เปิดกรุวัตถุมงคลคุณแม่บุญเรือนผู้ทรงอภิญญา

ในห้อง 'พระเครื่อง วัตถุมงคล' ตั้งกระทู้โดย kayasid, 20 สิงหาคม 2012.

  1. kayasid

    kayasid เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 พฤษภาคม 2009
    โพสต์:
    6,607
    ค่าพลัง:
    +10,414
    " สวัสดีครับ ขอเปิดกระทู้ วัตถุมงคลคุณแม่บุญเรือน กระทู้ที่ 2 ครับ และรายการใดคงเหลือยังมีให้บูชาจะย้ายมากระทู้นี้ครับ ขอบคุณมากครับ "


    กระทู้นี้ ขอนำเสนอ วัตถุมงคลคลคุณแม่บุญเรือนผู้ทรงอภิญญา และทรงภูมิธรรมขั้นสูง เมื่อท่านเสียชีวิตแล้วตั้งแต่ปี 2507กระดูกกลายเป็นพระธาตุ คงเหลือไว้แต่คำสอนมรดกในทางธรรม และวัตถุมงคลที่ศักดิ์สิทธิ์เป็นอัศจรรย์ คือพระพุทโธน้อย รุ่นแรก ปี 2494 และพระมงคลมหาลาภ ปี 2499 พิมพ์ต่างๆ อาทิ สมเด็จนาคปรกหลังยันต์ สมเด็จสามชั้นหลังเรียบ พระนางนางพญา พระพิมพ์วัดตะไกร ฯลฯ และพระประจำวันปี2499 ที่ลูกศิษย์ต่างนิยมแสวงหาบูชากันมา กว่า 50 ปี มานำเสนอให้ทุกท่านได้เลือกบูชากันตามอัธยาศัยครับ




    ชมวัตถุมงคลทั้งหมดที่ www.tonprasiam.com
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 6 มกราคม 2017
  2. kayasid

    kayasid เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 พฤษภาคม 2009
    โพสต์:
    6,607
    ค่าพลัง:
    +10,414
    รายการที่ 935 ปิดรายการ

    รายการที่ 935 พระพุทโธน้อย วัดอาวุธฯ ปี 2511 พิมพ์ใหญ่ หลังยันต์พุทโธ เนื้อผงใบลานผสมผงพุทธคุณ สร้างน้อย หายากมาก ขึ้นจากกรุวัดอาวุธฯ ไม่กี่องค์ครับ -ปกติจะพบแต่เนื้อดินเผาและผงพุทธคุณครับ

    พระสภาพสวยเดิม ไม่ผ่านการบูชา

    ขนาดองค์พระ กว้าง 1.8 ซ.ม. สูง 3 ซ.ม.


    รับประกันความแท้ 100 % ตลอดชีพนะครับ

    บูชา องค์ละ 2,000 บาท (รวมค่าส่ง)


    [​IMG] [​IMG]


    พระพุทโธน้อย รุ่น 2 วัดอาวุธ ปี2511 จัดสร้างขึ้นจากมวลสารผงพระพุทโธน้อยรุ่นแรกปี2497 ที่ชำรุด และผงพุทธคุณต่างๆ ถึงแม้คุณแม่บุญเรือนไม่ได้ อธิษฐานจิต แต่ดีตรงที่มีผงเก่าของพุทโธน้อยรุ่นแรกผสมอยู่นั่นเอง ใช้ห้อยบูชาแทนพระพุทโธน้อยรุ่น 1 ของคุณแม่ได้อย่างสนิทใจครับ ยิ่งองค์นี้เป็นเนื้อใบลานด้วยยิ่งหายากครับ พบเมื่อครั้งวัดอาวุธเปิดกรุไม่กี่องค์ครับ มีคุณค่าน่าสะสมและบูชาเป็นอย่างยิ่งครับ



    [​IMG]สนใจกรุณาติดต่อต้น 084-0789309 หรือโพสต์จองในกระทู้ครับ(จองได้ไม่เกิน 3 วันครับ)การโอนเงิน - บัญชีออมทรัพย์ธนาคารไทยพาณิชย์ สาขา ตรีเพชร เลขที่ 006-2-70184-6 ชื่อบัญชี นาย<st1></st1>กิตติศักดิ์ โสภาที[​IMG]<!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end -->
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 30 พฤศจิกายน 2012
  3. kayasid

    kayasid เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 พฤษภาคม 2009
    โพสต์:
    6,607
    ค่าพลัง:
    +10,414
    รายการที่ 942 ปิดรายการ



    มีผู้บูชาเเล้วครับ
    รายการที่ 942
    พระมงคลมหาลาภ พิมพ์พระนาคปรก
    พิมพ์คะแนน ปี 2499 เนื้อโสฬสมหาพรหม องค์นี้ลงกรุวัดสารนาถฯ วรรณะเหลืองแกร่ง สภาพสวย พระคมชัด ด้านหลังมีตราวัดสัมพันธวงศ์ชัดเจน ขนาดองค์พระ กว้าง 1.7 ซ.ม. สูง 2.7 ซ.ม.


    วัดสัมพันธวงศ์สร้าง ให้วัดสารนาถ จ.ระยอง


    รายการนี้ สนใจ กรุณา p.m. หรือโทรสอบถาม ติดต่อ ต้น 084-0789309


    [​IMG] [​IMG] [​IMG]
    ขออ้างอิงข้อความจากหนังสืออนุสรณ์พระมงคลมหาลาภ วัดสารนาถฯ จ.ระยอง ดังนี้


    *** พระมงคลมหาลาภ พ.ศ.2499 ของวัดสัมพันธวงศ์ กรุงเทพมหานครเป็นพระสมเด็จแบบสมเด็จพระพุฒาจารย์ พระพุทโธเล็ก พระวัดตะไกร และพระแบบวัดนางพระยา ฯลฯ (และแบบอื่นๆอีกมาก)


    พระเครื่องเหล่านี้สร้างเป็นที่ระลึกในงานสมโภชพระพุทโธชินราชจอมมุนี ซึ่งสร้างที่ วัดสัมพันธวงศ์ พระนคร แล้วอัญเชิญไปประดิษฐานเป็นพระประธาน ณ วัดสารนาถธรรมราม อ.แกลง จ.ระยอง พร้อมด้วยพระอัครสาวกซ้ายขวา เมื่อวันที่ 5-31 มีนาคม 2499 ***

    พระ รุ่นนี้ ปลุกเสกโดยคุณแม่บุญเรือน วัดอาวุธ และ คณาจารย์หลายท่านเช่น

    หลวงปู่ฝั้น อาจาโร
    หลวงปู่ขาว วัดถ้ำกลองเพล
    หลวงปู่ดุลย์ อตุโล วัดบูรพาราม
    หลวงปู่โต๊ะ วัดประดู่ฉิมพลี
    หลวงพ่อสด วัดปากน้ำ
    หลวง พ่อเงินวัดดอนยายหอม เป็นต้น
    ****ทั้ง นี้ ได้รับการปลุกเสก ซ้ำที่วัดสารนาถธรรมาราม จ.ระยองอีกครั้ง
    โดยนิมนต์พระสายระยอง และสายกรรมฐานเช่น
    หลวงพ่อโต วัดเขาบ่อทอง
    หลวง ปู่ทิม วัดละหารไร่
    หลวงพ่อลี วัดป่าคลองกุ้ง
    อาจารย์สิงห์ ขันตยาคโม
    โดย ทั้งหมดเพื่อจัดสร้างและสมโภชน์พระพุทโธภาสชิน ราชจอมมุนี ในขณะที่แม่ชีบุญเรือน เป็นประธาน
    จัด สร้างและคุมงานเอง<!-- google_ad_section_end -->

    สนใจกรุณาติดต่อต้น 084-0789309 หรือโพสต์จองในกระทู้ครับ(จองได้ไม่เกิน 3 วันครับ)การโอนเงิน - บัญชีออมทรัพย์ธนาคารไทยพาณิชย์ สาขา ตรีเพชร เลขที่ 006-2-70184-6 ชื่อบัญชี นาย<st1></st1>กิตติศักดิ์ โสภาที<!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end -->
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 5 กันยายน 2012
  4. kayasid

    kayasid เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 พฤษภาคม 2009
    โพสต์:
    6,607
    ค่าพลัง:
    +10,414
    รายการที่ 943 ปิดรายการ

    มีผู้บูชาเเล้วครับ
    รายการที่ 943
    พระมงคลมหาลาภ พิมพ์พระนาคปรก พิมพ์ใหญ่ มีหน้าตา ปี 2499 เนื้อโสฬสมหาพรหมวรรณะเหลืองแกร่ง สภาพสวย พระคมชัด ด้านหลังมีตราวัดสัมพันธวงศ์ชัดเจน ขนาดองค์พระ กว้าง 2.4 ซ.ม. สูง 3.4 ซ.ม.


    วัดสัมพันธวงศ์สร้าง ให้วัดสารนาถ จ.ระยอง


    รายการนี้ สนใจ กรุณา p.m. หรือโทรสอบถาม ติดต่อ ต้น 084-0789309



    [​IMG] [​IMG]


    ขออ้างอิงข้อความจากหนังสืออนุสรณ์พระมงคลมหาลาภ วัดสารนาถฯ จ.ระยอง ดังนี้


    *** พระมงคลมหาลาภ พ.ศ.2499 ของวัดสัมพันธวงศ์ กรุงเทพมหานครเป็นพระสมเด็จแบบสมเด็จพระพุฒาจารย์ พระพุทโธเล็ก พระวัดตะไกร และพระแบบวัดนางพระยา ฯลฯ (และแบบอื่นๆอีกมาก)


    พระเครื่องเหล่านี้สร้างเป็นที่ระลึกในงานสมโภชพระพุทโธชินราชจอมมุนี ซึ่งสร้างที่ วัดสัมพันธวงศ์ พระนคร แล้วอัญเชิญไปประดิษฐานเป็นพระประธาน ณ วัดสารนาถธรรมราม อ.แกลง จ.ระยอง พร้อมด้วยพระอัครสาวกซ้ายขวา เมื่อวันที่ 5-31 มีนาคม 2499 ***

    พระ รุ่นนี้ ปลุกเสกโดยคุณแม่บุญเรือน วัดอาวุธ และ คณาจารย์หลายท่านเช่น

    หลวงปู่ฝั้น อาจาโร
    หลวงปู่ขาว วัดถ้ำกลองเพล
    หลวงปู่ดุลย์ อตุโล วัดบูรพาราม
    หลวงปู่โต๊ะ วัดประดู่ฉิมพลี
    หลวงพ่อสด วัดปากน้ำ
    หลวง พ่อเงินวัดดอนยายหอม เป็นต้น
    ****ทั้ง นี้ ได้รับการปลุกเสก ซ้ำที่วัดสารนาถธรรมาราม จ.ระยองอีกครั้ง
    โดยนิมนต์พระสายระยอง และสายกรรมฐานเช่น
    หลวงพ่อโต วัดเขาบ่อทอง
    หลวง ปู่ทิม วัดละหารไร่
    หลวงพ่อลี วัดป่าคลองกุ้ง
    อาจารย์สิงห์ ขันตยาคโม
    โดย ทั้งหมดเพื่อจัดสร้างและสมโภชน์พระพุทโธภาสชิน ราชจอมมุนี ในขณะที่แม่ชีบุญเรือน เป็นประธาน
    จัด สร้างและคุมงานเอง
    <!-- google_ad_section_end -->
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 8 มกราคม 2017
  5. kayasid

    kayasid เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 พฤษภาคม 2009
    โพสต์:
    6,607
    ค่าพลัง:
    +10,414
    รายการที่ 946 ปิดรายการ

    มีผู้บูชาเเล้วครับ
    รายการที่ 946 พระพุทโธน้อย คุณแม่บุญเรือน รุ่นแรกปี2494
    พิมพ์เล็กหน้าตุ๊กตา หลังยันต์พุทโธ เนื้อผงพุทธคุณ

    พระสภาพสวยคมชัด -มาพร้อมเลี่ยมพล๊าสติคกันน้ำ นำไปจับขอบทองได้เลยครับ

    ขนาดองค์พระ กว้าง 1.5 ซ.ม. สูง 2.5 ซ.ม.


    รับประกันความแท้ 100 % ตลอดชีพนะครับ

    รายการนี้สนใจ กรุณา p.m.สอบถามหรือโทรถาม ติดต่อ ต้น 084-0789309


    [​IMG] [​IMG]


    ในวงการพระเครื่องมีพระดีเด่นดัง อยู่มากมาย หนึ่งในนั้น เป็นพระที่เซียนพระนิยมห้อยบูชากันมา 50 กว่าปี ย้ำ เซียนพระนะครับ ถ้าดูในคอของเซียนพระดังระดับประเทศรุ่นเก่า จนถึงเซียนพระรุ่นใหม่ไฟแรง อย่าง บอยท่าพระจันทร์ ผู้มีสนามฟุตบอลเป็นของตนเอง และเล่นพระระดับหลักแสน หลักล้าน แต่ในคอ ต้องมีพระองค์นี้อยู่ในคอครับ นั่นคือ

    พระพุทโธน้อย ปี 2494 นั่นเอง

    (ประสบการณ์ของเซียนบอย คือ เช่าพระมาชุดนึงราคาหลักล้าน แต่ปล่อยไม่ออกสักทีจนกลุ้มใจ เซียนบอยได้ยินมาว่า พระพุทโธน้อย ขอพรได้รวดเร็วทันใจ จึงไปหามาห้อยคอ และจุดธูปขอพรบอกกล่าวสิ่งที่ตนเองกลุ้มใจอยู่ ปรากฏว่า 3 วันเท่านั้น มีผู้มาขอบูชาพระชุดนี้ไปอย่างง่ายดายครับ -พระพุทโธน้อยพิมพ์ที่เซียนบอย หามาห้อยคอ คือพระพุทโธน้อย พิมพ์จัมโบ้ครับ)

    และที่สำคัญ พระพุทโธน้อยนี้ ผู้ปลุกเสกไม่ใช่พระสงฆ์ครับ เป็นอุบาสิกาที่ถือศีล 5 นั่นก็คือ คุณแม่บุญเรือน โตงบุญเติมครับ ที่ท่านปฏิบัติธรรมจนเคร่งครัด สำเร็จคุณธรรมขั้นสูง สามารถล่องหน หายตัวได้ เดินกลางฝนไม่เปียก เสกของอธิษฐาน ให้คนกิน จนหายจากโรคร้าย และ ท่านมีวาจาสิทธิ์ มีคนพิการขาเป๋หลังโก่ง เดินไม่ได้ ต้องใช้ไม้เท้า มาหาคุณแม่ คุณแม่สั่งให้ทิ้งไม้เท้า และสั่งให้เดินเอง ปรากฏว่า หลังกลับตรง และเดินได้เอง อย่างน่าอัศจรรย์ จนวาระสุดท้าย เมื่อคุณแม่เสียชีวิต กระดูกกลายเป็นพระธาตุ ดุจดังกับพระอริยเจ้าสายพระป่ากรรมฐาน ครับ

    พระพุทโธน้อยนี้ เด่นมาก ผมขอยกให้เป็น 1 ในแผ่นดิน ในเรื่อง การขอพรได้รวดเร็วทันใจครับ (ถ้าสิ่งนั้นไม่ผิดศีลธรรม) ได้ยินมาจากลูกค้าที่เช่าไปห้อยบูชา โทรกลับมาเล่าให้ฟังบ่อยครั้ง จนเป็นเรื่องปกติครับ ไม่ว่าเรื่อง การงาน การเงิน ถ้าท่านศรัทธาจริงมีผลแน่นอน

    ท่านใดยังไม่มีบูชาลองหามาห้อยคอสักองค์นะครับ แล้วท่านจะรู้ได้ด้วยตนเองครับ



    พระพุทโธน้อย" เป็นพระเครื่องขนาดเล็กที่ท่านสร้างขึ้นและอธิษฐานจิตให้ไว้แก่วัดอาวุธวิกสิตาราม ตำบลบางพลัดนอก ธนบุรี เมื่อปี พ.ศ.2494 เป็นพระพิมพ์แบบครึ่งซีก กรอบทรงสามเหลี่ยม ด้านหน้า องค์พระประทับนั่ง แสดงปางมารวิชัย เหนือฐานบัวสองชั้น พระเกศเป็นมุ่นเมาลี พระนาสิกเป็นสันนูน พระเนตรเป็นเม็ดกลมนูน และพระหัตถ์ซ้ายถือหม้อน้ำมนต์ ส่วนด้านหลัง มีอักขระขอมจารึกเป็นเส้นลึกอ่านว่า "พุทโธ" โดยมีทั้งพิมพ์ใหญ่ พิมพ์กลาง และพิมพ์เล็ก มีทั้งเนื้อดินเผา และเนื้อผงพุทธคุณครับ จำนวนการสร้างรวมทั้งสิ้น 100,000 องค์ (มียันต์พิเศษ จำนวน 3000 องค์)

    พระพุทโธน้อย แม้จำนวนสร้างจะมาก แต่ด้วยความศรัทธาในตัวผู้สร้างและพุทธคุณเป็นเลิศปรากฏครบครันทั้งด้านเมตตามหานิยม แคล้วคลาด เจริญด้วยโภคทรัพย์ และกำจัดโรคร้าย ทำให้ "พระพุทโธน้อย" หมดไปภายในเวลาอันรวดเร็ว

    "พระพุทโธน้อย" นับเป็นพระเครื่องเก่าแก่และน่าสะสมมากพิมพ์หนึ่ง ด้วยพุทธคุณที่ปรากฏอย่างสม่ำเสมอแก่ผู้ที่เคารพศรัทธาและกราบไหว้สักการะไม่ขาด ว่ากันว่ามุ่งหวังสิ่งใดก็จะสำเร็จสมความตั้งใจอีกทั้งแคล้วคลาดภยันตรายทั้งปวงครับ


    [​IMG]สนใจกรุณาติดต่อต้น 084-0789309 หรือโพสต์จองในกระทู้ครับ(จองได้ไม่เกิน 3 วันครับ)การโอนเงิน - บัญชีออมทรัพย์ธนาคารไทยพาณิชย์ สาขา ตรีเพชร เลขที่ 006-2-70184-6 ชื่อบัญชี นาย<st1></st1>กิตติศักดิ์ โสภาที
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 5 กันยายน 2012
  6. kayasid

    kayasid เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 พฤษภาคม 2009
    โพสต์:
    6,607
    ค่าพลัง:
    +10,414
    รายการที่ 947 ปิดรายการ

    รายการที่ 947 พระปางห้ามญาติ (คนเกิดวันจันทร์) คุณแม่บุญเรือน ปี2499 พิมพ์ใหญ่ เนื้อดินเผา สภาพสวย ขนาดองค์พระ กว้าง 2.2 ซ.ม. สูง 3.5 ซ.ม.


    บูชาองค์ละ 1,250 บาท (รวมค่าส่ง)


    [​IMG] [​IMG]


    สนใจติดต่อ ต้น 084-0789309หรือโพสต์จองในกระทู้ครับ(จองได้ไม่เกิน 3 วันครับ)การโอนเงิน - บัญชีออมทรัพย์ธนาคารไทยพาณิชย์ สาขา ตรีเพชร เลขที่006-2-70184-6ชื่อบัญชี นาย<?xml:namespace prefix = st1 ns = "urn:schemas-microsoft-com[​IMG]</st1:personName>กิตติศักดิ์โสภาที<O[​IMG]</O[​IMG]<!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end -->

    ผู้ที่เกิดวันจันทร์




    พระประจำวันจันทร์ ได้แก่ ปางห้ามญาติ หรือ ห้ามสมุทร




    ลักษณะพระพุทธรูป: พระพุทธรูปอยู่ในพระอริยาบถยืน ยกพระหัตถ์ทั้งสองยกขึ้นเสมอพระอุระ (อก) ตั้งฝ่าพระหัตถ์ยื่นออกไปข้างหน้าเป็นกิริยาห้าม เป็นปางเดียวกันกับปางห้ามสมุทร ต่างกันตรงที่ปางห้ามญาติจะยกมือขวาขึ้นห้ามเพียงมือเดียว ส่วนปางห้ามสมุทร จะยกมือทั้งสองขึ้นห้าม แต่ส่วนใหญ่มักจะนิยมสร้างเป็นปางห้ามญาติ และนิยมทำเป็นแบบพระทรงเครื่อง




    ความเป็นมา




    ปางห้ามญาติเกิดขึ้นเนื่องจากพระญาติฝ่ายพุทธบิดาคือกรุงกบิลพัสดุ์ และพระญาติฝ่ายพุทธมารดา คือ กรุงเทวทหะ ซึ่งอาศัยอยู่บนคนละฝั่งของแม่น้ำโรหิณี เกิดทะเลาะวิวาทแย่งน้ำเพื่อไปเพาะปลูกกันขึ้น ถึงขนาดจะยกทัพทำสงครามกันเลยทีเดียว พระพุทธองค์จึงต้องเสด็จไปเจรจาห้ามทัพ คือ ห้ามพระญาติมิให้ฆ่าฟันกัน




    ส่วนปางห้ามสมุทรเป็นพุทธประวัติ ตอนเสด็จไปโปรดพวกชฎิล (นักบวชประเภทหนึ่งที่นุ่งห่มหนังเสือ และนิยมบูชาไฟ) 3 พี่น้องได้แก่ อุรุเวลกัสสปะ นทีกัสสปะ และคยากัสสปะ ที่ตั้งตัวเป็นใหญ่อยู่ริมฝั่งแม่น้ำเนรัญชราพร้อมบริวาร 1,000 คน โดยได้แสดงพุทธปาฏิหารย์หลายอย่างเพื่อทำลายทิฎฐิมานะของชฎิลทั้งหลาย เช่น ห้ามลม ห้ามฝน ห้ามพายุ และห้ามน้ำท่วมที่เจิ่งนองตลิ่งมิให้มาต้องพระวรกายได้ อีกทั้งยังสามารถเดินจงกรมอยู่ใต้พื้นน้ำได้ ทำให้พวกชฎิลเห็นเป็นที่อัศจรรย์ และยอมบวชเป็นพุทธสาวก




    บทสวดมนต์บูชาพระประจำวันจันทร์




    [​IMG]ยันทุนนิมิตตัง อะวะมังคะลัญจะโย จามะนาโป สะกุณัสสะ สัทโท ปาปัคคะโห ทุสสุปินัง อะกันตัง พุทธานุภาเวนะ วินาสะเมนตุ




    [​IMG]ยันทุนนิมิตตัง อะวะมังคะลัญจะโย จามะนาโป สะกุณัสสะ สัทโท ปาปัคคะโห ทุสสุปินัง อะกันตัง ธัมมานุภาเวนะ วินาสะเมนตุ





    [​IMG]ยันทุนนิมิตตัง อะวะมังคะลัญจะโย จามะนาโป สะกุณัสสะ สัทโท ปาปัคคะโห ทุสสุปินัง อะกันตัง สังฆานุภาเวนะ วินาสะเมนตุ




    สวดวันละ 15 จบ จะมีความสุข ความเจริญปราศจากโรคาพยาธิทั้งปวง และผู้ที่เกิดวันจันทร์ควรใช้ของประดับตัวและบ้านเรือนเป็นสีขาว เหลืองอ่อนๆ เป็นดีที่สุด ส่วนสีรองๆ ลงมา คือสีเขียว สีดำ สีกรมท่า สีน้ำเงิน พึงเว้นสีแดง
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 27 กันยายน 2012
  7. kayasid

    kayasid เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 พฤษภาคม 2009
    โพสต์:
    6,607
    ค่าพลัง:
    +10,414
    รายการที่ 948 ปิดรายการ

    คุณ <!-- google_ad_section_start(weight=ignore) -->asti008<!-- google_ad_section_end --><SCRIPT type=text/javascript> vbmenu_register("postmenu_6602327", true); </SCRIPT> จองแล้ว 27.855/

    รายการที่ 948 พระปางไสยาสน์(คนเกิดวันอังคาร ) คุณแม่บุญเรือน ปี2499 พิมพ์ใหญ่ เนื้อดินเผา สภาพสวย ผิวเดิม ไม่ผ่านการบูชา ขนาดองค์พระ กว้าง 3.8 ซ.ม. สูง 2.5 ซ.ม.

    บูชาองค์ละ 1,250 บาท (รวมค่าส่ง)

    [​IMG] [​IMG]



    สนใจติดต่อ ต้น 084-0789309หรือโพสต์จองในกระทู้ครับ(จองได้ไม่เกิน 3 วันครับ)การโอนเงิน - บัญชีออมทรัพย์ธนาคารไทยพาณิชย์ สาขา ตรีเพชร เลขที่006-2-70184-6ชื่อบัญชี นาย<?xml:namespace prefix = st1 ns = "urn:schemas-microsoft-com[​IMG]</st1:personName>กิตติศักดิ์โสภาที<O[​IMG]</O[​IMG]<!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end -->

    ผู้ที่เกิดวันอังคาร


    พระประจำวันอังคาร ได้แก่ ปางโปรดอสุรินทราหู หรือ ปางไสยาสน์ หรือ ปางปรินิพพาน

    ลักษณะพระพุทธรูป: พระพุทธรูปอยู่ในพระอริยาบถนอนตะแคงขวา พระบาททั้งสองข้างซ้อนทับเสมอกัน พระหัตถ์ซ้ายทาบไปตามพระวรกาย พระหัตถ์ขวาตั้งขึ้นรับพระเศียรและมีพระเขนย (หมอน) รองรับ บางแบบพระเขนยวางอยู่ใต้พระกัจฉะ (รักแร้)




    ความเป็นมา




    ปางไสยาสน์ หรือบางทีก็เรียก ปางปรินิพพาน เป็นพุทธประวัติตอนที่พระพุทธองค์ได้รับสั่งให้พระจุนทะเถระปูอาสนะลงที่ระหว่างต้นรังคู่หนึ่ง แล้วทรงประทับบรรมทมแบบสีหไสยา ตั้งพระทัยไม่เสด็จลุกขึ้นอีก แต่ก็ยังได้โปรดสุภัททะปริพาชกเป็นอรหันต์องค์สุดท้ายก่อนเสด็จดับขันธปรินิพพาน บรรดาพุทธบริษัททั้งหลายพากันเศร้าโศก ร่ำไห้ คร่ำครวญถึงพระองค์ พระอานนท์และพระอนุรุทธเถระได้แสดงธรรมเพื่อปลอบโยนมหาชน พุทธศาสนิกชนเมื่อรำลึกถึงการเสด็จปรินิพพานของพระองค์ จึงได้สร้างพระพุทธรูปปางนี้ขึ้น เพื่อบูชาพระพุทธองค์




    นอกจากนี้ ยังมีเรื่องเล่าถึงปางนี้อีกนัยหนึ่งคือ ในสมัยพุทธกาล เมื่อพระพุทธองค์ประทับอยู่ที่พระเชตวันมหาวิหาร "อสุรินทราหู" หรือ "พระราหู" ผู้ครองอสูรพิภพ ได้สดับคำสรรเสริญถึงพระเกียรติคุณของพระบรมศาสดาจากสำนักเทพยดาทั้งหลาย ก็มีความปรารถนาอยากจะไปเฝ้าพระผู้มีพระภาคเจ้าบ้าง แต่ก็คิดคำนึงไปเองว่าพระพุทธเจ้าเป็นมนุษย์ คงต้องมีพระวรกายที่เล็ก หากตนจะไปเฝ้าก็จะต้องก้มมองเป็นความลำบากมาก อีกทั้งตนก็ไม่เคยก้มเศียรให้ใคร คิดแล้วก็ไม่ไปเฝ้า




    ต่อมาได้ยินพวกเทวดาสรรเสริญพระพุทธองค์อีก ก็เกิดความอยากไปเฝ้าอีก จึงวันหนึ่งได้ตั้งใจไปเฝ้า พระพุทธเจ้าก็ทรงทราบด้วยญาณ รวมทั้งทราบถึงความในใจของอสุรินทราหู จึงทรงเนรมิตพระวรกายให้ใหญ่โตกว่ากายของอสุริทราหูหลายเท่าขณะเสด็จบรรทมรอรับ ดังนั้น เมื่อมาเข้าเฝ้า แทนที่อสุรินทราหูจะต้องก้มมอง กลับต้องแหงนหน้าดูพระพุทธองค์ จึงเกิดความอัศจรรย์ใจยิ่ง พระพุทธเจ้าจึงได้ตรัสสอนว่า ข่าวลือหรือเรื่องใดๆหากไม่เห็นด้วยตนเอง หรือยังไม่พิจารณาให้ถ่องแท้ ก็ไม่ควรติชมไปก่อน อีกทั้งได้พาอสุรินทราหูไปเที่ยวพรหมโลก ได้เห็นบรรดาพรหมที่มาเฝ้ามีร่างกายใหญ่โตกว่าตนทั้งสิ้น แต่พระพุทธเจ้าก็ยังมีพระวรกายใหญ่กว่าพรหมเหล่านั้นอีก อสุรินทราหูจึงลดทิฐิและหันมาเลื่อมใสในพระบรมศาสดา




    บทสวดมนต์บูชาพระประจำวันอังคาร




    ยัสสานุสสะระเณนาปิ อันตะลิก เขปิ ปาณิโน ปะติฏฐะมะธิ คัจฉันติ ภูมิยัง วิยะ สัพพะทา สัพพูปัททะวะชาลัมหา ยักขะโจราทิ สัมภะวา คะณะนานะ จะ มุตตานัง ปะริตตันตัมภะณามะ เห




    สวดวันละ 8 จบ จะเกิดผลดี และผู้ที่เกิดวันอังคาร ควรใช้ของประดับตัวและบ้านเรือนเป็นสีชมพู หรือ สีแดงหลัว ส่วนสีรองๆ ลงมาคือ สีดำ สีกรมท่า สีน้ำเงินแก่ สีเหลือง สีแดง พึงเว้นสีขาวนวล
    <!-- google_ad_section_end -->
    <!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end -->
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 3 กันยายน 2012
  8. kayasid

    kayasid เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 พฤษภาคม 2009
    โพสต์:
    6,607
    ค่าพลัง:
    +10,414
    รายการที่ 949 ปิดรายการ

    รายการที่ 949 พระปางสมาธิ(วันพฤหัสบดี)คุณแม่บุญเรือน ปี2499 พิมพ์ใหญ่ เนื้อผงพุทธคุณ สีเหลือง สร้างน้อยหายาก สภาพสวยเดิม ไม่ผ่านการบูชา ขนาดองค์พระ กว้าง 2.4 ซ.ม. สูง 3.6 ซ.ม.

    บูชาองค์ละ 2,000 บาท (รวมค่าส่ง)


    [​IMG] [​IMG]




    สนใจติดต่อ ต้น 084-0789309หรือโพสต์จองในกระทู้ครับ(จองได้ไม่เกิน 3 วันครับ)การโอนเงิน - บัญชีออมทรัพย์ธนาคารไทยพาณิชย์ สาขา ตรีเพชร เลขที่006-2-70184-6ชื่อบัญชี นาย<?xml:namespace prefix = st1 ns = "urn:schemas-microsoft-com[​IMG]</st1:personName>กิตติศักดิ์โสภาที<O[​IMG]</O[​IMG]<!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end -->

    ผู้ที่เกิดวันพฤหัสบดี




    พระประจำวันพฤหัสบดี ได้แก่ ปางสมาธิ หรือ ปางตรัสรู้





    ลักษณะพระพุทธรูป: พระพุทธรูปอยู่ในพระอริยาบถประทับ (นั่ง) ขัดสมาธิ พระหัตถ์ทั้งสองวางหงายซ้อนกันบนพระเพลา (ตัก) พระหัตถ์ขวาทับพระหัตถ์ซ้าย พระชงฆ์ (แข้ง) ขวาทับพระชงฆ์ซ้าย




    ความเป็นมา




    ปางตรัสรู้ คือ ปางที่เจ้าชายสิทธัตถะหรือพระโพธิสัตว์ทรงประทับขัดสมาธิบนบัลลังก์หญ้าคาใต้ต้นมหาโพธิ์ ใกล้ฝั่งแม่น้ำเนรัญชรา และได้ตรัสรู้พระสัมมาสัมโพธิญาณเป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้า เมื่อวันเพ็ญขึ้น 15 ค่ำเดือน 6 ก่อนพุทธศักราช 45 ปี ซึ่งก็ตรงกับวันวิสาขบูชานั่นเอง




    บทสวดมนต์บูชาพระประจำวันพฤหัสบดี...




    อัตถิโลเก สีละคุโณ สัจจังโสเจยยะ นุททะยา เตนะ สัจเจนะ กาหามิ สัจจะกิริยะมะนุตตะรัง อาวัชชิตวา ธัมมัพะลัง สะริตวา ปุพพะเก ชิเน สัจจะพะละมะสายะ สัจจะกิริยะมะกาสะหัง สันติ ปักขา อะปัตตะนา สันติ ปาทา อะวัญจะนา มาตาปิตา จะนิกขันตา ชาตะเวทะ ปฏิกกะมะ สะหะ สัจเจกะเต มัยหัง มะหาปัชชะลิโต สิขี วัชเชสิ โสฬะสะ กะรีสานิ อุทะกัง ปัตวา ยะถา สิขี สัจเจนะ เม สะโม นัตถิ เอสา เม สัจจะปาระมีติ




    สวดวันละ 19 จบ จะมีความสุขความเจริญยิ่งๆ ขึ้นไป และผู้ที่เกิดวันพฤหัสบดี พึงใช้เครื่องประดับและบ้านเรือนเป็นสีเหลืองหรือสีไพล ส่วนสีรองลงมาคือ สีน้ำเงิน สีแดง สีเขียว พึงเว้น สีดำ สีกรมท่า และสีน้ำเงินแก่​
    <!-- google_ad_section_end -->
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 30 พฤศจิกายน 2012
  9. kayasid

    kayasid เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 พฤษภาคม 2009
    โพสต์:
    6,607
    ค่าพลัง:
    +10,414
    รายการที่ 950 ปิดรายการ

    รายการที่ 950 พระปางนาคปรก (คนเกิดวันเสาร์) คุณแม่บุญเรือน ปี2499 พิมพ์ใหญ่ เนื้อดินเผา สภาพสวยมาก คมชัดทั้งหน้าหลัง หายากครับ ขนาดองค์พระ กว้าง2.6 ซ.ม. สูง 4 ซ.ม.


    บูชาองค์ละ 2,000 บาท (รวมค่าส่ง)


    [​IMG] [​IMG]




    สนใจติดต่อ ต้น 084-0789309หรือโพสต์จองในกระทู้ครับ(จองได้ไม่เกิน 3 วันครับ)การโอนเงิน - บัญชีออมทรัพย์ธนาคารไทยพาณิชย์ สาขา ตรีเพชร เลขที่006-2-70184-6ชื่อบัญชี นาย<?xml:namespace prefix = st1 ns = "urn:schemas-microsoft-com[​IMG]</st1:personName>กิตติศักดิ์โสภาที<O[​IMG]</O[​IMG]<!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end -->

    ผู้ที่เกิดวันเสาร์




    พระประจำวันเสาร์ ได้แก่ ปางนาคปรก





    ลักษณะพระพุทธรูป : พระพุทธรูปอยู่ในพระอริยาบถประทับ (นั่ง) ขัดสมาธิ หงายพระหัตถ์ทั้งสองวางซ้อนกันบนพระเพลา (ตัก) พระหัตถ์ขวาซ้อนทับพระหัตถ์ซ้ายเหมือนปางสมาธิ แต่มีพญานาคขนดร่างเป็นวงกลมเป็นพุทธบัลลังก์และแผ่พังพานปกคลุมอยู่เหนือพระเศียร




    ความเป็นมา




    เมื่อพระพุทธองค์ตรัสรู้ และประทับบำเพ็ญสมาบัติเสวยวิมุตติสุขอันเกิดจากความพ้นกิเลสอยู่ ณ อาณาบริเวณที่ไม่ไกลจากต้นพระศรีมหาโพธิ์แห่งละ 7 วันนั้น ในสัปดาห์ที่ 3 นี้เอง ก็ได้ไปประทับใต้ต้นมุจลินท์ (ต้นจิก) ขณะนั้นฝนได้ตกลงมาไม่หยุด พญานาคตนหนึ่งชื่อ "มุจลินท์นาคราช" ก็ได้ขึ้นมาแสดงอิทธิฤทธิ์เข้าไปวงขนด 7 รอบ แล้วแผ่พังพานปกพระพุทธเจ้าไว้มิให้ฝนตกต้องพระวรกาย เหมือนกั้นเศวตฉัตรถวายพระผู้มีพระภาคเจ้า ด้วยความประสงค์มิให้ฝนและลมหนาวสาดต้องพระวรกาย ทั้งป้องกันเหลือบ ยุง บุ้ง ร่าน ริ้น และสัตว์เลื้อยคลานทั้งมวลด้วย จนฝนหาย จึงได้แปลงร่างเป็นมาณพเข้าไปเฝ้าพระพุทธองค์




    บทสวดมนต์บูชาพระประจำวันเสาร์…




    ยะโตหัง ภะคินิ อะริยายะ ชาติยา ชาโต, นาภิชานามิ สัญจิจจะ ปาณัง ชีวิตา โวโรเปตาฯ เตนะ สัจเจนะ โสตถิ เต โหตุ โสตถิ คัพภัสสะ




    สวดวันละ 10 จบ จะมีความสุขความเจริญและเกิดความสวัสดีมีมงคลตลอดกาลนาน และผู้ที่เกิดวันเสาร์ พึงใช้เครื่องประดับและบ้านเรือนเป็นสีดำหลัว หรือสีม่วง ส่วนสีรองๆ ลงมา คือ สีเทา สีเมฆหมอก สีดอกรัก สีน้ำเงิน พึงเว้นสีเขียว​
    <!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end -->
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 30 พฤศจิกายน 2012
  10. kayasid

    kayasid เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 พฤษภาคม 2009
    โพสต์:
    6,607
    ค่าพลัง:
    +10,414
    รายการที่ 951 ปิดรายการ

    รายการที่ 951 พระปางรำพึง(คนเกิดวันศุกร์ ) คุณแม่บุญเรือน ปี2499 พิมพ์เล็ก สร้างน้อยกว่าพิมพ์ใหญ่ครับ เนื้อผงพุทธคุณสภาพสวยเดิม ไม่ผ่านการบูชา ขนาดองค์พระ กว้าง 2 ซ.ม. สูง 2.7 ซ.ม.

    บูชา 1,050 บาท (รวมค่าส่ง)



    [​IMG] [​IMG]



    สนใจติดต่อ ต้น 084-0789309หรือโพสต์จองในกระทู้ครับ(จองได้ไม่เกิน 3 วันครับ)การโอนเงิน - บัญชีออมทรัพย์ธนาคารไทยพาณิชย์ สาขา ตรีเพชร เลขที่006-2-70184-6ชื่อบัญชี นาย<?xml:namespace prefix = st1 ns = "urn:schemas-microsoft-com[​IMG]</st1:personName>กิตติศักดิ์โสภาที<O[​IMG]</O[​IMG]<!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end -->

    ผู้ที่เกิดวันศุกร์




    พระประจำวันศุกร์ ได้แก่ ปางรำพึง





    ลักษณะพระพุทธรูป: พระพุทธรูปอยู่ในพระอริยาบถยืน พระหัตถ์ทั้งสองประสานกันยกขึ้นประทับที่พระอุระ (อก) พระหัตถืขวาทับพระหัตถ์ซ้าย​




    ความเป็นมา
    ภายหลังจากที่ตรัสรู้ได้ไม่นาน พระพุทธเจ้าซึ่งประทับอยู่ภายใต้ต้นไทร (อชปาลนโครธ) ก็ได้ทรงรำพึงพิจารณาถึงธรรมที่ตรัสรู้ว่าเป็นธรรมที่มีความละเอียดลึกซึ้ง ยากที่มนุษย์ปุถุชนจะรู้ตามได้ จึงเกิดความท้อพระทัยที่จะไม่สั่งสอนชาวโลก ด้วยรำพึงว่าจะมีใครสักกี่คนที่ฟังธรรมะของพระองค์เข้าใจ ร้อนถึงท้าวสหัมบดีพรหมได้มากราบทูลอาราธนาเพื่อทรงแสดงธรรมว่าในโลกนี้บุคคลที่มีกิเลสเบาบางพอฟังธรรมได้ยังมีอยู่ พระพุทธองค์ได้ทรงพิจารณาแล้วก็เห็นชอบด้วย อีกทั้งทรงรำพึงถึงธรรมเนียมของพระพุทธเจ้าทั้งหลายแต่ปางก่อน ว่าตรัสรู้แล้วก็ย่อมแสดงธรรมโปรดสัตว์โลกเพื่อประโยชน์สุขแก่ชนทั้งปวง จึงได้น้อมพระทัยในอันที่จะแสดงธรรมต่อชาวโลกตามคำอาราธนานั้น และตั้งพุทธปณิธานจะใคร่ดำรงพระชนม์อยู่จนกว่าจะได้ประกาศพระพุทธศาสนา ให้แพร่หลายประดิษฐานให้มั่นคงสำเร็จประโยชน์แก่ชนนิกรทุกหมู่เหล่าต่อไป พระพุทธจริยาที่ทรงรำพึงถึงธรรมที่จะแสดงโปรดชนนิกรผู้เป็นเวไนยบุคคลนั้นแล เป็นเหตุให้สร้างพระพุทธรูปที่เรียกว่า ปางรำพึง​




    บทสวดมนต์บูชาพระประจำวันศุกร์...




    อัปปะสันเนติ นาถัสสะ สาสะเน สาธุสัมมะเต อะมะนุสเสหิ สะทา กิพพิสะการิภิ ปะริสานัญจะตัสสันนะ มะหิงสายะจะคุตติยา ยันเทเสสิ มะหาวีโร ปะริตตันตัมภะณามะ เห​




    สวดวันละ 21 จบ จะมีความสุขสวัสดีตลอดกาลนาน และผู้ที่เกิดวันศุกร์ พึงใช้เครื่องประดับและบ้านเรือนเป็นสีฟ้าหรือสีน้ำเงินแก่ ส่วนสีรองลงมาคือ สขาวนวล สีม่วง สีเหลือง พึงเว้นสีเทา สีเมฆหมอก สีดอกรัก​
    <!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end -->
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • i1.jpg
      i1.jpg
      ขนาดไฟล์:
      46.1 KB
      เปิดดู:
      398
    • i2.jpg
      i2.jpg
      ขนาดไฟล์:
      45 KB
      เปิดดู:
      296
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 24 พฤศจิกายน 2012
  11. kayasid

    kayasid เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 พฤษภาคม 2009
    โพสต์:
    6,607
    ค่าพลัง:
    +10,414
    รายการที่ 952 ปิดรายการ

    รายการที่ 952 พระปางนาคปรก (คนเกิดวันเสาร์) คุณแม่บุญเรือน ปี2499 พิมพ์เล็ก สร้างน้อยกว่าพิมพ์ใหญ่ครับ เนื้อผงพุทธคุณ สภาพสวยเดิม ไม่ผ่านการบูชา ขนาดองค์พระ กว้าง 2 ซ.ม. สูง 2.8 ซ.ม.




    [​IMG] [​IMG]


    สนใจติดต่อ ต้น 084-0789309หรือโพสต์จองในกระทู้ครับ(จองได้ไม่เกิน 3 วันครับ)การโอนเงิน - บัญชีออมทรัพย์ธนาคารไทยพาณิชย์ สาขา ตรีเพชร เลขที่006-2-70184-6ชื่อบัญชี นาย<?xml:namespace prefix = st1 ns = "urn:schemas-microsoft-com[​IMG]</st1:personName>กิตติศักดิ์โสภาที<O[​IMG]</O[​IMG]<!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end -->

    ผู้ที่เกิดวันเสาร์

    พระประจำวันเสาร์ ได้แก่ ปางนาคปรก
    ลักษณะพระพุทธรูป : พระพุทธรูปอยู่ในพระอริยาบถประทับ (นั่ง) ขัดสมาธิ หงายพระหัตถ์ทั้งสองวางซ้อนกันบนพระเพลา (ตัก) พระหัตถ์ขวาซ้อนทับพระหัตถ์ซ้ายเหมือนปางสมาธิ แต่มีพญานาคขนดร่างเป็นวงกลมเป็นพุทธบัลลังก์และแผ่พังพานปกคลุมอยู่เหนือพระเศียร


    ความเป็นมา

    เมื่อพระพุทธองค์ตรัสรู้ และประทับบำเพ็ญสมาบัติเสวยวิมุตติสุขอันเกิดจากความพ้นกิเลสอยู่ ณ อาณาบริเวณที่ไม่ไกลจากต้นพระศรีมหาโพธิ์แห่งละ 7 วันนั้น ในสัปดาห์ที่ 3 นี้เอง ก็ได้ไปประทับใต้ต้นมุจลินท์ (ต้นจิก) ขณะนั้นฝนได้ตกลงมาไม่หยุด พญานาคตนหนึ่งชื่อ "มุจลินท์นาคราช" ก็ได้ขึ้นมาแสดงอิทธิฤทธิ์เข้าไปวงขนด 7 รอบ แล้วแผ่พังพานปกพระพุทธเจ้าไว้มิให้ฝนตกต้องพระวรกาย เหมือนกั้นเศวตฉัตรถวายพระผู้มีพระภาคเจ้า ด้วยความประสงค์มิให้ฝนและลมหนาวสาดต้องพระวรกาย ทั้งป้องกันเหลือบ ยุง บุ้ง ร่าน ริ้น และสัตว์เลื้อยคลานทั้งมวลด้วย จนฝนหาย จึงได้แปลงร่างเป็นมาณพเข้าไปเฝ้าพระพุทธองค์

    บทสวดมนต์บูชาพระประจำวันเสาร์…

    ยะโตหัง ภะคินิ อะริยายะ ชาติยา ชาโต, นาภิชานามิ สัญจิจจะ ปาณัง ชีวิตา โวโรเปตาฯ เตนะ สัจเจนะ โสตถิ เต โหตุ โสตถิ คัพภัสสะ

    สวดวันละ 10 จบ จะมีความสุขความเจริญและเกิดความสวัสดีมีมงคลตลอดกาลนาน และผู้ที่เกิดวันเสาร์ พึงใช้เครื่องประดับและบ้านเรือนเป็นสีดำหลัว หรือสีม่วง ส่วนสีรองๆ ลงมา คือ สีเทา สีเมฆหมอก สีดอกรัก สีน้ำเงิน พึงเว้นสีเขียว
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 5 กันยายน 2012
  12. kayasid

    kayasid เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 พฤษภาคม 2009
    โพสต์:
    6,607
    ค่าพลัง:
    +10,414
    รายการที่ 953 ปิดรายการ

    รายการที่ 953 พระมงคลมหาลาภ พิมพ์นางพญา พิมพ์เล็ก ปี 2499 วัดสารนาถฯ จ.ระยอง เนื้อดินเผา ด้านหลังหลังโรยทรายเงินทรายทอง (ทรายทองนี้เกิดจากการอธิษฐานของคุณแม่บุญเรือน ดีทางเงินทอง โชคลาภครับ) ขนาดองค์พระ กว้าง 1.7 ซ.ม. สูง 2.5 ซ.ม.

    \



    พระ รุ่นนี้ ปลุกเสกโดยคุณแม่บุญเรือน วัดอาวุธ และ คณาจารย์หลายท่านเช่น

    หลวงปู่ฝั้น อาจาโร
    หลวงปู่ขาว วัดถ้ำกลองเพล
    หลวงปู่ดุลย์ อตุโล วัดบูรพาราม
    หลวงปู่โต๊ะ วัดประดู่ฉิมพลี
    หลวงพ่อสด วัดปากน้ำ
    หลวง พ่อเงินวัดดอนยายหอม เป็นต้น
    ****ทั้ง นี้ ได้รับการปลุกเสก ซ้ำที่วัดสารนาถธรรมาราม จ.ระยองอีกครั้ง
    โดยนิมนต์พระสายระยอง และสายกรรมฐานเช่น
    หลวงพ่อโต วัดเขาบ่อทอง
    หลวง ปู่ทิม วัดละหารไร่
    หลวงพ่อลี วัดป่าคลองกุ้ง
    อาจารย์สิงห์ ขันตยาคโม
    โดย ทั้งหมดเพื่อจัดสร้างและสมโภชน์พระพุทโธภาสชิน ราชจอมมุนี ในขณะที่แม่ชีบุญเรือน เป็นประธาน
    จัด สร้างและคุมงานเอง<!-- google_ad_section_end -->

    สนใจติดต่อ ต้น 084-0789309หรือโพสต์จองในกระทู้ครับ(จองได้ไม่เกิน 3 วันครับ)การโอนเงิน - บัญชีออมทรัพย์ธนาคารไทยพาณิชย์ สาขา ตรีเพชร เลขที่006-2-70184-6ชื่อบัญชี นาย<?xml:namespace prefix = st1 ns = "urn:schemas-microsoft-com[​IMG]</st1:personName>กิตติศักดิ์โสภาที<O[​IMG]</O[​IMG]<!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end -->
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • g1.jpg
      g1.jpg
      ขนาดไฟล์:
      27.6 KB
      เปิดดู:
      568
    • g2.jpg
      g2.jpg
      ขนาดไฟล์:
      33.3 KB
      เปิดดู:
      255
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 10 กันยายน 2012
  13. kayasid

    kayasid เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 พฤษภาคม 2009
    โพสต์:
    6,607
    ค่าพลัง:
    +10,414
    รายการที่ 954 ปิดรายการ

    รายการที่ 954 พระมงคลมหาลาภ พิมพ์นางพญา พิมพ์ใหญ่ ปี 2499 วัดสารนาถฯ จ.ระยอง เนื้อผงพุทธคุณผสมทรายเงินทรายทอง (ทรายทองนี้เกิดจากการอธิษฐานของคุณแม่บุญเรือน ดีทางเงินทอง โชคลาภครับ) ขนาดองค์พระ กว้าง 2.4 ซ.ม. สูง 3 ซ.ม.



    พระ รุ่นนี้ ปลุกเสกโดยคุณแม่บุญเรือน วัดอาวุธ และ คณาจารย์หลายท่านเช่น

    หลวงปู่ฝั้น อาจาโร
    หลวงปู่ขาว วัดถ้ำกลองเพล
    หลวงปู่ดุลย์ อตุโล วัดบูรพาราม
    หลวงปู่โต๊ะ วัดประดู่ฉิมพลี
    หลวงพ่อสด วัดปากน้ำ
    หลวง พ่อเงินวัดดอนยายหอม เป็นต้น
    ****ทั้ง นี้ ได้รับการปลุกเสก ซ้ำที่วัดสารนาถธรรมาราม จ.ระยองอีกครั้ง
    โดยนิมนต์พระสายระยอง และสายกรรมฐานเช่น
    หลวงพ่อโต วัดเขาบ่อทอง
    หลวง ปู่ทิม วัดละหารไร่
    หลวงพ่อลี วัดป่าคลองกุ้ง
    อาจารย์สิงห์ ขันตยาคโม
    โดย ทั้งหมดเพื่อจัดสร้างและสมโภชน์พระพุทโธภาสชิน ราชจอมมุนี ในขณะที่แม่ชีบุญเรือน เป็นประธาน
    จัด สร้างและคุมงานเอง<!-- google_ad_section_end -->

    สนใจติดต่อ ต้น 084-0789309หรือโพสต์จองในกระทู้ครับ(จองได้ไม่เกิน 3 วันครับ)การโอนเงิน - บัญชีออมทรัพย์ธนาคารไทยพาณิชย์ สาขา ตรีเพชร เลขที่006-2-70184-6ชื่อบัญชี นาย<?xml:namespace prefix = st1 ns = "urn:schemas-microsoft-com[​IMG]</st1:personName>กิตติศักดิ์โสภาที<O[​IMG]</O[​IMG]<!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end -->
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • f1.jpg
      f1.jpg
      ขนาดไฟล์:
      29.7 KB
      เปิดดู:
      274
    • f2.jpg
      f2.jpg
      ขนาดไฟล์:
      28.2 KB
      เปิดดู:
      214
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 10 กันยายน 2012
  14. kayasid

    kayasid เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 พฤษภาคม 2009
    โพสต์:
    6,607
    ค่าพลัง:
    +10,414
    รายการที่ 955 ปิดรายการ

    รายการที่ 955 พระมงคลมหาลาภ พิมพ์วัดตะไกร ปี 2499 วัดสารนาถฯ จ.ระยอง เนื้อดินเผา สภาพสวยเดิม บูชา 1,550 บาท (รวมค่าส่งแล้ว)

    ขออ้างอิงข้อความจากหนังสืออนุสรณ์พระมงคลมหาลาภ วัดสารนาถฯ จ.ระยอง ดังนี้


    *** พระมงคลมหาลาภ พ.ศ.2499 ของวัดสัมพันธวงศ์ กรุงเทพมหานครเป็นพระสมเด็จแบบสมเด็จพระพุฒาจารย์ พระพุทโธเล็ก พระวัดตะไกร และพระแบบวัดนางพระยา ฯลฯ (และแบบอื่นๆอีกมาก)


    พระเครื่องเหล่านี้สร้างเป็นที่ระลึกในงานสมโภชพระพุทโธชินราชจอมมุนี ซึ่งสร้างที่ วัดสัมพันธวงศ์ พระนคร แล้วอัญเชิญไปประดิษฐานเป็นพระประธาน ณ วัดสารนาถธรรมราม อ.แกลง จ.ระยอง พร้อมด้วยพระอัครสาวกซ้ายขวา เมื่อวันที่ 5-31 มีนาคม 2499 ***


    พระ รุ่นนี้ ปลุกเสกโดยคุณแม่บุญเรือน วัดอาวุธ และ คณาจารย์หลายท่านเช่น

    หลวงปู่ฝั้น อาจาโร

    หลวงปู่ขาว วัดถ้ำกลองเพล
    หลวงปู่ดุลย์ อตุโล วัดบูรพาราม
    หลวงปู่โต๊ะ วัดประดู่ฉิมพลี
    หลวงพ่อสด วัดปากน้ำ
    หลวง พ่อเงินวัดดอนยายหอม เป็นต้น
    ****ทั้ง นี้ ได้รับการปลุกเสก ซ้ำที่วัดสารนาถธรรมาราม จ.ระยองอีกครั้ง
    โดยนิมนต์พระสายระยอง และสายกรรมฐานเช่น
    หลวงพ่อโต วัดเขาบ่อทอง
    หลวง ปู่ทิม วัดละหารไร่
    หลวงพ่อลี วัดป่าคลองกุ้ง
    อาจารย์สิงห์ ขันตยาคโม
    โดย ทั้งหมดเพื่อจัดสร้างและสมโภชน์พระพุทโธภาสชิน ราชจอมมุนี ในขณะที่แม่ชีบุญเรือน เป็นประธาน
    จัด สร้างและคุมงานเอง<!-- google_ad_section_end -->


    สนใจติดต่อ ต้น 084-0789309หรือโพสต์จองในกระทู้ครับ(จองได้ไม่เกิน 3 วันครับ)การโอนเงิน - บัญชีออมทรัพย์ธนาคารไทยพาณิชย์ สาขา ตรีเพชร เลขที่006-2-70184-6ชื่อบัญชี นาย<?xml:namespace prefix = st1 ns = "urn:schemas-microsoft-com[​IMG]</st1:personName>กิตติศักดิ์โสภาที<O[​IMG]</O[​IMG]<!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end -->
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • h1.jpg
      h1.jpg
      ขนาดไฟล์:
      34.1 KB
      เปิดดู:
      320
    • h2.jpg
      h2.jpg
      ขนาดไฟล์:
      32.3 KB
      เปิดดู:
      320
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 28 มีนาคม 2013
  15. kayasid

    kayasid เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 พฤษภาคม 2009
    โพสต์:
    6,607
    ค่าพลัง:
    +10,414
    รายการที่ 956 ปิดรายการ

    รายการที่ 956 พระเม็ดน้อยหน่า หลังอุ กรุวัดศาลาปูน จ.อยุธยา (อายุพระ3-400 ปี) เนื้อดินเผาผสมใบลานสีดำ สภาพสมบูรณ์ ผิวเดิมครับ ขนาดองค์พระกว้าง 0.9 ซ.ม. สูง 2.5 ซ.ม. พุทธคุณเน้นด้านแคล้วคลาด คงกะพันชาตรี สไตล์พระกรุเก่าอยุธยา(รับประกันความแท้ 100 % ตลอดชีพครับ)

    บูชา 750 บาท (รวมค่าส่ง)

    ประวัติพระเม็ดน้อยหน่า

    พระเม็ดน้อยหน่าหลังยันต์ อุ เป็นพระกรุเนื้อดินผสมใบลานเผาของ จ. อยุธยา ที่มีอายุการสร้างมาไม่ต่ำกว่า 300 ถึง 400 ปี เป็นพระขนาดเล็กกระทัดรัด แต่เรื่องพุทธคุณไม่เล็กแน่นอน เป็นพระในตำนานที่มีการเล่าขานกันมาตั้งแต่รุ่นบรรพบุรุษถึงพุทธคุณที่ครบเครื่องทุกอย่าง ทั้งแคล้วคลาด คงกระพันกันเขี้ยวงา และเมตตามหานิยม สมัยก่อนผู้ใหญ่ให้เด็กแขวนพระเม็ดน้อยหน่านี้เพื่อกันสุนัขกัด เพราะเด่นมากทางด้านคงกระพันกันเขี้ยวงา เนื่องจากพระเม็ดน้อยหน่าหลังยันต์ อุ ของอยุธยาแตกกรุออกมามาก จำนวนพระจึงกระจัดกระจาย ในสมัยก่อนให้กันฟรีๆ ทำให้ผู้ที่นำไปใช้ได้รับประสบการณ์กันมากมาย จึงจัดเป็นของดีราคาถูก แต่ปัจจุบันหายากแล้วครับ

    สนใจกรุณาติดต่อต้น 084-0789309 หรือโพสต์จองในกระทู้ครับ(จองได้ไม่เกิน 3 วันครับ)การโอนเงิน - บัญชีออมทรัพย์ธนาคารไทยพาณิชย์ สาขา ตรีเพชร เลขที่ 006-2-70184-6 ชื่อบัญชี นาย<ST1></ST1>กิตติศักดิ์ โสภาที
    <!-- google_ad_section_end -->
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • h1.jpg
      h1.jpg
      ขนาดไฟล์:
      33.3 KB
      เปิดดู:
      309
    • h2.jpg
      h2.jpg
      ขนาดไฟล์:
      28.9 KB
      เปิดดู:
      300
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 21 ตุลาคม 2012
  16. kayasid

    kayasid เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 พฤษภาคม 2009
    โพสต์:
    6,607
    ค่าพลัง:
    +10,414
    รายการที่ 957 ปิดรายการ

    รายการที่ 957 ใช้ห้อยบูชาแทนสมเด็จวัดระฆังของสมเด็จโตได้ครับกับ พระสมเด็จปรกโพธิ์ ปี2495เนื้อผงมวลสารเก่าสมเด็จวัดระฆัง หลวงปู่นาค วัดระฆัง จ.กรุงเทพ ขนาดองค์พระ กว้าง 2.7 ซ.ม. สูง 2.9 ซ.ม.

    องค์นี้พระสภาพสวยมาก เนื้อเหลืองแกร่ง สภาพสมบูรณ์ ไม่มีชำรุดใดๆ ครับ รับประกันความแท้ 100 %องค์นี้ตัวจริงครับ น่าบูชาที่สุด เพราะมีมวลสารสมเด็จวัดระฆังมากมายผสมอยู่ และอธิษฐานจิต โดยล.ป.นาค ซึ่งท่านเป็นพระอริยเจ้าที่บริสุทธิ์รูปหนึ่งครับ

    พระสมเด็จ หลวงปู่นาค เวปสายตรงล.ป.นาคให้บูชาอยู่ที่ 2,500-3,000 บาท ผมแบ่งให้บูชาเบาๆเพียงองค์ละ บูชา องค์ละ 1,500 บาท (รวมค่าส่ง)

    พระสมเด็จของหลวงปู่นาค วัดระฆัง เป็นพระสมเด็จที่มีส่วนผสมของเศษแตกหักของสมเด็จวัดระฆังที่ท่านได้เก็บรวบรวมไว้เป็นจำนวนมากจากการที่มีประชาชนนำเศษแตกหักของพระสมเด็จมาทิ้งไว้ที่วัดและการค้นพบพระสมเด็จจำนวนมากบนหลังคาโบสถ์วัดระฆังซึ่งท่านได้นำพระสมเด็จที่แตกหักทั้งหมดร่วมกับการสร้างผงพุทธคุณของท่านตามตำรับของสมเด็จโต ทำให้พระสมเด็จของท่านโดยเฉพาะพระในยุคต้น ๆ ช่วงปี 2485-2495 มีเนื้อหามวลสารจัดจ้านน่าบูชายิ่งนัก ซึงนับว่าเป็นพระตระกูลสมเด็จที่มีเนื้อหามวลสารของพระสมเด็จวัดระฆังผสมไว้มากที่สุด จะเป็นรองก็เพียงพระสมเด็จของพระครูสังฆ์ วัดอินทรวิหารเท่านั้น อีกทั้งพุทธคุณก็สูงล้ำในด้านเมตตามหานิยม เป็นที่เสาะแสวงหากันอย่างมาก
    แต่เนื่องจากท่านได้สร้างพิมพ์ทรงของพระสมเด็จต่าง ๆ ไว้มากมาย ในวงการจึงนิยมเล่นหากันเฉพาะพิมพ์นิยมบางพิมพ์ของท่านที่มีเอกลักษณ์เฉพาะตัวใครเห็นก็ทราบว่าเป็นพระของท่าน เช่น พิมพ์เทวดาสามชั้นหูบายศรี พิมพ์ปรกโพธิ์ พิมพ์ชิ้นฟัก พิมพ์รูปเหมือนสมเด็จโต พิมพ์ซุ้มระฆัง เป็นต้น ส่วนพิมพ์อื่น ๆ ไม่ค่อยนิยมเช่าหากัน สำหรับพระสมเด็จของท่านที่มีเนื้อหาจัดจ้าน แก่ผงพระสมเด็จ หรือ มีการฝังตะกรุดไว้เป็นพิเศษ ตั้งแต่ 1ดอก 2 ดอก หรือ 3 ดอก จะหาได้ยากมากและเป็นที่ได้รับความนิยมเป็นอย่างมาก โดยจะเช่าหากันในราคาสูงกว่าปกติหลายเท่า
    เป็นที่น่าแปลกใจมากพระสมเด็จของหลวงปู่นาค วัดระฆังไปมีชื่อเสียงโด่งดังในประเทศมาเลเซียและสิงคโปร์เป็นอย่างมาก ปัจจุบันมีนักท่องเที่ยวจากประเทศดังกล่าวมากว้านซื้อกลับไปยังประเทศของตนเป็นจำนวนมาก ทำให้จำนวนพระสมเด็จของหลวงปู่นาค วัดระฆังในปัจจุบัน มีจำนวนลดลงเป็นอย่างมาก ซึ่งในอนาคตพระชุดนี้คงจะดังระเบิดด้วยค่านิยมไม่แพ้พระสมเด็จบางขุนพรหม ปี 09 เป็นแน่แท้


    สนใจกรุณาติดต่อต้น 084-0789309 หรือโพสต์จองในกระทู้ครับ(จองได้ไม่เกิน 3 วันครับ)การโอนเงิน - บัญชีออมทรัพย์ธนาคารไทยพาณิชย์ สาขา ตรีเพชร เลขที่ 006-2-70184-6 ชื่อบัญชี นายกิตติศักดิ์ โสภาที<!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end -->
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • f1.jpg
      f1.jpg
      ขนาดไฟล์:
      41 KB
      เปิดดู:
      241
    • f2.jpg
      f2.jpg
      ขนาดไฟล์:
      34.7 KB
      เปิดดู:
      319
    • f3.jpg
      f3.jpg
      ขนาดไฟล์:
      38.8 KB
      เปิดดู:
      253
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 5 กันยายน 2012
  17. kayasid

    kayasid เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 พฤษภาคม 2009
    โพสต์:
    6,607
    ค่าพลัง:
    +10,414
    รายการที่ 958 ปิดรายการ

    รายการที่ 958 " เหรียญเจ้าสัวหล่อโบราณรุ่นแรก อมตะแห่งเศรษฐี อมตะแห่งหล่อโบราณ"

    หลวงปู่สุภากันตสีโล วัดสีลสุภาราม จ.ภูเก็ต ปี2547 (ปัจจุบัน ลป.สุภา อายุ 118 ปี แล้วครับ)

    องค์นี้เนื้อทองผสมรมดำ สภาพสวยมาก ผิวเดิม ไม่ผ่านการบูชา มีตอกโค๊ดกันปลอมครับ

    " เหรียญเจ้าสัวหล่อโบราณรุ่นแรก อมตะแห่งเศรษฐี อมตะแห่งหล่อโบราณ"

    หลวงปู่สุภาได้ปลุกเสกของขวัญชิ้นสำคัญที่จัดสร้างขี้นในวโรกาสที่หลวงปู่ได้เข้ารับพระราชทานสมณศักดิ์จากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ในปี 47 ซึ่งเป็นมงคลสูงสุดนั้นคือ "เหรียญหล่อเจ้าสัว" เพื่อมอบให้ลูกหลานหลวงปู่จะได้อนุโมทนายินดีร่วมกัน และเพื่อผลให้ลูกหลานหลวงปู่ร่ำรวยเป็นเศรษฐีมหเศรษฐี มีโชคลาภ เงินทองเข้าไม่ขาด ได้เป็น"เจ้าสัว" กันทุกคน

    หลวงปู่ได้พูดประโยคหนึ่งที่กินใจและมีค่ามากว่า "หลวงปู่จะได้รับยศถาบรรดาศักดิ์เป็นอะไรไม่สำคัญแต่ที่สำคัญลูกหลานหลวงปู่ต้องไม่จน ต้องมีโชคที่ร่ำรวย มีความสุข อันนี้สำคัญกว่า หลวงปู่เป็นห่วงลูกหลานทุกคน ขอให้เป็นเจ้าสัวรวยๆ กันนะลูกนะ"

    เหรียญเจ้าสัวหล่อโบราณจึงเป็นเหมือนของขวัญชิ้นสำคัญที่สื่อถึงใจหลวงปู่ที่มอบความเป็นเศรษฐี
    ความร่ำรวยโชคลาภเงินทอง ความเป็นเจ้าสัวสู่ลูกหลานหลวงปู่

    ด้านหน้า เป็นรูปพระพุทธอยู่ในซุ้มกระจัง (แบบพระเจ้าสัวองค์เดิมต้นตำรับของหลวงปู่บุญ วัดกลาง-บางแก้ว) แต่ละพิมพ์ใหม่ให้มีเอกลักษณ์ของหลวงปู่เอง และแบบโบราณที่หย่อนสวยแต่เข้มขลังตรงตามตำรา
    ด้านหลัง เป็นยันต์ครูของหลวงปู่ที่มีอานุภาพมาก เปลี่ยนหน้ามือเป็นหลังมือได้ เปลี่ยนจากยากจนเป็น-เศรษฐีได้ ล้อมรอบด้วย 'นะเศรษฐี' 8 องค์ 8 ทิศ จะได้เป็นมหาเศรษฐีทุกๆ ด้าน ใต้ยันต์มีคำว่า "เจ้าสัวมหาเศรษฐี"
    และลายเซ็นหลวงปู่สุภา



    สนใจกรุณาโทรสอบถาม ติดต่อต้น 084-0789309 หรือโพสต์จองในกระทู้ครับ(จองได้ไม่เกิน 3 วันครับ)การโอนเงิน - บัญชีออมทรัพย์ธนาคารไทยพาณิชย์ สาขา ตรีเพชร เลขที่ 006-2-70184-6 ชื่อบัญชี นาย<ST1></ST1>กิตติศักดิ์ โสภาที<!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end -->
    <!-- google_ad_section_end -->
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • 111.jpg
      111.jpg
      ขนาดไฟล์:
      75.2 KB
      เปิดดู:
      295
    • 222.jpg
      222.jpg
      ขนาดไฟล์:
      62.6 KB
      เปิดดู:
      228
    • 583.jpg
      583.jpg
      ขนาดไฟล์:
      23.2 KB
      เปิดดู:
      272
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 10 กันยายน 2012
  18. kayasid

    kayasid เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 พฤษภาคม 2009
    โพสต์:
    6,607
    ค่าพลัง:
    +10,414
    รายการที่ 959 พระสมเด็จปรกโพธิ์ ปี2495 หลวงปู่นาค วัดระฆัง จ.กรุงเทพ

    รายการที่ 959 ใช้ห้อยบูชาแทนสมเด็จวัดระฆังของสมเด็จโตได้ครับกับ พระสมเด็จปรกโพธิ์ ปี2495เนื้อผงมวลสารเก่าสมเด็จวัดระฆัง หลวงปู่นาค วัดระฆัง จ.กรุงเทพ ขนาดองค์พระ กว้าง 2.7 ซ.ม. สูง 2.9 ซ.ม.

    องค์นี้พระสภาพสวยมาก เนื้อเหลืองแกร่ง สภาพสมบูรณ์ ไม่มีชำรุดใดๆ ครับ รับประกันความแท้ 100 %องค์นี้ตัวจริงครับ น่าบูชาที่สุด เพราะมีมวลสารสมเด็จวัดระฆังมากมายผสมอยู่ และอธิษฐานจิต โดยล.ป.นาค ซึ่งท่านเป็นพระอริยเจ้าที่บริสุทธิ์รูปหนึ่งครับ

    พระสมเด็จ หลวงปู่นาค เวปสายตรงล.ป.นาคให้บูชาอยู่ที่ 2,500-3,000 บาท ผมแบ่งให้บูชาเบาๆเพียงองค์ละ บูชา องค์ละ 1,500 บาท (รวมค่าส่ง)

    พระสมเด็จของหลวงปู่นาค วัดระฆัง เป็นพระสมเด็จที่มีส่วนผสมของเศษแตกหักของสมเด็จวัดระฆังที่ท่านได้เก็บรวบรวมไว้เป็นจำนวนมากจากการที่มีประชาชนนำเศษแตกหักของพระสมเด็จมาทิ้งไว้ที่วัดและการค้นพบพระสมเด็จจำนวนมากบนหลังคาโบสถ์วัดระฆังซึ่งท่านได้นำพระสมเด็จที่แตกหักทั้งหมดร่วมกับการสร้างผงพุทธคุณของท่านตามตำรับของสมเด็จโต ทำให้พระสมเด็จของท่านโดยเฉพาะพระในยุคต้น ๆ ช่วงปี 2485-2495 มีเนื้อหามวลสารจัดจ้านน่าบูชายิ่งนัก ซึงนับว่าเป็นพระตระกูลสมเด็จที่มีเนื้อหามวลสารของพระสมเด็จวัดระฆังผสมไว้มากที่สุด จะเป็นรองก็เพียงพระสมเด็จของพระครูสังฆ์ วัดอินทรวิหารเท่านั้น อีกทั้งพุทธคุณก็สูงล้ำในด้านเมตตามหานิยม เป็นที่เสาะแสวงหากันอย่างมาก
    แต่เนื่องจากท่านได้สร้างพิมพ์ทรงของพระสมเด็จต่าง ๆ ไว้มากมาย ในวงการจึงนิยมเล่นหากันเฉพาะพิมพ์นิยมบางพิมพ์ของท่านที่มีเอกลักษณ์เฉพาะตัวใครเห็นก็ทราบว่าเป็นพระของท่าน เช่น พิมพ์เทวดาสามชั้นหูบายศรี พิมพ์ปรกโพธิ์ พิมพ์ชิ้นฟัก พิมพ์รูปเหมือนสมเด็จโต พิมพ์ซุ้มระฆัง เป็นต้น ส่วนพิมพ์อื่น ๆ ไม่ค่อยนิยมเช่าหากัน สำหรับพระสมเด็จของท่านที่มีเนื้อหาจัดจ้าน แก่ผงพระสมเด็จ หรือ มีการฝังตะกรุดไว้เป็นพิเศษ ตั้งแต่ 1ดอก 2 ดอก หรือ 3 ดอก จะหาได้ยากมากและเป็นที่ได้รับความนิยมเป็นอย่างมาก โดยจะเช่าหากันในราคาสูงกว่าปกติหลายเท่า
    เป็นที่น่าแปลกใจมากพระสมเด็จของหลวงปู่นาค วัดระฆังไปมีชื่อเสียงโด่งดังในประเทศมาเลเซียและสิงคโปร์เป็นอย่างมาก ปัจจุบันมีนักท่องเที่ยวจากประเทศดังกล่าวมากว้านซื้อกลับไปยังประเทศของตนเป็นจำนวนมาก ทำให้จำนวนพระสมเด็จของหลวงปู่นาค วัดระฆังในปัจจุบัน มีจำนวนลดลงเป็นอย่างมาก ซึ่งในอนาคตพระชุดนี้คงจะดังระเบิดด้วยค่านิยมไม่แพ้พระสมเด็จบางขุนพรหม ปี 09 เป็นแน่แท้


    สนใจกรุณาติดต่อต้น 084-0789309 หรือโพสต์จองในกระทู้ครับ(จองได้ไม่เกิน 3 วันครับ)การโอนเงิน - บัญชีออมทรัพย์ธนาคารไทยพาณิชย์ สาขา ตรีเพชร เลขที่ 006-2-70184-6 ชื่อบัญชี นายกิตติศักดิ์ โสภาที<!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end -->
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • b1.jpg
      b1.jpg
      ขนาดไฟล์:
      43.8 KB
      เปิดดู:
      965
    • b2.jpg
      b2.jpg
      ขนาดไฟล์:
      41.1 KB
      เปิดดู:
      332
  19. kayasid

    kayasid เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 พฤษภาคม 2009
    โพสต์:
    6,607
    ค่าพลัง:
    +10,414
    รายการที่ 960 ปิดรายการครับ



    มีผู้บูชาเเล้วครับ
    รายการที่ 960 พระพุทโธน้อย คุณแม่บุญเรือน รุ่นแรกปี2494
    พิมพ์เล็กหน้าตุ๊กตา หลังยันต์พุทโธ เนื้อผงพุทธคุณ สีเทา หายาก มีมวลสารเกสรช่อมะม่วงด้านข้างครับ

    พระสภาพพอสวย ผิวเดิม ไม่ผ่านการบูชา

    ขนาดองค์พระ กว้าง 1.5 ซ.ม. สูง 2.5 ซ.ม.


    รับประกันความแท้ 100 % ตลอดชีพนะครับ

    รายการนี้สนใจ กรุณา p.m.สอบถามหรือโทรถาม ติดต่อ ต้น 084-0789309




    ในวงการพระเครื่องมีพระดีเด่นดัง อยู่มากมาย หนึ่งในนั้น เป็นพระที่เซียนพระนิยมห้อยบูชากันมา 50 กว่าปี ย้ำ เซียนพระนะครับ ถ้าดูในคอของเซียนพระดังระดับประเทศรุ่นเก่า จนถึงเซียนพระรุ่นใหม่ไฟแรง อย่าง บอยท่าพระจันทร์ ผู้มีสนามฟุตบอลเป็นของตนเอง และเล่นพระระดับหลักแสน หลักล้าน แต่ในคอ ต้องมีพระองค์นี้อยู่ในคอครับ นั่นคือ

    พระพุทโธน้อย ปี 2494 นั่นเอง

    (ประสบการณ์ของเซียนบอย คือ เช่าพระมาชุดนึงราคาหลักล้าน แต่ปล่อยไม่ออกสักทีจนกลุ้มใจ เซียนบอยได้ยินมาว่า พระพุทโธน้อย ขอพรได้รวดเร็วทันใจ จึงไปหามาห้อยคอ และจุดธูปขอพรบอกกล่าวสิ่งที่ตนเองกลุ้มใจอยู่ ปรากฏว่า 3 วันเท่านั้น มีผู้มาขอบูชาพระชุดนี้ไปอย่างง่ายดายครับ -พระพุทโธน้อยพิมพ์ที่เซียนบอย หามาห้อยคอ คือพระพุทโธน้อย พิมพ์จัมโบ้ครับ)

    และที่สำคัญ พระพุทโธน้อยนี้ ผู้ปลุกเสกไม่ใช่พระสงฆ์ครับ เป็นอุบาสิกาที่ถือศีล 5 นั่นก็คือ คุณแม่บุญเรือน โตงบุญเติมครับ ที่ท่านปฏิบัติธรรมจนเคร่งครัด สำเร็จคุณธรรมขั้นสูง สามารถล่องหน หายตัวได้ เดินกลางฝนไม่เปียก เสกของอธิษฐาน ให้คนกิน จนหายจากโรคร้าย และ ท่านมีวาจาสิทธิ์ มีคนพิการขาเป๋หลังโก่ง เดินไม่ได้ ต้องใช้ไม้เท้า มาหาคุณแม่ คุณแม่สั่งให้ทิ้งไม้เท้า และสั่งให้เดินเอง ปรากฏว่า หลังกลับตรง และเดินได้เอง อย่างน่าอัศจรรย์ จนวาระสุดท้าย เมื่อคุณแม่เสียชีวิต กระดูกกลายเป็นพระธาตุ ดุจดังกับพระอริยเจ้าสายพระป่ากรรมฐาน ครับ

    พระพุทโธน้อยนี้ เด่นมาก ผมขอยกให้เป็น 1 ในแผ่นดิน ในเรื่อง การขอพรได้รวดเร็วทันใจครับ (ถ้าสิ่งนั้นไม่ผิดศีลธรรม) ได้ยินมาจากลูกค้าที่เช่าไปห้อยบูชา โทรกลับมาเล่าให้ฟังบ่อยครั้ง จนเป็นเรื่องปกติครับ ไม่ว่าเรื่อง การงาน การเงิน ถ้าท่านศรัทธาจริงมีผลแน่นอน

    ท่านใดยังไม่มีบูชาลองหามาห้อยคอสักองค์นะครับ แล้วท่านจะรู้ได้ด้วยตนเองครับ



    พระพุทโธน้อย" เป็นพระเครื่องขนาดเล็กที่ท่านสร้างขึ้นและอธิษฐานจิตให้ไว้แก่วัดอาวุธวิกสิตาราม ตำบลบางพลัดนอก ธนบุรี เมื่อปี พ.ศ.2494 เป็นพระพิมพ์แบบครึ่งซีก กรอบทรงสามเหลี่ยม ด้านหน้า องค์พระประทับนั่ง แสดงปางมารวิชัย เหนือฐานบัวสองชั้น พระเกศเป็นมุ่นเมาลี พระนาสิกเป็นสันนูน พระเนตรเป็นเม็ดกลมนูน และพระหัตถ์ซ้ายถือหม้อน้ำมนต์ ส่วนด้านหลัง มีอักขระขอมจารึกเป็นเส้นลึกอ่านว่า "พุทโธ" โดยมีทั้งพิมพ์ใหญ่ พิมพ์กลาง และพิมพ์เล็ก มีทั้งเนื้อดินเผา และเนื้อผงพุทธคุณครับ จำนวนการสร้างรวมทั้งสิ้น 100,000 องค์ (มียันต์พิเศษ จำนวน 3000 องค์)

    พระพุทโธน้อย แม้จำนวนสร้างจะมาก แต่ด้วยความศรัทธาในตัวผู้สร้างและพุทธคุณเป็นเลิศปรากฏครบครันทั้งด้านเมตตามหานิยม แคล้วคลาด เจริญด้วยโภคทรัพย์ และกำจัดโรคร้าย ทำให้ "พระพุทโธน้อย" หมดไปภายในเวลาอันรวดเร็ว

    "พระพุทโธน้อย" นับเป็นพระเครื่องเก่าแก่และน่าสะสมมากพิมพ์หนึ่ง ด้วยพุทธคุณที่ปรากฏอย่างสม่ำเสมอแก่ผู้ที่เคารพศรัทธาและกราบไหว้สักการะไม่ขาด ว่ากันว่ามุ่งหวังสิ่งใดก็จะสำเร็จสมความตั้งใจอีกทั้งแคล้วคลาดภยันตรายทั้งปวงครับ


    [​IMG]สนใจกรุณาติดต่อต้น 084-0789309 หรือโพสต์จองในกระทู้ครับ(จองได้ไม่เกิน 3 วันครับ)การโอนเงิน - บัญชีออมทรัพย์ธนาคารไทยพาณิชย์ สาขา ตรีเพชร เลขที่ 006-2-70184-6 ชื่อบัญชี นาย<st1></st1>กิตติศักดิ์ โสภาที<!-- google_ad_section_end -->
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • b1.jpg
      b1.jpg
      ขนาดไฟล์:
      32.2 KB
      เปิดดู:
      343
    • b2.jpg
      b2.jpg
      ขนาดไฟล์:
      34.2 KB
      เปิดดู:
      193
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 24 กันยายน 2012
  20. kayasid

    kayasid เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 พฤษภาคม 2009
    โพสต์:
    6,607
    ค่าพลัง:
    +10,414
    รายการที่ 961 ปิดรายการครับ

    รายการที่ 961 พระพุทโธน้อย คุณแม่บุญเรือน รุ่นแรกปี2494 พิมพ์กลาง บัวหกเม็ด สร้างน้อยมาก หลังยันต์พุทโธ เนื้อผงพุทธคุณ พระสภาพพอสวย ผิวเดิม ไม่ผ่านการบูชา

    ขนาดองค์พระ กว้าง 1.5 ซ.ม. สูง 2.5 ซ.ม.


    รับประกันความแท้ 100 % ตลอดชีพนะครับ

    รายการนี้สนใจ กรุณา p.m.สอบถามหรือโทรถาม ติดต่อ ต้น 084-0789309




    ในวงการพระเครื่องมีพระดีเด่นดัง อยู่มากมาย หนึ่งในนั้น เป็นพระที่เซียนพระนิยมห้อยบูชากันมา 50 กว่าปี ย้ำ เซียนพระนะครับ ถ้าดูในคอของเซียนพระดังระดับประเทศรุ่นเก่า จนถึงเซียนพระรุ่นใหม่ไฟแรง อย่าง บอยท่าพระจันทร์ ผู้มีสนามฟุตบอลเป็นของตนเอง และเล่นพระระดับหลักแสน หลักล้าน แต่ในคอ ต้องมีพระองค์นี้อยู่ในคอครับ นั่นคือ

    พระพุทโธน้อย ปี 2494 นั่นเอง

    (ประสบการณ์ของเซียนบอย คือ เช่าพระมาชุดนึงราคาหลักล้าน แต่ปล่อยไม่ออกสักทีจนกลุ้มใจ เซียนบอยได้ยินมาว่า พระพุทโธน้อย ขอพรได้รวดเร็วทันใจ จึงไปหามาห้อยคอ และจุดธูปขอพรบอกกล่าวสิ่งที่ตนเองกลุ้มใจอยู่ ปรากฏว่า 3 วันเท่านั้น มีผู้มาขอบูชาพระชุดนี้ไปอย่างง่ายดายครับ -พระพุทโธน้อยพิมพ์ที่เซียนบอย หามาห้อยคอ คือพระพุทโธน้อย พิมพ์จัมโบ้ครับ)

    และที่สำคัญ พระพุทโธน้อยนี้ ผู้ปลุกเสกไม่ใช่พระสงฆ์ครับ เป็นอุบาสิกาที่ถือศีล 5 นั่นก็คือ คุณแม่บุญเรือน โตงบุญเติมครับ ที่ท่านปฏิบัติธรรมจนเคร่งครัด สำเร็จคุณธรรมขั้นสูง สามารถล่องหน หายตัวได้ เดินกลางฝนไม่เปียก เสกของอธิษฐาน ให้คนกิน จนหายจากโรคร้าย และ ท่านมีวาจาสิทธิ์ มีคนพิการขาเป๋หลังโก่ง เดินไม่ได้ ต้องใช้ไม้เท้า มาหาคุณแม่ คุณแม่สั่งให้ทิ้งไม้เท้า และสั่งให้เดินเอง ปรากฏว่า หลังกลับตรง และเดินได้เอง อย่างน่าอัศจรรย์ จนวาระสุดท้าย เมื่อคุณแม่เสียชีวิต กระดูกกลายเป็นพระธาตุ ดุจดังกับพระอริยเจ้าสายพระป่ากรรมฐาน ครับ

    พระพุทโธน้อยนี้ เด่นมาก ผมขอยกให้เป็น 1 ในแผ่นดิน ในเรื่อง การขอพรได้รวดเร็วทันใจครับ (ถ้าสิ่งนั้นไม่ผิดศีลธรรม) ได้ยินมาจากลูกค้าที่เช่าไปห้อยบูชา โทรกลับมาเล่าให้ฟังบ่อยครั้ง จนเป็นเรื่องปกติครับ ไม่ว่าเรื่อง การงาน การเงิน ถ้าท่านศรัทธาจริงมีผลแน่นอน

    ท่านใดยังไม่มีบูชาลองหามาห้อยคอสักองค์นะครับ แล้วท่านจะรู้ได้ด้วยตนเองครับ



    พระพุทโธน้อย" เป็นพระเครื่องขนาดเล็กที่ท่านสร้างขึ้นและอธิษฐานจิตให้ไว้แก่วัดอาวุธวิกสิตาราม ตำบลบางพลัดนอก ธนบุรี เมื่อปี พ.ศ.2494 เป็นพระพิมพ์แบบครึ่งซีก กรอบทรงสามเหลี่ยม ด้านหน้า องค์พระประทับนั่ง แสดงปางมารวิชัย เหนือฐานบัวสองชั้น พระเกศเป็นมุ่นเมาลี พระนาสิกเป็นสันนูน พระเนตรเป็นเม็ดกลมนูน และพระหัตถ์ซ้ายถือหม้อน้ำมนต์ ส่วนด้านหลัง มีอักขระขอมจารึกเป็นเส้นลึกอ่านว่า "พุทโธ" โดยมีทั้งพิมพ์ใหญ่ พิมพ์กลาง และพิมพ์เล็ก มีทั้งเนื้อดินเผา และเนื้อผงพุทธคุณครับ จำนวนการสร้างรวมทั้งสิ้น 100,000 องค์ (มียันต์พิเศษ จำนวน 3000 องค์)

    พระพุทโธน้อย แม้จำนวนสร้างจะมาก แต่ด้วยความศรัทธาในตัวผู้สร้างและพุทธคุณเป็นเลิศปรากฏครบครันทั้งด้านเมตตามหานิยม แคล้วคลาด เจริญด้วยโภคทรัพย์ และกำจัดโรคร้าย ทำให้ "พระพุทโธน้อย" หมดไปภายในเวลาอันรวดเร็ว

    "พระพุทโธน้อย" นับเป็นพระเครื่องเก่าแก่และน่าสะสมมากพิมพ์หนึ่ง ด้วยพุทธคุณที่ปรากฏอย่างสม่ำเสมอแก่ผู้ที่เคารพศรัทธาและกราบไหว้สักการะไม่ขาด ว่ากันว่ามุ่งหวังสิ่งใดก็จะสำเร็จสมความตั้งใจอีกทั้งแคล้วคลาดภยันตรายทั้งปวงครับ


    [​IMG]สนใจกรุณาติดต่อต้น 084-0789309 หรือโพสต์จองในกระทู้ครับ(จองได้ไม่เกิน 3 วันครับ)การโอนเงิน - บัญชีออมทรัพย์ธนาคารไทยพาณิชย์ สาขา ตรีเพชร เลขที่ 006-2-70184-6 ชื่อบัญชี นาย<ST1></ST1>กิตติศักดิ์ โสภาที<!-- google_ad_section_end -->
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • a1.jpg
      a1.jpg
      ขนาดไฟล์:
      31.2 KB
      เปิดดู:
      247
    • a2.jpg
      a2.jpg
      ขนาดไฟล์:
      31.1 KB
      เปิดดู:
      231
    • a3.jpg
      a3.jpg
      ขนาดไฟล์:
      23 KB
      เปิดดู:
      236
    • a4.jpg
      a4.jpg
      ขนาดไฟล์:
      22.2 KB
      เปิดดู:
      238
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 1 กันยายน 2012

แชร์หน้านี้

Loading...