พื้นที่ปลอดภัยยามเกิดอภิมหันตภัย ในจังหวัดต่าง ๆ ของประเทศไทย

ในห้อง 'ภัยพิบัติและการเตรียมการ' ตั้งกระทู้โดย truethailove, 27 พฤศจิกายน 2011.

  1. truethailove

    truethailove rich kindness

    วันที่สมัครสมาชิก:
    7 มีนาคม 2010
    โพสต์:
    835
    ค่าพลัง:
    +806
    วัดพระธาตุดอยแต

    แต่เดิมชาวบ้านเรียกว่า ดอยแต ตั้งอยู่ในตำบลทาทุ่งแฝก
    อำเภอแม่ทา ต่อมาเปลี่ยนชื่อเป็นตำบลทาขุมเงิน และใน
    ปี ๒๕๒๘ ได้โอนวัดมาขึ้นต่อตำบลเหมืองจี้ วัดพระธาตุดอยแต
    ตั้งอยู่เลขที่ ๑๐๘ หมู่ที่ ๗ ระหว่างบ้านดอยแต–บ้านฝั่งหมิ่น
    ตำบลเหมืองจี้ อำเภอเมือง จังหวัดลำพูน บริเวณที่ตั้งวัดอยู่
    บนเนินเชิงเขา วัดพระธาตุเริ่มสร้างเมื่อปี พ.ศ. 2339


    ที่มา
    muangjee.go.th
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • watdoitae.jpg
      watdoitae.jpg
      ขนาดไฟล์:
      150.7 KB
      เปิดดู:
      24
  2. truethailove

    truethailove rich kindness

    วันที่สมัครสมาชิก:
    7 มีนาคม 2010
    โพสต์:
    835
    ค่าพลัง:
    +806
    "[FONT=&quot]วัดกู่ละมัก" หรือ "วัดรัมมณียาราม"
    ตำบลสันต้นธง อำเภอเมืองลำพูน

    [FONT=&quot]วัดกู่ละมักนี้เป็นวัดแรกที่พระนางจามเทวี ปฐมกษัตริย์
    ผู้ครอง[/FONT][FONT=&quot]เมืองหริภุญไชย[/FONT][FONT=&quot]หรือ เมืองลำพูนทรงเป็นผู้สร้าง
    ก่อนที่จะเสด็จเข้าเมือง[/FONT][FONT=&quot]หริภุญไชย[/FONT][FONT=&quot] เพื่อทำพิธราชาภิเษก
    เป็นกษัตรีย์ครองราชสมบัติในเมืองนี้[/FONT][FONT=&quot]พระนางทรง
    ประทับอยู่ในตำบลนี้เพื่อทรงเป็นประธานในการสร้าง
    วัดกู่ละมักจน[/FONT][FONT=&quot]แล้วเสร็จ และได้จัดงานพิธีเฉลิมฉลอง
    สมโภชอย่างยิ่งใหญ่[/FONT][FONT=&quot]ถือได้ว่าเป็นครั้งแรกของ
    การปลูกฝังรากแก้วของศาสนาพุทธลงไว้ในราชธานี
    แห่ง[/FONT][FONT=&quot]ใหม่ของพระองค์[/FONT][FONT=&quot] เมื่อทุกอย่างแล้วเสร็จ[/FONT][FONT=&quot]จึงเสด็จ
    เข้าเมืองพร้อมกับผู้ที่ติดตามโดยเสด็จต่อไป

    ที่มา แดนนิพพาน.คอม
    [/FONT]
    [/FONT]
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • watkulamak.jpg
      watkulamak.jpg
      ขนาดไฟล์:
      26 KB
      เปิดดู:
      295
    แก้ไขครั้งล่าสุดโดยผู้ดูแล: 22 มิถุนายน 2012
  3. truethailove

    truethailove rich kindness

    วันที่สมัครสมาชิก:
    7 มีนาคม 2010
    โพสต์:
    835
    ค่าพลัง:
    +806
    [FONT=&quot]ในการสร้างวัดกู่ละมักในครั้งนั้น[FONT=&quot]พระนางจามเทวี
    ทรงบรรจุพระบรมสารีริกธาตุไว้ในองค์เจดีย์และ
    ทรงโปรดให้หล่อ[/FONT][FONT=&quot]พระพุทธรูปทองคำองค์หนึ่งขนาดเท่า
    พระองค์ไว้[/FONT][FONT=&quot]พระพุทธรูปทองคำองค์นี้ ผู้คนในเมือง
    หริภุญไชยในเวลานั้นต่างพากันมากราบไหว้[/FONT][FONT=&quot]บูชากัน
    ด้วยความเคารพศรัทธา ยิ่ง[/FONT][FONT=&quot]ผู้ที่เจ็บไข้ได้ป่วยต่างพากัน
    มาบนบานศาลกล่าวให้หายจากโรคภัยไข้เจ็บต่างๆ
    [/FONT][FONT=&quot]ปรากฎว่าความเจ็บความไข้นั้นก็พลันหายไป เป็นที่
    น่าอัศจรรย์ยิ่ง[/FONT][FONT=&quot]พระพุทธรูปทองคำองค์นี้มีชื่อว่า
    [/FONT][FONT=&quot]พระยาสืบ[/FONT][FONT=&quot]ปัจจุบัน ไม่ปรากฎว่า[/FONT][FONT=&quot]พระพุทธรูปทองคำ
    องค์นี้อยู่ณที่แห่งใด [/FONT][FONT=&quot]บ้างก็ว่าถูกเก็บรักษาไว้ในองค์เจดีย์
    [/FONT][FONT=&quot]เพื่อป้องกันการถูกขโมย[/FONT][FONT=&quot] บ้างก็บอกว่าไม่รู้ว่าไปอยู่
    ในที่แห่งใด [/FONT][FONT=&quot]ซึ่งก็ยังเป็นปริศนาอยู่[/FONT][FONT=&quot]จนทุกวันนี้[/FONT]
    [/FONT]
     
  4. truethailove

    truethailove rich kindness

    วันที่สมัครสมาชิก:
    7 มีนาคม 2010
    โพสต์:
    835
    ค่าพลัง:
    +806
    วัดพระธาตุดอยน้อย
    บ้านทุ่งยาว ตำบลศรีบัวบาน อำเภอเมือง

    การเดินทางไปสำนักปฏิบัติธรรมวัดดอยน้อย เริ่มจากถนน
    ซุปเปอร์ไฮเวย์ลำพูน-เชียงใหม่ มาจากถนนเส้นทางจังหวัดลำปาง
    ให้เลี้ยวซ้ายที่ทางเข้า/ออกบ้านหนองหล่ม

    ที่มา แดนนิพพาน.คอม
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    แก้ไขครั้งล่าสุดโดยผู้ดูแล: 22 มิถุนายน 2012
  5. truethailove

    truethailove rich kindness

    วันที่สมัครสมาชิก:
    7 มีนาคม 2010
    โพสต์:
    835
    ค่าพลัง:
    +806
    วัดพระธาตุทรายทอง (พระบรมธาตุส่วนพระเศียร, ส่วนหน้าอก, ส่วนนิ้ว)
    บ.ทรายทอง ต.ป่าสัก อ.เมือง จ.ลำพูน

    วัดพระธาตุทรายทอง เดิมชื่อวัดดอยน้อย ตั้งอยู่เลขที่ ๑๑๙
    หมู่ ๑๖ ต.ป่าสัก อ.เมือง จ.ลำพูน ๕๑๐๐๐ ตั้งอยู่บน
    พื้นที่
    ๙๘ ไร่เศษ เมื่อก่อนมีสภาพเป็นป่าไม้ รกร้าง
    ใช้ปลูกต้นไม้
    สำหรับโครงการเฉลิมพระเกียรติ อันเป็น
    วัดของพระอาจารย์
    อมร ปุญญนันโท อดีตเจ้าอาวาส
    ท่านมาอยู่ ๔-๕ ปี ก็มรณภาพไป
    ปัจจุบันนี้ท่าน
    วิรัตน์ วชิรธัมโม เป็นเจ้าอาวาสแทน
    <!--[if gte mso 9]><xml> <w:WordDocument> <w:View>Normal</w:View> <w:Zoom>0</w:Zoom> <w:punctuationKerning/> <w:ValidateAgainstSchemas/> <w:SaveIfXMLInvalid>false</w:SaveIfXMLInvalid> <w:IgnoreMixedContent>false</w:IgnoreMixedContent> <w:AlwaysShowPlaceholderText>false</w:AlwaysShowPlaceholderText> <w:Compatibility> <w:BreakWrappedTables/> <w:SnapToGridInCell/> <w:ApplyBreakingRules/> <w:WrapTextWithPunct/> <w:UseAsianBreakRules/> <w:DontGrowAutofit/> </w:Compatibility> <w:BrowserLevel>MicrosoftInternetExplorer4</w:BrowserLevel> </w:WordDocument> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml> <w:LatentStyles DefLockedState="false" LatentStyleCount="156"> </w:LatentStyles> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 10]> <style> /* Style Definitions */ table.MsoNormalTable {mso-style-name:ตารางปกติ; mso-tstyle-rowband-size:0; mso-tstyle-colband-size:0; mso-style-noshow:yes; mso-style-parent:""; mso-padding-alt:0cm 5.4pt 0cm 5.4pt; mso-para-margin:0cm; mso-para-margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:10.0pt; font-family:"Times New Roman"; mso-ansi-language:#0400; mso-fareast-language:#0400; mso-bidi-language:#0400;} </style> <![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml> <w:WordDocument> <w:View>Normal</w:View> <w:Zoom>0</w:Zoom> <w:punctuationKerning/> <w:ValidateAgainstSchemas/> <w:SaveIfXMLInvalid>false</w:SaveIfXMLInvalid> <w:IgnoreMixedContent>false</w:IgnoreMixedContent> <w:AlwaysShowPlaceholderText>false</w:AlwaysShowPlaceholderText> <w:Compatibility> <w:BreakWrappedTables/> <w:SnapToGridInCell/> <w:ApplyBreakingRules/> <w:WrapTextWithPunct/> <w:UseAsianBreakRules/> <w:DontGrowAutofit/> </w:Compatibility> <w:BrowserLevel>MicrosoftInternetExplorer4</w:BrowserLevel> </w:WordDocument> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml> <w:LatentStyles DefLockedState="false" LatentStyleCount="156"> </w:LatentStyles> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 10]> <style> /* Style Definitions */ table.MsoNormalTable {mso-style-name:ตารางปกติ; mso-tstyle-rowband-size:0; mso-tstyle-colband-size:0; mso-style-noshow:yes; mso-style-parent:""; mso-padding-alt:0cm 5.4pt 0cm 5.4pt; mso-para-margin:0cm; mso-para-margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:10.0pt; font-family:"Times New Roman"; mso-ansi-language:#0400; mso-fareast-language:#0400; mso-bidi-language:#0400;} </style> <![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml> <w:WordDocument> <w:View>Normal</w:View> <w:Zoom>0</w:Zoom> <w:punctuationKerning/> <w:ValidateAgainstSchemas/> <w:SaveIfXMLInvalid>false</w:SaveIfXMLInvalid> <w:IgnoreMixedContent>false</w:IgnoreMixedContent> <w:AlwaysShowPlaceholderText>false</w:AlwaysShowPlaceholderText> <w:Compatibility> <w:BreakWrappedTables/> <w:SnapToGridInCell/> <w:ApplyBreakingRules/> <w:WrapTextWithPunct/> <w:UseAsianBreakRules/> <w:DontGrowAutofit/> </w:Compatibility> <w:BrowserLevel>MicrosoftInternetExplorer4</w:BrowserLevel> </w:WordDocument> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml> <w:LatentStyles DefLockedState="false" LatentStyleCount="156"> </w:LatentStyles> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 10]> <style> /* Style Definitions */ table.MsoNormalTable {mso-style-name:ตารางปกติ; mso-tstyle-rowband-size:0; mso-tstyle-colband-size:0; mso-style-noshow:yes; mso-style-parent:""; mso-padding-alt:0cm 5.4pt 0cm 5.4pt; mso-para-margin:0cm; mso-para-margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:10.0pt; font-family:"Times New Roman"; mso-ansi-language:#0400; mso-fareast-language:#0400; mso-bidi-language:#0400;} </style> <![endif]-->
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • watsaitong.jpg
      watsaitong.jpg
      ขนาดไฟล์:
      28.3 KB
      เปิดดู:
      290
  6. hiflyer

    hiflyer เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 พฤษภาคม 2012
    โพสต์:
    3,321
    ค่าพลัง:
    +15,681
    คุณ ไ ทำงานที่กรมอุทยานแห่งชาติเหรอครับ ข้อมูลเยอะไปหมด
     
  7. hiflyer

    hiflyer เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 พฤษภาคม 2012
    โพสต์:
    3,321
    ค่าพลัง:
    +15,681
    ไม่ได้หรอกครับ แต่ไปยุ่งกับเรื่อง Sunspots ที่กระทู้อื่นซะเพลินเลย

    ขออนุญาตเจ้าของกระทู้ ลงรูปแผนที่หน่อยนะครับ

    ผมใช้ Google Earth เพื่อดูลักษณะภูมิประเทศ และยังสามารถบอกระดับความสูงเหนือระดับน้ำทะเลของบริเวณที่ใชเม้าส์ชี้ได้ด้วยครับ
    จากตำแหน่งที่บอกมา และแผนที่ที่ได้ ใช่หรือปล่าวครับ
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

  8. hiflyer

    hiflyer เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 พฤษภาคม 2012
    โพสต์:
    3,321
    ค่าพลัง:
    +15,681
    ผมใช้เม้าส์ชี้ไปที่ตำแหน่งปักหมุด ความสูงของพื้นที่ที่ได้คือ 174 เมตร (วงกลม สีแดงข้างล่าง)
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

  9. hiflyer

    hiflyer เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 พฤษภาคม 2012
    โพสต์:
    3,321
    ค่าพลัง:
    +15,681
    บริเวณใกล้เคียงที่เป็นเนินเขา มี 4 จุด จุดที่ 1-3 ความสูงประมาณ 300 เมตร ส่วนจุดที่ 4 ผาน้ำย้อย ทางไปโพนทอง 400+ เมตร
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

  10. hiflyer

    hiflyer เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 พฤษภาคม 2012
    โพสต์:
    3,321
    ค่าพลัง:
    +15,681
    ความสูงขนาดนี้น่าจะพอนะครับ
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

  11. truethailove

    truethailove rich kindness

    วันที่สมัครสมาชิก:
    7 มีนาคม 2010
    โพสต์:
    835
    ค่าพลัง:
    +806
    ไม่ได้ทำค่ะ แต่เคยมีคนแอบเหน็บว่า เจ้า "ไ" นะแสนรู้ รู้มันไปหมดทุกเรื่อง
    พวกความรู้ท่วมหัว เอาตัวแทบไม่รอดจ้า
     
  12. truethailove

    truethailove rich kindness

    วันที่สมัครสมาชิก:
    7 มีนาคม 2010
    โพสต์:
    835
    ค่าพลัง:
    +806
    จะบอกเคล็ดลับของคนฉลาดให้มั้ยค่ะ ถ้าอยากเป็นคนฉลาด
    ก็ต้องแกล้งโง่เสียบ้าง ถ้าอวดรู้ อวดฉลาด อวดเก่ง
    คนเขาหมั่นไส้ มีอะไรเขาก็ไม่บอกเราหรอกค่ะ แต่ถ้าเราโง่ ๆ
    เซ่อ ๆ คนเขาก็สงสาร เอ็นดู มีอะไรเขาก็บอกเราหม๊ด
    แต่ตอนนี้คนในเวปเขารู้ทันไอยหมดแล้วละค่ะ แฮ่ ๆ แกล้งโง่ไม่ได้
    เหมือนเมื่อก่อนแล้ว เลยอดรู้อะไรดี ๆ เลย ตอนนี้ก็เลยมาถ่ายทอด
    ความรู้บ้าง เก็บไว้เยอะ ๆ เดี๋ยวจะ Error (เอ๋อเหรอ) ไปเสียก่อน
     
  13. truethailove

    truethailove rich kindness

    วันที่สมัครสมาชิก:
    7 มีนาคม 2010
    โพสต์:
    835
    ค่าพลัง:
    +806
    พระธาตุดอยติ
    ถนนพหลโยธิน-ลำปาง อำเภอเมือง

    วัดพระธาตุดอยติเมืองลำพูน ผู้ที่ขับรถในเส้นทางไฮเวย์
    ลำพูน-เชียงใหม่ จะรู้จักกันดีที่ตั้งอยู่บนเชิงดอยไม่สูงนัก
    ริมทางหลวง และถือเสมือนเป็นประตูเมืองของจังหวัดลำพูน
    ที่ผู้ขับรถสายนี้ต้องผ่านไป-มา เป็นประจำในช่วงต้นปีมานี้
    ท่านจะเห็นภาพอนุสาวรีย์พระรูปครูบาศรีวิชัยนั่งสมาธิ เด่นอยู่
    บนเนินยอดดอยวัดพระธาตุดอยติ อันนับได้ว่าเป็นพระรูป
    ครูบาศรีวิชัยที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทยที่เคยเห็นมา

    ที่มา
    <!--[if gte mso 9]><xml> <w:WordDocument> <w:View>Normal</w:View> <w:Zoom>0</w:Zoom> <w:punctuationKerning/> <w:ValidateAgainstSchemas/> <w:SaveIfXMLInvalid>false</w:SaveIfXMLInvalid> <w:IgnoreMixedContent>false</w:IgnoreMixedContent> <w:AlwaysShowPlaceholderText>false</w:AlwaysShowPlaceholderText> <w:Compatibility> <w:BreakWrappedTables/> <w:SnapToGridInCell/> <w:ApplyBreakingRules/> <w:WrapTextWithPunct/> <w:UseAsianBreakRules/> <w:DontGrowAutofit/> </w:Compatibility> <w:BrowserLevel>MicrosoftInternetExplorer4</w:BrowserLevel> </w:WordDocument> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml> <w:LatentStyles DefLockedState="false" LatentStyleCount="156"> </w:LatentStyles> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 10]> <style> /* Style Definitions */ table.MsoNormalTable {mso-style-name:ตารางปกติ; mso-tstyle-rowband-size:0; mso-tstyle-colband-size:0; mso-style-noshow:yes; mso-style-parent:""; mso-padding-alt:0cm 5.4pt 0cm 5.4pt; mso-para-margin:0cm; mso-para-margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:10.0pt; font-family:"Times New Roman"; mso-ansi-language:#0400; mso-fareast-language:#0400; mso-bidi-language:#0400;} </style> <![endif]-->http://www.oknation.net/blog/cm-arabica/2012/05/07/entry-1 <!--[if gte mso 9]><xml> <w:WordDocument> <w:View>Normal</w:View> <w:Zoom>0</w:Zoom> <w:punctuationKerning/> <w:ValidateAgainstSchemas/> <w:SaveIfXMLInvalid>false</w:SaveIfXMLInvalid> <w:IgnoreMixedContent>false</w:IgnoreMixedContent> <w:AlwaysShowPlaceholderText>false</w:AlwaysShowPlaceholderText> <w:Compatibility> <w:BreakWrappedTables/> <w:SnapToGridInCell/> <w:ApplyBreakingRules/> <w:WrapTextWithPunct/> <w:UseAsianBreakRules/> <w:DontGrowAutofit/> </w:Compatibility> <w:BrowserLevel>MicrosoftInternetExplorer4</w:BrowserLevel> </w:WordDocument> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml> <w:LatentStyles DefLockedState="false" LatentStyleCount="156"> </w:LatentStyles> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 10]> <style> /* Style Definitions */ table.MsoNormalTable {mso-style-name:ตารางปกติ; mso-tstyle-rowband-size:0; mso-tstyle-colband-size:0; mso-style-noshow:yes; mso-style-parent:""; mso-padding-alt:0cm 5.4pt 0cm 5.4pt; mso-para-margin:0cm; mso-para-margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:10.0pt; font-family:"Times New Roman"; mso-ansi-language:#0400; mso-fareast-language:#0400; mso-bidi-language:#0400;} </style> <![endif]-->
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

  14. truethailove

    truethailove rich kindness

    วันที่สมัครสมาชิก:
    7 มีนาคม 2010
    โพสต์:
    835
    ค่าพลัง:
    +806
    สำนักสงฆ์ผาลาด (ดอยขะม๊อ-บ่อน้ำทิพย์)
    รอยพระพุทธบาท, พระธาตุเจดีย์
    ต.มะเขือแจ้ อ.เมือง จ.ลำพูน

    ตำนานบ่อน้ำทิพย์บนยอดดอยขะม้อ กล่าวว่า...พระพุทธเจ้า
    เสด็จมาฉันภัตตาหารบนนี้ ไม่มีน้ำฉัน พระพุทธองค์จึงใช้
    นิ้วหัวแม่มือกดลงบนหินบนเขาเพียงเบาๆ บัดดลนั้นเอง
    บังเกิดอัศจรรย์ น้ำที่ใสสะอาดได้พุ่งออกมาให้พระองค์ฉัน
    และปรากฏเป็น “บ่อน้ำทิพย์” มาจนกระทั่งทุกวันนี้ เมื่อ
    งานประเพณีสรงน้ำพระบรมธาตุหริภุญชัยลำพูน จะต้องใช้
    น้ำบ่อทิพย์ดอยขะม้อไปสรงพระบรมธาตุหริภุญชัยลำพูนทุกครั้ง

    การเดินทางไปสำนักสงฆ์ผาลาด (ดอยขะม้อ–บ่อน้ำทิพย์)
    ห่างจากตัวเมืองไปทางทิศตะวันออกประมาณ ๑๖ กิโลเมตร
    เริ่มต้นจากสี่แยกนิคมอุตสาหกรรม จังหวัดลำพูน ใช้ทางหลวง
    หมายเลข ๑๑๔๗ ไปทางอำเภอบ้านธิ ประมาณ ๔ กิโลเมตร
    เจอสามแยกให้ตรงเข้าทางแยกขวา ผ่านบ้านแจ่ม บ้านสะแล่ง
    และบ้านใหม่ฝายหิน ไป ๑.๕ กิโลเมตร เจอสี่แยกให้ตรงไป
    ข้ามสะพานข้ามคลองชลประทานไปอีก ๑.๕ กิโลเมตร ก็จะถึงดอยขะม้อ

    ที่มา แดนนิพาน.คอม
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    แก้ไขครั้งล่าสุดโดยผู้ดูแล: 23 มิถุนายน 2012
  15. truethailove

    truethailove rich kindness

    วันที่สมัครสมาชิก:
    7 มีนาคม 2010
    โพสต์:
    835
    ค่าพลัง:
    +806
    ดอยขะม้อ เป็นชื่อภูเขาลูกหนึ่ง รูปทรงสัณฐานคล้าย
    ฝาชี
    คนสมัยก่อนมีเรื่องเล่าเกี่ยวกับดอยขะม้อว่ามี
    ภูเขาอยู่ลูกหนึ่งลักษณะสูงชันมาก รูปร่างเหมือน
    หม้อคว่ำ
    ชาวเมืองเรียกกันมาแต่โบราณว่า "ดอยคว่ำหม้อ"
    ต่อมาเพี้ยนมาเป็น "ดอยขะม้อ
    บ่อน้ำทิพย์" สาเหตุที่เรียก
    เช่นนั้น
    ก็เพราะว่าบนยอดดอยมีบ่อน้ำที่เกิดกลางแผ่นดิน
    บนยอดมีปล่องกว้าง ๖ เมตร
    สูงประมาณ ๕ เส้น
    ตอนบนพื้นที่ราบกว้างประมาณ ๑ ไร่
    ตอนล่างมีบ่อน้ำ
    เกิดขึ้นเอง และจะมีน้ำเต็มบ่อทุกฤดู


    ถือกันมาแต่โบราณว่าบ่อน้ำนี้เป็นบ่อน้ำศักดิ์สิทธิ์ที่
    บริเวณปากบ่อจะมีป้ายปักไว้ว่า "บริเวณบ่อน้ำทิพย์
    ห้ามผู้หญิงเข้า"
    เพราะเมื่อผู้หญิงเข้าไปแล้ว น้ำในบ่อ
    จะแห้งทันที
    เวลาถึงเทศกาลสรงน้ำพระบรมธาตุ
    หริภุญชัย จะต้องตักน้ำจากบ่อนี้ไปสรงน้ำ
    พระ
    บรมธาตุก่อนและเวลาพระมหากษัตริย์ไทยเสด็จขึ้น
    เสวยราชสมบัติจะนำเอาน้ำในบ่อนี้ส่งไป
    ร่วมเป็น
    น้ำพุทธาภิเษกทุกครั้ง ส่วนภูมิทัศน์บริเวณดอยขะม้อ
    เป็นภูเขาสูงๆ
    ต่ำๆ และป่าผลัดใบในเขตป่าสงวนแห่งชาติแม่ธิ
     
  16. นางไพจิตต์

    นางไพจิตต์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 ธันวาคม 2010
    โพสต์:
    320
    ค่าพลัง:
    +956
    ...............................................................................
    ขอบคุณมากมายค่ะเคยไปที่ผานำ้ย้อยหลายครั้งเหมือนกันตั้งแต่เริมสร้างพระเจดีย์ใหม่ตอนนี้ยังไม่เสร็จเลยอลังการมากและมีพระธาตุของพระอรหันต์อยู่พระเจดีย์บนสุดค่ะ.....คงจะพอพี่งพายามยาก
     
  17. truethailove

    truethailove rich kindness

    วันที่สมัครสมาชิก:
    7 มีนาคม 2010
    โพสต์:
    835
    ค่าพลัง:
    +806
    วัดพระพุทธบาทเจ้าหริภุญชัย (ห้วยทรายขาว) รอยพระพุทธบาท
    ตำบลศรีบัวบาน อำเภอเมือง

    <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0"><tbody><tr><td background="source/plugin/drc_tbg/image/td_05.gif">
    </td><td background="source/plugin/drc_tbg/image/td_06.gif" valign="top" width="40">
    </td></tr></tbody></table>การเดินทางไปวัดพระพุทธบาทเจ้าหริภุญชัย (ห้วยทรายขาว) สามารถไปได้ ๒ ทางคือ ทางแรก เข้าทางหมู่บ้านศรีบัวบาน
    หรือ ทางที่สอง เข้าทางค่ายลูกเสือ ขอแนะนำสำหรับผู้ที่จะ
    เดินทางโดยรถยนต์ แนะนำให้ใช้เส้นทางค่ายลูกเสือ จ.ลำพูน
    หรือโครงการศึกษาความเป็นไปได้ของการปลูกพืชน้ำมัน ฯลฯ
    ของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่และกระทรวงพลังงาน ซึ่งเป็นสายใหม่
    เพราะเส้นทางเข้าทางหมู่บ้านศรีบัวบาน (สายเก่า) จะสามารถใช้
    รถจักรยานยนต์ได้เพียงอย่างเดียว เพราะเส้นทางแคบและขรุขระมาก


    ประวัติและที่มา http://palungjit.org/threads/%E0%B9%80%E0%B8%81%E0%B8%B4%E0%B8%94%E0%B8%AD%E0%B8%B0%E0%B9%84%E0%B8%A3%E0%B8%82%E0%B8%B6%E0%B9%89%E0%B8%99%E0%B8%81%E0%B8%B1%E0%B8%9A-%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%94%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%9E%E0%B8%B8%E0%B8%97%E0%B8%98%E0%B8%9A%E0%B8%B2%E0%B8%97%E0%B8%AB%E0%B8%A3%E0%B8%B4%E0%B8%A0%E0%B8%B8%E0%B8%8D%E0%B8%8A%E0%B8%B1%E0%B8%A2%E0%B8%AB%E0%B9%89%E0%B8%A7%E0%B8%A2%E0%B8%97%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B8%82%E0%B8%B2%E0%B8%A7-%E0%B8%88-%E0%B8%A5%E0%B8%B3%E0%B8%9E%E0%B8%B9%E0%B8%99.200462/
    แดนนิพพาน.คอม
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    แก้ไขครั้งล่าสุดโดยผู้ดูแล: 23 มิถุนายน 2012
  18. truethailove

    truethailove rich kindness

    วันที่สมัครสมาชิก:
    7 มีนาคม 2010
    โพสต์:
    835
    ค่าพลัง:
    +806
    วัดดอยกาศ (รอยพระพุทธบาท)
    บ.ดอยกาศ ต.ศรีบัวบาน อ.เมือง จ.ลำพูน

    การเดินทางไปวัดดอยกาศ จากถนนซุปเปอร์ไฮเวย์ลำพูน-เชียงใหม่
    มาจากถนนเส้นทางจังหวัดลำปาง ให้เลี้ยวซ้ายที่ทางเข้า/ออก
    บ้านหนองหล่มหรือสำนักปฏิบัติธรรมวัดดอยน้อย
    พอเลี้ยวซ้าย
    เข้ามา ให้สังเกต ป้ายชี้ทางเข้าหมู่บ้านหนองหล่ม ฯลฯ
    จะอยู่ด้านซ้ายของถนน
    จากนั้นเราก็ขับรถตรงไปเรื่อยๆ
    ตามทาง
    ผ่านสำนักปฏิบัติธรรมดอยน้อยและไปทางหมู่บ้าน
    หนองยางฟ้า ก็ถึงวัดดอยกาศ


    ที่มา แดนนิพพาน.คอม
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

  19. truethailove

    truethailove rich kindness

    วันที่สมัครสมาชิก:
    7 มีนาคม 2010
    โพสต์:
    835
    ค่าพลัง:
    +806
    รอยพระพุทธบาทดอยไซ
    บ้านหนองไซ ตำบลป่าสัก อำเภอเมือง

    การเดินทางไปรอยพระพุทธบาทดอยไซ เดินทางจาก
    อำเภอเมือง
    ลำพูน ใช้ทางหลวงสายลำพูน-ดอยติ
    เส้นทางหมายเลข ๑๑๔
    แล้วแยกไปตามถนนอ้อมเมือง
    สายลำพูน-ป่าซาง ระยะทาง
    ประมาณ ๕ กิโลเมตร
    จึงเดินทางเข้าสู่ตำบล หมู่บ้าน ซึ่ง
    ถนนภายในหมู่บ้าน
    ของตำบลป่าสักเป็นถนนคอนกรีตและ
    ลูกรัง ให้ขับรถ
    ไปจนถึงวัดน้ำพุ บ้านน้ำพุซอย ๒ ตำบลป่าสัก

    ด้านหน้า วัดน้ำพุ จะมีป้ายชี้ทางสีน้ำเงิน บอกว่า
    ทางไป
    บ้านหนองไซ ๑ กิโลเมตร เราก็ขับรถเลี้ยวซ้าย
    เข้าไปเลย
    เมื่อเราขับรถมาเรื่อยๆ จะเจอสามแยกหน้า
    วัดหนองไซ
    (ซึ่งวัดหนองไซจะอยู่ด้านซ้ายของถนน
    ที่เราขับรถมา)
    เราก็เลี้ยวขวาตามป้ายชี้ทางไป
    พระพุทธบาทดอยไซ



    รอยพระพุทธบาทดอยไซ เป็นรอยพระพุทธบาท
    ด้านซ้าย
    กว้าง ๘๗ ซ.ม. ยาว ๒๓๗ ซ.ม. เป็น
    รอยจำลองที่สร้างทับของจริง
    ส้นพระบาท จะมี
    ลักษณะคล้ายรูไม้เท้าอยู่ด้วย


    ประวัติรอยพระพุทธบาทดอยไซ เมื่อครั้งพุทธกาลมี
    ยักษ์ตนหนึ่ง
    อาศัยอยู่ในถ้ำดอยไซ คอยจับคนและ
    สัตว์เป็นอาหารโดยใช้ไซ
    ขนาดใหญ่ สร้างความเดือดร้อน
    เป็นอย่างมาก พระพุทธเจ้า
    เห็นจึงใช้พระบาทย่ำบน
    ดอยไซ
    และใช้พระบาทข้างซ้าย
    ถีบไซไปตกบริเวณ
    ทุ่งกว้าง กลายเป็นหนองไซจนถึงปัจจุบัน
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

  20. truethailove

    truethailove rich kindness

    วันที่สมัครสมาชิก:
    7 มีนาคม 2010
    โพสต์:
    835
    ค่าพลัง:
    +806
    พระพุทธบาทดอยฝาจีบ
    บ้านห้วยม้าโกง ตำบลป่าสัก อำเภอเมือง


    <!--[if gte mso 9]><xml> <w:WordDocument> <w:View>Normal</w:View> <w:Zoom>0</w:Zoom> <w:punctuationKerning/> <w:ValidateAgainstSchemas/> <w:SaveIfXMLInvalid>false</w:SaveIfXMLInvalid> <w:IgnoreMixedContent>false</w:IgnoreMixedContent> <w:AlwaysShowPlaceholderText>false</w:AlwaysShowPlaceholderText> <w:Compatibility> <w:BreakWrappedTables/> <w:SnapToGridInCell/> <w:ApplyBreakingRules/> <w:WrapTextWithPunct/> <w:UseAsianBreakRules/> <w:DontGrowAutofit/> </w:Compatibility> <w:BrowserLevel>MicrosoftInternetExplorer4</w:BrowserLevel> </w:WordDocument> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml> <w:LatentStyles DefLockedState="false" LatentStyleCount="156"> </w:LatentStyles> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 10]> <style> /* Style Definitions */ table.MsoNormalTable {mso-style-name:ตารางปกติ; mso-tstyle-rowband-size:0; mso-tstyle-colband-size:0; mso-style-noshow:yes; mso-style-parent:""; mso-padding-alt:0cm 5.4pt 0cm 5.4pt; mso-para-margin:0cm; mso-para-margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:10.0pt; font-family:"Times New Roman"; mso-bidi-font-family:"Times New Roman"; mso-ansi-language:#0400; mso-fareast-language:#0400; mso-bidi-language:#0400;} </style> <![endif]-->วัดพระพุทธบาทตากผ้า (พระอารามหลวง)
    <!--[if gte mso 9]><xml> <w:WordDocument> <w:View>Normal</w:View> <w:Zoom>0</w:Zoom> <w:punctuationKerning/> <w:ValidateAgainstSchemas/> <w:SaveIfXMLInvalid>false</w:SaveIfXMLInvalid> <w:IgnoreMixedContent>false</w:IgnoreMixedContent> <w:AlwaysShowPlaceholderText>false</w:AlwaysShowPlaceholderText> <w:Compatibility> <w:BreakWrappedTables/> <w:SnapToGridInCell/> <w:ApplyBreakingRules/> <w:WrapTextWithPunct/> <w:UseAsianBreakRules/> <w:DontGrowAutofit/> </w:Compatibility> <w:BrowserLevel>MicrosoftInternetExplorer4</w:BrowserLevel> </w:WordDocument> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml> <w:LatentStyles DefLockedState="false" LatentStyleCount="156"> </w:LatentStyles> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 10]> <style> /* Style Definitions */ table.MsoNormalTable {mso-style-name:ตารางปกติ; mso-tstyle-rowband-size:0; mso-tstyle-colband-size:0; mso-style-noshow:yes; mso-style-parent:""; mso-padding-alt:0cm 5.4pt 0cm 5.4pt; mso-para-margin:0cm; mso-para-margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:10.0pt; font-family:"Times New Roman"; mso-ansi-language:#0400; mso-fareast-language:#0400; mso-bidi-language:#0400;} </style> <![endif]--> ต. มะกอก อ. ป่าซาง
    <table style="width: 508px; height: 1379px;" border="0" cellpadding="0" cellspacing="0"><tbody><tr> <td colspan="2" valign="top">
    </td></tr> <tr> <td valign="top" width="70%"> อยู่ห่างจากป่าซาง ตามถนนป่าซาง-ลี้ประมาณ
    6 กิโลเมตร
    แล้วมีทางแยกซ้ายเข้าไปอีก
    1 กิโลเมตร วัดนี้เป็นปูชนียสถาน
    สำคัญแห่งหนึ่งของ
    จังหวัดลำพูน ตามตำนานการสร้างวัด
    เล่าว่าในสมัย
    พุทธกาล หลังจากพระองค์ทรงอธิษฐานประทับ
    รอย
    พระพุทธบาท ณ สถานที่แห่งนี้ เพื่อเป็นที่สักการบูชา

    ของพุทธบริษัททั้งหลาย หลังจากนั้นทรงพักผ่อน
    พระอิริยาบถ
    และรับสั่งให้พระอานนท์นำจีวรของ
    พระองค์ไปซัก และ
    ตากจีวรไว้บนผาลาดใกล้ ๆ
    บริเวณที่ประทับ ซึ่งปรากฏเป็น
    รูปรอยตารางคล้ายๆ
    รอยตากจีวรบนแผ่นศิลา และภายหลัง
    สถานที่แห่งนี้
    จึงมีนามปรากฏว่าวัดพระพุทธบาทตากผ้า

    </td></tr></tbody></table>
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • wattakpha2.jpg
      wattakpha2.jpg
      ขนาดไฟล์:
      24.4 KB
      เปิดดู:
      29
    • wattakpha3.jpg
      wattakpha3.jpg
      ขนาดไฟล์:
      30.1 KB
      เปิดดู:
      24
    • wattakpha4.jpg
      wattakpha4.jpg
      ขนาดไฟล์:
      22.6 KB
      เปิดดู:
      20
    • wattakpha5.jpg
      wattakpha5.jpg
      ขนาดไฟล์:
      21 KB
      เปิดดู:
      22
    • wattakpha6.jpg
      wattakpha6.jpg
      ขนาดไฟล์:
      3 KB
      เปิดดู:
      520
    แก้ไขครั้งล่าสุดโดยผู้ดูแล: 23 มิถุนายน 2012

แชร์หน้านี้

Loading...