADDING-TOP: 0px" align=middle><INPUT type=checkbox value=yes name=deletebox[160013]></TD></TR></TBODY></TABLE>


    มาถึงพระสมเด็จแล้วนะครับ พระสมเด็จองค์นี้ก็ไม่แท้เช่นกันครับ

    หากข้าพเจ้าผิดพลาดด้วยประการทั้งปวงและได้ล่วงเกินท่านผู้เสกทุกท่าน ,หลวงปู่บรมครูเทพโลกอุดรและสมเด็จพระพุฒาจารย์โต พรหมรังสี ไม่ว่าจะตั้งใจหรือไม่ตั้งใจก็ตาม ขอให้ท่านผู้เสกทุกพระองค์,หลวงปู่บรมครูเทพโลกอุดรและสมเด็จพระพุฒาจารย์โต พรหมรังสี อภัยและอโหสิกรรมให้ข้าพเจ้าด้วยครับ

    <TABLE class=tborder cellSpacing=1 cellPadding=6 width="100%" align=center border=0><TBODY><TR><TD class=alt2>[​IMG]
    385.3 KB, ดาวน์โหลด 11 ครั้ง


    </TD><TD class=alt1>ชื่อกระทู้: พระวังหน้า ที่หลวงปู่บรมครูเทพโลกอุดรเสก ถ้าต้องการที่จะได้.....
    ส่งข้อความ: &laquo;ไม่มีข้อมูล&raquo;



    </TD></TR></TBODY></TABLE>

    <TABLE class=tborder cellSpacing=1 cellPadding=6 width="100%" align=center border=0><TBODY><TR><TD class=alt2>[​IMG]
    378.4 KB, ดาวน์โหลด 8 ครั้ง


    </TD><TD class=alt1>ชื่อกระทู้: พระวังหน้า ที่หลวงปู่บรมครูเทพโลกอุดรเสก ถ้าต้องการที่จะได้.....
    ส่งข้อความ: &laquo;ไม่มีข้อมูล&raquo;



    </TD></TR></TBODY></TABLE>
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 4 เมษายน 2007
  13. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    ที่มา http://th.wikipedia.org/wiki/พูดคุย:กรมพระราชวังบวรวิไชยชาญ

    พูดคุย:กรมพระราชวังบวรวิไชยชาญ

    จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี


    Jump to: navigation, ค้นหา
    <!-- start content -->
    [แก้] เรื่องพระอิสริยยศครับ

    ถ้าผมเข้าใจไม่ผิดนะครับ การใช้คำนำพระนามาภิไธยวังหน้าว่า "สมเด็จพระบวรราชเจ้า" นั้นน่าจะเริ่มมาตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ ๖ ครั้งทรงเปลี่ยนแปลงระเบียบภายในราชวงศ์ครั้งใหญ่ เช่นยกเลิกกรมสมเด็จพระ เป็น สมเด็จกรมพระยา เปลี่ยน กรมสมเด็จพระ...มาตย์ เป็น สมเด็จพระบรมราชชนนี และแต่งตั้งตำแหน่งพระอัครมเหสีลงแน่นอนที่ พระบรมราชินี
    แต่ผมคิดว่าในพระบรมราชโองการนั้นไม่ได้ทรงบัญญัติถึงกรมพระราชวังหลังในรัชกาลที่ ๑ และกรมพระราชวังหน้า ในรัชกาลที่ ๕ ด้วยนะครับ เพราะฉะนั้นทั้ง ๒ พระองค์น่าจะมีพระฐานันดรศักดิ์อยู่ที่เดิม
    เวลาเชิญพระบรมอัฐิและพระอัฐิออกตั้ง เฉพาะ ๒ พระองค์นี้ ในหมายกำหนดการสำนักพระราชวังการบำเพ็ญพระราชกุศลทักษิณานุปทานในการสมโภชกรุงรัตนโกสินทรครบ ๒๐๐ ปีระบุว่าพระอัฐิกรมพระราชวังบวรสถานพิมุขประดิษฐานบนพระที่นั่งพุดตานภายใต้สัปตปฎลเศวตฉัตร ร่วมพระที่นั่งกับพระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว สมเด็จพระบวรราชเจ้าฯ ทั้ง ๓ พระองค์ และกรมพระราชวังบวรวิชัยชาญ แต่ทรงมาหลังสุด ตามหลังแม้กรมพระราชวังบวรวิชัยชาญ (อ้างอิง http://topicstock.pantip.com/library/topicstock/2006/04/K4274345/K4274345.html)
    เพราะฉะนั้นขออนุญาตแก้ไขชื่อหน้านี้จาก สมเด็จพระบวรราชเจ้า กรมพระราชวังบวรวิชัยชาญ เป็น กรมพระราชวังบวรวิชัยชาญ ไปก่อนนะครับ--Oh~my goDnesS 13:31, 31 มกราคม 2007 (UTC)
    <!-- Saved in parser cache with key thwiki:pcache:idhash:70028-0!1!0!!th!2 and timestamp 20070401064506 -->ดึงข้อมูลจาก "http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%9E%E0%B8%B9%E0%B8%94%E0%B8%84%E0%B8%B8%E0%B8%A2:%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%A1%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%8A%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%87%E0%B8%9A%E0%B8%A7%E0%B8%A3%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B9%84%E0%B8%8A%E0%B8%A2%E0%B8%8A%E0%B8%B2%E0%B8%8D".
    <!-- end content -->


    ดู


    เครื่องมือส่วนตัว



    <SCRIPT type=text/javascript> if (window.isMSIE55) fixalpha(); </SCRIPT>ป้ายบอกทาง


    <LABEL for=searchInput>ค้นหา</LABEL>

    <FORM id=searchform action=/wiki/%E0%B8%9E%E0%B8%B4%E0%B9%80%E0%B8%A8%E0%B8%A9:Search><INPUT id=searchInput title="ค้นหาวิกิ [alt-f]" accessKey=f name=search> <INPUT class=searchButton id=searchGoButton type=submit value=ไป name=go> <INPUT class=searchButton id=mw-searchButton type=submit value=ค้นหา name=fulltext>
    </FORM>

    เครื่องมือ



    <!-- end of the left (by default at least) column -->
    [​IMG]
    [​IMG]
     
  14. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    ที่มา http://www.dailynews.co.th/web/html/popup_news/Default.aspx?ColumnId=37475&NewsType=2&Template=1
    [​IMG]

    ยาแก้ปวดก็มีอันตราย
    <TABLE style="WIDTH: 480px"><TBODY><TR><TD vAlign=top></TD><TD vAlign=top>ยาแก้ปวด เป็นยาที่นิยมใช้กันบ่อยที่สุด แล้วรู้หรือไม่ว่าถ้าทานเข้าไปบ่อย ๆ อาจจะเป็นอันตรายต่อสุขภาพ และอาจจะทำให้เป็นโรคความดันโลหิตสูง
    นักวิทยาศาสตร์แห่งมหาวิทยาลัยฮาร์วาดร์ด ศึกษาการทานยาแก้ปวดในผู้หญิง 5,000 คน ได้แก่ ยาแอสไพริน พาราเซตามอล และกลุ่มยาต้านการอักเสบ ที่ไม่ใช่สเตียรอยด์ เช่น ไอบูโพรเฟนหรือนูโรเฟนและนาพรอกเซน พบว่า ผู้หญิงที่กินพาราเซตามอลวันละ 500 มิลลิกรัมขึ้นไป (2-3เม็ด) มีโอกาสเป็นโรคความดันโลหิตสูงมากขึ้นอีกเท่าตัว
    การทานยาแก้ปวดบ่อย ๆไม่ดีต่อสุขภาพ ควรหันมาดูแลตัวเอง ด้วยการทานอาหารที่มีประโยชน์ ต่อสุขภาพกันดีกว่า.
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  15. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    ที่มา http://www.dailynews.co.th/web/html/popup_news/Default.aspx?Newsid=122674&NewsType=1&Template=1

    [​IMG]

    ‘น้ำอบไทย’ อนุรักษ์ทำเงิน ‘สงกรานต์’

    ใกล้เทศกาลปีใหม่ไทย “สงกรานต์” อีกแล้ว สินค้าอีกชนิดหนึ่งจะขายดีมากเป็นพิเศษ เพราะเป็นสินค้าประจำเทศกาล นั่นก็คือ “น้ำอบไทย” ซึ่งวันนี้ทีมงาน “ช่องทางทำกิน” นำเรื่องราวของน้ำอบไทยโบราณ ซึ่งเหมาะกับเทศกาลสงกรานต์ อาจนำไปเป็นของฝาก ไปเยี่ยมผู้หลักผู้ใหญ่ หรือเป็นเครื่องสรงน้ำพระ มาฝากกันอีกครั้ง...
    คุณทัศพร พุ่มเจริญ เป็นเจ้าของผลิตภัณฑ์ “น้ำอบไทยช่อแก้ว” ซึ่งเป็นสินค้า OTOP ห้าดาวเขตบางแค ทำธุรกิจนี้มา 7-8 ปีแล้ว ซึ่งตลอดเวลาที่ทำนั้นจะไม่มีการนำสินค้าออกไปวางขายตามร้านทั่วไป แต่ก็สามารถสร้างรายได้ด้วยการใช้วิธีรับโทรศัพท์สั่งออร์เดอร์เข้ามา โดยสูตรต่าง ๆ ในการทำน้ำอบไทยนั้น คุณทัศพรศึกษาจากวิทยาลัยในวัง ประกอบกับศึกษาจากที่อื่น ๆ ด้วย จนปัจจุบันนี้ก็ได้กลายเป็นวิทยากรของวิทยาลัยในวัง ตลอดจนมหาวิทยาลัย-โรงเรียน ซึ่งเหตุผลสำคัญที่ทำธุรกิจนี้ ที่ชอบน้ำอบไทย คุณทัศพรบอกว่า...

    “เป็นเพราะต้องการอนุรักษ์ภูมิปัญญาไทยที่ดีงามนี้เอาไว้ และต้องการใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ อีกทั้งยังเป็นอีกหนึ่งช่องทางการหารายได้ จากที่ตนเองเป็นข้าราชการอยู่”

    จุดเด่นของสินค้านั้น คุณทัศพรกล่าวว่า สินค้าที่ทำจะเน้นไปที่ “ภาชนะ-หีบห่อ” ซึ่งสามารถเป็นจุดดึงดูดความสนใจของลูกค้าได้ และจะทำการพัฒนาปรับปรุงบรรจุภัณฑ์อยู่เป็นประจำทุก ๆ ปี อย่างเช่นปีก่อนก็ใช้ผ้าขนหนู ผ้าลายไทย แต่มาปีนี้ใช้ “ผ้าไหม” แทน ทำให้ได้บรรจุภัณฑ์ที่ไม่ค่อยเหมือนใคร

    ปัจจุบันนี้คุณทัศพรก็ยังได้ทำผลิตภัณฑ์อื่น ๆ ออกมาเพื่อเพิ่มทางเลือกให้กับลูกค้า ไม่ว่าจะเป็น น้ำปรุง สบู่น้ำผึ้งผสมทองคำเปลว บุหงารำไป สีผึ้งสีปาก แป้งพวงแล-แป้งร่ำ ฯลฯ

    อุปกรณ์ที่ต้องเตรียมในการทำน้ำอบไทยก็มี ขวดโหล โถ หรือหม้อ ทวน และตะคัน โกร่งกดเครื่องต่าง ๆ

    สำหรับวัตถุดิบก็มี แป้งหินบดละเอียด 3 ถ้วยตวง เทียนอบ 1 แท่ง กำยานป่น 1/2 ช้อนโต๊ะ น้ำตาลทรายแดง 1/4 ช้อนโต๊ะ น้ำตาลทรายขาว 1/4 ช้อนโต๊ะ ชะลูด 1 กำมือ ใบเตยหรือใบเนียม 8-10 ใบ จันทน์เทศ 1 กำมือ น้ำสะอาด 3 ลิตร ผิวมะกรูดป่น 1/2 ช้อนโต๊ะ พิมเสนบดละเอียด 1/2 ช้อนโต๊ะ

    และน้ำหอมกลิ่นดอกไม้ไทย เช่น กุหลาบ มะลิ พิกุล กระดังงา เป็นต้น

    ขั้นตอนการทำ “น้ำอบไทยโบราณ” ขั้นตอนแรกให้จัดการเตรียมน้ำที่จะใช้ก่อน โดยตวงน้ำสะอาดมาทิ้งไว้ประมาณ 4-5 วัน เพื่อให้คลอรีนหมดกลิ่นก่อน จากนั้นนำไปต้ม แล้วใส่ชะลูด จันทน์เทศ ใบเตย ต้มให้เดือด จากนั้นให้กรองเอาแต่น้ำมาใช้ และต้องพักรอไว้ให้เย็นก่อน

    เมื่อได้น้ำที่เตรียมมาแล้ว ให้ใช้การอบด้วยควันเทียน โดยการตั้งทวนไว้กลางหม้อน้ำ และจุดเทียนอบ จากนั้นให้ดับเทียนเพื่อให้เกิดควันสำหรับอบ แล้วปิดฝาให้สนิททิ้งไว้ประมาณ 5-10 นาที ทำซ้ำเช่นนี้ 3 ครั้ง

    จากนั้นนำไปร่ำ โดยตั้งทวนไว้ตรงกลาง แล้วนำตะคันไปเผาไฟให้ร้อน พอเกิดความร้อนก็ให้นำเอาผิวมะกรูดป่น น้ำตาลทรายขาว น้ำตาลทรายแดงผสมคลุกเคล้าให้เข้ากัน มาโรยลงบนตะคันแล้วปิดฝาให้อบ จากนั้นนำตะคันที่เผาไฟแล้วมาวางไว้บนทวน และตั้งเครื่องปรุงไว้ ปิดฝาให้สนิท ทิ้งไว้ประมาณ 5-10 นาที จากนั้นให้ทำซ้ำขั้นตอนนี้อีก 3 ครั้งเช่นกัน

    ขั้นตอนต่อไปนำน้ำอบที่ได้มาผสมกับแป้งหินบดละเอียดที่เตรียมไว้ และผสมน้ำหอมกลิ่นดอกไม้ไทย เลือกกลิ่นแล้วแต่ใจชอบ ใส่พิมเสนบดละเอียดลงไปในแป้ง ใส่ชะมดเช็ดเล็กน้อย แต่ต้องทำการฆ่าชะมดเช็ดก่อน โดยการใช้ใบพลูลนไฟ ใส่ชะมดเช็ดในใบพลู และบีบน้ำมะกรูดใส่นิดหน่อย แล้วจะได้น้ำมันจากชะมดเช็ด นำผสมลงในแป้ง ละลายให้เข้ากัน ก็เป็นอันเสร็จขั้นตอนการทำ โดยน้ำอบที่ได้ 1 ลิตร จะสามารถนำไปบรรจุขวดได้ประมาณ 10-15 ขวด ขึ้นอยู่กับว่าจะเลือกขวดบรรจุขนาดไหน ขวดใหญ่หรือเล็ก การบรรจุขวดนั้นก็เป็นขั้นตอนหนึ่งที่สำคัญ การเลือกบรรจุภัณฑ์นั้นต้องเลือกให้เหมาะสม และสวยงาม เพื่อสินค้าที่ได้ออกมาจะได้เป็นที่ถูกตาถูกใจลูกค้า

    ตอนนี้ “น้ำอบไทยช่อแก้ว” มีบรรจุภัณฑ์หลายแบบ ไม่ว่าจะเป็นในขวดคนโท และมีแบบขวดสเปรย์ด้วย

    ช่วงเทศกาล สินค้าที่ทำจำหน่ายนั้นยังจัดทำเป็นกิฟต์เซต ชุดเล็กราคา 220 บาท มีน้ำอบไทยบรรจุขวดขนาดเล็ก สบู่น้ำผึ้งผสมทองคำเปลว สีผึ้งสีปากโบราณ น้ำปรุง ไม่มีแป้งร่ำ และผ้าไหมตกแต่ง

    ส่วนชุดใหญ่จะมีน้ำอบไทยขวดใหญ่ สบู่น้ำผึ้งผสมทองคำเปลว น้ำปรุง ผ้าไหมหลากสี และแป้งร่ำ ซึ่งอาจจะเปลี่ยนจากแป้งร่ำเป็นสีผึ้งโบราณ ก็แล้วแต่ความชอบของลูกค้า จำหน่ายอยู่ที่ชุดละ 399 บาท

    ถ้าจะจำหน่ายแยกชิ้น ก็แล้วแต่บรรจุภัณฑ์แต่ละแบบว่ามีความจุและรูปแบบเป็นอย่างไร ราคาจำหน่ายก็จะอยู่ที่ 40–199 บาท เช่น ขวดสเปรย์ ประมาณ 60 ซีซี จะจำหน่ายอยู่ที่ 150 บาท ขวดในชุดผ้าไทย ก็จำหน่ายอยู่ที่ 150 บาท เพราะต้องเพิ่มค่าใช้จ่ายในส่วนของหีบห่อด้วย

    ในส่วนของสินค้าตัวอื่น ๆ อย่างเช่น แป้งร่ำ จะมีตั้งแต่ราคา 45-55 บาท และน้ำปรุง ขายราคา 70 บาท
    ใครที่สนใจ “น้ำอบไทย” สูตร “ช่อแก้ว” จะซื้อไปใช้หรือนำไปเป็นของฝากในเทศกาล “สงกรานต์” หรืออยากสอบถามอะไรเพิ่มเติมจาก คุณทัศพร พุ่มเจริญ ก็ติดต่อไปได้ที่ 114 หมู่ 1 ซอยเพชรเกษม 70 เขตบางแค กรุงเทพฯ โทร. 08-9520-8815 หรือ 0-2454-0498.
     
  16. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
  17. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    ที่มา http://www.matichon.co.th/art/art.php?srctag=0605010250&srcday=2007/02/01&search=no

    [​IMG]

    <TABLE><TBODY><TR><TD>[FONT=Tahoma,]วันที่ 01 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2550 [/FONT][FONT=Tahoma,]ปีที่ 28 [/FONT][FONT=Tahoma,]ฉบับที่ 04[/FONT]</TD></TR></TBODY></TABLE>
    [FONT=Tahoma,]เรื่องจากปก

    ถาวร สิกขโกศล

    ตรุษจีน ส่งท้ายปีเก่า ต้อนรับปีใหม่

    ตรุษจีนเป็นเทศกาลสำคัญและคึกคักที่สุดของจีนทั่วทุกหมู่เหล่า นอกจากเผ่าทิเบต ไป๋ ไต (ไท) และเผ่าอื่นอีกหลายเผ่าแล้ว ชนกลุ่มน้อยนอกนั้นล้วนมีเทศกาลส่งท้ายปีเก่า ต้อนรับปีใหม่ร่วมกับชาวจีนทั้งสิ้น

    ตรุษจีนเป็นเทศกาลใหญ่ กินเวลายาวนานเกือบ ๑ เดือน ประกอบด้วยเทศกาลย่อยต่อเนื่องกันหลายเทศกาล เริ่มตั้งแต่เทศกาลล่าปาในวัน ๘ ค่ำ เดือน ๑๒ วันสิ้นปีเก่า วันขึ้นปีใหม่ ไปจนถึงเทศกาลหยวนเซียว กลางเดือนอ้ายซึ่งสิ้นสุดในวัน ๑๗ ค่ำ แต่โดยทั่วไปนิยมแยกเทศกาลล่าปาและเทศกาลหยวนเซียวออกไปต่างหาก เป็นเทศกาลต้นตรุษจีนและท้ายตรุษจีน

    เทศกาลตรุษจีนมีคำเรียกเป็นภาษาจีนแตกต่างกันตามยุคสมัยหลายคำ แต่ที่สำคัญบ่งบอกความเป็นมาของเทศกาลนี้มี ๓ คำ ได้แก่ หยวนตั้น ( ) ชุนเจี๋ย ( ) และกั้วเหนียน ( ) หรือก้วยนี้ในภาษาแต้จิ๋ว



    หยวนตั้น : จากจีนเก่าเข้าสู่ความเป็นสากล

    หยวนตั้น แปลว่า วันแรกในรอบปีหรือปฐมวาร สมัยราชวงศ์โจวตะวันออก แต่ละแคว้นใช้ปฏิทินต่างกัน วันปีใหม่จึงต่างกันไปด้วย ทว่าเป็นปีใหม่ตามจันทรคติเหมือนกัน ต่อมาสมัยราชวงศ์ฉิน ประเทศจีนเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน ถือวันที่ ๑ เดือน ๑๐ ของปฏิทินเซี่ยเป็นหยวนตั้นหรือวันขึ้นปีใหม่ และใช้สืบเนื่องกันมาในสมัยต้นราชวงศ์ฮั่น

    ครั้นพระเจ้าฮั่นอู่ตี้ประกาศใช้ปฏิทินไท่ชู ( ) เมื่อปี พ.ศ. ๔๓๙ ได้กำหนดเอาวันที่ ๑ เดือนอ้าย เป็นปฐมวาร หยวนตั้นวันนี้เป็นแบบแผนใช้ต่อมาถึง ๒,๐๐๐ กว่าปี ซึ่งก็ได้แก่วันชิวอิด ( ) หรือวันเที่ยวของคนจีนในไทยนั่นเอง

    เมื่อจีนเปลี่ยนการปกครองเป็นสาธารณรัฐในปี พ.ศ. ๒๔๕๔ ที่ประชุมผู้แทนจากแต่ละมณฑลได้ตกลงใช้ปฏิทิน ๒ แบบ คือ ปฏิทินเกษตรเพื่อประโยชน์ในการกสิกรรม และปฏิทินสุริยคติสากลเพื่อสะดวกในการนับวันเดือนปี แต่แบบหลังนี้ยังไม่ทันประกาศใช้ จนกระทั่งพรรคคอมมิวนิสต์มีชัยชนะในปี พ.ศ. ๒๔๙๒ จึงได้ประกาศใช้ปฏิทินสมัยคติสากลอย่างเป็นทางการ และกำหนดเอาวันที่ ๑ มกราคมเป็นหยวนตั้น ส่วนวันที่ ๑ ของวันปีใหม่เกษตรเปลี่ยนเป็น "ชุนเจี๋ย (เทศกาลวสันต์)" หยวนตั้นจึงกลายเป็นวันปีใหม่ตามสากลนิยม



    ชุนเจี๋ย ( ) : จากลี่ชุน ( ) สู่ตรุษจีน

    การนับปีของจีนมี ๒ ระบบ คือ ปีจันทรคติ ซึ่งนับตามรอบ ๑๒ เดือน และปีสุริยคติ ซึ่งนับตามรอบฤดูกาลหรือ ๒๔ อุตุปักษ์ ชุนเจี๋ย เดิมหมายถึงปีใหม่ตามรอบฤดูกาล ชุน ( ) แปลว่า วสันต์หรือฤดูใบไม้ผลิ เจี๋ย ( ) คือ ช่วง ตอน หรือเทศกาล ชุนเจี๋ย หมายถึง เทศกาลวสันตฤดูหรือตรุษวสันต์ อันได้แก่วันเริ่มปักษ์ลี่ชุน ( เริ่มวสันต์)

    จีนยุคโบราณก่อนประกาศใช้ปฏิทินไท่ชู ( ) วันลี่ชุนมีความสำคัญมากกว่าวัน ๑ ค่ำ เดือนอ้าย เป็นวันปีใหม่ตามฤดูกาลซึ่งสอดคล้องกับอาชีพหลักของผู้คนคือการทำนา ก่อนถึงวันนี้ ๓ วัน โอรสสวรรค์ต้อง "กินเจ" ชำระกายใจให้บริสุทธิ์ ถึงวันลี่ชุนเสด็จออกพร้อมด้วยขุนนางไปทำพิธี "รับวสันต์" ที่ชานเมืองด้านตะวันออก ประชาชนก็มีพิธีกรรมสำคัญอันเนื่องด้วยการทำนา ส่วนวัน ๑ ค่ำ เดือนอ้าย ไม่มีความสำคัญมากนัก พิธีกรรมสำคัญของรอบปีจันทรคติอยู่ที่เทศกาลล่าจี้ เซ่นสรวงบูชาฟ้าดินและบรรพชนในช่วงเดือน ๑๒

    ปฏิทินไท่ชูใช้ระบบอธิกมาสควบกับ ๒๔ อุตุปักษ์ ทำให้ปีตามรอบเดือน (จันทรคติ) และปีตามรอบฤดูกาล (สุริยคติ) สอดคล้องกัน วันลี่ชุน (เริ่มวสันตฤดู) กับวัน ๑ ค่ำ เดือนอ้าย อยู่ห่างกันไม่กี่วัน วันปีใหม่ตามรอบ ๑๒ เดือนจึงมีความสำคัญยิ่งขึ้น ต่อมาได้กำหนดพิธีเซ่นสรวงประจำปีในเทศกาลล่าจี้ให้อยู่ในวันสิ้นปี (๒๙ หรือ ๓๐ ค่ำ เดือน ๑๒) ทำให้วันสิ้นปีเก่าและขึ้นปีใหม่กลายเป็นเทศกาลใหญ่ต่อเนื่องกัน ตรุษจีนจึงเป็นเทศกาลสำคัญกว่าเทศกาลลี่ชุน และคำว่า "ชุนเจี๋ย ( )" หมายถึงเทศกาลตรุษจีนไปโดยปริยาย

    มีนิทานชาวบ้านเรื่องหนึ่งกล่าวถึงที่มาของคำว่า "ชุนเจี๋ย" ไว้ว่า

    ในรัชสมัยของจู่อี่ ( ) กษัตริย์องค์ที่ ๔ แห่งราชวงศ์ซาง มีชายหนุ่มคนหนึ่งชื่อว่านเหนียน ( แปลว่าหมื่นปี) เขาเห็นว่าปฏิทินที่ใช้กันอยู่สมัยนั้น กำหนดฤดูกาลไว้คลาดเคลื่อนจากความเป็นจริง ก่อให้เกิดผลเสียหายต่อการเกษตรมากๆ ดังนั้นจึงพยายามศึกษาดาราศาสตร์ จนสามารถกำหนดอุตุปักษ์สำคัญทั้งสี่ คือ วสันตวิษุวัต ศารทวิษุวัต ครีษมายัน และเหมายันได้ถูกต้องเที่ยงตรง

    ขณะนั้นจู่อี่เองก็ทรงร้อนพระทัยที่การกำหนดฤดูกาลในปฏิทินไม่แม่นยำ แต่อาเหิงอำมาตย์ผู้ควบคุมการคำนวณฤดูกาลไม่ยอมรับว่าตนด้อยความรู้ความสามารถ กลับโทษผีสางเทวดา และเสนอให้สร้างหอมหึมา ทำพิธีบวงสรวงฟ้าดิน

    ฝ่ายว่านเหนียนเห็นว่า การกระทำเช่นนี้มิอาจแก้ปัญหาได้เลย มีแต่จะเพิ่มความเดือดร้อนให้ประชาชน จึงขอเข้าเฝ้าจู่อี่ แล้วอธิบายสาเหตุที่การคำนวณปฏิทินแบบเก่าผิดพลาดให้ฟัง จู่อี่ทรงยอมรับเหตุผลและข้อเสนอของว่านเหนียน จึงระงับพิธีบวงสรวงแล้วสร้างหอดาราศาสตร์ให้ว่านเหนียนใช้ศึกษาค้นคว้า เพื่อปรับปรุงปฏิทินให้ถูกต้อง

    อาเหิง ( ) มีความริษยา เกรงว่าถ้าว่านเหนียนทำงานเสร็จตนจะถูกปลด จึงส่งคนไปลอบฆ่า แต่ก็ถูกจับตัวไปสอบสวนต่อหน้าจู่อี่ เมื่อความลับเปิดเผยขึ้นอาเหิงก็ถูกลงโทษสถานหนัก

    คืนนั้นเองจู่อี่เสด็จไปเยี่ยมว่านเหนียนที่หอดาราศาสตร์ พอไปถึงว่านเหนียนได้ทูลว่า "ขณะนี้เป็นเวลาเที่ยงคืนพอดี ปีเก่ากำลังจะผ่านพ้นไป วสันต์ใหม่กำลังจะเริ่มต้น ขอพระองค์ทรงตั้งชื่อวันนี้ไว้เป็นที่ระลึกเถิด" จู่อี่มีรับสั่งว่า "วสันต์เป็นต้นปี จงเรียกวันนี้ว่า ตรุษวสันต์ (ชุนเจี๋ย ) เถิด"

    กาลเวลาผ่านไปช้านาน ด้วยวิริยะอุตสาหะ ในที่สุดว่านเหนียนก็ปรับปรุงปฏิทินที่ถูกต้องเที่ยงตรงตามฤดูกาลสำเร็จ แต่ทว่าเขาหมดสภาพหนุ่มฉกรรจ์ กลายเป็นชายชราผมหงอกขาวโพลน จู่อี่ทรงตื้นตันพระทัยในความมานะอดทนของว่านเหนียนมาก จึงทรงตั้งชื่อปฏิทินใหม่นั้นว่า ว่านเหนียนลี่ อันหมายถึง ปฏิทินของว่านเหนียน และทรงแต่งตั้งให้ว่านเหนียนเป็น โส้วซิง ( ) (ซิ่วแช) คือ เทพแห่งอายุวัฒนะ อันเป็นหนึ่งในตรีพิธพรของจีนได้แก่ ฮก ลก ซิ่ว

    ในเทศกาลตรุษจีนชาวบ้านนิยมแขวนภาพเทพแห่งอายุวัฒนะ ก็เพื่อรำลึกถึงคุณงามความดีของว่านเหนียนนั่นเอง อนึ่งปัจจุบันคำว่า ว่านเหนียนลี่ หมายถึง ปฏิทินร้อยปี (หรือมากกว่าร้อยปี) ของจีน

    นี่คือที่มาของคำว่า ชุนเจี๋ย (ตรุษวสันต์) แม้จะเป็นนิทาน แต่ก็สะท้อนให้เห็นความจริงเรื่องการศึกษาค้นคว้าด้านการทำปฏิทินของจีนได้อย่างดี



    กั้วเหนียน (ก้วยนี้) : ผ่านปีเก่าสู่ปีใหม่

    กั้วเหนียน แปลว่า ผ่านปี จากปีเก่าไปสู่ปีใหม่ มาจากคำว่า กั้ว ( ผ่าน) และคำว่า เหนียน ( ปี) รวมกัน คำที่มีความหมายว่าปีนั้น ในสมัยสามราชวงศ์ยุคโบราณมีชื่อเรียกต่างกันดังนี้

    สมัยราชวงศ์เซี่ย (ประมาณ ๑๖๖๓-๑๒๒๓ ปีก่อนพุทธศก) เรียกปีว่า ซุ่ย ( ) คำนี้เดิมหมายถึงรอบการโคจรของดวงดาว รอบแห่งฤดูกาล ซึ่งพอครบ ๑ ปีก็จะเริ่มต้นใหม่ ปัจจุบันหมายถึงอายุ คำไทยที่เทียบกับคำว่าซุ่ยได้คือคำว่าพรรษา ซึ่งเดิมหมายถึงฝน ฤดูฝน อันเป็นเรื่องของฤดูกาล และต่อมาความหมายขยายออกไป หมายถึงอายุ เช่นเดียวกัน

    สมัยราชวงศ์ซาง (๑๒๒๓-๕๗๙ ปีก่อนพุทธศก) เรียกปีว่า สื้อ ( ) คำนี้แรกทีเดียวหมายถึง การเซ่นสรวงบูชา ปัจจุบันความหมายยังเหมือนเดิม คำนี้หาคำไทยเทียบได้ยาก แต่อาจอนุโลมเรียกว่า ฉนำ ซึ่งแปลว่าปี

    สมัยราชวงศ์โจว (๕๗๙ ปีก่อนพุทธศก-พ.ศ. ๓๒๒) เรียกปีว่า เหนียน ( ) คำนี้เดิมหมายถึง รอบการเจริญเติบโตของธัญพืช พจนานุกรมซัวเหวินเจี่ยจือ (อธิบายลายสือวิเคราะห์อักษร) สมัยราชวงศ์ฮั่น อธิบายคำเหนียนว่า ธัญชาติสุก หนังสือโบราณบางเล่มจึงกล่าวว่า "ธัญชาติสุกนับเป็นหนึ่งปี", "ครบปีคือได้ผลการเก็บเกี่ยว", "ปีอุดมหมายถึงเก็บเกี่ยวได้มาก" คำไทยที่เทียบกับคำว่าเหนียนได้คือคำว่า เข้า (ข้าว) คำนี้ในสมัยโบราณหมายถึงรอบแห่งการปลูกข้าว ซึ่งได้แก่ปีนั่นเอง ดังปรากฏในศิลาจารึกพ่อขุนรามคำแหงว่า "เมื่อกูขึ้นใหญ่ (มีอายุ) ได้ ๑๙ เข้า (ปี) ขุนสามชนเจ้าเมืองฉอดมาท่ (ตี) เมืองตาก"

    คำว่า ซุ่ย ( ) (พรรษา) สื้อ ( ) (ฉนำ) และเหนียน ( ) (ข้าว) ล้วนสัมพันธ์กับความเป็นมาของเทศกาลปีใหม่ในสมัยโบราณดังนี้

    คำว่า ซุ่ย ( ) แสดงให้เห็นว่า ราชวงศ์เซี่ยถือรอบการโคจรของดวงอาทิตย์ (ดาว) หรือรอบของ

    ฤดูกาลเป็น ๑ ปี ปฏิทินเซี่ยเริ่มเดือนอ้ายที่ต้นฤดูใบไม้ผลิ ตรงกับเดือนอ้ายของปฏิทินเกษตรในปัจจุบัน เป็นระยะเตรียมการทำนาในปีใหม่ เนื่องจากปฏิทินเกษตรมีรากฐานมาจากปฏิทินเซี่ย เทศกาลตรุษจีนของราชวงศ์นี้จึงน่าจะตรงกับปัจจุบัน เป็นเทศกาลแห่งการเริ่มต้น เฉลิมฉลอง และเซ่นสรวงบูชาเพื่อให้ได้ผลิตผลในปีใหม่อุดมสมบูรณ์

    คำว่า สื้อ ( ) แสดงให้เห็นว่าปีใหม่ของราชวงศ์ซางมีที่มาจากพิธีเซ่นสรวงสังเวยประจำปี การเซ่นสรวงสังเวยมีทุกฤดู แต่ฤดูหนาวสำคัญที่สุด ถือเป็นพิธีประจำปี เดือนอ้ายของปฏิทินซางตรงกับเดือน ๑๒ ของปฏิทินเกษตร เป็นเดือนแห่งการล่าสัตว์มาเซ่นสรวงบูชาผีสางเทวดาและบรรพบุรุษมาแต่โบราณ การเซ่นสรวงประจำปีในฤดูหนาวนี้ กระทำขึ้นเพื่อขอบคุณสิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่ช่วยให้ได้ผลิตผลสมบูรณ์ เป็นการเฉลิมฉลองอดีต มิใช่เพื่ออนาคตอย่างของราชวงศ์เซี่ย ทว่าชาวซางคงจะถือพิธีบวงสรวงนี้เป็นการสิ้นสุดปีเก่า เริ่มต้นปีใหม่ จึงใช้คำว่าสื้อ (เซ่นสรวง) ในความหมายปีด้วย และถือเดือนแห่งการล่าสัตว์มาเซ่นสรวงสังเวยประจำปีเป็นเดือนอ้าย

    ส่วนคำว่าเหนียน ( ) แสดงให้เห็นว่า พวกราชวงศ์โจวถือเอาการเสร็จสิ้นงานไร่นาเป็นสิ้นปีเก่า เริ่มปีใหม่ เดือนอ้ายของปฏิทินโจวจึงตรงกับเดือน ๑๑ ของปฏิทินเกษตร อันเป็นเดือนที่หยุดงานพอดี เพราะการเก็บเกี่ยวจะเริ่มและแล้วเสร็จในเดือน ๑๐ ของปฏิทินเกษตร ซึ่งเป็นเดือน ๑๒ หรือสิ้นปีของปฏิทินโจว

    ส่วนการเริ่มปีใหม่ต้นเดือน ๑๐ ของปฏิทินเซี่ยในสมัยราชวงศ์ฉินและต้นราชวงศ์ฮั่นนั้น ออกจะไม่สอดคล้องกับวิถีชีวิตของประชาชน จึงอยู่ได้ไม่นาน แต่ก็มีผู้สันนิษฐานว่า ที่แต่ละราชวงศ์ขึ้นปีใหม่ไม่ตรงกันนั้น คงเป็นเพราะช่วงการทำนาไม่ตรงกัน ข้อสันนิษฐานนี้ไม่น่าเป็นไปได้ เพราะราชวงศ์เหล่านี้ล้วนอยู่ทางภาคเหนือ ซึ่งมีภูมิประเทศและภูมิอากาศคล้ายคลึงกัน อนึ่งในสมัยราชวงศ์โจวตะวันออก แคว้นต่างๆ ในยุคเดียวกันขึ้นปีใหม่ไม่ตรงกัน ก็เพราะได้ปฏิทินต่างกันเป็นสาเหตุสำคัญ

    จากประวัติของคำว่า ซุ่ย, เหนียน และสื้อ แสดงให้เห็นว่า ตรุษจีนของแต่ละยุคไม่ตรงกัน เพราะมีคตินิยมต่างกัน ปฏิทินแต่ละยุคจึงกำหนดเดือนอ้ายไว้ต่างกันไปด้วย

    ปี พ.ศ. ๔๒๙ พระเจ้าฮั่นอู่ตี้ทรงยกเลิกการขึ้นปีใหม่ต้นเดือน ๑๐ เปลี่ยนมาเป็น วันที่ ๑ เดือนอ้าย ของปฏิทินไท่ชู ซึ่งตรงกับวันตรุษจีนในปัจจุบัน ปีใหม่ของราชวงศ์โจวผสมกลมกลืนไปกับเทศกาลตงจื้อ (ตังจี่-สารทขนมอี๋) ในเดือน ๑๑ ปีใหม่ของราชวงศ์ซางกลายเป็นเทศกาลล่าจี้ (บวงสรวงสิ้นปีในฤดูหนาว) ในเดือน ๑๒ จึงกล่าวได้ว่าเทศกาลตรุษจีนปรากฏชัดเจนในสมัยราชวงศ์ฮั่น หลังประกาศปฏิทินไท่ชูแล้ว

    ในสมัยราชวงศ์ฮั่น ตรุษจีนเป็นเทศกาลอันเนื่องด้วยการบวงสรวงเพื่อการเกษตรเป็นสำคัญ ต่อมาในสมัยราชวงศ์เหนือ-ใต้ (พ.ศ. ๙๖๓-๑๑๓๒) จึงมีกิจกรรมอันเนื่องด้วยผีสางและไสยศาสตร์เพิ่มเข้ามา เช่น จุดประทัด เปลี่ยนยันต์ไม้ท้อ ดื่มสุราถูซู เฝ้าปี ช่วงเวลาของเทศกาลก็ขยายยาวออกไปจนเชื่อมตั้งแต่เทศกาลล่าปาไปจนถึงเทศกาลหยวนเซียว กลายเป็นเทศกาลใหญ่ที่สุดและสำคัญที่สุดของจีน

    ถึงสมัยราชวงศ์ถัง (พ.ศ. ๑๑๖๑-๑๔๕๐) กิจกรรมในเทศกาลวิวัฒน์จากการบวงสรวงทางการเกษตรและความเชื่อทางไสยศาสตร์มาเป็นกิจกรรมบันเทิงและวัฒนธรรมตามประเพณีเป็นสำคัญ การจุดประทัดมุ่งความสนุกสนานเฉลิมฉลองมากกว่าไล่ผี ตั้งแต่ราชวงศ์ถังเป็นต้นมา ตรุษจีนเป็นเทศกาลมงคลเฉลิมฉลองใหญ่ร่วมกันของคนทั่วประเทศ

    ถึงราชวงศ์หมิงและชิง เทศกาลตรุษจีนมีพัฒนาการไป ๒ ด้าน คือ ๑. มีกิจกรรมทางสังคมชัดขึ้น เช่น การคารวะอวยพรปีใหม่ ส่งบัตรอวยพรปีใหม่ ๒. มีกิจกรรมด้านศิลปะและความบันเทิงมากขึ้น เช่น เชิดสิงโต เชิดมังกร งิ้ว มหรสพและการละเล่นรื่นเริงอีกมากมาย เป็นเทศกาลใหญ่คึกคักสนุกสนานที่สุดตลอดมาจนปัจจุบัน



    กลางเดือน ๑๒ เตรียมฉลองตรุษจีน

    หลังจากเทศกาลล่าปาในวันที่ ๘ เดือน ๑๒ บรรยากาศของตรุษจีนก็ปรากฏให้เห็นอยู่ทั่วไป ชาวไต้หวันถือว่าผ่านวัน "ฟันสุดท้าย" (เลี้ยงประจำเดือนครั้งสุดท้าย) ในวัน ๑๖ ค่ำ เดือน ๑๒ แล้ว ก็เข้าสู่ช่วงเทศกาลตรุษจีน ต่างเริ่มทยอยจัดหาหรือซื้อของที่ต้องใช้ในงาน

    เทศกาลตรุษจีนเริ่มขึ้นอย่างแท้จริงในวันส่งเจ้าเตาไฟขึ้นสวรรค์ (๒๓-๒๕ ค่ำ เดือน ๑๒ แล้วแต่ถิ่น) จากนั้นก็จะมีกิจกรรมต่อเนื่องไปจนถึงวันสิ้นปีเก่า (๓๐ ค่ำ เดือน ๑๒) และวันขึ้นปีใหม่ (๑ ค่ำ เดือนอ้าย) อันเป็นช่วงสำคัญที่สุด ทุกคนจะหยุดงาน เฉลิมฉลองกันไปจนถึง ๕ ค่ำ เดือนอ้าย รุ่งขึ้น ๖ ค่ำ จึงทำงานต่อไปตามปกติ เป็นอันสิ้นสุดตรุษจีน ทว่าบรรยากาศแห่งปีใหม่ยังไม่สิ้นสุด จะมีกิจกรรมเล็กๆ น้อยๆ สืบต่อไปอีกจนถึงเทศกาลหยวนเซียวในกลางเดือนอ้าย หมดเทศกาลนี้แล้วจึงถือว่าสิ้นสุดการฉลองปีใหม่อย่างแท้จริง ในช่วง ๑๐ กว่าวันแห่งเทศกาลตรุษจีนมีกิจกรรมสำคัญดังต่อไปนี้



    ส่งเจ้าเตาไฟขึ้นสวรรค์

    การส่งเจ้าเตาไฟขึ้นสวรรค์เป็นเทศกาลย่อยหนึ่งในเทศกาลตรุษจีน เรียกว่าเทศกาลปีน้อยหรือต่อปี คือ ต่อปีเก่าเข้ากับปีใหม่ จึงนับเป็นการเริ่มเทศกาลส่งท้ายปีเก่าต้อนรับปีใหม่

    หลังจากมนุษย์รู้จักใช้ไฟปรุงอาหารแล้ว เตาก็เข้ามามีบทบาทสำคัญ จนไม่สามารถขาดได้ เป็นเหตุให้เกิดประเพณีรำลึกถึงเตาไฟขึ้นในสมัยโบราณ แล้ววิวัฒนาการมาเป็นการบูชาเจ้าเตาไฟ ด้วยเชื่อว่าเตาไฟมีเทพเจ้าสิงสถิตอยู่

    เจ้าเตาไฟเป็นเจ้าไม่มีศาล กล่าวคือ ไม่มีผู้สร้างศาลให้โดยเฉพาะ และไม่มีภาพหรือรูปปั้นตั้งรวมอยู่ในศาลเจ้าตลอดจนวัดวาอารามแห่งใด ทั้งนี้เพราะถือกันว่าท่านอยู่ประจำที่เตาไฟในทุกครัวเรือน

    เจ้าเตาไฟเป็น ๑ ใน ๕ เทพประจำบ้าน ในสมัยโบราณ (เทพแห่งเตาไฟ เทพแห่งประตู เทพแห่งบ่อน้ำ เทพแห่งส้วม และเทพแห่งหน้าต่าง (บางตำราเป็นพระธรณี) เทพทั้งห้านี้มีหน้าที่คุ้มครองคนในบ้าน ภายหลังคติการบูชาเทพทั้งห้านี้เสื่อมลง คงเหลือแต่เทพแห่งเตาไฟและเทพแห่งประตูเท่านั้น

    ความเชื่อเรื่องเจ้าเตาไฟมีวิวัฒนาการมายาวนาน จนกระทั่งสมัยราชวงศ์ถังก็ลงตัว เป็นอย่างที่เชื่อถือกันทุกวันนี้ จะต่างกันบ้างก็แต่ในส่วนปลีกย่อย

    โดยทั่วไปเชื่อกันว่า เจ้าเตาไฟเป็นเทพที่เง็กเซียงฮ่องเต้ประมุขแห่งสวรรค์ส่งลงมาอยู่ประจำบ้านเรือนมนุษย์ มีหน้าที่คุ้มครองป้องกันและจดบันทึกการกระทำของคนในครอบครัวนั้น แล้วกลับขึ้นไปรายงานปีละครั้ง เง็กเซียงฮ่องเต้จะพิจารณาจากรายงานนั้นแล้วลิขิตชะตาชีวิตในปีต่อไปของแต่ละคน เหตุนี้จึงต้องจัดพิธีเซ่นไหว้และส่งเจ้าเตาไฟขึ้นสวรรค์ เพื่อเป็นการเอาใจให้รายงานแต่สิ่งที่ดีงาม

    เนื่องจากเชื่อกันว่าเจ้าเตาไฟรูปร่างไม่น่าดู จึงเกิดคตินิยม หญิงไม่ไหว้เจ้าเตาไฟ ชายไม่ไหว้พระจันทร์ เพราะเกรงบุญจะหนุนนำให้ได้ชายอัปลักษณ์ การไหว้เจ้าเตาไฟโดยทั่วไปไหว้แม่เตาไฟ (เมีย) ด้วย เว้นชนบางกลุ่ม เช่น พวกร้านขายขนมปัง ร้ายขายของชำ จะไหว้เฉพาะเจ้าเตาไฟองค์เดียว

    พอถึงวันไหว้ทุกบ้านจะตัดม้ากระดาษ ๑ หรือ ๒ ตัว ติดไว้ที่หน้าเตาไฟ ให้ท่านใช้เป็นพาหนะขี่ขึ้นสวรรค์ ของเซ่นไหว้มีแตกต่างกันไปตามท้องถิ่นบ้าง แต่โดยทั่วไปมี หัวหมูสุก ๑ หัว ปลาดิบ ๒ ตัว ชาหวาน และของหวานต่างๆ ที่ต้องไหว้ด้วยของหวาน ก็เพื่อให้เจ้าเตาไฟไปรายงานแต่เรื่องที่อ่อนหวานดีงาม ของหวานนิยมเป็นขนมเหนียว ว่ากันว่าเพื่อให้ติดปากติดฟัน จนเจ้าเตาไฟพูดไม่สะดวก จะได้รายงานความชั่วของมนุษย์น้อยๆ

    ทางจีนภาคเหนือถึงกับมีขนมไหว้เจ้าเตาไฟโดยเฉพาะ กวนใส่แบะแซเหนียวหนึบ เป็นของโปรดของเด็กๆ นอกจากนี้ยังนิยมเอาเหล้าไปป้ายที่ช่องใส่ฟืน ซึ่งถือว่าเป็นปากของเจ้าเตาไฟ เพื่อให้ท่านเมาจนรายงานไม่ได้ คงจะคิดว่าท่านเป็นคนเมาประเภทเมาสะลึมสะลือ มากกว่าเมาช่างพูด ถวายเครื่องเซ่นเสร็จแล้วก็แกะรูปเจ้าเตาไฟและม้ากระดาษออกเผา พร้อมกับอ้อนวอนท่านว่า "โปรดขึ้นไปกล่าวศุภอรรถสุวัจนา กลับลงมาอวยสวัสดิ์พิพิฒน์ชัย"

    เจ้าเตาไฟขึ้นสวรรค์ไปแล้วจะกลับลงมาในวันสิ้นปีต่อวันปีใหม่ ทุกบ้านจะจุดธูปเทียนต้อนรับ แล้วติดรูปเจ้าเตาไฟแผ่นใหม่ เป็นอันเสร็จพิธีส่ง-รับเจ้าเตาไฟประจำปี

    ปัจจุบันประเพณีไหว้เจ้าเตาไฟเสื่อมลงมาก การไหว้เจ้าเตาไฟในเมืองไทยเหลืออยู่แต่ในครอบครัวชาวจีนที่ยังถือประเพณีเคร่งครัดเท่านั้น ชั้นลูกจีนโดยทั่วไปแล้วไม่ค่อยได้ไหว้ แต่ท่านก็ออกจะเป็นเทพเจ้าใจดี แม้ในเมืองจีนสมัยก่อน คนยากจนก็มิได้หาเครื่องเซ่นไหว้ ใช้เพียงธูป ๓ ดอก และน้ำสะอาดชามเดียวก็พอ



    เก็บกวาดทำความสะอาดประจำปี

    การเก็บกวาดทำความสะอาดประจำปีเป็นงานสำคัญอย่างหนึ่งในเทศกาลตรุษจีน จะละเว้นเสียมิได้ เหตุที่ต้องทำความสะอาดประจำปีนั้นมีนิทานชาวบ้านเล่าว่า ในอดีตกาลอันไกลโพ้น เง็กเซียงฮ่องเต้ต้องการทราบความเป็นไปในแดนมนุษย์ จึงส่งเทพสามศพมาคอยสอดส่องดูแล พอถึงปลายปีเทพสามศพกลับไปรายงานว่า พวกมนุษย์มีแต่ความหยาบคาย กล้าด่าแม้กระทั่งเง็กเซียงฮ่องเต้ ประมุขแห่งสรวงสวรรค์กริ้วมาก สั่งเทพสามศพให้กลับไปคอยตรวจสอบอย่างกวดขัน ผู้ใดด่าให้เขียนชื่อผู้นั้นไว้ที่ฝาผนังบ้านคนด่าเอง ถึงปลายปีจะส่งทหารสวรรค์ลงไปจับคนเหล่านั้นฆ่าตามรายชื่อ

    เจ้าเตาไฟรู้เรื่องนี้เข้าก็คิดหาทางช่วยเหลือมนุษย์อยู่ถึง ๔๙ วันจึงคิดออก ก่อนที่ท่านจะคืนสู่สวรรค์ในวัน ๒๓ ค่ำ เดือน ๑๒ ชาวบ้านก็ปฏิบัติตาม

    วัน ๓๐ ค่ำ เดือน ๑๒ แม่ทัพนายกองจากสรวงสวรรค์ลงมาตรวจดูตามฝาผนัง ไม่พบรายชื่อเลยแม้แต่คนเดียว จึงกลับขึ้นไปทูลตามความจริง เง็กเซียงฮ่องเต้พิโรธมาก หาว่าเทพสามศพทูลความเท็จ จึงลงโทษให้ไปอยู่ในนรกขุมที่ ๑๘ อันเป็นก้นบึ้งสุดของอบายภูมิ

    กิจกรรมนี้เป็นประเพณีสำคัญมาแต่บรรพกาล บางคนเชื่อว่ามีมาตั้งแต่ยุคเหยาซุ่น (ประมาณ ๒,๐๐๐ ปีก่อนพุทธกาล) จากบันทึกในหนังสือหลี่ว์ซื่อซุนชิวสมัยจิ๋นซีฮ่องเต้ แสดงให้เห็นว่าประเพณีนี้วิวัฒนาการมาจากพิธีขับไล่โรคร้ายตอนปลายปี เรื่องราวที่ปรากฏในหนังสือหลีจี้ (บันทึกเรื่องวัฒนธรรมประเพณี) แสดงให้เห็นว่า คนจีนมีความรู้แล้วว่าความสกปรกเป็นสาเหตุหนึ่งของโรคภัยไข้เจ็บ การทำความสะอาดประจำปีจึงเป็นประเพณีสำคัญตลอดมาทุกราชวงศ์ จนกระทั่งทุกวันนี้

    ปัจจุบันวันเริ่มทำความสะอาดบ้านเรือนประจำปีในแต่ละถิ่นต่างกันออกไป จีนภาคเหนือส่วนมากนิยมเริ่มหลังวันส่งเจ้าเตาไฟ ในไต้หวันนิยมเริ่มตั้งแต่หลังวันเทศกาลล่าปา (๘ ค่ำ เดือน ๑๒) และทำให้เสร็จก่อนวันส่งเจ้าเตาไฟ จีนในไทยถือว่าจะเริ่มวันใดก็ได้ในเดือน ๑๒ และทำให้เสร็จก่อนวันทำของไหว้ตรุษจีน



    เตรียมของไหว้

    เมื่อส่งเจ้าเตาไฟแล้ว บรรยากาศของตรุษจีนคึกคักขึ้นอย่างเห็นได้ชัด สมัยก่อนไม่มีของสำเร็จขายมากอย่างเดี๋ยวนี้ จึงต้องเตรียมงานกันแต่เนิ่นๆ ยิ่งในสมัยก่อนเก่าขึ้นไป ที่ยังต้องซ้อมข้าวเอง ต้องซ้อมข้าวเตรียมทำของไหว้และของกินในเทศกาลตรุษจีน ตั้งแต่ช่วงนี้เป็นอย่างช้า อาหารประจำเทศกาลนี้คือ ขนมไหว้วันตรุษจีนและเกี๊ยว



    ขนมไหว้ตรุษจีน

    ขนมไหว้ตรุษจีนมีลักษณะแตกต่างกันไปตามท้องถิ่น แต่มีชื่อเรียกร่วมกันว่า เหนียนเกา ( ) แปลว่า ขนมประจำปี ขนมเข่งที่ใช้ไหว้ตรุษจีนในเมืองไทย จัดเป็นเหนียนเกาชนิดหนึ่ง

    เหนียนเกาของทุกถิ่นมีลักษณะสำคัญร่วมกันคือ ทำด้วยแป้งที่ได้จากข้าวชนิดใดชนิดหนึ่ง ภาคใต้ส่วนมากใช้ข้าวเหนียว ขนมที่ได้มีลักษณะเหมือนขนมเข่งต่างกันแต่รูปแบบภายนอก ภาคเหนือนิยมใช้ข้าวฟ่างเหนียว ซึ่งมีสีเหลืองและมีรสหวานน้อยๆ อยู่ในตัว ชื่อเหนียนเกามาจากขนมที่ทำด้วยข้าวชนิดนี้ก่อน

    เนื่องจากขนมที่ได้จากข้าวฟ่างชนิดนี้มีลักษณะเหนียว จึงเรียกว่า เหนียนเกา ( ) แปลว่า ขนมเหนียว คำว่า เหนียน ( ) ที่แปลว่า เหนียว พ้องเสียงกับ เหนียน ( ) ที่แปลว่า ปี ของหวานชนิดนี้จึงได้รับความนิยมใช้เป็นขนมไหว้ตรุษจีน และต่อมาได้เปลี่ยนอักษรให้ชื่อขนมมีความหมายว่า ขนมประจำปี ( ) โดยเสียงไม่เปลี่ยน เป็นการเล่นคำพ้องเสียงช่วงที่ ๑ คือ เหนียน-เหนียว ( ) เป็น เหนียน-ปี ( )

    สาเหตุที่นิยมใช้เหนียนเกาเป็นขนมไหว้ตรุษจีน เพราะชื่อขนมชนิดนี้ทำให้เกิดความหมายนัยประหวัดได้ว่า สูงส่งทุกๆ ปี ซึ่งภาษาจีนออกเสียงว่า เหนียนเหนียนเกา ( ) แต่เกา ( ) ในที่นี้แปลว่า สูง สูงส่ง รูปอักษรต่างกับ "เกา ( )" ที่แปลว่า "ขนม" เป็นการเล่นคำพ้องเสียงช่วงที่ ๒ จากชื่อที่แปลว่า "ขนมเหนียว ประจำปี ( ) มามีความหมายจากนัยประหวัดของเสียงว่า "สูงส่งทุกๆ ปี" หรือ สูงส่งยิ่งขึ้นทุกปี" ( หรือ )

    จุดมุ่งหมายสำคัญประการหนึ่งของเทศกาลตรุษจีนแต่โบราณมาคือ เซ่นสรวงบูชาเพื่อให้ได้ผลิตผลสูงส่งเป็นสำคัญ ภายหลังจึงหมายถึงชีวิตก้าวหน้าสูงส่งด้วย

    เหนียนเกาของจีนภาคใต้ทำด้วยข้าวเหนียวเช่นเดียวกับขนมเข่ง หากแต่นึ่งในถาดหรือภาชนะขนาดใหญ่ ใช้ไหว้ทั้งถาด เวลาจะกินจึงตัดแบ่ง บางถิ่นจะทำทั้งขนาดใหญ่และเล็ก โดยให้ขนาดใหญ่หมายถึงดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์ ขนาดเล็กหมายถึงดาวต่างๆ เพราะปีใหม่เดือนดาวเหล่านี้โคจรมาบรรจบครบรอบ เริ่มต้นใหม่

    ขนมเข่งในเมืองไทยมาจากเหนียนเกาของจีนภาคใต้ แต่เปลี่ยนวัสดุห่อหุ้มเป็นใบตอง เพราะเป็นของหาง่าย เมื่อใช้ใบตองขนาดจึงต้องเล็กลงเป็นกระทง



    เกี๊ยว ( )

    เกี๊ยวเป็นอาหารประจำเทศกาลตรุษจีนของคนจีนภาคเหนือ คำว่า เกี๊ยว เป็นเสียงภาษาจีนแต้จิ๋ว ภาษาจีนกลางเป็น เจี่ยว การทำเกี๊ยว ห่อเกี๊ยวเป็นงานสำคัญอย่างหนึ่งในเทศกาลตรุษจีน ปกติจะทำในวัน ๓๐ ค่ำ เดือน ๑๒

    เกี๊ยวเป็นของกินประจำเทศกาลตรุษจีนตั้งแต่ราชวงศ์หมิงเป็นต้นมา สาเหตุสำคัญมี ๓ ประการ ดังนี้

    ประการแรก เกี๊ยวมีรูปกลมคล้ายเหรียญกษาปณ์ คนจึงกินเป็นเคล็ดว่าหมายถึง เรียกเงินเรียกทอง ความมั่งคั่งและโภคทรัพย์ทั้งปวง

    ประการที่ ๒ เกี๊ยวเป็นอาหารที่มีไส้แตกต่างกันไป เปิดโอกาสให้นำของซึ่งเป็นสิริมงคลมาเป็นส่วนผสมของไส้ ไส่ถั่วลิสงเพื่อเป็นเคล็ดว่า ปีใหม่จะมีสุขภาพแข็งแรง เพราะถั่วลิสงมีชื่ออีกชื่อหนึ่งว่า ผลไม้อายุวัฒนะ

    ประการสุดท้าย ชื่ออาหารชนิดนี้ตามเสียงภาษาจีนกลาง (เจี่ยว ) ใกล้เคียงกับคำที่แปลว่า เกี่ยวเนื่อง ต่อเนื่อง (เจียว ) รูปอักษรของ ๒ คำนี้ก็มีส่วนเหมือนกัน จึงต้องถือเป็นเคล็ดว่า กินเกี๊ยวเพื่อให้ปีเก่ากับปีใหม่เกี่ยวเนื่องกัน



    เก็บลูกหนี้

    ร้านค้าในเมืองจีนสมัยก่อนเก็บหนี้ปีละ ๓ ครั้ง คือ ในเทศกาลสารทขนมจ้างครั้งหนึ่ง เทศกาลไหว้พระจันทร์ครั้งหนึ่ง และตรุษจีนอีกครั้งหนึ่ง ครั้งสุดท้ายนี้เป็นครั้งสำคัญ ต้องสะสางกันให้เสร็จสิ้นภายในวันสิ้นปี ถ้าล่วงไปถึงวันปีใหม่ ลูกหนี้จะรอดไปได้อีกวันหนึ่ง เพราะห้ามทวงหนี้วันนั้นเป็นอันขาด

    ดังนั้นหลังวันเทศกาลล่าปา (๘ ค่ำ เดือน ๑๒) ไปแล้วจึงนิยมเรียกกันว่า ด่านปี เพราะเป็นช่วงที่ลูกหนี้ทั้งหลายจะผ่านไปได้ยากที่สุด บรรดาเจ้าหนี้จะเร่งรัดให้ชำระบัญชีให้เรียบร้อย

    ในเมืองจีนสมัยก่อน พอตกค่ำวัน ๓๐ ค่ำ เดือน ๑๒ ห้างร้านทั้งหลายจะส่งคนถือโคมมีชื่อร้านออกเก็บบัญชี (ถ้าเป็นสมัยนี้ลูกหนี้คงหนีหมด) ร้านค้าทั่วไปจะจุดเทียนแดงคู่หนึ่งและตะเกียงลูกหนึ่งไว้ที่โต๊ะหรือเคาน์เตอร์ เทียนแดงเป็นเทียนตรุษจีน ตะเกียงเอาไว้ดูบัญชี พอเจ้าหนี้มาถึงก็คิดบัญชีให้ฟังอย่างรวดเร็ว หักลดกันเรียบร้อยแล้วก็เก็บเงิน ถ้าลูกหนี้ยังไม่พร้อมก็จะบอกว่า "เดี๋ยวมาใหม่" หลังจากออกไปเก็บที่อื่นก่อน แล้วก็ย้อนมาใหม่จริงๆ จะเร่งรัดเก็บให้เสร็จภายในเที่ยงคืน พอถึงเที่ยงคืนจะเก็บหนี้ได้หรือไม่ก็ตาม ทั้ง ๒ ฝ่ายจะต้องกล่าวสวัสดีปีใหม่กันทันที และไม่พูดเรื่องหนี้สินอีกเป็นอันขาด หากเจ้าหนี้ขืนพูดก็มักจะถูกย้อนว่า "เฮ้ย! นี่วันอะไรวะ!" คตินิยมนี้สมัยก่อนถือกันเคร่งครัดมาก



    กลอนคู่ (ตุ้ยเลี้ยง) ตรุษจีน

    ช่วงตรุษจีนท่านจะเห็นชาวจีนเอากระดาษแดง ๒ แผ่นติดที่ประตูด้านละแผ่น ข้อความบนกระดาษมีจำนวนอักษรเท่ากัน เป็นใจความอวยพรปีใหม่ ข้อความ ๒ วรรคนี้ชาวจีนแต้จิ๋วเรียกว่า ตุ้ยเลี้ยง เสียงจีนกลางว่าตุ้ยเหลียน ผู้เขียนขอแปลเป็นไทยว่ากลอนคู่

    ลักษณะสำคัญของกลอนคู่ได้แก่ เป็นข้อความ ๒ วรรคที่มีดุลของเสียงและความหมาย กล่าวคือ มีจำนวนคำ (อักษร) เท่ากัน ความหมายเป็นคู่กันอย่างสละสลวย สัมผัสไม่จำเป็นต้องมี เพราะเสียงหนักเบาที่สมดุลกันทำให้ได้ความเสนาะเป็นร้อยกรองอยู่ในตัว เข้าลักษณะกลอนเปล่า

    ตุ้ยเลี้ยงเป็นรูปแบบและศิลปะการประพันธ์ชนิดหนึ่งโดยเอกเทศ เป็นผกางามช่อน้อยในอุทยานวรรณคดีจีน ใช้ได้อเนกประสงค์ ทุกกาละ เทศะ ประชุมชน ไม่ว่าจะเป็นคำขวัญ คำอวยพร คำสดุดี คำไว้อาลัย แม้กระทั่งคำเสียดสี ด่าว่า กิจกรรมแทบทุกอย่างของคนจีนนิยมใช้ตุ้ยเลี้ยงเข้าไปเสริมให้ได้สุนทรียรสของภาษาอยู่เสมอ และมีชื่อเฉพาะต่างกันไป

    อนึ่งตุ้ยเลี้ยงหรือกลอนคู่นี้ต้องเขียนด้วยลายมือที่งดงาม การเขียนหนังสือให้สวยงามเป็นศิลปะโดยเฉพาะแขนงหนึ่งของจีน เป็นศิลปะที่ผสานอักษรศาสตร์และจิตรกรรมเข้าด้วยกัน สมัยก่อนคนจีนส่วนมากแต่งและเขียนตุ้ยเลี้ยงกันเอง เพราะศิลปะ ๒ ประการนี้เป็นเรื่องธรรมดาสามัญของคนจีนยุคนั้น แต่คนจีนปัจจุบันเขียนพู่กันไม่ค่อยเก่ง การแต่งตุ้ยเลี้ยงก็อ่อนด้อยลง ดังนั้นจึงมีคนรับจ้างแต่งรับจ้างเขียนตุ้ยเลี้ยงอยู่ทั่วไป ในเมืองไทยมีอยู่ที่ย่านเยาวราช

    ที่มาของกลอนคู่หรือตุ้ยเลี้ยง มีที่มาจากไสยศาสตร์ผสมผสานกับอักษรศาสตร์ ในแง่ของไสยศาสตร์ตุ้ยเลี้ยงเกิดจากไม้ท้อเป็นมงคล ต่อมามีผู้เขียนกลอนคู่ลงบนยันต์ไม้ท้อนั้น เป็นการเอาอักษรศาสตร์เข้ามาเติมแต่ง แล้วจึงผสมผสานวิวัฒนาการกลายเป็นตุ้ยเลี้ยงที่สมบูรณ์

    คนจีนเชื่อว่าท้อ (จีนกลางว่า เถา) เป็นไม้ศักดิ์สิทธิ์ ผีกลัว ดังปรากฏเหตุผลอยู่ในตำนานเรื่องหนึ่ง ซึ่งจะกล่าวถึงรายละเอียดในหัวข้อเทพทวารบาล ในสมัยเก่าก่อนบุราณกาล พอถึงตรุษจีนคนจะตัดไม้ท้อ ๒ แผ่น กว้างประมาณ ๒-๓ นิ้ว ยาวราว ๗-๘ นิ้ว เขียนอักษรหรือถ้อยคำสั้นๆ ทำนองคาถาลงบนไม้ท้อ ๒ แผ่นนั้น แล้วนำไปแขวนไว้ที่ประตูทั้ง ๒ ข้าง เข้าลักษณะเดียวกับยันต์ของไทย ภาษาจีนเรียกกระดาน ๒ แผ่นนี้ว่ายันต์ไม้ท้อ ข้อความที่เขียนบนไม้ท้อยุคแรกคือ "เสินถู ( )" และ "อี้ว์เหล่ย ( )" ต่อมาข้อความที่เขียนยาวออกไปเป็นด้านละวรรค

    กลอนคู่ในเทศกาลตรุษจีนมีชื่อเฉพาะว่าชุนเลี้ยง จีนกลางว่าชุนเหลียน หมายถึง กลอนคู่ในวสันตฤดู ส่วนมากมีใจความทำนองอวยพรปีใหม่ หรือกล่าวถึงเรื่องราวเกี่ยวกับปีใหม่ คู่ที่นิยมใช้แพร่หลายที่สุดเห็นจะได้แก่ ( ) ซิน เจีย ยู่ อี่, ซิน นี้ ฮวด ไช้ แปลตามคำ ใหม่ อ้าย สม ปรารถนา, ใหม่ ปี เจริญ ทรัพย์ แปลเอาความได้ว่า เดือนอ้ายใหม่จงได้สมจินตนา ปีใหม่มาพูนทรัพย์นับอนันต์

    กลอนคู่ตรุษจีนบทที่ไพเราะมากบทหนึ่งคือบทที่ว่า เทียน เจิง ซุ่ย เย่ว์ เหญิน เจิง ซุ่ย, ชุน หม่าน เฉียน คุน ฝู หม่าน เหมิน นภา เพิ่ม ปี เดือน คน เพิ่ม วัย วสันต์ เต็ม ฟ้า ดิน ไป โชค เต็ม บ้าน กลอนคู่หรือตุ้ยเลี้ยงบทนี้ หลินต้าชิน ( ลิ้มไต้คิม พ.ศ. ๒๐๕๕-๘๘) จอหงวนคนเดียวของจีนแต้จิ๋วเป็นผู้แต่ง ได้รับความนิยมเป็นอมตะตลอดมาจนปัจจุบันเกือบ ๕๐๐ ปี

    โดยปกติกลอนคู่ตรุษจีนเขียนบนกระดาษแดง ตัวอักษรเป็นสีทองหรือสีดำ ในอดีตหากบ้านใดมีคนตายยังไม่พ้น ๓ ปี จะไม่ใช้กระดาษแดง ถ้าผู้ตายเป็นชายใช้กระดาษเขียว ถ้าเป็นหญิงใช้กระดาษเหลือง ใจความในกลอนคู่ก็มักส่อไปในทางโศกเศร้าต่างจากกลอนคู่ตรุษจีนทั่วไป แต่ปัจจุบันธรรมเนียมนี้ไม่ค่อยมีผู้ถือปฏิบัติแล้ว

    กลอนคู่ตรุษจีนติดที่บานประตูทั้ง ๒ บาน หรือที่ริมซ้ายขวาของประตู

    นอกจากนี้ที่เหนือกรอบบนของประตูนิยมติดอักษร "ชุน ( )" หรืออักษร "ฝู ( )" ไว้ด้วย อักษร " ชุน" หมายถึง วสันตฤดู มีนัยะหมายถึงความเจริญรุ่งเรือง ส่วนอักษร " ฝู" นั้น คัมภีร์หานเฟยจื่อยุคจั้นกั๋ว ( ) ให้นิยามไว้ว่า "ถึงพร้อมด้วยทรัพย์ ยศ อายุ เรียกว่าฝู" คำนี้เสียงแต้จิ๋วว่า "ฮก" เดิมหมายถึง บุญวาสนาหรือโชควาสนา ถึงพร้อมด้วยทรัพย์ ยศ และอายุยืน ต่อมาแยกยศศักดิ์ไปเป็น ลก ( ลู่) อายุยืนเป็นซิ่ว ( โซ่ว) ฮก จึงหมายถึงมีทรัพย์หรือโชคลาภ รวมกับลกและซิ่วเป็นตรีพิธพรของจีน

    แต่อักษรฝูหรือฮก ( ) ที่ติดร่วมกับกลอนคู่ตรุษจีนนี้หมายถึงโชควาสนาซึ่งถึงพร้อมด้วยทรัพย์ ยศ และอายุ อนึ่งในการติดอักษรตัวนี้นิยมติดกลับเอาหัวลง เพื่อให้คนที่มาเห็นทักว่า "ฝูเต้าเลอ" ซึ่งเขียนเป็นอักษรจีนว่า อักษร เต้า ที่แปลว่าหัวกลับ พ้องเสียงกับอักษรเต้า ที่แปลว่า มาถึง ทำให้ "ฝู-ฮก" หัวกลับ ก็หมายถึง "โชควาสนามาถึง" อยู่ในตัว



    เปลี่ยนรูปเทพทวารบาล

    การเปลี่ยนรูปเทพทวารบาลเป็นกิจกรรมสำคัญคู่กับการเปลี่ยนกลอนคู่ สิ่งทั้งสองนี้มีความเป็นมาเกี่ยวข้องกับยันต์ไม้ท้อเหมือนกัน แต่รูปเทพทวารบาลมีอดีตยาวนานกว่า เป็นความเชื่อที่มีวิวัฒนาการมาจากการเคารพบูชาเทพแห่งประตู

    เทพแห่งประตูเป็น ๑ ใน ๕ เทพประจำบ้าน ดังกล่าวแล้วในเรื่องเจ้าเตาไฟ คนจีนใช้สุนัขเฝ้าบ้านมาแต่โบราณ อย่างน้อยก็ตั้งแต่สมัยราชวงศ์ซาง รูปเทพผู้รักษาประตูรุ่นแรกจึงมีลักษณะคล้ายสุนัขคาบกระบี่ บางรูปก็เป็นสัตว์ประหลาดไม่มีตัว มีแต่หัว คล้ายสุนัข แสดงให้เห็นว่าเทพทวารบาลรุ่นแรกมีที่มาจากสุนัข มาถึงสมัยราชวงศ์โจว เทพแห่งประตูไม่มีรูปชัด เป็นสิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่เป็นนามธรรม รวมอยู่ในหมู่เทพประจำบ้านทั้ง ๕ องค์

    ต่อมาในสมัยราชวงศ์ฮั่น คนนิยมวาดรูปนักรบหรือจอมยุทธ์ผู้เก่งกล้าไว้ที่ประตู มีเรื่องเล่าว่า ครั้งหนึ่งอ๋องแห่งกว่างชวนป่วย ได้สั่งให้วาดรูปขุนพลเฉิงชิ่งถือกระบองไว้ที่บานประตู เพื่อป้องกันผีร้ายและอัปมงคลทั้งปวง เฉิงชิ่งเป็นขุนพลผู้แกล้วกล้าในยุคโบราณ หลังจากนั้นมีผู้เอาอย่าง แต่รูปที่วาดเปลี่ยนเป็นจิงเคอจอมยุทธ์ในยุคจั้นกั๋วบ้างก็มี บุคคลทั้งสองนี้เป็นมนุษย์ที่ได้รับยกย่องเป็นเทพทวารบาลรุ่นแรก

    จนกระทั่งสมัยราชวงศ์เหนือ-ใต้ เทพทวารบาลจึงเปลี่ยนไปเป็น "เสินถู " และ "อี้ว์เหล่ย " ผู้เป็นเทพารักษ์แห่งดงท้อ ความเชื่อนี้มีที่มาจากตำนานที่ว่า

    บนชายฝั่งทะเลตะวันออก มีภูเขาลูกหนึ่งชื่อตู้ซั่วซาน ปกคลุมไปด้วยดงท้อ บนเขาด้านตะวันตกเฉียงเหนือเป็นประตูสำหรับภูตผีทั้งปวงเข้าออก มีเทพ ๒ องค์พี่น้องชื่อ "เสินถู" และ "อี้ว์เหล่ย" อยู่รักษา หากผีตนใดดุร้ายอาละวาดหรือทำผิด เทพทั้งสองจะเอาเชือกอ้อมัดไปโยนให้เสือกิน ทำให้ผีทั้งหลายกลัวเทพสองพี่น้องนี้มาก ประชาชนจึงเชื่อกันว่า ท้อเป็นไม้ศักดิ์สิทธิ์ปราบผีได้ นิยมนำมาทำยันต์ไม้ท้อแขวนกันผี ภายหลังจึงมีผู้วาดรูปเทพทั้งสององค์นี้ไว้ที่บานประตูแทน กลายเป็นที่มาของรูปเทพทวารบาล ส่วนยันต์ไม้ท้อนั้นก็เปลี่ยนเป็นเขียนถ้อยคำอื่นๆ แทน จนวิวัฒนาการไปเป็นกลอนคู่ดังกล่าวแล้ว

    ต่อมาในสมัยราชวงศ์ถังรูปเทพทวารบาลเปลี่ยนไปเป็นขุนพลเว่ยฉีกง (อวยชีจง) และขุนพลฉินซู่เป่า (ซินซกโป้) ดังปรากฏที่มาของคตินิยมนี้ในเรื่องไซอิ๋วว่า

    ครั้งหนึ่งพญามังกรไปลองดีหมอดูเทวดา ท้าพนันให้ทำนายเรื่องฝน พอตนกลับวังก็ได้รับเทวโองการจากเง็กเซียงฮ่องเต้ ให้บันดาลให้ฝนตก ตรงตามคำทำนายของหมอดูเทวดาทุกประการ ด้วยต้องการเอาชนะพนัน พญามังกรจึงทำให้ฝนตกคลาดเคลื่อนไปจากคำทำนาย จึงถูกเทวอาญาถึงประหารชีวิต

    พญามังกรไปทูลขอให้พระเจ้าถังไท่จงช่วย เพราะผู้ที่สวรรค์มอบหน้าที่ให้เป็นเพชฌฆาตคือเว่ยเจิง (งุยเต็ง) ขุนนางคนสนิทของพระเจ้าถังไท่จง พระเจ้าถังไท่จงเรียกตัวเว่ยเจิงมาอยู่เล่นหมากรุกด้วย เพื่อมิให้ออกไปประหารพญามังกรได้ แต่พอถึงเวลา เว่งเจิงถอดดวงจิตออกไปประหารสำเร็จ วิญญาณพญามังกรอาฆาตมาขู่เอาชีวิตพระเจ้าถังไท่จงทุกคืน

    เว่ยฉีกง (อวยชีจง) และฉินซู่เป่า (ซินซกโป้) อาสายืนเฝ้าประตูในยามราตรี ตั้งแต่นั้นวิญญาณพญามังกรก็ไม่มารบกวน พระเจ้าถังไท่จงเห็นคนทั้งสองต้องลำบากเรื่องอดนอนจึงให้ช่างวาดรูปมาติดไว้ที่บานประตูพระตำหนักแทน ตั้งแต่นั้นมาชนทั้งหลายจึงได้เขียนรูปซินซกโป้และอวยชีจงปิดประตูบ้านและศาลเจ้า สมมติว่าเป็นรูปศักดิ์สิทธิ์ป้องกันปีศาจได้ เป็นธรรมเนียมต่อๆ มาจนทุกวันนี้

    ในยุค ๕ ราชวงศ์มีภาพเทพทวารบาล ซึ่งพิมพ์จากแม่พิมพ์ไม้จำหน่ายอยู่ทั่วไป นอกจากภาพเว่ยฉีกงและฉินซู่เป่าแล้ว ยังมีภาพจงขุยซึ่งตามเทวปกรณ์จีนกล่าวว่าเป็นผู้ควบคุมผีทั้งปวงอีกด้วย จนกระทั่งรัชกาลพระเจ้าเฉียนหลงแห่งราชวงศ์ชิง ประชาชนเปลี่ยนเอาภาพจงขุยไปติดไล่ผีในเทศกาลตวนอู่-สารทขนมจ้าง และเป็นที่นิยมต่อมาตราบเท่าทุกวันนี้

    ในสมัยราชวงศ์ซ่งภาพเทพทวารบาลเป็นภาพนายทหารแต่งเต็มยศถืออาวุธ ถ้าเป็นบ้านผู้ดีภาพนั้นจะประดิษฐ์อย่างสวยงามเป็นพิเศษ จึงเห็นได้ว่าในยุคนี้ภาพของเทพทวารบาลกลายเป็นเครื่องตบแต่งประตูไปด้วย

    ในสมัยราชวงศ์หยวนเกิดภาพเทพทวารบาลหญิงขึ้น สตรีผู้ได้รับเกียรตินี้คือมู่กุ้ยอิง (ตัวเอกในภาพยนตร์กำลังภายในเรื่องขุนศึกตระกูลหยาง ตอน ๑๔ นางสิงห์เจ้ายุทธจักร) ซึ่งเป็นจอมยุทธ์หญิงนามกระเดื่องในสมัยต้นราชวงศ์ซ่ง ทว่าเทพทวารบาลหญิงได้รับความนิยมอยู่ไม่นานก็เสื่อมไป สมัยราชวงศ์หมิงและชิง เว่ยฉีกงและฉินซู่เป่ายังคงครองตำแหน่งเทพทวารบาลสืบต่อมาจนกระทั่งทุกวันนี้

    ภาพเทพทวารบาลในปัจจุบันเป็นรูปขุนพลจีนแต่งเต็มยศ มือถืออาวุธ หน้าขาวคนหนึ่ง หน้าดำคนหนึ่ง คนหน้าขาวคือฉินซู่เป่า คนหน้าดำคือเว่ยฉีกง นอกจากนี้ยังนิยมเพิ่มภาพขุนนางแต่งเต็มยศอีกด้วย เรียกว่าภาพ "โชคลาภเยี่ยมทวาร" หรือ "เจริญโชคลาภรับมิ่งมงคล" เป็นอันว่ามีพร้อมทั้งภาพเพื่อขับไล่อัปมงคลและภาพเจริญสิ่งมิ่งมงคล

    นอกจากที่ประตูแล้ว บางบ้านยังติดรูปฮก ลก ซิ่ว หรือเทพแห่งโชคลาภไว้ที่ห้องรับแขกหรือไม่ก็ในห้องนอนอีกด้วย ในยุ้งฉางก็ติดภาพเสินหนงเทพแห่งการเกษตร เหล่านี้ล้วนแสดงถึงความหวังซึ่งมนุษย์ฝากไว้กับปีใหม่ที่มาถึงนี้

    เทพทวารบาลภาษาจีนกลางว่า เหมินเสิน .........แต้จิ๋วว่า หมิ่งซิ้ง เป็นที่มาของรูปเซี่ยวกางของไทย



    ประดับภาพปีใหม่

    ภาพปีใหม่เป็นศิลปะพื้นบ้านของจีน ได้รับความนิยมแพร่หลายทั้งในและนอกประเทศ ศิลปะชนิดนี้วิวัฒนาการมาจากภาพเทพทวารบาล ในยุคก่อนราชวงศ์สุย ภาพเทพทวารบาลส่วนมากวาดลงบนแผ่นไม้ท้อหรือกระดาษ หลังจากเกิดแม่พิมพ์ไม้ขึ้นในราชวงศ์สุยแล้ว ภาพพิมพ์รูปเทพทวารบาลก็เริ่มแพร่หลาย เป็นเค้าที่มาของภาพปีใหม่

    ภาพปีใหม่แบบเก่าพิมพ์จากแม่พิมพ์ไม้เป็นพื้น มีสีสันหลากหลาย สดใสชวนชม เนื้อหาส่วนมากเป็นทิวทัศน์ นก ดอกไม้ เด็ก พืชพรรณธัญชาติอันอุดมสมบูรณ์ สิ่งสิริมงคล ฯลฯ ต่อมาชาวเซี่ยงไฮ้ชื่อเจิ้งม่านถัวได้นำภาพปีใหม่ไปรวมกับปฏิทิน เกิดเป็นปฏิทินภาพปีใหม่ขึ้น ได้รับความนิยมแพร่หลายมากระทั่งทุกวันนี้

    ความก้าวหน้าด้านเทคนิคการพิมพ์ในยุคปัจจุบัน ทำให้ภาพปีใหม่ประณีตงดงาม และมีชนิดย่อยมากขึ้น เช่น ภาพแขวน ภาพติดผนัง ภาพติดฉากกั้นห้อง ภาพประดับโคมไฟ และภาพประดับเครื่องใช้อื่นๆ รูปแบบหลายแบบ เนื้อหาก็กว้างขวางกว่าสมัยก่อน แตกต่างกันไปนานาลักษณะ สัญลักษณมิ่งมงคล เรื่องจากวรรณกรรมงิ้ว วัฒนธรรมประเพณี และเนื้อหาอื่นๆ อีกมากมาย แม้ภาพเทพทวารบาลก็ถือเป็นส่วนหนึ่งของภาพ

    จีนเคยนำภาพปีใหม่ไปแสดงในญี่ปุ่น อังกฤษ ฝรั่งเศส เยอรมนี อิตาลี และชาติตะวันตกอีกหลายชาติ ได้รับความนิยมอย่างสูงจากผู้ชมเหล่านั้น ต่างตั้งสมญาให้ภาพปีใหม่ของจีนว่า ผกางามแห่งศิลปะโบราณภาคบูรพทิศ



    วัน ๓๐ ค่ำ เดือน ๑๒ : สิ้นปีเก่า

    วันสำคัญของเทศกาลตรุษจีนคือวัน ๓๐ ค่ำ เดือน ๑๒ และวัน ๑ ค่ำ เดือนอ้าย วันแรกมีความสำคัญในฐานะวันสิ้นปี ภาษาจีนเรียกว่าวัน "ฉูซี่ " แปลว่า "คืนสิ้นปี" หรือ "คืนตัดปี" คือสิ้นปีเก่า เมื่อสิ้นยามไฮ่ ( ) ตอนสิ้น ๔ ทุ่ม เข้าสู่ปีใหม่ในยามจื่อ ( ช่วง ๒๓.๐๐-๐๑.๐๐ น.) ฉะนั้นวันนี้คือตัววันตรุษจีนคือตัดและต่อปีที่แท้จริง แต่ปฏิทินเมืองไทยระบุวันตรุษจีนไว้ที่วัน ๑ ค่ำ เดือนอ้าย ซึ่งนิยมเรียกกันว่าวัน "ชิวอิด" ( -ชูอี-วัน ๑ ค่ำ) ซึ่งไม่ค่อยถูกนัก เพราะคำว่า "ตรุษ" แปลว่า "ตัด" คือวันสิ้นปี



    ไหว้เจ้าและบรรพบุรุษ

    กิจกรรมสำคัญที่สุดในวันนี้คือไหว้เจ้าและไหว้บรรพบุรุษ แต่ละถิ่นมีช่วงเวลาและพิธีการไหว้ต่างกันไปบ้าง แต่ส่วนมากจะไหว้เจ้าตอนเช้าตรู่ ของไหว้ที่สำคัญคือ "ซาแซ ( ) สัตว์ ๓ อย่าง" หรือ "โหงวแซ ( สัตว์ ๕ อย่าง)" ชา เหล้า ข้าวสวย กับข้าว ผลไม้ และ "ก้วย ( )" คือของกินที่ทำจากธัญพืชเพื่อแสดงความอุดมสมบูรณ์ของผลเก็บเกี่ยวที่ได้ ในปัจจุบันอาจใช้ขนมแทนก็ได้

    การไหว้บรรพบุรุษใช้ของเหมือนไหว้เจ้า จะน้อยกว่าไม่ได้ เพราะบรรพบุรุษมีฐานะเป็นพระเทพบิดรของวงศ์ตระกูล ของไหว้บรรพบุรุษในวันนี้จะขาดซาแซและเหล้าไม่ได้ เพราะการไหว้วันสิ้นปีมีที่มาจากประเพณีล่าสัตว์มาเซ่นสรวงบรรพบุรุษในเทศกาลล่าจี้ ส่วนเวลาที่ไหว้บรรพบุรุษนั้นต่างกันไปตามถิ่น บางถิ่นไหว้ช่วงเพลถึงเที่ยง (๑๑.๐๐-๑๒.๐๐ น.) บางถิ่นเริ่มตอนเที่ยงวัน แต่คนแต้จิ๋วในเมืองจีนไหว้ตอนพลบค่ำ เสร็จแล้วกินอาหารค่ำมื้อสำคัญที่เรียกว่า "ถ่วงอี่ปึ่ง ( ข้าวพร้อมหน้าสามัคคี)" ต่อไปเลย

    การไหว้บรรพบุรุษช่วงตรุษจีนนี้ปกติไหว้ที่บ้าน เพราะเป็นการเชิญวิญญาณท่านมาร่วมฉลองตรุษจีนกับลูกหลานหรือกลับมาเยี่ยมบ้านด้วย หลายถิ่น เช่น มณฑลซานซี เหอเป่ย เหอหนัน มีประเพณีไปเชิญวิญญาณบรรพบุรุษกลับมาบ้านก่อนทำพิธีไหว้ด้วย

    วันนี้หลังจากไหว้เจ้าแล้ว เจ้าทั้งหลายก็จะกลับสู่ทิพยสถาน ที่บ้านจึงมีแต่วิญญาณบรรพชนกับลูกหลานอยู่ร่วมกันเท่านั้น เป็นวัน "พร้อมหน้าสามัคคี" ของคนในวงศ์ตระกูลทั้งคนและผีบรรพชน แสดงถึงวัฒนธรรมบูชาวงศ์ตระกูล อันเป็นศูนย์กลางของวัฒนธรรมจีน การไหว้ที่บ้านจะเชิญป้ายสถิตวิญญาณขึ้นไป ๓ ชั่วคน คือ บิดามารดา ปู่ย่า และทวด ส่วนบรรพชนข้างแม่ไม่ได้ไหว้ เพราะจีนถือว่าวงศ์ตระกูลตามฝ่ายบิดา ปัจจุบันบางแห่งในจีนจัดพิธีไหว้บรรพชนที่ศาลประจำตระกูลเพื่อความสะดวก



    กินอาหารค่ำประจำปี สามัคคีพร้อมหน้า

    อาหารค่ำประจำปีเป็นอาหารมื้อสำคัญที่สุดในรอบปีและเทศกาลตรุษจีน ภาษาจีนเรียกว่า "เหนียนเย่ฟั่น " แปลว่า "อาหารค่ำประจำปี" แต่จีนแต้จิ๋วนิยมเรียก "ถ่วงอี่ปึ่ง ข้าวพร้อมหน้าสามัคคี" วันนี้เป็นวันชุมนุมพร้อมหน้าของคนในครอบครัวที่สำคัญที่สุดในรอบปี ไม่ว่าจะจากบ้านไปไกลแสนไกลเพราะเหตุใดก็ตาม ทุกคนจะรีบกลับมาให้ทันอาหารมื้อนี้ เพื่อแสดงความสามัคคีกลมเกลียวพรั่งพร้อมสมบูรณ์ของครอบครัว

    หลังเสร็จกิจในตอนกลางวันแล้ว พอตกค่ำทุกคนจะพร้อมหน้ากันที่โต๊ะอาหาร เสพสนทนากันอย่างเบิกบานใจ เสพทั้งอาหารเลิศรสและบรรยากาศแห่งความสุขสำราญ ถ้อยคำที่สนทนาก็ล้วนแต่เป็นคำไพเราะเรื่องดีงาม อาหารมื้อนี้อาจกินเวลาไปจนดึก ในอดีตอาหารมื้อนี้ต้องนำไปไหว้บรรพบุรุษก่อน ปัจจุบันชาวจีนแต้จิ๋วในจีนยังรักษาประเพณีนี้อยู่ พอไหว้เสร็จลูกหลานจึงเอาอาหารมารับประทานพร้อมหน้ากัน

    คนจีนแต้จิ๋วนิยมเอาภาชนะอาหารวางลงในกระด้งขนาดใหญ่ แล้วนั่งล้อมวงรอบกระด้งรับประทาน อาหารมื้อนี้นิยมทำเป็นวงกลม เช่น ลูกชิ้น เผือกปั้นกลม หรือเผือก มันทั้งหัว เพื่อเป็นสัญลักษณ์ของความกลมเกลียวพร้อมหน้าสามัคคีสมชื่อ "ถ่วงอี่ปึ่ง-ข้าวพร้อมหน้าสามัคคี" ปัจจุบันชาวฮกเกี้ยนและไต้หวันนิยมวางตะเกียบและชามช้อนเปล่าไว้บนโต๊ะชุดหนึ่งเพื่อให้บรรพบุรุษได้เข้ามาร่วมรับประทานด้วย



    การแจกเงินก้นถุงประจำปี

    สิ่งที่เด็กๆ รอคอยกันมากที่สุดในเทศกาลตรุษจีนเห็นจะเป็นการรับแจกเงินก้นถุงประจำปี เงินชนิดนี้ภาษาจีนกลางเรียกว่า ย่าซุ่ยเฉี่ยน ( ) กวางตุ้งว่า ยับสุ่ยฉิ่น แต้จิ๋วว่า เอี๊ยบส่วยจี๊ แต่คำสามัญเรียกว่า แตะเอีย ( ) แปลว่า ถ่วงเอว เพราะคนจีนสมัยก่อนใช้ด้ายเก็บเงินแล้วผูกไว้ที่เอว การให้เงินพิเศษจึงถือเป็นการถ่วงเอว

    เงินก้นถุงประจำปีโดยปกติผู้ใหญ่ให้แก่เด็ก แต่ภายหลังเงินที่ลูกหลานให้แก่ญาติผู้ใหญ่ในเทศกาลตรุษจีนก็นิยมเรียกว่าแตะเอียเหมือนกัน และเงินบำเหน็จพิเศษ (โบนัส) ที่ห้างร้านหรือนายจ้างให้แก่ลูกจ้างในช่วงตรุษจีนก็เรียกว่าแตะเอียด้วย

    การแตะเอียแก่เด็กๆ ตามธรรมเนียมเก่าส่วนมากเป็นตอนกลางคืน หลังจากกินอาหารค่ำประจำปีแล้ว เด็กๆ จะเข้าแถวกันไปอวยพรผู้ใหญ่ ผู้ใหญ่ก็จะอบรมสั่งสอน อวยพรตอบและแจกเงินแตะเอีย แต่บางคนอาจเอาไปสอดไว้ใต้หมอนตอนเด็กๆ หลับ หรือมีวิธีแจกแตกต่างไปจากนี้อีกมากมาย

    ส่วนผู้ใหญ่นั้นไม่นอนตลอดคืน เพราะจะต้องอยู่เฝ้าปีเก่า รับปีใหม่



    เฝ้าปีเก่า รับปีใหม่

    การเฝ้าปีมีความหมายสำคัญ ๒ ประการ สำหรับผู้สูงอายุเป็นการอาลัยลาเดือน วัน และวัยที่ผ่านไป สำหรับหนุ่มสาวเป็นการเพิ่มอายุให้แก่บิดามารดา ฉะนั้นผู้ที่บิดามารดายังมีชีวิตอยู่จะเว้นกิจกรรมนี้เสียมิได้

    เหตุที่เกิดการเฝ้าปีนั้นมีตำนานเล่าว่า ในอดีตอันไกลโพ้น มีสัตว์ร้ายตัวหนึ่งชื่อว่าเหนียน ซึ่งแปลว่าปี พอถึงปลายฤดูหนาว เจ้าตัวปีนี้จะออกมาจับคนและสัตว์เลี้ยงกินเป็นอาหารเสมอ ปีแล้วปีเล่าที่เจ้าตัวปีนี้ออกอาละวาด ในที่สุดมนุษย์ก็พบว่ามันกลัวของอยู่ ๓ อย่าง คือ เสียงดัง สีแดง และแสงไฟ ดังนั้นพอถึงวันสิ้นปี อันเป็นกำหนดที่สัตว์ร้ายตัวนี้ออกมาหาเหยื่อในหมู่บ้าน ผู้คนก็พากันเอาไม้ท้อทาสีแดงแขวนไว้ที่ประตู ก่อไฟไว้หน้าบ้าน จุดประทัดและตีเกราะเคาะไม้ให้มีเสียงดังตลอดคืนโดยไม่หลับนอน เมื่อเจ้าตัวปีออกมาเห็นแสงสีและได้ยินเสียงดังนั้นก็ตกใจกลัววิ่งหนีไป

    การเฝ้าปีปรากฏหลักฐานครั้งแรกในหนังสือ "บันทึกเรื่องประเพณี" ของโจวชู่คนสมัยราชวงศ์จิ้น (พ.ศ. ๘๐๗-๙๖๓) ว่า "ไม่นอนตลอดคืน รออยู่จนฟ้าสาง เรียกว่าเฝ้าปี"

    ปัจจุบันในหมู่ประชาชนทั่วไป คืนเฝ้าปีอุดมด้วยบรรยากาศแห่งวัฒนธรรมจีน ทุกคนในครอบครัวจะอยู่พร้อมหน้ากัน มีกิจกรรมบันเทิงแก้ง่วง ผู้ใหญ่บางคนอาจเล่นไพ่ บางคนเล่านิทานให้ลูกหลานฟัง หรือตั้งปัญหาให้ทายเล่นลองปัญญา มีน้ำชาและของว่างกินกันไม่ขาดปาก ถ้าเด็กๆ ง่วงก็ให้นอนอยู่รอบเตาไฟซึ่งจุดไว้ผิงตลอดทั้งคืน เป็นการล้อมเฝ้ารอรับเจ้าเตาไฟไปด้วยในตัว กิจกรรมในคืนนี้อาจแตกต่างกันไปตามท้องถิ่นบ้าง เช่น แถบมณฑลซานตงทุกคนจะช่วยกันห่อเกี๊ยว พอถึงเที่ยงคืนอันเป็นช่วงต่อปีก็จะปรุงมารับประทานร่วมกัน

    ในช่วงแห่ง "คืนเดียวมี ๒ ปี กลางราตรีแบ่ง ๒ ศก" นี้ ทุกคนที่นั่งล้อมรอบเตาไฟ จะหวนรำลึกถึงปีเก่าที่กำลังจะสิ้นไป ฝากความหวังไว้กับปีใหม่ที่กำลังจะมาถึง ซูตงพอกวีเอกสมัยราชวงศ์ซ่งกล่าวถึงประณิธานอันพึงมีในวันนี้ว่า

    ปีใหม่ฤาไร้เวลา เกรงแต่ว่าปล่อยเปล่าดาย

    จงเพียงเต็มที่วันนี้หมาย เกียรติกำจายแต่วัยดรุณ

    คืนวัน ๓๐ ค่ำ เดือน ๑๒ นี้มีชื่อเฉพาะว่า ฉูซี่ (ตื่อเส็ก) แปลว่า คืนตัด (ปี) หมายถึงปีเก่าสิ้นสุดหรือถูกตัดลงในตอนเที่ยงของคืนนี้ หลังเที่ยงคืนไปแล้วเป็นปีใหม่ ในภาษาไทยเรียกวันสิ้นปีว่าวันตรุษ คือวันแรม ๑๕ ค่ำ เดือน ๔ ฉะนั้นฉูซี่หรือคืนสิ้นปีก็คือตรุษ (จีน) ที่แท้จริงนั่นเอง

    ในคืนนี้มีกิจกรรมสำคัญที่ทำควบคู่กันไป ๓-๔ ประการ คือ กินข้าวค่ำประจำปี แจกเงินก้นถุงประจำปี (แตะเอีย) เฝ้าปีเก่ารับปีใหม่ กิจกรรมทั้งหมดนี้มักกระทำอยู่รอบเตาไฟ เป็นการทำพิธีล้อมเตาไฟไปด้วยในตัว ดังกล่าวมาแล้ว พอเสียงประทัดดังขึ้นก็เป็นสัญญาณว่าปีใหม่ย่างกรายมาถึง



    วันที่ ๑ เดือนอ้าย : ขึ้นปีใหม่

    วันที่ ๑ เดือนอ้าย เดิมมีชื่อว่า "หยวนตั้น" แปลว่า ปฐมวาร คือวันแรกของปี อีกชื่อหนึ่งที่นิยมเรียกคือ "ซานเจา" ( ) แปลว่า ตรีอรุณ คืออรุณแห่งวันแรก อรุณแห่งเดือนอ้ายและอรุณแห่งปี มีกิจกรรมสำคัญดังนี้



    จุดประทัดปีใหม่

    "ไผ่ระเบิดดังลั่นลาปีเก่า ผกางามทุกดอกเข้ารับปีใหม่"

    กลอนคู่ข้างบนนี้วรรคหน้ากล่าวถึงการจุดประทัดในวันตรุษจีน แต่ใช้คำว่า ไผ่ระเบิด (เป้าจู๋ ) แทนประทัด ในสมัยโบราณก่อนมีดินปืน คนจีนใช้ไม้ไผ่ทั้งปล้องโยนเข้ากองไฟ ไม้ไผ่ถูกความร้อนจะแตกลั่นดังโป้งป้าง จึงเรียกว่าไผ่ระเบิด

    การจุดประทัดด้วยวิธีดังกล่าวมีบันทึกอยู่ในหนังสือสมัยราชวงศ์เหนือ-ใต้ว่า "วันที่ ๑ เดือนอ้าย เป็นวันแห่งตรีปฐม พอไก่ขัน จุดไผ่ระเบิดที่หน้าบ้านก่อน เพื่อขับไล่ภูตผีและสัตว์ร้าย" การจุดไผ่ระเบิดในวันปีใหม่เป็นธรรมเนียมปฏิบัติเรื่อยมา

    ครั้นถึงสมัยราชวงศ์ถังตอนต้น เกิดโรคระบาดขึ้นหลายแห่ง ชายผู้หนึ่งชื่อหลีเถียน เอาดินประสิวบรรจุใส่กระบอกไม้ไผ่ แล้วจุดไฟให้ระเบิด ไอดินประสิวช่วยทำให้โรคระบาดลดน้อยลง ไผ่ระเบิดของหลีเถียนเป็นพัฒนาการขั้นแรกของประทัด

    ต่อมาสมัยราชวงศ์ซ่ง คนจีนรู้จักทำดินปืนใช้ ไผ่ระเบิดจึงพัฒนามาเป็นประทัดอย่างสมบูรณ์ ใช้กระดาษเป็นวัสดุห่อหุ้มแทนปล้องไม้ไผ่ แต่คำว่าไผ่ระเบิดก็ยังคงใช้เป็นไวพจน์ของคำว่าประทัดตลอดมากระทั่งทุกวันนี้

    ในสมัยราชวงศ์ซ่ง ประทัดก้าวหน้าไปถึงขั้นทำเป็นตับยาว พอจุดจะดังติดต่อกันไปนานนับร้อยครั้ง เมื่อถึงวันสิ้นปีจะมีร้านขายประทัดตั้งเรียงรายอยู่ทั่วไป การทำประทัดขายกลายเป็นอาชีพหนึ่งในยุคนั้น จากประทัดได้พัฒนาการต่อไปเป็นตะไลบ้องไฟและปืนไฟในปลายราชวงศ์ซ่งนั้นเอง ในสมัยราชวงศ์หมิงและชิงประทัดหลากหลายวิจิตรขึ้นกว่าเดิมมากและแพร่หลายไปสู่นานาประเทศ



    ไหว้เจ้าและบรรพบุรุษ

    การไหว้เจ้าและบรรพบุรุษในวันปีใหม่เป็นการไหว้เพื่อแสดงกตเวทิตาจิต มิได้จัดใหญ่โต เริ่มไหว้ได้ตั้งแต่เที่ยงคืน และต้องเสร็จสิ้นก่อนฟ้าสาง การไหว้บรรพบุรุษต้องตั้งป้ายสถิตวิญญาณไว้ในห้องใหญ่กลางบ้าน จัดเครื่องสักการบูชา ข้าวปลาอาหารไว้ข้างหน้า ลูกหลานทยอยกันเข้ามากราบไหว้ตามลำดับอาวุโส แล้วนั่งอยู่ข้างๆ ประหนึ่งว่าคอยรับใช้ บางบ้านแขวนภาพพิมพ์จากแม่พิมพ์ไม้ที่ใช้แทนป้ายสถิตวิญญาณ บางถิ่นถือคติว่าต้องไปไหว้ที่ศาลประจำตระกูล ซึ่งส่วนมากอยู่กลางหมู่บ้าน แต่โดยทั่วไปแล้วไหว้ในบ้านของตน ส่วนเจ้าหรือผีสางเทวดานั้น ก็จัดเครื่องเซ่นสังเวยไปถวายที่หิ้งเจ้าซึ่งมีกันทุกบ้าน การไหว้เจ้าและบรรพบุรุษนี้บางแห่งไหว้ทุกวันตั้งแต่วัน ๑ ค่ำ ถึงวัน ๓ ค่ำ เดือนอ้าย

    การไหว้เจ้าและบรรพบุรุษในวัน ๑ ค่ำ เดือนอ้ายนี้ ชาวจีนแต้จิ๋วไหว้ด้วยเครื่องเจ เพราะถือว่าวันนี้พระศรีอริยเมตไตรยโพธิสัตว์ประทับเป็นประธาน ประเพณีนี้มีมาตั้งแต่ต้นราชวงศ์ชิง พอไหว้บรรพบุรุษเสร็จในช่วงเช้าก็รับประทานอาหารร่วมกัน ผู้เยาว์จะเข้าไปคารวะอวยพรผู้อาวุโส ผู้ใหญ่ให้โอวาทแก่ลูกหลาน จากนั้นพ่อแม่จะพาลูกออกไปคารวะปีใหม่ญาติมิตรต่อไป

    จีนบางถิ่นมีประเพณีนิยมรับเจ้ากลับจากทิพยสถานของท่านในยามจื่อ ( ช่วง ๒๓.๐๐-๐๑.๐๐ น.) อันเป็นยามแรกของวัน ๑ ค่ำ ก็คือตอน ๕ ทุ่มของคืนวันไหว้สิ้นปีนั่นเอง เทพที่นิยมไหว้รับเสด็จท่านกันมากคือ "ไฉเสิน (...........) เทพแห่งทรัพย์สิน"

    ในเมืองไทยโดยปรกติไหว้วันเดียว ในตอนเช้ามืดวันที่ ๑ ที่เรียกกันว่าวันชิวอิ้ด ของไหว้เป็นเครื่องเจแบบจีนแต้จิ๋ว

    ในราชสำนักไทยมีพระราชพิธีสังเวยพระป้ายคือป้ายสถิตวิญญาณบรรพชนในวันนี้ด้วย ปัจจุบันพระราชพิธีจัดที่พระที่นั่งเวหาสน์จำรูญ พระราชวังบางปะอิน ส่วนมากสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร หรือพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสมสวลี พระวรราชาทินัดดามาตุ เสด็จแทนพระองค์



    คารวะอวยพรปีใหม่

    คารวะอวยพรปีใหม่ ภาษาจีนว่า ไป้เหนียน (ไป้นี้ ) แปลตรงๆ ได้ว่า "ไหว้ปี" เป็นกิจกรรมสำคัญของชนทุกชั้นทุกถิ่นฐาน มีมาแต่โบราณกาล

    การคารวะอวยพรมิได้มีความสำคัญเพียงเป็นประเพณีในเทศกาลเท่านั้น คุณค่าแท้อยู่ที่การแสดงออกซึ่งน้ำใจไมตรี กระชับมิตรภาพ ช่วยเสริมสร้างความสามัคคีในและระหว่างหมู่คณะได้เป็นอย่างดี ประเพณีนี้จึงมีความสำคัญทุกยุคสมัยในอดีต

    หวูจื่อมู่คนสมัยราชวงศ์ซ่งใต้บันทึกเรื่องการคารวะอวยพรปีใหม่ไว้ว่า "วันแรกของเดือนอ้ายเรียกว่าปฐมวาร (หยวนตั้น ) พวกขุนนางต่างคารวะอวยพรกัน ราษฎรทั้งหญิงชายสวมอาภรณ์ใหม่ ไปมาหาสู่คารวะปฏิสันถารกัน" ในบันทึกของไช่เอ้อกล่าวถึงเรื่องนี้ว่า "หญิงชายเข้าคารวะผู้อาวุโสกว่าตามลำดับ ผู้ใหญ่จูงลูกหลานออกไปเยี่ยมญาติมิตร หรือไม่ก็ใช้คนไปแทนตัว เรียกว่าคารวะอวยพรปีใหม่"

    เนื่องจากขุนนางและคนที่มีญาติมิตรมากไม่สามารถไปอวยพรด้วยตัวเองได้อย่างทั่วถึง จึงเกิดมีบัตรอวยพรปีใหม่ขึ้น ระยะแรกใช้นามบัตรแทน ต่อมาจึงเกิดบัตรอวยพรโดยเฉพาะขึ้น วิธีการนี้จีนมีมาตั้งแต่สมัยราชวงศ์ซ่งเป็นอย่างช้า เพราะปรากฏเรื่องราวในบันทึกของโจวฮุยคนในยุคนั้นว่า "ในศักราชหยวนอิ้วแห่งซ่ง (พ.ศ. ๑๖๒๙-๓๗) การอวยพรปีใหม่ นิยมให้คนถือนามบัตรไปแทนอยู่เสมอ"

    การคารวะอวยพรปีใหม่ตามธรรมเนียมจีน ต้องกระทำแก่พ่อแม่และบุพการีในครอบครัวก่อน แล้วจึงออกไปอวยพรญาติมิตรและคนอื่น ปีใหม่เป็นโอกาสดีที่จะขยายแวดวงการคบหาสมาคมออกไป อยากทำความรู้จักหรือฝากเนื้อฝากตัวกับใคร ก็ถือโอกาสไปคารวะปีใหม่หรือส่งบัตรอวยพรไป



    ดื่มสุราถูซู

    ถูซูเป็นสุราประจำเทศกาลตรุษจีน มีธรรมเนียมการดื่มต่างกับสุราในเทศกาลอื่นอย่างสิ้นเชิง

    การเลี้ยงสุราอาหารเป็นกิจกรรมที่ขาดมิได้ในเทศกาลจีนทุกเทศกาล คนจีนในสังคมเกษตรสมัยก่อนมีนิสัยสมถะประหยัด มิได้เลี้ยงฉลองกันพร่ำเพรื่ออย่างคนสมัยนี้ จะมีก็แต่ในเทศกาล ฉะนั้นจึงเป็นเรื่องสำคัญ

    การเลี้ยงทุกครั้งสิ่งที่ขาดมิได้คือสุรา คนจีนพิถีพิถันและชำนาญเรื่องสุรามาก บางเทศกาลมีสุราประจำโดยเฉพาะ ในเทศกาลตรุษจีนเเต่เดิมมีสุราที่ได้รับความนิยมหลายชนิด เช่น สุราดอกท้อ สุราดอกเหมย สุราหญ้ามรกต เเละสุราถูซู หลังจากผ่านการพิสูจน์ของยุคสมัยมาช้านาน ในที่สุดสุราถูซูก็ได้เป็นเจ้ายุทธจักรของสุราตรุษจีน สุราอื่นบางชนิดเสื่อมสูญไป คงเหลือไว้เเต่ชื่อ

    ถูซูเป็นสุราสมุนไพร เข้าลักษณะยาดองสมุนไพรไทย สมุนไพรที่ใช้หมักผสมมีโกฐน้ำเต้า หญ้าอูโถว (Aconitum Cormichaeli) ต้นไป๋ซู่ (Atractylodes macracephala) เจี๋ยเกิ่ง (Platycodon granditlorum) เเละเภสัชวัตถุอื่นๆ อีกหลายชนิด เจ้าของตำรับมีกล่าวต่างกันเป็น ๒ นัย นัยหนึ่งว่าเป็นของหมอฮัวโต๋ (หัวถัว) สมัยสามก๊ก อีกนัยหนึ่งว่าเป็นของซุนซือเหมี่ยวเเพทย์ผู้มีชื่อเสียงสมัยราชวงศ์ถัง

    การดื่มสุราถูซูมีเคล็ดว่าต้องดื่มตามลำดับจากผู้มีวัยเยาว์ไปหาผู้อาวุโส ที่ให้เด็กดื่มก่อนเพราะถือว่าดื่มเเล้วเจริญวัย ส่วนผู้ใหญ่ดื่มเเล้วสูญวัยจึงให้ดื่มทีหลัง คตินิยมนี้เกิดในสมัยราชวงศ์ฮั่นยุคหลัง (พ.ศ. ๑๓๙๐-๙๓) เป็นอย่างช้า เพราะปรากฏในบันทึกของคนในยุคนั้นว่า "ดื่มสุราปีใหม่ให้ผู้เยาว์ดื่มก่อน เพื่อได้เจริญวัย" ธรรมเนียมนี้สะท้อนความคิดก้าวหน้า เห็นคุณค่าของเยาวชน และเตือนให้ทุกคนรำลึกถึงวันเวลาที่ผ่านไป ดรุณวัยที่ไม่มีวันหวนกลับ ดังที่กู่ด่วงกวีสมัยราชวงศ์ถังรำพึงรำพันไว้ว่า

    ลืมชราชั่วพลันวสันต์ถึง โศกรำพึงจับมือมิตรอยู่พร้อมหน้า

    หวนเรือน้อยละห้อยอายทัปนา ส่งสุราถูซูให้ผู้เยาว์

    อายทัปนาในที่นี้หมายถึง ละอายใจที่ความชราของตนปรากฏแก่คันฉ่องหรือกระจกส่องหน้านั่นเอง

    ดังนั้นจุดมุ่งหมายที่เเท้จริงอันทรงคุณค่ายิ่งของการดื่มถูซูอยู่ที่เตือนให้คิดถึงคุณค่าของดรุณวัยเเละวันเวลา



    การละเล่นรื่นเริงในเทศกาล

    ตรุษจีนเป็นเทศกาลใหญ่คึกคักที่สุด จึงมีธรรมเนียมมหรสพเฉลิมฉลองและการละเล่นรื่นเริงมากมาย เช่น เชิดสิงโต เชิดมังกร ในอดีตมีมหรสพเร่นานาชนิดออกแสดงตามถิ่นต่างๆ ในเทศกาลนี้ เช่น งิ้ว หุ่น หนัง (คล้ายหนังใหญ่ หนังตะลุงไม่ใช่ภาพยนตร์) กายกรรม นักเล่านิทานและการละเล่นอื่นๆ สมัยก่อนคนไม่มีโอกาสชมมหรสพบ่อยๆ หรือเลือกชมได้ดังปัจจุบัน ในเทศกาลสำคัญจึงนิยมพาลูกหลานออกไปเที่ยวชมศิลปินเร่เหล่านี้ บางหมู่บ้านอาจจ้างงิ้วมาเฉลิมฉลองเป็นพิเศษ การเที่ยวชมการละเล่นจึงเป็นกิจกรรมบันเทิงสำคัญประการหนึ่ง

    การพักผ่อนหย่อนใจที่ได้รับความนิยมมากชนิดหนึ่งคือ การเล่นไพ่กันเองในครอบครัว เป็นการเล่นเพื่อฝึกสมองและคลายอารมณ์ มิได้มุ่งการพนัน ถึงเทศกาลตุรษจีนผู้ใหญ่จะอนุญาตให้ลูกหลานเล่นไพ่กันได้ แต่ต่อมาในปัจจุบันรัฐบาลจีนมีนโยบายไม่สนับสนุนนันทนาการชนิดนี้เพราะเป็นการเปิดช่องแก่การพนัน

    อนึ่งในการออกอวยพรปีใหม่นั้น หนุ่มสาวส่วนมากเที่ยวชมทิวทัศน์อันงามของวสันตฤดูไปด้วย เรียกว่า "ท่องวสันต์" นับเป็นนันทนาการสำคัญอย่างหนึ่งในเทศกาลตรุษจีน



    ข้อห้ามในเทศกาล

    การถือเคล็ดโชคลางเป็นธรรมชาติอย่างหนึ่งของมนุษย์ วันสิ้นปีเก่าและขึ้นปีใหม่เป็นวันสำคัญที่สุดในรอบปี มีข้อห้ามอันเนื่องด้วยการถือเคล็ดโชคลางหลายประการ ข้อห้ามเหล่านี้ถือเข้มงวดมากในวัน ๑ ค่ำ เดือนอ้าย อันเป็นปฐมวาร ทั้งนี้เพื่อเป็นการเริ่มต้นที่ดีในปีใหม่

    ข้อห้ามสำคัญเบื้องต้นได้เเก่ ห้ามพูดหยาบคายไม่เป็นสิริมงคล ห้ามทะเลาะเบาะเเว้งกัน เด็กห้ามร้องไห้โยเย ห้ามทำข้าวของตกเเตก เรื่องเหล่านี้เเม้ยามปกติก็ไม่ควรทำอยู่แล้ว จึงสมควรอย่างยิ่งที่จะระมัดระวังเป็นพิเศษในปีใหม่ การทำของแตกนั้น ถ้าพลาดพลั้งไปจริงๆ ให้พูดเเก้เคล็ดว่า "ซุ่ยๆ ผิงอัน ( )" เป็นคำพ้องเสียง อักษรซุ่ย ( ) แปลว่าแตก อักษรซุ่ยอีกตัวหนึ่ง ( ) ซึ่งอ่านเสียงเดียวกัน แปลว่า ปี รวมข้อความทั้งหมดจึงมีความหมาย ๒ นัย คือ "เเตกเพื่อสุขสันต์ ( )" และ "สุขสันต์ทุกๆ ปี ( )" เเต่มุ่งเอาความหมายหลังเป็นการเเก้เคล็ดที่ทำของแตก

    ข้อห้ามประการต่อไปคือห้ามกวาดบ้าน เพราะสิ่งสกปรกต้องถูกปัดกวาดหมดไปตั้งเเต่ก่อนวันสิ้นปี วันปีใหม่มีแต่ความสะอาด หากกวาดบ้านวันนี้ถือว่าเป็นการกวาดทรัพย์สินทิ้ง วันที่ ๑-๔ ห้ามใช้มีด เข็ม เเละกรรไกร ความหมายที่แท้จริงแฝงอยู่คือห้ามจับอาวุธเพื่อทำร้ายกัน (มีด) ห้ามมองด้วยความขุ่นแค้น (เข็ม) และห้ามมีปากมีเสียงกัน (กรรไกร) วันปีใหม่ห้ามกินยา ห้ามหาหมอ หม้อยาถูกล้างคว่ำตั้งแต่วันสิ้นปีเก่า ความหมายที่แท้จริงอยู่ที่ ควรบำรุงรักษาร่างกายให้เเข็งเเรง อย่าให้ต้องหาหมอเสียตั้งแต่วันแรกของปี เท่ากับเป็นการเริ่มต้นที่ไม่ดี

    นอกจากนี้ยังห้ามกินข้าวต้มในวันขึ้นปีใหม่ เพราะจะทำให้เจอฝนเมื่อตอนไปเที่ยวฉลองปีใหม่ ปกติคนจีนที่ยากจนจะต้องกินข้าวต้มอยู่เสมอ เพราะการกินข้าวสวยทำให้สิ้นเปลืองมาก ตรุษจีนเป็นเทศกาลสำคัญจึงควรกินข้าวสวยเพื่อแสดงความอุดมสมบูรณ์ นานเข้าความหมายที่แท้จริงเลือนหาย กลายเป็นการคือเคล็ดโชคลาง

    ข้อห้ามอีกประการหนึ่งคือ ห้ามหญิงที่แต่งงานเเล้วกลับบ้านไปบ้านพ่อแม่ในวันปีใหม่ ถ้ากลับไปในวันนี้จะทำให้พ่อแม่ยากจน ปกติผู้หญิงจีนแต่งงานแล้วต้องไปอยู่บ้านสามี เป็นคนของสกุลสามี การกลับไปเยี่ยมบ้านนานๆ จะมีสักครั้ง วันปีใหม่เป็นวันสำคัญที่คนในครอบครัวต้องอยู่พร้อมหน้ากัน ภรรยาจึงไม่ควรจากสามีและสกุลของสามีไป จะต้องอยู่ทำหน้าที่ของตน จึงเกิดเป็นข้อห้ามขึ้น และมีความเชื่อโชคลางตามมาภายหลัง การกลับไปเยี่ยมพ่อแม่ทำได้ตั้งแต่ ๒ ค่ำ เป็นต้นไป ประเพณีนี้สะท้อนภาพสังคมที่ถือฝ่ายชายเป็นใหญ่อย่างชัดเจน

    ข้อห้ามเหล่านี้ถ้าดูผิวเผินจะเห็นเป็นความเชื่อโชคลางไร้เหตุผล แต่ถ้าพิจารณาให้ลึกซึ้งถึงเจตนาที่แท้จริงตลอดจนสภาพสังคมในอดีตอันเป็นเงื่อนไขให้เกิดข้อห้ามเหล่านี้แล้ว จะเห็นว่าข้อห้ามเหล่านี้มีคุณค่าอยู่ไม่น้อย แต่บางเรื่องก็ควรปรับปรุงวิธีปฏิบัติให้เหมาะสมแก่ยุคสมัย โดยรักษาจุดมุ่งหมายอันเป็นคุณค่าแท้ของข้อห้ามเหล่านี้ไว้ ฉะนั้นผู้มีปัญญาไม่ควรรับหรือปฎิเสธประเพณีโดยมิได้ใคร่ครวญให้เข้าใจเหตุผลที่แท้จริงซึ่งแฝงอยู่เสียก่อน



    ๒-๕ ค่ำ เดือนอ้าย : ท้ายเทศกาลตรุษจีน

    จาก ๒-๕ ค่ำ ยังมีกิจกรรมอันเนื่องด้วยเทศกาลตรุษจีนอยู่ทุกวันดังนี้

    วันที่ ๒ ไหว้เทพแห่งทรัพย์สิน หญิงมีสามีจะกลับไปเยี่ยมบ้าน คนทั่วไปมักพักผ่อนเล่นไพ่อยู่กับบ้าน การเล่นไพ่ในเทศกาลตรุษจีนเป็นนันทนาการที่ได้รับความนิยมมาช้านาน ในหนังสือสมัยราชวงศ์ซ่งก็มีเรื่องนี้บันทึกอยู่ ส่วนหญิงที่กลับไปเยี่ยมบ้านนั้น ตามปกติพ่อแม่จะส่งคนมารับและเชิญลูกเขยไปพร้อมกับลูกสาวตนด้วย บางเเห่งจึงเรียกวันนี้ว่า วันเชิญเขย เเต่ก็อาจเป็นวันอื่นหลังจากวันนี้ก็ได้ การไหว้เทพแห่งโภคทรัพย์หรือเทพแห่งความมั่งคั่งนั้น จีนภาคเหนือไหว้วันนี้ เเต่จีนภาคใต้นิยมไหว้ในวันที่ ๕ ของไหว้ใช้เหมือนกัน คือ ไก่ตัวผู้ หัวหมู ปลาไนเป็นๆ เเละหุนถุน (เกี๊ยวชนิดหนึ่ง) ซึ่งมีรูปร่างเหมือนเหรียญกษาปณ์ เป็นสัญลักษณ์แห่งความร่ำรวย

    วันที่ ๓ เรียกว่า เช้าปีน้อย หรือ วันหมาแดง หมาแดงเป็นเทพแห่งเพลิงโทสะ ถือเป็นอัปมงคลสำหรับวันนี้ ต้องพยายามเลี่ยงไม่ให้พบเห็น ฉะนั้นวันนี้คนจึงไม่ออกจากบ้าน จะเซ่นไหว้เทพเจ้าและบรรพบุรุษอยู่กับบ้าน ชาวมณฑลอานซุยเรียกการเซ่นไหว้วันนี้ว่า ส่งปี นอกจากนี้ยังถือกันว่าวันนี้เป็นวัน หนูเเต่งงาน ต้องเข้านอนเเต่หัวค่ำ และเอาข้าวสาร เกลือ เศษขนมหว่านในบ้าน เพื่อเป็นนิมิตหมายแห่งความอุดมสมบูรณ์ เหตุผลที่แท้จริงของการเข้านอนแต่หัวค่ำในวันนี้ก็คือ พักผ่อนให้เต็มที่หลังจากที่เหน็ดเหนื่อยมาหลายวัน

    วันที่ ๔ เป็นวันรับเทพเจ้า บรรดาเทพที่ขึ้นไปรายงานผลงานตั้งเเต่วันที่ ๒๔ เดือน ๑๒ จะกลับลงมาประจำหน้าที่ของตนในวันนี้ (บางตำราว่าเจ้าเตาไฟกลับลงมาก่อนตั้งเเต่วันสิ้นปี) จึงต้องจัดพิธีเซ่นสรวงต้อนรับ การไหว้นอกจากมีสุราอาหารเเละเผากระดาษเงินกระดาษทองเเล้วยังต้องเผาภาพพิมพ์ม้าและทหารรับใช้อีกด้วย เพื่อให้เป็นพาหนะเเละบริวารไปรับเทพทั้งหลายลงมา สมัยโบราณเผาม้าจริงๆ ไปให้ ต่อมามนุษย์ฉลาดขึ้นจึงเผารูปกระดาษไปเเทน ส่วนมากเป็นภาพพิมพ์จากแม่พิมพ์ไม้ บางเเห่งวาดเป็นรูปเทวดาขี่ม้าเลยก็มี การเซ่นไหว้รับเทพเจ้านี้ ชาวไต้หวันนิยมทำตอนบ่าย ส่วนชาวเเต้จิ๋วไปทำในวันที่ ๕ เครื่องเซ่นเเละพิธีค่อนข้างรวบรัดเรียบง่าย

    วันที่ ๕ ถือได้ว่าเป็นวันสิ้นสุดเทศกาลตรุษจีน วันนี้จะเก็บอุปกรณ์เซ่นไหว้ที่ใช้มาตั้งเเต่วันสิ้นปี ไม่ต้องรับเเขกด้วยของหวานอีกต่อไป หลังจากวันนี้วิถีชีวิตก็จะกลับสู่สภาพปกติ ผู้คนออกทำงาน ร้านค้าเปิดค้าขาย บางเเห่งที่ถือโชคลางก็จะหาวันฤกษ์ดีตั้งเเต่วันที่ ๖-๒๐ วันใดวันหนึ่งเป็นวันเปิดร้าน ม่านแห่งเทศกาลตรุษจีนก็ปิดลงตั้งแต่วันนี้ แต่กลิ่นอายยังคงอบอวลไปจนต่อเนื่องกับเทศกาลหยวนเซียว



    ตรุษจีนในเมืองไทย

    ตรุษจีนในเมืองไทยเป็นไปตามคตินิยมของชาวจีนแต้จิ๋วซึ่งเป็นชาวจีนกลุ่มใหญ่ที่สุด แต่ก็รวบรัดลงกว่าที่ทำกันในเมืองจีนมาก ช่วงเทศกาลมี ๓ วัน คือ วันจ่าย วันไหว้ และวันถือหรือวันเที่ยว วันจ่ายคือวัน ๒๙ ค่ำ เดือน ๑๒ เป็นวันเตรียมของไหว้ วันไหว้คือวันสิ้นปี

    การไหว้มี ๒-๓ เวลา คือ หลังเที่ยงคืนถึงเช้าไหว้เจ้า ภาษาเเต้จิ๋วว่า ไป๊เล่าเอี๊ย กลางวัน (ก่อนเที่ยง) ไหว้บรรพบุรุษ ภาษาเเต้จิ๋วว่า ไป๊เป่บ้อ ตอนบ่ายไหว้ผีไม่มีญาติหรือผีสาเร่ ภาษาเเต้จิ๋วว่า ไป๊ฮอเฮียตี๋ แปลว่า ไหว้ญาติมิตรที่ดี เป็นคำเรียกผีไม่มีญาติอย่างยกย่อง ปกติในเทศกาลตรุษจีนไม่ไหว้ผีพวกนี้ มีแต่ไหว้เจ้ากับไหว้บรรพบุรุษเท่านั้น

    การไหว้ผีสาเร่เป็นเรื่องของเทศกาลสารทจีน แต่คนจีนในไทยนิยมไหว้ในเทศกาลตรุษจีนด้วย เพราะห่วงใยว่าผีผู้ร่วมเผ่าพันธุ์ของตนที่มาตายอย่างไร้ญาติขาดมิตรจะอดอยาก จึงเซ่นไหว้ให้เป็นพิเศษ

    นอกจากนี้ยังมีนิทานเล่าถึงสาเหตุของการไหว้ผีไม่มีญาติว่า มีเรือสมุทรบรรทุกคนจีน ๑๐๘ คน มุ่งมาเมืองไทย แต่มาอับปางลงกลางทะเล คนตายหมดทั้งหมด ๑๐๘ คน กลายเป็นผีไม่มีญาติร่อนเร่ไร้ผู้เซ่นไหว้ ชาวจีนในเมืองไทยสงสารจึงจัดพิธีไหว้ผีพวกนี้ในตอนบ่าย จนเป็นประเพณีสืบต่อมา ส่วนในเมืองจีนตั้งเเต่อดีตจนถึงปัจจุบัน ไม่มีพิธีไหว้นี้ในเทศกาลตรุษ มีแต่ในเทศกาลสารทจงหยวนกลางเดือน ๗ ที่คนไทยเรียกว่าสารทจีน

    ส่วนวันสุดท้ายของเทศกาลเรียกว่าวันชิวอิ้ด แปลว่าวันที่ ๑ (เดือนอ้าย) เป็นวันถือเคล็ดโชคลาง ไม่พูดหยาบคาย ทะเลาะเบาะเเว้ง ไม่ทำของแตก เรื่องไม่กวาดบ้านและไม่ใช้ของมีคม ไม่ถือเข้มงวดนัก ในวันนี้คนนิยมไปเที่ยวฉลองตรุษจีนกัน จึงมีชื่อเรียกอีกอย่างว่าวันเที่ยว

    เทศกาลตรุษจีนในเมืองไทยร้านค้าชาวจีนส่วนมากหยุด ๒-๕ วัน ตั้งแต่วันไหว้ วันชิวอิ้ด และต่อไปอีก ๑-๓ วัน บางเเห่งอาจหยุดวันจ่ายด้วย

    กิจกรรมในเทศกาลนอกจากไหว้เเล้วก็มีเงินเเตะเอีย จุดประทัดและเปลี่ยนกลอนคู่ การเชิดสิงโตมีประปรายเฉพาะบางแห่ง เเละมักเป็นการเชิดเพื่อหาเงินของคณะสิงโตเท่านี้

    จะอย่างไรก็ตามตรุษจีนก็เป็นเทศกาลที่แพร่หลายมาก แม้คนไทยที่ไม่มีเชื้อสายจีนบางคนก็พลอยทำตามไปด้วย เพื่อ "มิให้ลูกหลานดูตาเขากิน" เป็นสำคัญ ของไหว้ในเทศกาลก็แปรเปลี่ยนไป เหนียนเกาก็ออกมาในรูปขนมเข่ง และนิยมใช้ขนมเทียนไหว้ด้วย ขนมชนิดนี้เข้าใจว่าคนไทยจะคิดขึ้นเอง ดังปรากฏชื่ออยู่ในกาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวาน พระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย

    แม้ในราชสำนักก็มีการพระราชกุศลเลี้ยงพระตรุษจีนขึ้นเป็นครั้งแรกในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว นับเป็นส่วนหนึ่งของพระราชพิธีสิบสองเดือน ดังที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวมีพระบรมราชาธิบายว่า

    สาเหตุของการพระราชกุศลดังกล่าวเกิดจากการที่ชาวจีนนำหมู เป็ด ไก่ และขนมต่างๆ มาถวาย รัชกาลที่ ๓ ในเทศกาลตรุษจีนเป็นจำนวนมาก จึงมีรับสั่งให้นิมนต์พระสงฆ์มาฉัน ณ พระที่นั่งราชกิจวินิจฉัย ๓ วัน วันละ ๓๐ รูป โดยไม่มีการสวดมนต์ นอกจากนั้นยังโปรดให้พระบรมวงศานุวงศ์จัดขนมจีนมาถวายผลัดเปลี่ยนเวรกันทั้ง ๓ วัน หลังจากพระฉันแล้วเลี้ยงข้าราชการ และทรงจ่ายเงินซื้อปลาปล่อยวันละ ๑๐ ตำลึง

    ขนมจีนนั้นหาได้เป็นของจีนไม่ เสฐียรโกเศศสันนิษฐานจากชื่อว่าน่าจะเป็นขอม มอญ ขนมในภาษามอญแปลว่า แป้งเส้นหรือเส้นหมี่ จีนแปลว่าต้มสุก ขนมจีนคือแป้งเส้นต้มสุก ดูกระบวนการทำและรสชาติแล้วมีเค้ามอญมากกว่าจีน เส้นหมี่ของจีนใช้แป้งสดโรยเส้น แต่ขนมจีนต้องหมักข้าวถึง ๓ วัน แล้วจึงนวดให้เละโดยไม่ต้องโม่ จากนั้นมีกระบวนการอีกหลายขั้นจึงจะได้เส้นขนมจีน ขนมจีนแป้งโม่เกิดขึ้นทีหลัง ไม่ใช่ขนานแท้และดั้งเดิม ขนมจีนจึงไม่เกี่ยวข้องอะไรกับคนจีนเลย

    ด้วยเหตุนี้พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวจึงทรงยกเลิกขนมจีน โปรดให้ทำเกาเหลาเลี้ยงพระแทน และทรงปรับปรุงการพระราชพิธีไปบ้าง เช่น ทรงสร้างศาลาหลังเก๋งขึ้นหน้าพระที่นั่งราชกิจวินิจฉัย พร้อมกับมีเทวรูปตั้งบูชามีเครื่องเซ่นสังเวยตลอดเวลา ๓ วัน ต่อมาในสมัยรัชกาลที่ ๕ กลับโปรดให้เลี้ยงขนมจีนตามแบบเก่า นอกจากนี้พระยาโชฎึกราชเศรษฐียังได้จัดโต๊ะจีนมาเลี้ยงถวายเจ้านายอีกด้วย ปัจจุบันการพระราชกุศลนี้ยกเลิกไปแล้ว แต่ราชสกุลบางสกุลยังทำพิธีไหว้ตรุษจีนอยู่

    จึงนับได้ว่าประเพณีตรุษจีนมีส่วนช่วยผสานสายเลือดและวัฒนธรรมไทยจีนให้ผสมกลมกลืนไปด้วยกันเป็นอย่างดี



    บรรณานุกรม

    ไก้กั๋วเหลียง. เจี๋ยชี่ว์ (รสชาติแห่งเทศกาล). ประชาชนกุ้ยโจว, ๑๙๙๖.

    เฉินจั่วคุน. "เฉาซ่านชุนเจี๋ยเฟิงสูชี่ว์ถัน (สนทนาเรื่องประเพณีเทศกาลตรุษจีนของชาวแต้จิ๋ว)," ใน เฉาซ่านเหวินฮั่วไป่ฉีส่วน (๑๐๐ เรื่องคัดสรรเกี่ยวกับวัฒนธรรมแต้จิ๋ว). หนังสือพิมพ์เขตพิเศษซัวเถา, ๑๙๙๗, น. ๔๕๓-๔๕๔.

    เฉินญุ่ยหลงและเวยอิงหม่าน. ไถวันหมินเจียนเหนียนเจี๋ยสีสู (ประเพณีเทศกาลชาวบ้านจีนไต้หวัน). สื้อเฟิงแห่งไต้หวัน, ๒๐๐๐.

    เซียวฟ่าง. ซุ่ยสือ (เทศกาล). จงหัว, ๒๐๐๒.

    เล่อฉีหลิน. ไป่ซิ่งกั้วเหนียนเหล่าเฟิงฉิง (ประเพณีเก่าในเทศกาลตรุษจีนของชาวบ้านจีน). ชี่เซียง, ๒๐๐๔.

    หลัวฉี่หญงและหยางเหวินซวน. จงกัวฉวนก่งเจี๋ยญื่อ (เทศกาลตามปรัมปราคติจีน). เคอเสว์ผู่จี๋, ๑๙๘๖.

    หลี่อิงหญู. ชุนเจี๋ยเหวินฮั่ว (วัฒนธรรมเทศกาลตรุษจีน). ซานซีกู่จี, ๒๐๐๓.

    หวงจิ่งชุน. จงกั๋วซินเหนียนหลี่ซู่ (ประเพณีเทศกาลตรุษจีน). ซ่างไห่ฉือซู, ๒๐๐๑.

    ไห่ซ่าง. จงกั๋วเหญินเตอซุ่ยสือเหวินฮั่ว (วัฒนธรรมในเทศกาลของคนจีน). เย่ว์ลู่ซูเส้อ, ๒๐๐๕.

    อินเติงกั๋ว. ซุ่ยสือเจียเจี๋ยจี้ชี่ว์ (เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับเทศกาลจีน). ซื่อเจี้ยเหวินฮั่วแห่งไต้หวัน.


    หน้า 76
    [/FONT]
     
  18. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    ให้ระวังพระปลอมนะครับ

    ปัจจุบันมีพระวังหน้าหรือพระสมเด็จวังหน้า เป็นเณร(เก๊)เยอะมากนะครับ ต้องตรวจทั้งรูป(เนื้อหาทรงพิมพ์) และนาม(พลังอิทธิคุณ)ขององค์พระ (คำว่าพลังอิทธิคุณเป็นความเห็นของท่านอาจารย์ประถม อาจสาครและคณะลูกศิษย์ของท่าน ส่วนพระพุทธคุณหรือพุทธคุณนั้น ไม่มีอยุ่ในองค์พระเครื่องหรือไม่มีอยู่ในองค์พระพิมพ์แม้แต่นิดเดียว )

    ผมจะอธิบายคร่าวๆไปก่อนว่า คำว่าพุทธคุณ แปลว่าคุณของพระพุทธเจ้า คุณของพระพุทธเจ้าคืออะไร ต้องไปอ่านในพระไตรปิฎกว่าคุณของพระพุทธเจ้ามีอะไรบ้าง ส่วนพลังของพระพิมพ์หรือพระเครื่องนั้นเป็นผลพลอยได้ของการปฎิบัติตามคุณของพระพุทธเจ้าที่พระองค์ท่านได้ทรงสั่งสอนมา

    โมทนาสาธุครับ
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 1 เมษายน 2007
  19. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    ที่มา http://th.wikipedia.org/wiki/บายศรี
    จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรีสารานุกรมประเทศไทย



    Jump to: navigation, ค้นหา
    <!-- start content -->
    จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี


    Jump to: navigation, ค้นหา
    <!-- start content --><CENTER>

    </CENTER>

    บายศรี หมายถึง เครื่องเชิญขวัญหรือรับขวัญ ทำด้วยใบตอง รูปคล้ายกระทง เป็นชั้น ๆ มีขนาดใหญ่เล็กสอบขึ้นไปตามลำดับ เป็น 3 ชั้น 5 ชั้น 7 ชั้น หรือ 9 ชั้น มีเสาปักตรงกลางเป็นแกน มีเครื่องสังเวยวางอยู่ในบายศรีและมีไข่ขวัญเสียอยู่บนยอดบายศรี มีหลายอย่าง เช่น บายศรีตอง บายศรีปากชาม บายศรีใหญ่ ( ภาษาเขมร บาย = ข้าว + ศรี = สิริ หมายความว่า ข้าวอันเป็นสิริหรือข้าวขวัญ )<SUP class=reference id=_ref-0>[1]</SUP>

    [แก้] ประวัติ

    บายศรีนั้นมีข้อสันนิษฐานว่าได้ประดิษฐ์ขึ้นมาจากคติความเชื่อของพราหมณ์ พิจารณาจากการนำใบตองมาประดิษฐ์บายศรี เนื่องด้วยใบตองนั้นเป็นของสะอาดบริสุทธิ์ไม่มีมลทินของอาหารเก่าให้แปดเปื้อน และอีกประการหนึ่งก็คือ รูปร่างลักษณะของบายศรีที่ได้จำลองเขาพระสุเมรุซึ่งเป็นที่สถิตของพระอิศวร ตลอดจนเครื่องสังเวยก็มีความเชื่อมาจากคติพราหมณ์เช่น ไข่ แตงกวา มะพร้าว รวมถึงพิธีการ เช่น การเวียนเทียน การเจิม และพิธีการต่าง ๆ เหล่านี้พราหมณ์เป็นผู้ประกอบพิธีทั้งสิ้น

    [แก้] ประเภทของบายศรี

    ในภาคเหนือจะเรียกบายศรีว่า " ใบสี " , " ใบสรี " หรือ " ใบสีนมแมว " และจะเรียกพานบายศรีว่า ขันใบสี เพราะชาวล้านนาจะเรียกพานว่า ขัน แล้วเรียกขันว่า สลุง บายศรีแยกเป็น 4 ประเภท คือ
    1. บายศรีหลวง
    2. บายศรีนมแมว
    3. บายศรีปากชาม
    4. บายศรีกล้วย
    ส่วนในภาคอีสานจะเรียกบายศรีว่า " พาบายศรี " " พาขวัญ " หรือบางท้องถิ่นเรียกว่า " ขันบายศรี " ในภาคอีสานจะแยกบายศรีออกเป็น 3 ประเภท คือ
    1. พาขวัญ
    2. พาบายศรี
    3. หมากเบ็ง
    ในส่วนภาคอีสานที่มีเชื้อสายของเขมรจะมีการเรียกบายศรีว่า " บายแสร็ย " ซึ่งแบ่งออกเป็น 3 ประเภท คือ
    1. บายแสร็ยเดิม ( บายศรีต้น )
    2. บายแสร็ยเถียะ ( บายศรีถาด )
    3. บายแสร็ตจาน ( บายศรีปากชาม )
    [แก้] อ้างอิง

    1. พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542
    <!-- Pre-expand include size: 1398 bytesPost-expand include size: 2098 bytesTemplate argument size: 634 bytesMaximum: 2048000 bytes--><!-- Saved in parser cache with key thwiki:pcache:idhash:56253-0!1!0!!th!2 and timestamp 20070331221733 -->ดึงข้อมูลจาก "http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%9A%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B8%A8%E0%B8%A3%E0%B8%B5".
    หมวดหมู่: วัฒนธรรมไทย
     
  20. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948

    <TABLE style="BORDER-RIGHT: #c0c0c0 1px; BORDER-TOP: #c0c0c0 1px; FONT-SIZE: 10pt; BORDER-LEFT: #c0c0c0 1px; BORDER-BOTTOM: #c0c0c0 1px; FONT-FAMILY: MS Sans Serif" width="100%"><TBODY><TR><TD style="BORDER-RIGHT: #c0c0c0 1px; BORDER-TOP: #c0c0c0 1px; BORDER-LEFT: #c0c0c0 1px; BORDER-BOTTOM: #c0c0c0 1px" align=left width="100%">
    [​IMG] [​IMG] [​IMG]



    ความหมายของ
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    แก้ไขครั้งล่าสุด: 1 เมษายน 2007

แชร์หน้านี้

Loading...