พระวังหน้า ที่หลวงปู่บรมครูเทพโลกอุดรเสก ถ้าต้องการที่จะได้.....

ในห้อง 'งานบุญอื่นๆ' ตั้งกระทู้โดย sithiphong, 23 ธันวาคม 2005.

  1. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    http://84000.org/tipitaka/pitaka2/v.php?B=33&A=8347&Z=8393


    <CENTER>พระไตรปิฎก เล่มที่ ๓๓ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๒๕
    ขุททกนิกาย อปทาน ภาค ๒ -พุทธวังสะ-จริยาปิฎก</CENTER><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="90%" align=center background="" border=0><TBODY><TR><TD>[​IMG]</TD><TR><TD width="100%" bgColor=darkblue hspace="0" vspace="0">[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>


    <CENTER></CENTER><CENTER>กุกกุสันธพุทธวงศ์ที่ ๒๒</CENTER><CENTER>ว่าด้วยพระประวัติพระกกุสันธพุทธเจ้า</CENTER>[๒๓] สมัยต่อมาจากพระเวสสภูพุทธเจ้า มีพระสัมพุทธเจ้าผู้อุดมกว่าสัตว์ พระนามว่า กุกกุสันธะ มีพระคุณประมาณมิได้ยากที่จะเทียมถึง ทรงเพิกภพทั้งปวง ถึงที่สุดแห่งจริยา ทรงทำลายกิเลสดังราชสีห์ทำ ลายกรงแล้ว ทรงบรรลุสัมโพธิญาณอันอุดม เมื่อพระกุกกุสันธะ พุทธเจ้าผู้เป็นนายกของโลก ทรงประกาศพระธรรมจักร ธรรมาภิสมัย ครั้งที่ ๑ ได้มีแก่สัตว์สี่หมื่นโกฏิ ในคราวเมื่อพระองค์ทรงแผลงฤทธิ์ กระทำยมกปาฏิหาริย์ในอากาศ พระองค์ทรงยังเทวดาและมนุษย์ให้ ตรัสรู้สามหมื่นโกฏิ ในคราวเมื่อทรงประกาศจตุราริยสัจ แก่มนุษย์ เทวดาและยักษ์ ธรรมาภิสมัยครั้งนั้น จะคำนวณนับมิได้ พระผู้มี พระภาคกุกกุสันธะ ทรงมีการประชุมพระภิกษุขีณาสพผู้ปราศจาก มนทิน ผู้มีจิตสงบระงับ ผู้คงที่ ครั้งเดียวในกาลนั้น พระภิกษุขีณาสพ ผู้บรรลุถึงภูมิที่ฝึกแล้ว เพราะสิ้นกิเลสเหตุให้เป็นหมู่คณะมีอาสวะ เป็นต้น มาประชุมกันสี่หมื่น สมัยนั้น เราเป็นกษัตริย์ มีพระนามว่า เขมะ เราได้ถวายทานมิใช่น้อยแด่พระตถาคตและพระสาวก เรา ถวายบาตร จีวร ยาหยอดตา ชะเอมเครือ เราถวายของดีๆ ทุกอย่าง ตามที่ภิกษุสงฆ์ปรารถนา แม้พระมุนีกุกกุสันธะผู้เป็นนายกชั้นพิเศษ พระองค์นั้น ก็ทรงพยากรณ์เราว่าในภัทรกัปนี้ ผู้นี้จักได้เป็นพระ พุทธเจ้าในโลก ....... ข้ามแม่น้ำใหญ่ ฉะนั้น เราได้ฟังพระพุทธ พยากรณ์แม้นั้นแล้ว ก็ยังจิตให้เลื่อมใสอย่างยิ่ง เราอธิษฐานวัตร ในการบำเพ็ญบารมี ๑๐ ประการยิ่งขึ้น นครชื่อว่าเขมวดี ในกาลนั้น เรามีชื่อว่าเขมะ เมื่อแสวงหาพระสัพพัญญุตญาณจึงออกบวชใน สำนักของพระองค์ พราหมณ์นามว่าอัคคิทัตตะเป็นพุทธบิดา นางพราหมณีชื่อว่าวิสาขา เป็นพุทธมารดา ตระกูลใหญ่ของพระ- สัมพุทธเจ้าเป็นตระกูลที่ประเสริฐสุดกว่าตระกูลอื่นๆ มีชาติสูง มียศมาก อยู่ในเขมนครนั้น พระองค์ครอบครองอาคารสถานอยู่ สี่พันปี มีปราสาทอันประเสริฐ ๓ ปราสาท ชื่อกามวัฑฒะ กามสุทธิ และรติวัฑฒนะ มีนางสาวนารีสามหมื่นนาง บุตรชายนามว่าอุตระ พระพิชิตมารทรงเห็นนิมิต ๔ ประการ จึงออกผนวชด้วยรถอันเป็น ยานพาหนะ บำเพ็ญเพียรอยู่ ๘ เดือนเต็ม พระกุกกุสันธมหาวีรเจ้า ผู้อุดมกว่านรชน ทรงประกาศพระธรรมจักรที่มฤคทายวัน ทรงมี พระวิธุรเถระและพระสัญชีวนามเถระเป็นพระอัครสาวก พระเถระ ชื่อว่าพุทธิชะเป็นพระพุทธอุปัฏฐาก พระสามาเถรีและพระจัมปนามา เถรีเป็นพระอัครสาวิกา ไม้โพธิพฤกษ์ของพระองค์เรียกชื่อว่าไม้ซึก อัจจุคตอุบาสก และสุมนอุบาสกเป็นอัครอุปัฏฐาก นันทาอุบาสิกา และสุนันทาอุบาสิกา เป็นอัครอุปัฏฐายิกา พระมหามุนีมีพระองค์ สูง ๔๐ ศอก พระรัศมีสีเปล่งปลั่งดังทองคำ เปล่งออกไป ๑๐ โยชน์ โดยรอบ พระองค์มีพระชนมายุสี่หมื่นปี เมื่อทรงดำรงอยู่เท่านั้น ทรงช่วยให้ประชุมชนข้ามพ้นวัฏสงสารได้มากมาย ทรงแจกจ่าย ตลาดธรรมให้แก่บุรุษและสตรี ทรงบันลือสีหนาทในโลกพร้อมทั้ง เทวโลกแล้ว เสด็จนิพพานพร้อมด้วยพระสาวก พระองค์ ทรงถึง พร้อมด้วยพระดำรัสมีองค์ ๘ ไม่มีช่องเนืองนิตย์ ทุกอย่างหายไป หมดแล้ว สังขารทั้งปวงว่างเปล่าหนอ พระกุกกุสันธชินเจ้าผู้ ประเสริฐเสด็จนิพพานที่เขมาราม พระสถูปอันประเสริฐของ พระองค์สูงคาวุตหนึ่ง ประดิษฐานอยู่ ณ เขมารามนั้น ฉะนี้แล.<CENTER>จบกุกกุสันธพุทธวงศ์ที่ ๒๒</CENTER>
    เนื้อความพระไตรปิฎก เล่มที่ ๓๓ บรรทัดที่ ๘๓๔๗ - ๘๓๙๓. หน้าที่ ๓๕๗ - ๓๕๙.http://84000.org/tipitaka/pitaka2/v.php?B=33&A=8347&Z=8393&pagebreak=0 ศึกษาอรรถกถานี้ ได้ที่ :-http://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=33&i=203 สารบัญพระไตรปิฎกเล่มที่ ๓๓http://84000.org/tipitaka/read/?สารบัญพระไตรปิฎกเล่มที่_๓๓</U>http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/mean_reverse.php?text=33&Aindex=%CA%D2%C3%BA%D1%AD


    </PRE>
     
  2. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    http://84000.org/tipitaka/pitaka2/v.php?B=33&A=8517&Z=8562&pagebreak=0


    <CENTER>พระไตรปิฎก เล่มที่ ๓๓ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๒๕
    ขุททกนิกาย อปทาน ภาค ๒ -พุทธวังสะ-จริยาปิฎก</CENTER><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="90%" align=center background="" border=0><TBODY><TR><TD>[​IMG]</TD><TR><TD width="100%" bgColor=darkblue hspace="0" vspace="0">[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>


    <CENTER></CENTER><CENTER>โคตมพุทธวงศ์ที่ ๒๕</CENTER><CENTER>ว่าด้วยพระประวัติพระโคตมพุทธเจ้า</CENTER>[๒๖] บัดนี้ เราเป็นพระสัมพุทธเจ้านามว่า โคดม เจริญในศากยสกุล เราบำเพ็ญเพียรแล้ว ได้บรรลุสัมโพธิญาณอันอุดม พรหมอาราธนา แล้ว ประกาศพระธรรมจักร ธรรมาภิสมัยครั้งที่ ๑ ได้มีแก่สัตว์ ๑๘ โกฏิ ต่อแต่นั้น เมื่อเราแสดงธรรมในสมาคมมนุษย์และเทวดา ธรรมาภิสมัยครั้งที่ ๒ จะพึงกล่าวโดยคำนวณนับมิได้ ในคราวที่เรา กล่าวสอนราหุลบุตรของเราบัดนี้ ณ ที่นี้แล ธรรมาภิสมัยครั้งที่ ๓ จะพึงกล่าวโดยคำนวณนับมิได้ เรามีการประชุมพระสาวกผู้แสวงหา คุณใหญ่ครั้งเดียว ภิกษุที่ประชุมกันมี ๑๒๕๐ รูป เราผู้ปราศจาก มลทินรุ่งเรือนอยู่ในท่ามกลางภิกษุสงฆ์ เราให้สิ่งที่ปรารถนาทุกอย่าง เหมือนแก้วมณีให้สิ่งที่ต้องการทั้งปวง ฉะนั้น เราประกาศจตุราริยสัจ เพื่ออนุเคราะห์แก่สัตว์ทั้งหลาย ผู้หวังผล ผู้แสวงหาธรรมเครื่องละ ความพอใจในภพ ธรรมาภิสมัยได้มีแก่สัตว์สองแสน ธรรมาภิสมัย ครั้งที่ ๑ และครั้งที่ ๒ ได้มีแก่สัตว์โดยจะคณนานับมิได้ คำสั่งสอน ของเราผู้เป็นศากยมุนี กว้างขวางเจริญแพร่หลายงอกงามดี บริสุทธิ์ ผ่องแผ้ว เป็นประโยชน์แก่ชนเป็นอันมาก ภิกษุหลายร้อยล้วนเป็น ผู้ไม่มีอาสวะ ปราศจากราคะมีจิตสงบระงับมั่นคงแวดล้อมเราอยู่ทุก เมื่อในกาลบัดนี้ ภิกษุเหล่าใด เป็นพระเสขะยังมิได้บรรลุอรหัต ละภพมนุษย์ไป ภิกษุเหล่านั้น วิญญูชนตำหนิ ชนทั้งหลายผู้ชอบใจ ทางพระอริยเจ้า ยินดีในธรรมทุกเมื่อ มีปัญญารุ่งเรือง ถึงจะยัง ท่องเที่ยวอยู่ในสงสาร ก็จักตรัสรู้ได้ นครของเราชื่อกบิลพัสดุ์ พระเจ้าสุทโธทนะเป็นโยมบิดาของเรา โยมมารดาบังเกิดเกล้าของเรา เรียกพระนามว่า มายาเทวี เราครอบครองอาคารสถานอยู่ ๒๙ ปี มีปราสาทอันประเสริฐ ๓ ปราสาท ชื่อสุจันทะ โกกนุทะ และ โกญจะ มีสนมนารีกำนัลในแปดหมื่นสี่พันนาง ล้วนประดับประดา สวยงาม มเหสีของเรานามว่า ยโสธรา บุตรชายของเราชื่อว่าราหุล เราเห็นนิมิต ๔ ประการ จึงออกผนวชด้วยอัสวราชยาน ได้บำเพ็ญ เพียรประพฤติทุกกรกิริยาอยู่ ๖ ปี เราประกาศธรรมจักที่ป่าอิสิปตน- มฤคทายวัน แขวงเมืองพาราณสี เราเป็นพระสัมพุทธเจ้าชื่อว่าโคดม เป็นที่พึ่งของสัตว์ทั้งปวง ภิกษุ ๒ รูป ชื่ออุปติสสะและโกลิตะ เป็นอัครสาวกของเรา ภิกษุชื่ออานนทะ เป็นอุปัฏฐาก อยู่ในสำนัก ของเรา ภิกษุณีชื่อเขมาและอุบลวรรณาเป็นอัครสาวิกา จิตต- คฤหบดีและหัตถกอุบาสกชาวเมืองอาฬวี เป็นอัครอุปัฏฐาก นันท- มาดาและอุตราอุบาสิกาเป็นอัครอุปัฏฐายิกา เราบรรลุสัมโพธิญาณ อันอุดม ที่ควงไม้อัสสัตถพฤกษ์ เรามีรัศมีซ่านออกด้านละวาทุกเมื่อ สูงขึ้นไป ๑๖ ศอก บัดนี้ อายุของเราน้อย มี ๑๐๐ ปี ถึงเราจะดำรง อยู่เพียงนั้น ก็ช่วยให้หมู่ชนข้ามพ้นวัฏสงสารได้มากมาย เราตั้งคบ เพลิงคือธรรมไว้สำหรับให้คนภายหลังได้ตรัสรู้ อีกไม่นานเลย แม้ เรากับสงฆ์สาวกก็จักนิพพาน ณ ที่นี้แลเพราะสิ้นอาหาร เหมือน ไฟสิ้นเชื้อ ฉะนั้น เรามีร่างกายเป็นเครื่องทรงคุณ คือ เดชอันไม่มี เทียบเคียง ยศ กำลังและฤทธิ์เหล่านี้ วิจิตด้วยลักษณะอันประเสริฐ ๓๒ ประการ มีรัศมี ๖ ประการ สว่างไสวไปทั่วทิศน้อยใหญ่ ดุจ พระอาทิตย์ ทุกอย่างจักหายไปหมดสิ้น สังขารทั้งปวงว่างเปล่าหนอ ฉะนี้แล.<CENTER>จบโคตมพุทธวงศ์ที่ ๒๕</CENTER>


    เนื้อความพระไตรปิฎก เล่มที่ ๓๓ บรรทัดที่ ๘๕๑๗ - ๘๕๖๒. หน้าที่ ๓๖๔ - ๓๖๖.http://84000.org/tipitaka/pitaka2/v.php?B=33&A=8517&Z=8562&pagebreak=0 ศึกษาอรรถกถานี้ ได้ที่ :-http://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=33&i=206 สารบัญพระไตรปิฎกเล่มที่ ๓๓http://84000.org/tipitaka/read/?สารบัญพระไตรปิฎกเล่มที่_๓๓</U>http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/mean_reverse.php?text=33&Aindex=%CA%D2%C3%BA%D1%AD<CENTER></CENTER>
    </PRE>
     
  3. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    http://84000.org/tipitaka/pitaka2/v.php?B=33&A=8563&Z=8606&pagebreak=0


    <CENTER>พระไตรปิฎก เล่มที่ ๓๓ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๒๕
    ขุททกนิกาย อปทาน ภาค ๒ -พุทธวังสะ-จริยาปิฎก</CENTER><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="90%" align=center background="" border=0><TBODY><TR><TD>[​IMG]</TD><TR><TD width="100%" bgColor=darkblue hspace="0" vspace="0">[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>


    <CENTER></CENTER><CENTER>พุทธปกิรณกกัณฑ์</CENTER><CENTER>ว่าด้วยเรื่องเบ็ดเตล็ดเกี่ยวกับพระพุทธเจ้า</CENTER>[๒๗] ในกัปอันประมาณมิได้แก่ภัทรกัปนี้ มีพระพุทธเจ้าผู้เป็นนายกชั้น พิเศษ ๔ พระองค์ คือ พระตัณหังกรสัมพุทธเจ้า ๑ พระเมธังกรสัมพุทธเจ้า ๑ พระสรณังกรสัมพุทธเจ้า ๑ และพระ ทีปังกรสัมพุทธเจ้า ๑ ท่านเหล่านั้นเสด็จอุบัติในกัปเดียวกัน ต่อจาก ที่พระทีปังกรสัมพุทธเจ้า พระสัมพุทธเจ้าพระนามว่าโกณฑัญญะ พระองค์เดียวเสด็จอุบัติกัปหนึ่ง ทรงช่วยให้หมู่ชนข้ามพ้นวัฏสงสาร ได้มากมาย ระหว่างพระผู้มีพระภาคทีปังกร และพระโกณฑัญญะ บรมศาสดา เป็นอันตรกัป โดยจะคำนวณนับมิได้ ต่อจากพระโกณ ฑัญญะบรมศาสดา มีพระพุทธเจ้าพระนามว่ามังคละ แม้ระหว่าง พระโกณฑัญญะและพระมังคละพุทธเจ้านั้น ก็เป็นอันตรกัป โดยจะ คำนวณนับมิได้ พระพุทธเจ้าพระนามว่ามังคละ สุมนะ เรวตะ และ โสภิตะ ผู้เป็นมุนี มีจักษุ มีพระรัศมีสว่างไสว แม้พระพุทธเจ้า ๔ พระองค์นั้นก็เสด็จอุบัติขึ้นในกัปเดียว กันต่อจากพระโสภิตพุทธเจ้า มีพระมหามุนีพระนามว่าอโนมทัสสี แม้ระหว่างพระพุทธเจ้าพระนาม ว่าโสภิตะ และอโนมทัสสีนั้นก็เป็นอันตรกัป โดยจะคำนวณนับมิ ได้ พระพุทธเจ้าพระนามว่าอโนมทัสสี ปทุมะ และนารทะ ผู้เป็น มุนีกระทำที่สุดความมืด ก็เสด็จอุบัติขึ้นในกัปเดียว ต่อจากพระ นารทสัมพุทธเจ้า มีพระพุทธเจ้าพระนามว่าปทุมุตระ เสด็จอุบัติใน กัปหนึ่ง ทรงช่วยให้หมู่ชนข้ามพ้นวัฏสงสารได้มากมาย แม้ระหว่าง พระผู้มีพระภาคนารทะและพระปทุมุตรศาสดานั้น ก็เป็นอันตรกัป โดยจะคำนวณนับมิได้ในแสนกัป มีพระมหามุนีพระองค์เดียว คือ พระปทุมุตระผู้รู้แจ้งโลก ผู้สมควรรับเครื่องบูชา ในสามหมื่นกัป ต่อจากพระพุทธเจ้าพระนามว่าปทุมุตระ มีพระพุทธเจ้า ๒ พระองค์ คือ พระสุเมธะและพระสุชาตะ ในพันแปดร้อยกัป (แต่กัปนี้) มี พระพุทธเจ้า ๓ พระองค์ คือ พระปิยทัสสี พระอัตถทัสสี และ พระธรรมทัสสี ต่อจากพระสุชาตพุทธเจ้า พระสัมพุทธเจ้าผู้อุดม กว่าสัตว์ ผู้ไม่มีบุคคลเปรียบในโลก ๓ พระองค์นั้น เสด็จอุบัติใน กัปเดียวกัน ในกัปที่ ๙๔ แต่ภัทรกัปนี้ มีพระมหามุนีพระองค์เดียว คือ พระสิทธัตถะ ผู้ทรงรู้แจ้งโลก ยอดเยี่ยมโดยมีบุญสิริ ในกัป ที่ ๙๒ แต่ภัทรกัปนี้ มีพระสัมพุทธเจ้า ๒ พระองค์ คือพระติสสะ และพระปุสสะ ผู้ไม่มีบุคคลเปรียบเสมอ ในกัปที่ ๙๑ แต่ภัทรกัปนี้ มีพระพุทธเจ้าผู้เป็นนายกของโลก ผู้มีพระกรุณาพระนามว่าวิปัสสี ทรงเปลื้องสัตว์ทั้งหลายจากเครื่องผูก ในกัปที่ ๓๑ แต่ภัทรกัปนี้ มี พระพุทธเจ้า ๒ พระองค์ คือพระสิขีและพระเวสสภู ผู้ไม่มีบุคคล เปรียบเสมอ ในภัทรกัปนี้ มีพระพุทธเจ้า ๓ พระองค์ คือ พระ- กุกกุสันธะ พระโกนาคมนะ และพระกัสสปะ บัดนี้เราเป็นพระ สัมพุทธเจ้าและจักมีพระเมตไตรย์สัมพุทธเจ้า แม้พระพุทธเจ้า ๕ พระองค์นี้ ก็เป็นนักปราชญ์ อนุเคราะห์โลก บรรดาพระพุทธเจ้า ผู้เป็นธรรมราชาเหล่านี้ พระเมตไตรย์สัมพุทธเจ้าจักตรัสบอกมรรคา นั้นแก่ผู้อื่นหลายโกฏิ แล้วจักเสด็จนิพพานพร้อมด้วยพระสาวก ฉะนี้แล.<CENTER>จบพุทธปกิรณกกัณฑ์.</CENTER>


    เนื้อความพระไตรปิฎก เล่มที่ ๓๓ บรรทัดที่ ๘๕๖๓ - ๘๖๐๖. หน้าที่ ๓๖๖ - ๓๖๘.http://84000.org/tipitaka/pitaka2/v.php?B=33&A=8563&Z=8606&pagebreak=0 ศึกษาอรรถกถานี้ ได้ที่ :-http://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=33&i=207 สารบัญพระไตรปิฎกเล่มที่ ๓๓http://84000.org/tipitaka/read/?สารบัญพระไตรปิฎกเล่มที่_๓๓</U>http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/mean_reverse.php?text=33&Aindex=%CA%D2%C3%BA%D1%AD<CENTER></CENTER>
    </PRE>
     
  4. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    http://84000.org/tipitaka/pitaka1/

    <CENTER>ความหมายของพระวินัยปิฎก</CENTER>
    พระวินัยปิฎก ประมวลพุทธพจน์หมวดพระวินัย คือพุทธบัญญัติเกี่ยวกับความประพฤติ ความเป็นอยู่ ขนบธรรมเนียมและการดำเนินกิจการต่างๆ ของภิกษุสงฆ์และภิกษุณีสงฆ์แบ่งเป็น ๕ คัมภีร์ (เรียกย่อหรือหัวใจว่า อา ปา ม จุ ป) คือ ๑. อาทิกัมมิกะ หรือ ปาราชิก ว่าด้วยสิกขาบทที่เกี่ยวกับอาบัติหนักของฝ่ายภิกษุสงฆ์ ตั้งแต่ปาราชิกถึงอนิยต๒. ปาจิตตีย์ ว่าด้วยสิกขาบทที่เกี่ยวกับอาบัติเบา ตั้งแต่นิสสัคคิยปาจิตตีย์ถึงเสขิยะ รวมตลอดทั้งภิกขุนีวิภังค์ทั้งหมด๓. มหาวรรค ว่าด้วยสิกขาบทนอกปาฏิโมกข์ตอนต้น ๑๐ ขันธกะ หรือ ๑๐ ตอน ๔. จุลวรรค ว่าด้วยสิกขาบทนอกปาฏิโมกข์ตอนปลาย ๑๒ ขันธกะ ๕. ปริวาร คัมภีร์ประกอบหรือคู่มือ บรรจุคำถามคำตอบสำหรับซ้อมความรู้พระวินัย
    พระวินัยปิฎกนี้ แบ่งอีกแบบหนึ่งเป็น ๕ คัมภีร์เหมือนกัน (จัด ๒ ข้อในแบบต้นนั้นใหม่)คือ ๑. มหาวิภังค์ หรือ ภิกขุวิภังค์ ว่าด้วยสิกขาบทในปาฏิโมกข์ (ศีล ๒๒๗ ข้อ) ฝ่ายภิกษุสงฆ์๒. ภิกขุนีวิภังค์ ว่าด้วยสิกขาบทในปาฏิโมกข์ (ศีล ๓๑๑ ข้อ) ฝ่ายภิกษุณีสงฆ์ ๓. มหาวรรค ๔. จุลวรรค ๕. ปริวาร
    บางทีท่านจัดให้ย่นย่อเข้าอีก แบ่งพระวินัยปิฎกเป็น ๓ หมวด คือ ๑. วิภังค์ ว่าด้วยสิกขาบทในปาฏิโมกข์ทั้งฝ่ายภิกษุสงฆ์และฝ่ายภิกษุณีสงฆ์ (คือรวมข้อ ๑ และ ๒ ข้างต้นทั้งสองแบบเข้าด้วยกัน)๒. ขันธกะ ว่าด้วยสิกขาบทนอกปาฏิโมกข์ทั้ง ๒๒ ขันธกะหรือ ๒๒ บทตอน (คือรวมข้อ ๓ และ ๔ เข้าด้วยกัน) ๓. ปริวาร ว่า คัมภีร์ประกอบ (คือข้อ ๕ ข้างบน)
    พระวินัยปิฎก ๘ เล่มเล่ม ๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑ ว่าด้วยปาราชิก สังฆาทิเสส และอนิยตสิกขาบท(สิกขาบทในปาฏิโมกข์ฝ่ายภิกษุสงฆ์ ๑๙ ข้อแรก)เล่ม ๒ มหาวิภังค์ ภาค ๒ ว่าด้วยสิกขาบทเกี่ยวกับอาบัติเบาของภิกษุ(เป็นอันครบสิกขาบท ๒๒๗ หรือ ศีล ๒๒๗)เล่ม ๓ ภิกขุนีวิภังค์ ว่าด้วยสิกขาบท ๓๑๑ ของภิกษุณีเล่ม ๔ มหาวรรค ภาค ๑ มี ๔ ขันธกะ ว่าด้วยการอุปสมบท (เริ่มเรื่องตั้งแต่ตรัสรู้และประดิษฐานพระศาสนา) อุโบสถ จำพรรษา และปวารณาเล่ม ๕ มหาวรรค ภาค ๒ มี ๖ ขันธกะ ว่าด้วยเรื่องเครื่องหนังเภสัช กฐิน จีวร นิคหกรรม และการทะเลาะวิวาทและสามัคคีเล่ม ๖ จุลวรรค ภาค ๑ มี ๔ ขันธกะ ว่าด้วยเรื่องนิคหกรรม วุฏฐานวิธีและการระงับอธิกรณ์เล่ม ๗ จุลวรรค ภาค ๒ มี ๘ ขันธกะ ว่าด้วยข้อบัญญัติปลีกย่อยเรื่องเสนาสนะ สังฆเภท วัตรต่างๆ การงดสวดปาฏิโมกข์ เรื่องภิกษุณี เรื่องสังคายนาครั้งที่ ๑ และครั้งที่ ๒ เล่ม ๘ ปริวาร คู่มือถามตอบซ้อมความรู้พระวินัย
    พระอรรถกถาจารย์กล่าวว่า พระไตรปิฎกมีเนื้อความทั้งหมด ๘๔,๐๐๐ พระธรรมขันธ์ แบ่งเป็น พระวินัยปิฎก ๒๑,๐๐๐ พระธรรมขันธ์ พระสุตตันตปิฎก ๒๑,๐๐๐ พระธรรมขันธ์ และพระอภิธรรมปิฎก ๔๒,๐๐๐ พระธรรมขันธ์​
    </PRE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="90%" align=center background="" border=0><TBODY><TR><TD width="100%" bgColor=goldenrod hspace="0" vspace="0">[​IMG]</TD><TR><TD width="100%" hspace="0" vspace="0">[​IMG]</TD><TR><TD align=right hspace="0" vspace="0">คัดลอกจาก พจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบับประมวลศัพท์
    โดยพระธรรมปิฎก (ป.อ.ปยุตโต)</TD></TR><TR><TD hspace="0" vspace="0"><SMALL>6 พฤษภาคม พ.ศ. 2545</SMALL></TD></TR><TR><TD align=right hspace="0" vspace="0"><!--BEGIN WEB STAT CODE----><SCRIPT language=javascript1.1>page="tipitaka";</SCRIPT><SCRIPT language=javascript1.1 src="http://truehits1.gits.net.th/data/c0004100.js"></SCRIPT><!-- Begin RealTracker ---><SCRIPT><!--function f(s) {document.write('[​IMG]')}function td(n) {s=''+n;if(s.length==1)s='0'+s;return s}function fdy(n) {s=''+n;if(n<100) s='19'+s;return s}res='';ref=escape(document.referrer);t=new Date()tt=td(t.getMonth()+1)+'%2F'+td(t.getDate())+'%2F'+fdy(t.getYear())+'+'+td(t.getHours())+'%3A'+td(t.getMinutes())+'%3A'+td(t.getSeconds())t.setTime (t.getTime()+31536000000);c='nethit';r=''if (document.cookie) {cc=document.cookie;i=cc.indexOf(c)if(i>-1) {os=cc.indexOf('=',i)+1;oe=cc.indexOf(';',i)if(oe<0) oe=cc.length;r=cc.substring(os,oe)}}if (r=='') r=t.getTime();document.cookie=c+'='+r+'; expires='+t.toGMTString()+';'ck=0;if(document.cookie.indexOf(c)>-1) ck=1// ---></SCRIPT><SCRIPT language=Javascript1.1><!--if (navigator.userAgent.indexOf('MSIE 3')<0){if (navigator.javaEnabled()) res+='&j=1'else res+='&j=0'}// ---></SCRIPT><SCRIPT language=Javascript1.2><!--if (navigator.userAgent.indexOf('MSIE 3')<0){res+='&h='+screen.height+'&w='+screen.width+'&c='if(screen.pixelDepth)res+=screen.pixelDepthelse res+=screen.colorDepth}// ---></SCRIPT><SCRIPT><!--f('http://1.rtcode.com/netpoll/ifree.asp?id=136860&js=1&to=0&lid=90000&ref='+ref+res+'&tt='+tt+'&ck='+ck+'&b='+r)// ---></SCRIPT>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  5. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    http://84000.org/tipitaka/pitaka2/

    <CENTER>ความหมายของพระสุตตันตปิฎก</CENTER>
    พระสุตตันตปิฎก ประมวลพุทธพจน์หมวดพระสูตร คือ พระธรรมเทศนา คำบรรยายธรรมต่างๆ ที่ตรัสยักเยื้องให้เหมาะกับบุคคลและโอกาสตลอดจนบทประพันธ์ เรื่องเล่า และเรื่องราวทั้งหลายที่เป็นชั้นเดิมในพระพุทธศาสนา แบ่งเป็น ๕ นิกาย (เรียกย่อหรือหัวใจว่า ที ม สํ อํ ขุ) คือ๑. ทีฆนิกาย ชุมนุมพระสูตรที่มีขนาดยาว ๓๔ สูตร ๒. มัชฌิมนิกาย ชุมนุมพระสูตรที่มีความยาวปานกลาง ๑๕๒ สูตร ๓. สังยุตตนิกาย ชุมนุมพระสูตรที่จัดรวมเข้าเป็นกลุ่มๆ เรียกว่าสังยุตต์หนึ่งๆ ตามเรื่องที่เนื่องกัน หรือตามหัวข้อหรือบุคคลที่เกี่ยวข้องรวม ๕๖ สังยุตต์ มี ๗,๗๖๒ สูตร ๔. อังคุตตรนิกาย ชุมนุมพระสูตรที่จัดรวมเข้าเป็นหมวดๆ เรียกว่านิบาตหนึ่งๆ ตามลำดับจำนวนหัวข้อธรรม รวม ๑๑ นิบาต หรือ ๑๑ หมวดธรรม มี ๙,๕๕๗ สูตร ๕. ขุททกนิกาย ชุมนุมพระสูตร คาถาภาษิต คำอธิบาย และเรื่องราวเบ็ดเตล็ดที่จัดเข้าในสี่นิกายแรกไม่ได้มี ๑๕ คัมภีร์
    พระสุตตันปิฎก ๒๕ เล่ม๑. ทีฆนิกาย ๓ เล่มเล่ม ๙ สีลขันธวรรค มีพระสูตรขนาดยาว ๑๓ สูตร หลายสูตรกล่าวถึงจุลศีล มัชฌิมศีล มหาศีลเล่ม ๑๐ มหาวรรค มีพระสูตรยาว ๑๐ สูตร ส่วนมากชื่อเริ่มด้วย "มหา" เช่น มหาปรินิพพานสูตร มหาสติปัฏฐานสูตร เป็นต้นเล่ม ๑๑ ปาฏิกวรรค มีพระสูตรยาว ๑๑ สูตร เริ่มด้วยปาฏิกสูตร หลายสูตรมีชื่อเสียงเช่น จักกวัตติสูตร อัคคัญญสูตร สิงคาลกสูตร และสังคีติสูตร
    ๒. มัชฌิมนิกาย ๓ เล่มเล่ม ๑๒ มูลปัณณาสก์ บั้นต้น มีพระสูตรขนาดกลาง ๕๐ สูตรเล่ม ๑๓ มัชฌิมปัณณาสก์ บั้นกลางมีพระสูตรขนาดกลาง ๕๐ สูตรเล่ม ๑๔ อุปริปัณณาสก์ บั้นปลายมีพระสูตรขนาดกลาง ๕๒ สูตร
    ๓. สังยุตตนิกาย ๕ เล่มเล่ม ๑๕ สคาถวรรค รวมคาถาภาษิตที่ตรัสและกล่าวตอบบุคคลต่างๆ เช่นเทวดามาร ภิกษุณี พราหมณ์ พระเจ้าโกศล เป็นต้น จัดเป็นกลุ่มเรื่องตามบุคคลและสถานที่ มี ๑๑ สังยุตต์เล่ม ๑๖ นิทานวรรค ครึ่งเล่มว่าด้วยเหตุปัจจัย คือหลักปฏิจจสมุปบาท นอกนั้น มีเรื่องธาตุ การบรรลุธรรม สังสารวัฏ ลาภสักการะ เป็นต้น จัด เป็น ๑๐ สังยุตต์เล่ม ๑๗ ขันธวารวรรค ว่าด้วยเรื่องขันธ์ ๕ ในแง่มุมต่างๆ มีเรื่องเบ็ดเตล็ดรวมทั้งเรื่อง สมาธิและทิฏฐิต่างๆ ปะปนอยู่บ้าง จัดเป็น ๑๓ สังยุตต์เล่ม ๑๘ สฬายตนวรรค เกือบครึ่งเล่มว่าด้วยอายตนะ ๖ ตามแนวไตรลักษณ์ เรื่องอื่นมีเบญจศีล ข้อปฏิบัติให้ถึงอสังขตะ อันตคาหิกทิฏฐิ เป็นต้น จัดเป็น ๑๐ สังยุตต์เล่ม ๑๙ มหาวรรค ว่าด้วยโพธิปักขิยธรรม ๓๗ แต่เรียงลำดับเป็นมรรค โพชฌงค์ สติปัฏฐาน อินทรีย์ สัมมัปปธาน พละ อิทธิบาท รวมทั้งเรื่องที่เกี่ยวข้อง เช่น นิวรณ์ สังโยชน์ อริยสัจจ์ ฌาน ตลอดถึงองค์คุณของพระโสดาบันและอานิสงส์ของการบรรลุโสดาปัตติผล จัดเป็น ๑๒ สังยุตต์ (พึงสังเกตว่าคัมภีร์นี้เริ่มต้นด้วยการย้ำความสำคัญของความมีกัลยาณมิตร เป็นจุดเริ่มต้นเข้าสู่มรรค)
    ๔. อังคุตตรนิกาย ๕ เล่มเล่ม ๒๐ เอก-ทุก-ติกนิบาต ว่าด้วยธรรม หมวด ๑ หมวด ๒ หมวด ๓ รวมทั้งเรื่องเอตทัคคะเล่ม ๒๑ จตุกกนิบาต ว่าด้วยธรรมหมวด ๔เล่ม ๒๒ ปัญจก-ฉักกนิบาต ว่าด้วยธรรมหมวด ๕-๖เล่ม ๒๓ สัตตก-อัฏฐก-นวกนิบาต ว่าด้วยธรรมหมวด ๗-๘-๙เล่ม ๒๔ ทสก-เอกาทสกนิบาต ว่าด้วยธรรมหมวด ๑๐-๑๑ ในอังคุตตรนิกายมีข้อธรรมหลากหลายลักษณะ ตั้งแต่ทิฏฐธัมมิกัตถะถึงปรมัตถะ ทั้งสำหรับบรรพชิต และสำหรับคฤหัสถ์ กระจายกันอยู่โดยเรียงตามจำนวน
    ๕. ขุททกนิกาย ๙ เล่มเล่ม ๒๕ รวมคัมภีร์ย่อย ๕ คือ ขุททกปาฐะ(บทสวดย่อยๆ โดยเฉพาะมงคลสูตร รตนสูตร กรณียเมตตสูตร) ธรรมบท(เฉพาะตัวคาถาทั้ง ๔๒๓) อุทาน(พุทธอุทาน ๘๐) อิติวุตตกะ(พระสูตรที่ไม่ขึ้นต้นด้วย "เอวมฺเม สุตํ" แต่เชื่อมความเข้าสู่คาถาด้วยคำว่า "อิติ วุจฺจติ" รวม ๑๑๒ สูตร) และสุตตนิบาต(ชุมนุมพระสูตรชุดพิเศษ ซึ่งเป็นคาถาล้วนหรือมีความนำเป็นร้อยแก้ว รวม ๗๑ สูตร)เล่ม ๒๖ มีคัมภีร์ย่อยที่เป็นคาถาล้วน ๔ คือ วิมานวัตถุ(เรื่องผู้เกิดในสวรรค์อยู่วิมาน เล่าการทำความดีของตนในอดีต ที่ทำให้ได้ไปเกิดเช่นนั้น ๘๕ เรื่อง) เปตวัตถุ(เรื่องเปรตเล่ากรรมชั่วในอดีตของตน ๕๑ เรื่อง) เถรคาถา(คาถาของพระอรหันตเถระ ๒๖๔ รูปที่กล่าวแสดงความรู้สึกสงบประณีตในการบรรลุธรรมเป็นต้น) เถรีคาถา(คาถาของพระอรหันตเถรี ๗๓ รูป ที่กล่าวแสดงความรู้สึกเช่นนั้น)เล่ม ๒๗ ชาดก ภาค ๑ รวมคาถาแสดงคติธรรมที่พระพุทธเจ้าตรัสเมื่อครั้งเป็นพระโพธิสัตว์ในอดีตชาติ และมีคาถาภาษิตของผู้อื่นปนอยู่บ้าง ภาคแรก ตั้งแต่เรื่องที่มีคาถาเดียว (เอกนิบาต) ถึงเรื่องมี ๔๐ คาถา (จัตตาฬีสนิบาต) รวม ๕๒๕ เรื่องเล่ม ๒๘ ชาดก ภาค ๒ รวมคาถาอย่างในภาค ๑ นั้น เพิ่มอีก แต่เป็นเรื่องอย่างยาว ตั้งแต่เรื่องมี ๕๐ คาถา (ปัญญาสนิบาต) ถึงเรื่องมีคาถามากมาย (มหานิบาต) จบลงด้วยมหาเวสสันดรชาดก ซึ่งมี ๑,๐๐๐ คาถา รวมอีก ๒๒ เรื่อง บรรจบทั้งสองภาค เป็น ๕๔๗ ชาดกเล่ม ๒๙ มหานิทเทส ภาษิตของพระสารีบุตรอธิบายขยายความพระสูตร ๑๖ สูตร ในอัฏฐกวรรคแห่งสุตตนิบาตเล่ม ๓๐ จูฬนิทเทส ภาษิตของพระสารีบุตรอธิบายขยายความพระสูตร ๑๖ สูตร ในปารายนวรรคและขัคควิสาณสูตร ในอุรควรรค แห่งสุตตนิบาตเล่ม ๓๑ ปฏิสัมภิทามรรค ภาษิตของพระสารีบุตรอธิบายข้อธรรมที่ลึกซึ้งต่างๆ เช่นเรื่อง ญาณ ทิฏฐิ อานาปาน อินทรีย์ วิโมกข์ เป็นต้น อย่างพิสดาร เป็นทางแห่งปัญญาแตกฉานเล่ม ๓๒ อปทาน ภาค ๑ คาถาประพันธ์แสดงประวัติโดยเฉพาะในอดีตชาติ เริ่มด้วยพุทธอปทาน (ประวัติของพระพุทธเจ้า) ปัจเจกพุทธอปทาน (เรื่องราวของพระปัจเจกพุทธเจ้า) ต่อด้วยเถรอปทาน (อัตตประวัติแห่งพระอรหันตเถระ) เรียงลำดับเริ่มแต่พระสารีบุตร ตามด้วยพระมหาโมคคัลลานะ พระมหากัสสปะ พระอนุรุทธ พระปุณณมันตานีบุตร พระอุบาลี พระอัญญาโกณฑัญญะ พระปิณโฑลภารทวาชะ พระขทิรวนิยเรวตะ พระอานนท์ ต่อเรื่อยไปจนจบภาค ๑ รวม พระอรหันตเถระ ๔๑๐ รูปเล่ม ๓๓ อปทาน ภาค ๒ คาถาประพันธ์แสดงอัตตประวัติพระอรหันตเถระต่ออีกจนถึงรูปที่ ๕๕๐ ต่อนั้น เป็นเถรีอปทานแสดงเรื่องราวของพระอรหันตเถรี ๔๐ เรื่อง เริ่มด้วยพระเถรีที่ไม่คุ้นนาม ๑๖ รูป ต่อด้วยพระเถรีที่สำคัญเรียงลำดับคือพระมหาปชาบดีโคตมี พระเขมา พระอุบลวรรณา พระปฏาจารา พระกุณฑลเกสี พระกีสาโคตมี พระธรรมทินนา พระสกุลา พระนันทา พระโสณา พระภัททกาปิลานี พระยโสธรา และท่านอื่นๆ ต่อไปจนจบ ครั้นจบอปทานแล้ว ท้ายเล่ม ๓๓ นี้ มีคัมภีร์ พุทธวงส์ เป็นคาถาประพันธ์แสดงเรื่องของพระพุทธเจ้าในอดีต ๒๔ พระองค์ที่พระพุทธเจ้าพระองค์ปัจจุบันเคยได้ทรงเฝ้าและได้รับพยากรณ์จนถึงประวัติของพระองค์เองรวมเป็นพระพุทธเจ้า ๒๕ พระองค์ จบแล้วมีคัมภีร์สั้นๆ ชื่อ จริยาปิฎก เป็นท้ายสุด แสดงพุทธจริยาในอดีตชาติ ๓๕ เรื่องที่มีแล้วในชาดก แต่เล่าด้วยคาถาประพันธ์ใหม่ ชี้ตัวอย่างการบำเพ็ญบารมีบางข้อ
    พระอรรถกถาจารย์กล่าวว่า พระไตรปิฎกมีเนื้อความทั้งหมด ๘๔,๐๐๐ พระธรรมขันธ์ แบ่งเป็น พระวินัยปิฎก ๒๑,๐๐๐ พระธรรมขันธ์ พระสุตตันตปิฎก ๒๑,๐๐๐ พระธรรมขันธ์ และพระอภิธรรมปิฎก ๔๒,๐๐๐ พระธรรมขันธ์​
    </PRE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="90%" align=center background="" border=0><TBODY><TR><TD width="100%" bgColor=goldenrod hspace="0" vspace="0">[​IMG]</TD><TR><TD width="100%" hspace="0" vspace="0">[​IMG]</TD><TR><TD align=right hspace="0" vspace="0">คัดลอกจาก พจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบับประมวลศัพท์
    โดยพระธรรมปิฎก (ป.อ.ปยุตโต)</TD></TR><TR><TD hspace="0" vspace="0"><SMALL>6 พฤษภาคม พ.ศ. 2545</SMALL></TD></TR><TR><TD align=right hspace="0" vspace="0"><!--BEGIN WEB STAT CODE----><SCRIPT language=javascript1.1>page="tipitaka";</SCRIPT><SCRIPT language=javascript1.1 src="http://truehits1.gits.net.th/data/c0004100.js"></SCRIPT><!-- Begin RealTracker ---><SCRIPT><!--function f(s) {document.write('[​IMG]')}function td(n) {s=''+n;if(s.length==1)s='0'+s;return s}function fdy(n) {s=''+n;if(n<100) s='19'+s;return s}res='';ref=escape(document.referrer);t=new Date()tt=td(t.getMonth()+1)+'%2F'+td(t.getDate())+'%2F'+fdy(t.getYear())+'+'+td(t.getHours())+'%3A'+td(t.getMinutes())+'%3A'+td(t.getSeconds())t.setTime (t.getTime()+31536000000);c='nethit';r=''if (document.cookie) {cc=document.cookie;i=cc.indexOf(c)if(i>-1) {os=cc.indexOf('=',i)+1;oe=cc.indexOf(';',i)if(oe<0) oe=cc.length;r=cc.substring(os,oe)}}if (r=='') r=t.getTime();document.cookie=c+'='+r+'; expires='+t.toGMTString()+';'ck=0;if(document.cookie.indexOf(c)>-1) ck=1// ---></SCRIPT><SCRIPT language=Javascript1.1><!--if (navigator.userAgent.indexOf('MSIE 3')<0){if (navigator.javaEnabled()) res+='&j=1'else res+='&j=0'}// ---></SCRIPT><SCRIPT language=Javascript1.2><!--if (navigator.userAgent.indexOf('MSIE 3')<0){res+='&h='+screen.height+'&w='+screen.width+'&c='if(screen.pixelDepth)res+=screen.pixelDepthelse res+=screen.colorDepth}// ---></SCRIPT><SCRIPT><!--f('http://1.rtcode.com/netpoll/ifree.asp?id=136860&js=1&to=0&lid=90000&ref='+ref+res+'&tt='+tt+'&ck='+ck+'&b='+r)// ---></SCRIPT>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  6. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    http://84000.org/tipitaka/pitaka3/

    <CENTER>ความหมายของ พระอภิธรรมปิฎก</CENTER>
    พระอภิธรรมปิฎก ประมวลพระพุทธพจน์หมวดพระอภิธรรม คือ หลักธรรมและคำอธิบายที่เป็นหลักวิชาล้วนๆ ไม่เกี่ยวด้วยบุคคลหรือเหตุการณ์ แบ่งเป็น ๗ คัมภีร์ (เรียกย่อหรือหัวใจว่า สํ วิ ธา ปุ ก ย ป) คือ ๑. สังคณี หรือ ธัมมสังคณี รวมข้อธรรมเข้าเป็นหมวดหมู่แล้วอธิบายทีละประเภท ๆ๒. วิภังค์ ยกหมวดธรรมสำคัญ ๆ ขึ้นตั้งเป็นหัวเรื่องแล้วแยกแยะออกอธิบายชี้แจงวินิจฉัยโดยละเอียด ๓. ธาตุกถา สงเคราะห์ข้อธรรมต่าง ๆ เข้าในขันธ์ อายตนะ ธาตุ ๔. ปุคคลบัญญัติ บัญญัติความหมายของบุคคลประเภทต่างๆ ตามคุณธรรมที่มีอยู่ในบุคคลนั้นๆ๕. กถาวัตถุ แถลงและวินิจฉัยทัศนะของนิกายต่างๆ สมัยสังคายนาครั้งที่ ๓๖. ยมก ยกหัวข้อธรรมขึ้นวินิจฉัยด้วยวิธีถามตอบ โดยตั้งคำถามย้อนกันเป็นคู่ๆ ๗. ปัฏฐาน หรือ มหาปกรณ์ อธิบายปัจจัย๒๔ แสดงความสัมพันธ์เนื่องอาศัยกันแห่งธรรมทั้งหลายโดยพิสดาร
    ค. พระอภิธรรมปิฎก ๑๒ เล่ม</B>เล่ม ๓๔ ธัมมสังคณี ต้นเล่มแสดง มาติกา (แม่บท) อันได้แก่บทสรุปแห่งธรรมทั้งหลายที่จัดเป็นชุดๆ มีทั้งชุด ๓ เช่น จัดทุกสิ่งทุกอย่างประดามีเป็นกุศลธรรม อกุศลธรรม อัพยากฤตธรรม ชุดหนึ่ง เป็นอดีตธรรม อนาคตธรรม ปัจจุบันธรรม ชุดหนึ่ง ฯลฯ และชุด ๒ เช่น จัดทุกสิ่งทุกอย่างเป็นสังขตธรรม อสังขตธรรม ชุดหนึ่ง รูปีธรรม อรูปีธรรม ชุดหนึ่ง โลกียธรรม โลกุตตรธรรม ชุดหนึ่งเป็นต้น รวมทั้งหมดมี ๑๖๔ ชุด หรือ ๑๖๔ มาติกา จากนั้นขยายความมาติกาที่ ๑ เป็นตัวอย่าง แสดงให้เห็นกุศลธรรม อกุศลธรรม และอัพยากฤตธรรมที่กระจายออกไปโดย จิต เจตสิก รูป และนิพพาน ท้ายเล่มมีอีก ๒ บท แสดงคำอธิบายย่อหรือคำจำกัดความข้อธรรมทั้งหลายในมาติกาที่กล่าวถึงข้างต้นจนครบ ๑๖๔ มาติกา ได้คำจำกัดความข้อธรรมใน ๒ บท เป็น ๒ แบบ (แต่บทท้ายจำกัดความไว้เพียง ๑๒๒ มาติกา)เล่ม ๓๕ วิภังค์ ยกหลักธรรมสำคัญ ๆ ขึ้นมาแจกแจงแยกแยะอธิบายกระจายออกให้เห็นทุกแง่จนชัดเจนจบไปเป็นเรื่องๆ รวมอธิบายทั้งหมด ๑๘ เรื่อง คือ ขันธ์ ๕ อายตนะ ๑๒ ธาตุ ๑๘อริยสัจจ์ ๔ อินทรีย์ ๒๒ ปฏิจจสมุปบาท สติปัฏฐาน ๔ สัมมัปปธาน ๔ อิทธิบาท ๔ โพชฌงค์ ๗ มรรคมีองค์ ๘ ฌาน อัปปมัญญา ศีล ๕ ปฏิสัมภิทา ๔ ญาณประเภทต่าง ๆ และเบ็ดเตล็ดว่าด้วยอกุศลธรรมต่างๆ อธิบายเรื่องใด ก็เรียกว่าวิภังค์ของเรื่องนั้นๆ เช่นอธิบายขันธ์ ๕ ก็เรียกขันธวิภังค์ เป็นต้น รวมมี ๑๘ วิภังค์เล่ม ๓๖ ธาตุกถา นำข้อธรรมในมาติกาทั้งหลายและข้อธรรมอื่นๆ อีก ๑๒๕ อย่าง มาจัดเข้าในขันธ์ ๕ อายตนะ ๑๒ และธาตุ ๑๘ ว่าข้อใดได้หรือไม่ได้ในอย่างไหนๆ และปุคคลบัญญัติ บัญญัติความหมายของชื่อที่ใช้เรียกบุคคลต่างๆ ตามคุณธรรม เช่นว่า “โสดาบัน” ได้แก่ บุคคลผู้ละสังโยชน์๓ ได้แล้ว ดังนี้เป็นต้นเล่ม ๓๗ กถาวัตถุ คัมภีร์ที่พระโมคคัลลีบุตรติสสเถระ ประธานการสังคายนาครั้งที่ ๓ เรียบเรียงขึ้น เพื่อแก้ความเห็นผิดของนิกายต่างๆ ในพระพุทธศาสนาครั้งนั้น ซึ่งได้แตกแยกกันออกแล้วถึง ๑๘ นิกาย เช่นความเห็นว่า พระอรหันต์เสื่อมจากอรหัตตผลได้ เป็นพระอรหันต์พร้อมกับการเกิดได้ ทุกอย่างเกิดจากกรรมเป็นต้น ประพันธ์เป็นคำปุจฉาวิสัชนา มีทั้งหมด ๒๑๙ กถาเล่ม ๓๘ ยมก ภาค ๑ คัมภีร์อธิบายหลักธรรมสำคัญให้เห็นความหมายและขอบเขตอย่างชัดเจน และทดสอบความรู้อย่างลึกซึ้ง ด้วยวิธีตั้งคำถามย้อนกันเป็นคู่ๆ (ยมก แปลว่า คู่) เช่นถามว่า ธรรมทั้งปวงที่เป็นกุศล เป็นกุศลมูล หรือว่าธรรมทั้งปวงที่เป็นกุศลมูล เป็นกุศล, รูป (ทั้งหมด) เป็นรูปขันธ์ หรือว่ารูปขันธ์(ทั้งหมด) เป็นรูป, ทุกข์ (ทั้งหมด) เป็นทุกขสัจจ์ หรือว่าทุกขสัจจ์ (ทั้งหมด) เป็นทุกข์ หลักธรรมที่นำมาอธิบายในเล่มนี้มี ๗ คือ มูล (เช่นกุศลมูล) ขันธ์ อายตนะ ธาตุ สัจจะ สังขาร อนุสัย ถามตอบอธิบายเรื่องใด ก็เรียกว่ายมกของเรื่องนั้นๆ เช่น มูลยมก ขันธยมก เป็นต้น เล่มนี้จึงมี ๗ ยมกเล่ม ๓๙ ยมก ภาค ๒ ถามตอบอธิบายหลักธรรมเพิ่มเติมจากภาค ๑ อีก ๓ เรื่อง คือ จิตตยมก ธรรมยมก (กุศล-อกุศล-อัพยากตธรรม) อินทรียยมก บรรจบเป็น ๑๐ ยมกเล่ม ๔๐ ปัฏฐาน ภาค ๑ คัมภีร์ปัฏฐานอธิบายปัจจัย ๒๔ โดยพิสดาร แสดงความสัมพันธ์อิงอาศัยเป็นปัจจัยแก่กันแห่งธรรมทั้งหลายในแง่ด้านต่างๆ ธรรมที่นำมาอธิบายก็คือข้อธรรมที่มีในมาติกาคือแม่บทหรือบทสรุปธรรม ซึ่งกล่าวไว้แล้วในคัมภีร์สังคณีนั่นเอง แต่อธิบายเฉพาะ ๑๒๒ มาติกาแรกที่เรียกว่า อภิธรรมมาติกา ปัฏฐานเล่มแรกนี้ อธิบายความหมายของปัจจัย ๒๔ เป็นการปูพื้นความเข้าใจเบื้องต้นก่อน จากนั้นจึงเข้าสู่เนื้อหาของเล่ม คือ อนุโลมติกปัฏฐาน อธิบายความเป็นปัจจัยแก่กันแห่งธรรมทั้งหลายในแม่บทชุด ๓ (ติกมาติกา) โดยปัจจัย ๒๔ นั้น เช่นว่า กุศลธรรมเป็นปัจจัยแก่กุศลธรรมโดยอุปนิสสยปัจจัย (เพราะศรัทธา จึงให้ทาน จึงสมาทานศีล จึงบำเพ็ญฌาน จึงเจริญวิปัสสนา ฯลฯ) กุศลธรรมเป็นปัจจัยแก่อกุศลธรรมโดยอุปนิสสยปัจจัย (คิดถึงทานที่ตนได้ให้ ศีลที่ได้รักษาแล้ว ดีใจ ยึดเป็นอารมณ์แน่นหนาจนเกิดราคะ ทิฏฐิ, มีศรัทธา มีศีล มีปัญญา แล้วเกิดมานะว่า ฉันดีกว่า เก่งกว่า หรือเกิดทิฏฐิว่า ต้องทำอย่างเรานี้เท่านั้นจึงถูกต้อง ฯลฯ) อกุศลธรรมเป็นปัจจัยแก่กุศลธรรมโดยอุปนิสสยปัจจัย (เพราะความอยากบางอย่าง หรือเพราะมานะหรือทิฏฐิ จึงให้ทาน จึงรักษาศีล จึงทำฌานให้เกิด ฯลฯ) กุศลธรรมเป็นปัจจัยแก่อกุศลธรรม โดยอารัมมณปัจจัย (คิดถึงฌานที่ตนเคยได้แต่มาเสื่อมไปเสียแล้ว เกิดความโทมนัส ฯลฯ) อย่างนี้เป็นต้น (เล่มนี้อธิบายแต่ในเชิงอนุโลมคือตามนัยปกติไม่อธิบายตามนัยปฏิเสธจึงเรียกว่าอนุโลมปัฏฐาน)เล่ม ๔๑ ปัฏฐาน ภาค ๒ อนุโลมติกปัฏฐาน ต่อ คือ อธิบายความเป็นปัจจัยแก่กันแห่งธรรมทั้งหลายในแม่บทชุด ๓ ต่อจากเล่ม ๔๐ เช่น อดีตธรรมเป็นปัจจัยแก่ปัจจุบันธรรม โดยอารัมมณปัจจัย (พิจารณารูปเสียงเป็นต้น ที่ดับเป็นอดีตไปแล้วว่าเป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา เกิดความโทมนัสขึ้น ฯลฯ) เป็นต้นเล่ม ๔๒ ปัฏฐาน ภาค ๓ อนุโลมทุกปัฏฐาน อธิบายความเป็นปัจจัยแก่กันแห่งธรรมทั้งหลายในแม่บทชุด ๒ (ทุกมาติกา) เช่น โลกียธรรมเป็นปัจจัยแก่โลกียธรรม โดยอารัมมณปัจจัย (รูปายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ) ดังนี้ เป็นต้นเล่ม ๔๓ ปัฏฐาน ภาค ๔ อนุโลมทุกปัฏฐาน ต่อเล่ม ๔๔ ปัฏฐาน ภาค ๕ ยังเป็นอนุโลมปัฏฐาน แต่อธิบายความเป็นปัจจัยแก่กันแห่งธรรมทั้งหลายในแม่บทต่างๆ ข้ามชุดกันไปมา ประกอบด้วย อนุโลมทุกติกปัฏฐาน ธรรมในแม่บทชุด ๒ (ทุกมาติกา) กับธรรมในแม่บทชุด ๓ (ติกมาติกา) เช่น อธิบาย "กุศลธรรมที่เป็นโลกุตตรธรรม เป็นปัจจัยแก่กุศลธรรม ที่เป็นโลกียธรรม โดยอธิปติปัจจัย" เป็นอย่างไร เป็นต้น อนุโลมติกทุกปัฏฐาน ธรรมในแม่บทชุด ๓ (ติกมาติกา) กับธรรมในแม่บทชุด ๒ (ทุกมาติกา) อนุโลมติกติกปัฏฐาน ธรรมในแม่บทชุด ๓ (ติกมาติกา) กับธรรมในแม่บทชุด ๓ (ติกมาติกา) โยงระหว่างต่างชุดกัน เช่นอธิบายว่า "กุศลธรรมที่เป็นอดีตธรรมเป็นปัจจัยแก่อกุศลธรรมที่เป็นปัจจุบันธรรม" เป็นอย่างไร เป็นต้น อนุโลมทุกทุกปัฏฐาน ธรรมในแม่บทชุด ๒ (ทุกมาติกา) กับธรรมในบทชุด ๒ (ทุกมาติกา) โยงระหว่างต่างชุดกัน เช่นชุดโลกียะ โลกุตตระ กับชุดสังขตะอสังขตะ เป็นต้นเล่ม ๔๕ ปัฏฐาน ภาค ๖ เป็นปัจจนียปัฏฐาน คืออธิบายความเป็นปัจจัยแก่กันแห่งธรรมทั้งหลายอย่างเล่มก่อนๆ นั่นเอง แต่อธิบายแง่ปฏิเสธ แยกเป็น ปัจจนียปัฏฐาน คือ ปฏิเสธ+ปฏิเสธ เช่นว่า ธรรมที่ไม่ใช่กุศล อาศัยธรรมที่ไม่ใช่กุศลเกิดขึ้นโดยเหตุปัจจัย เป็นอย่างไร อนุโลมปัจจนียปัฏฐาน คือ อนุโลม+ปฏิเสธ เช่นว่า อาศัยโลกิยธรรม ธรรมที่ไม่ใช่โลกุตตรธรรมเกิดขึ้นโดยเหตุปัจจัย เป็นอย่างไร ปัจจนียานุโลมปัฏฐาน คือ ปฏิเสธ+อนุโลม เช่นว่า อาศัยธรรมที่ไม่ใช่กุศลธรรมที่เป็นอกุศล เกิดขึ้น โดยเหตุปัจจัย เป็นอย่างไร และในทั้ง ๓ แบบนี้ แต่ละแบบ จะอธิบายโดยใช้ธรรมในแม่บทชุด ๓ แล้วต่อด้วยชุด ๒ แล้วข้ามชุดระหว่างชุด ๒ กับชุด ๓ ชุด ๓ กับชุด ๒ ชุด ๓ กับชุด ๓ ชุด ๒ กับชุด ๒ จนครบทั้งหมดเหมือนกัน ดังนั้นแต่ละแบบจึงแยกซอยละเอียดออกไปเป็น ติก ทุก ทุกติก ติกทุก ติกติก ทุกทุก ตามลำดับ (เขียนให้เต็มเป็น ปัจจนียติกปัฏฐาน ปัจจนียทุกปัฏฐาน ปัจจนียทุกติกปัฏฐาน ฯลฯ ดังนี้เรื่อยไป จนถึงท้ายสุดคือ ปัจจนียานุโลมทุกทุกปัฏฐาน)
    คัมภีร์ปัฏฐานนี้ ท่านอธิบายค่อนข้างละเอียดเฉพาะเล่มต้นๆ เท่านั้นเล่มหลังๆ ท่านแสดงไว้แต่หัวข้อหรือแนว และทิ้งไว้ให้ผู้เข้าใจแนวนั้นแล้วเอาไปแจกแจงโดยพิสดารเอง โดยเฉพาะเล่มสุดท้ายคือภาค ๖ แสดงไว้ย่นย่อที่สุด แม้กระนั้นก็ยังเป็นหนังสือถึง ๖ เล่ม หรือ ๓,๓๒๐ หน้ากระดาษพิมพ์ ถ้าอธิบายโดยพิสดารทั้งหมดจะเป็นเล่มหนังสืออีกจำนวนมากมายหลายเท่าตัว ท่านจึงเรียกปัฏฐานอีกชื่อหนึ่งว่า "มหาปกรณ์" แปลว่า ตำราใหญ่ ใหญ่ทั้งโดยขนาดและโดยความสำคัญ
    พระอรรถกถาจารย์กล่าวว่า พระไตรปิฎกมีเนื้อความทั้งหมด ๘๔,๐๐๐ พระธรรมขันธ์ แบ่งเป็น พระวินัยปิฎก ๒๑,๐๐๐ พระธรรมขันธ์ พระสุตตันตปิฎก ๒๑,๐๐๐ พระธรรมขันธ์ และพระอภิธรรมปิฎก ๔๒,๐๐๐ พระธรรมขันธ์​
    </PRE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="90%" align=center background="" border=0><TBODY><TR><TD width="100%" bgColor=goldenrod hspace="0" vspace="0">[​IMG]</TD><TR><TD width="100%" hspace="0" vspace="0">[​IMG]</TD><TR><TD align=right hspace="0" vspace="0">คัดลอกจาก พจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบับประมวลศัพท์
    โดยพระธรรมปิฎก (ป.อ.ปยุตโต)</TD></TR><TR><TD hspace="0" vspace="0"><SMALL>6 พฤษภาคม พ.ศ. 2545</SMALL></TD></TR><TR><TD align=right hspace="0" vspace="0"><!--BEGIN WEB STAT CODE----><SCRIPT language=javascript1.1>page="tipitaka";</SCRIPT><SCRIPT language=javascript1.1 src="http://truehits1.gits.net.th/data/c0004100.js"></SCRIPT><!-- Begin RealTracker ---><SCRIPT><!--function f(s) {document.write('[​IMG]')}function td(n) {s=''+n;if(s.length==1)s='0'+s;return s}function fdy(n) {s=''+n;if(n<100) s='19'+s;return s}res='';ref=escape(document.referrer);t=new Date()tt=td(t.getMonth()+1)+'%2F'+td(t.getDate())+'%2F'+fdy(t.getYear())+'+'+td(t.getHours())+'%3A'+td(t.getMinutes())+'%3A'+td(t.getSeconds())t.setTime (t.getTime()+31536000000);c='nethit';r=''if (document.cookie) {cc=document.cookie;i=cc.indexOf(c)if(i>-1) {os=cc.indexOf('=',i)+1;oe=cc.indexOf(';',i)if(oe<0) oe=cc.length;r=cc.substring(os,oe)}}if (r=='') r=t.getTime();document.cookie=c+'='+r+'; expires='+t.toGMTString()+';'ck=0;if(document.cookie.indexOf(c)>-1) ck=1// ---></SCRIPT><SCRIPT language=Javascript1.1><!--if (navigator.userAgent.indexOf('MSIE 3')<0){if (navigator.javaEnabled()) res+='&j=1'else res+='&j=0'}// ---></SCRIPT><SCRIPT language=Javascript1.2><!--if (navigator.userAgent.indexOf('MSIE 3')<0){res+='&h='+screen.height+'&w='+screen.width+'&c='if(screen.pixelDepth)res+=screen.pixelDepthelse res+=screen.colorDepth}// ---></SCRIPT><SCRIPT><!--f('http://1.rtcode.com/netpoll/ifree.asp?id=136860&js=1&to=0&lid=90000&ref='+ref+res+'&tt='+tt+'&ck='+ck+'&b='+r)// ---></SCRIPT>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  7. พันวฤทธิ์

    พันวฤทธิ์ เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    3,783
    ค่าพลัง:
    +16,097
    เหรียญหลวงพ่อยีอีกแบบหนึ่งครับ ลูกหลานหลวงปู่หลายท่านเกร็งในบุญกุศลกันหมด ไม่เป็นไร รักษาใจก็พอ แค่นึกท่านก็รู้แล้วเดินหน้าต่อเน้อ...สายบุญแท้จริงห้ามท้อในไตรสิกขาเด็ดขาดพี่ใหญ่บอกให้หัดบ่อยๆ ทำเรื่อยๆ เดี๋ยวถึงเอง
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

  8. nongnooo

    nongnooo เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 พฤศจิกายน 2006
    โพสต์:
    4,139
    ค่าพลัง:
    +9,446
    เกร็งเลยครับว่าคุณ พันวฤทธิ์จะมาเตือนเรื่องอะไรอีก ว่าไปแล้วเห็นโพสคุณพันวฤทธิ์ นี่เริ่มจากเกรง ต่อด้วย เกร็ง แล้วตามด้วยมือไม้แข็งเลยครับ!!!
     
  9. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    http://84000.org/tipitaka/pitaka1/v.php?B=07&A=256&Z=312


    <CENTER>พระไตรปิฎก เล่มที่ ๗ พระวินัยปิฎก เล่มที่ ๗
    จุลวรรค ภาค ๒</CENTER><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="90%" align=center background="" border=0><TBODY><TR><TD>[​IMG]</TD><TR><TD width="100%" bgColor=darkblue vspace="0" hspace="0">[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>


    <CENTER>เรื่องบาตรปุ่มไม้จันทน์</CENTER>[๒๙] สมัยต่อมา ปุ่มไม้แก่จันทน์มีราคามาก ได้บังเกิดแก่เศรษฐีชาวเมืองราชคฤห์ จึงราชคหเศรษฐีได้คิดว่า ถ้ากระไรเราจะให้กลึงบาตรด้วยปุ่มไม้แก่จันทน์นี้ ส่วนที่กลึงเหลือเราจักเก็บไว้ใช้ และเราจักให้บาตรเป็นทาน หลังจากนั้น ท่านราชคหเศรษฐีให้กลึงบาตรด้วยปุ่มไม้แก่นจันทน์นั้น แล้วใส่สาแหลกแขวนไว้ที่ปลายไม้ไผ่ผูกต่อๆ กันขึ้นไป แล้วกล่าวอย่างนี้ว่า สมณะหรือพราหมณ์ผู้ใด เป็นพระอรหันต์และมีฤทธิ์ จงปลดบาตรที่เราให้แล้วไปเถิด ฯ [๓๐] ขณะนั้น ปูรณะกัสสปเข้าไปหาท่านราชคหเศรษฐีแล้ว กล่าวว่าท่านคหบดี อาตมานี้แหละเป็นพระอรหันต์และมีฤทธิ์ ขอท่านจงให้บาตรแก่อาตมาเถิด ท่านเศรษฐีตอบว่า ท่านเจ้าข้า ถ้าพระคุณเจ้าเป็นพระอรหันต์และมีฤทธิ์ ก็จงปลดบาตรที่ข้าพเจ้าให้แล้วนั่นแลไปเถิด ต่อมา ท่านมักขลิโคสาล ท่านอชิตเกสกัมพล ท่านปกุธกัจจายนะท่านสัญชัยเวลัฏฐบุตร ท่านนิครนถ์นาฏบุตร ได้เข้าไปหาท่านราชคหเศรษฐีแล้วกล่าวว่า ท่านคหบดี อาตมานี้แหละเป็นพระอรหันต์ และมีฤทธิ์ ขอท่านจงให้บาตรแก่อาตมาเถิด ท่านเศรษฐีตอบว่า ท่านเจ้าข้า ถ้าพระคุณเจ้าเป็นพระอรหันต์และมีฤทธิ์ ก็จงปลดบาตรที่ข้าพเจ้าให้แล้วนั่นแลไปเถิด ฯ<CENTER>เรื่องพระปิณโฑลภารทวาชเถระ</CENTER>[๓๑] สมัยต่อมา ท่านพระมหาโมคคัลลานะกับท่านพระปิณโฑลภาร-*ทวาชะ ครองอันตรวาสกในเวลาเช้าแล้ว ถือบาตรจีวร เข้าไปบิณฑบาตในเมืองราชคฤห์ อันที่แท้ ท่านพระปิณโฑลภารทวาชะ เป็นพระอรหันต์และมีฤทธิ์แม้ท่านพระมหาโมคคัลลานะก็เป็นพระอรหันต์และมีฤทธิ์ จึงท่านพระปิณโฑลภารทวาชะ ได้กล่าวกะท่านพระมหาโมคคัลลานะว่า ไปเถิด ท่านโมคคัลลานะจงปลดบาตรนั้นลง บาตรนั้นของท่าน แม้ท่านพระโมคคัลลานะก็กล่าวกะท่านพระปิณโฑลภารทวาชะว่า ไปเถิด ท่านภารทวาชะ จงปลดบาตรนั้นลง บาตรนั้นของท่าน จึงท่านพระปิณโฑลภารทวาชะเหาะขึ้นสู่เวหาส ถือบาตรนั้นเวียนไปรอบเมืองราชคฤห์ ๓ รอบ ฯ [๓๒] ครั้งนั้น ท่านราชคหเศรษฐีพร้อมกับบุตรภรรยา ยืนอยู่ในเรือนของตน ประคองอัญชลีนมัสการ กล่าวนิมนต์ว่า ท่านเจ้าข้า ขอพระคุณเจ้าภารทวาชะ จงประดิษฐานในเรือนของข้าพเจ้านี้เถิด จึงท่านพระปิณโฑลภารทวาชะประดิษฐานในเรือนของท่านราชคหเศรษฐี ขณะนั้น ท่านราชคหเศรษฐีรับบาตรจากมือของท่านพระปิณโฑลภารทวาชะ แล้วได้จัดของเคี้ยวมีค่ามาก ถวายท่านพระปิณโฑลภารทวาชะ ท่านพระปิณโฑลภารทวาชะได้รับบาตรนั้นไปสู่พระอารามชาวบ้านได้ทราบข่าวว่า ท่านพระปิณโฑลภารทวาชะปลดบาตรของราชคหเศรษฐีไปแล้ว และชาวบ้านเหล่านั้นมีเสียงอึกทึกเกรียวกราว ติดตามพระปิณโฑลภาร-*ทวาชะไปข้างหลังๆ พระผู้มีพระภาคได้ทรงสดับเสียงอึกทึกเกรียวกราว ครั้นแล้วตรัสถามท่านพระอานนท์ว่า อานนท์ นั่นเสียงอึกทึกเกรียวกราว เรื่องอะไรกันท่านพระอานนท์กราบทูลว่า พระพุทธเจ้าข้า ท่านพระปิณโฑลภารทวาชะปลดบาตรของท่านราชคหเศรษฐีลงแล้ว พวกชาวบ้านทราบข่าวว่า ท่านพระปิณโฑลภารทวาชะปลดบาตรของท่านราชคหเศรษฐีลง จึงพากันติดตามท่านพระปิณโฑลภารทวาชะมาข้างหลังๆ อย่างอึกทึกเกรียวกราว พระพุทธเจ้าข้า เสียงอึกทึกเกรียวกราวนี้คือเสียงนั้น พระพุทธเจ้าข้า ฯ [๓๓] ลำดับนั้น พระผู้มีพระภาครับสั่งให้ประชุมภิกษุสงฆ์ในเพราะเหตุเป็นเค้ามูลนั้น ในเพราะเหตุแรกเกิดนั้น แล้วทรงสอบถามท่านพระปิณโฑลภาร-*ทวาชะว่า ภารทวาชะ ข่าวว่า เธอปลดบาตรของราชคหเศรษฐีลง จริงหรือ ท่านพระปิณโฑลภารทวาชะทูลรับว่า จริง พระพุทธเจ้าข้า พระผู้มีพระภาคพุทธเจ้าทรงติเตียนว่า ภารทวาชะ การกระทำของเธอนั่นไม่เหมาะ ไม่สม ไม่ควร ไม่ใช่กิจของสมณะ ใช้ไม่ได้ ไม่ควรทำ ไฉนเธอจึงได้แสดงอิทธิปาฏิหาริย์ ซึ่งเป็นธรรมอันยวดยิ่งของมนุษย์ แก่พวกคฤหัสถ์เพราะเหตุแห่งบาตรไม้ ซึ่งเป็นดุจซากศพเล่า มาตุคามแสดงของลับ เพราะเหตุแห่งทรัพย์ซึ่งเป็นดุจซากศพแม้ฉันใด เธอก็ฉันนั้นเหมือนกัน ได้แสดงอิทธิ-*ปาฏิหาริย์ซึ่งเป็นธรรมอันยวดยิ่งของมนุษย์ แก่พวกคฤหัสถ์ เพราะเหตุแห่งบาตรไม้ซึ่งเป็นดุจซากศพ การกระทำของเธอนั่นไม่เป็นไปเพื่อความเลื่อมใสของชุมชนที่ยังไม่เลื่อมใส ... ครั้นแล้วทรงทำธรรมีกถารับสั่งกะภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุไม่พึงแสดงอิทธิปาฎิหาริย์ ซึ่งเป็นธรรมอันยวดยิ่งของมนุษย์ แก่พวกคฤหัสถ์ รูปใดแสดง ต้องอาบัติทุกกฏ ดูกรภิกษุทั้งหลาย พวกเธอจงทำลายบาตรไม้นั่น บดให้ละเอียด ใช้เป็นยาหยอดตาของภิกษุทั้งหลาย อนึ่ง ภิกษุไม่พึงใช้บาตรไม้ รูปใดใช้ ต้องอาบัติทุกกฏ ฯ<CENTER></CENTER>


    เนื้อความพระไตรปิฎก เล่มที่ ๗ บรรทัดที่ ๒๕๖ - ๓๑๒. หน้าที่ ๑๑ - ๑๓.http://84000.org/tipitaka/pitaka1/v.php?B=7&A=256&Z=312&pagebreak=0 สารบัญพระไตรปิฎกเล่มที่ ๗http://84000.org/tipitaka/read/?สารบัญพระไตรปิฎกเล่มที่_๗</U>http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/mean_reverse.php?text=7&Aindex=%CA%D2%C3%BA%D1%AD<CENTER></CENTER><CENTER></CENTER><CENTER></CENTER>
    </PRE>
    สำหรับเรื่องนี้ หลายๆท่านถ้าได้อ่านเรื่องราวที่ พ.ธรรมรังสีเขียน ลองพิจารณาดูครับ

    .
     
  10. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    http://84000.org/tipitaka/pitaka1/v.php?B=07&A=1328&Z=1353


    <CENTER>พระไตรปิฎก เล่มที่ ๗ พระวินัยปิฎก เล่มที่ ๗
    จุลวรรค ภาค ๒</CENTER><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="90%" align=center background="" border=0><TBODY><TR><TD>[​IMG]</TD><TR><TD width="100%" bgColor=darkblue vspace="0" hspace="0">[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>


    <CENTER>เรื่องเรียนคัมภีร์โลกายตะ</CENTER>[๑๘๑] สมัยนั้น พระฉัพพัคคีย์เรียนคัมภีร์โลกายตะ ชาวบ้านเพ่งโทษติเตียน โพนทะนาว่า ... เหมือนคฤหัสถ์ผู้บริโภคกาม ภิกษุทั้งหลายได้ยินชาวบ้านเพ่งโทษ ติเตียน โพนทะนาอยู่ ... จึงกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาค พระผู้มีพระภาค ... ตรัสว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ผู้ที่เห็นคัมภีร์โลกายตะว่ามีสาระจะพึงถึงความเจริญงอกงามไพบูลย์ในธรรมวินัยนี้หรือ ภิ. ไม่อย่างนั้น พระพุทธเจ้าข้า ภ. อันผู้ที่เห็นธรรมวินัยนี้ว่ามีสาระ จะพึงเล่าเรียนคัมภีร์โลกายตะหรือ ภิ. ไม่อย่างนั้น พระพุทธเจ้าข้า ภ. ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุไม่พึงเรียนคัมภีร์โลกายตะ รูปใดเรียนต้องอาบัติทุกกฏ ฯ [๑๘๒] สมัยต่อมา พระฉัพพัคคีย์สอนคัมภีร์โลกายตะ ชาวบ้านเพ่งโทษ ติเตียน โพนทะนาว่า ... เหมือนพวกคฤหัสถ์ผู้บริโภคกาม ... ภิกษุทั้งหลายกราบทูลเรื่องนั้นแก่พระผู้มีพระภาค พระผู้มีพระภาค ... ตรัสว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุไม่พึงสอนคัมภีร์โลกายตะ รูปใดสอน ต้องอาบัติทุกกฏ ฯ<CENTER>เรื่องเรียนดิรัจฉานวิชา</CENTER>[๑๘๓] สมัยต่อมา พระฉัพพัคคีย์เรียนดิรัจฉานวิชา ... ภิกษุทั้งหลายกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาค พระผู้มีพระภาค ... ตรัสว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุไม่พึงเรียนดิรัจฉานวิชา รูปใดเรียน ต้องอาบัติทุกกฏ ฯ [๑๘๔] สมัยต่อมา พระฉัพพัคคีย์สอนดิรัจฉานวิชา ชาวบ้านเพ่งโทษติเตียน โพนทะนาว่า ... เหมือนพวกคฤหัสถ์ผู้บริโภคกาม ... ภิกษุทั้งหลายกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาค พระผู้มีพระภาค ... ตรัสว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุไม่พึงสอนดิรัจฉาน-*วิชา รูปใดสอน ต้องอาบัติทุกกฏ ฯ<CENTER></CENTER>


    เนื้อความพระไตรปิฎก เล่มที่ ๗ บรรทัดที่ ๑๓๒๘ - ๑๓๕๓. หน้าที่ ๕๕ - ๕๖.http://84000.org/tipitaka/pitaka1/v.php?B=7&A=1328&Z=1353&pagebreak=0 สารบัญพระไตรปิฎกเล่มที่ ๗http://84000.org/tipitaka/read/?สารบัญพระไตรปิฎกเล่มที่_๗</U>http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/mean_reverse.php?text=7&Aindex=%CA%D2%C3%BA%D1%AD<CENTER></CENTER>
    </PRE>


    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="90%" align=center background="" border=0><TBODY><TR><TD align=right vspace="0" hspace="0">[​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG]
    [​IMG]
    </TD></TR><TR><TD width="100%" bgColor=goldenrod vspace="0" hspace="0">[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>
    บันทึก ๒๗ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๔๖ การแสดงผลนี้อ้างอิงข้อมูลจาก พระไตรปิฎก ฉบับสยามรัฐ. หากพบข้อผิดพลาด กรุณาแจ้งได้ที่ DhammaPerfect@yahoo.com <!--BEGIN WEB STAT CODE----><SCRIPT language=javascript1.1>page="tipitaka-1. อ่านพระวินัย";</SCRIPT><SCRIPT language=javascript1.1 src="http://truehits1.gits.net.th/data/c0004100.js"></SCRIPT><SCRIPT src="http://tracker.truehits.in.th/func/th_donate_1.6.js"></SCRIPT><SCRIPT src="http://tracker.truehits.in.th/func/th_common_1.4.js"></SCRIPT><SCRIPT language=javascript1.2>sv=1.2;ss=screen.width+'*'+screen.height;sc=(bn=='MSIE')?screen.colorDepth:screen.pixelDepth;if(sc==udf){sc='na';}</SCRIPT><SCRIPT language=javascript1.3>sv=1.3; </SCRIPT>



    </PRE>
     
  11. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    http://www.jarun.org/v5/th/lrule06p0101.html

    <TABLE style="FONT-SIZE: 12px" cellSpacing=0 cellPadding=0 width=560 align=center border=0><TBODY><TR style="FONT-SIZE: 12px"><TD class=title8 style="FONT-SIZE: 12px" vAlign=bottom>[​IMG]</TD><TD style="FONT-SIZE: 12px" vAlign=bottom align=right width=80>[​IMG]</TD></TR><TR style="FONT-SIZE: 12px"><TD style="FONT-SIZE: 12px" colSpan=2 height=5>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>คลิกที่ชื่อหนังสือด้านล่าง เพื่อกลับสู่หน้ารวมตอนทั้งหมด
    <TABLE style="FONT-SIZE: 12px" cellSpacing=0 cellPadding=0 width=560 align=center border=0><TBODY><TR style="FONT-SIZE: 12px" align=middle><TD class=title5 style="FONT-SIZE: 12px" bgColor=#b9b9b9 colSpan=2 height=30><!-- InstanceBeginEditable name="bookname" -->หนังสือกฎแห่งกรรม เล่ม 6<!-- InstanceEndEditable --></TD></TR><TR style="FONT-SIZE: 12px" vAlign=top><TD class=title style="FONT-SIZE: 12px" width=278 height=65>:<!-- InstanceBeginEditable name="groupname" -->: ภาคธรรมปฏิบัติ ::<!-- InstanceEndEditable --></TD><TD class=txt9 style="FONT-SIZE: 12px" align=right width=282><!-- InstanceBeginEditable name="name" -->เรื่อง การอุทิศส่วนกุศล
    โดย พระภาวนาวิสุทธิคุณ<!-- InstanceEndEditable -->

    </TD></TR><TR style="FONT-SIZE: 12px" vAlign=top><TD style="FONT-SIZE: 12px" colSpan=2><!-- InstanceBeginEditable name="txt" --><DD style="FONT-SIZE: 12px">วันนี้จะขอฝากญาติโยมไว้ การอุทิศส่วนกุศล และการแผ่ส่วนกุศลไม่เหมือนกัน การแผ่คือการแพร่ขยาย เป็นการเคลียร์พื้นที่ แผ่ส่วนบุญออกไป เรียกว่า สัพเพสัตตา สัตว์ทั้งหลายที่เป็นเพื่อนทุกข์ เกิดแก่เจ็บตายด้วยกันทั้งหมดทั้งสิ้น เรียกว่าการแผ่แพร่ขยาย แต่การอุทิศให้ เป็นการให้โดยเจาะจง ถ้าเราจะให้ตัวเองไม่ต้องบอก ไม่ต้องบอกว่าขอให้ข้าพเจ้ารวย ขอให้ข้าพเจ้าดี ขอให้ข้าพเจ้าหมดหนี้ ทำบุญก็รวยเอง เราเป็นคนทำ เราก็เป็นคนได้ และการให้บิดามารดานั้นก็ไม่ต้องออกชื่อแต่ประการใด ลูกทำดีมีปัญญาได้ถึงพ่อแม่ เพราะใกล้ตัวเรา พ่อแม่อยู่ในตัวเรา เราสร้างความดีมากเท่าไรจะถึงพ่อแม่มากเท่านั้น เรามีลูก ลูกเราดี ลูกมีปัญญา พ่อแม่ก็ชื่นใจโดยอัตโนมัติ ไม่ต้องไปบอก
    <TABLE style="FONT-SIZE: 12px" cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR style="FONT-SIZE: 12px"><TD style="FONT-SIZE: 12px" width="79%"><DD style="FONT-SIZE: 12px">คำว่า ญาตกานัญ จะ ได้แก่ญาติทั้งหลาย ใครเป็นญาติของเราก็ได้รับ ญาติในอดีตชาติ ไม่ใช่ญาติในชาตินี้ก็ได้รับ หากว่าเรารู้จักกัน ถูกใจกัน พอใจกัน เป็นน้ำหนึ่งใจเดียวกัน คุ้นเคยกัน เข้าใจกัน และช่วยกันได้อาศัยกันได้ อย่างนี้เรียกญาตกานัญจะ ญาติหลาย ๆ แห่งมารวมกัน บางทีคนนี้ไม่ใช่ญาติในชาตินี้ แต่เราก็ไม่สามารถจะทราบได้ว่าเคยเป็นญาติมาหรือไม่ แต่เกิดพอใจกัน จิตใจตรงกัน ก็เป็นญาติครั้งอดีตที่ผ่านมา แต่จากไปเป็นเวลานาน เพิ่งจะได้พบกันวันนี้ มันก็ลืมเลือนรางไปบ้าง ก็สามารถเป็นญาติได้ ดังนัยที่กล่าวมา ถ้าเคยเป็นสามีภรรยากันกี่ชาติแล้ว ก็สามารถเป็นไปได้ตามนัยดังกล่าวเช่นเดียวกัน ถ้าไม่สามารถจะเป็นญาติครั้งอดีตที่ผ่านมา ปัจจุบันนี้เราไปเกื้อกูลอุดหนุนกัน ช่วยเหลือกันในวันนี้ สามารถจะเป็นญาติในวันพรุ่งนี้ต่อไป ญาติโยมทั้งหลายโปรดรับทราบไว้ด้วย


    </DD></TD><TD style="FONT-SIZE: 12px" width="21%"><TABLE style="FONT-SIZE: 12px" cellSpacing=5 cellPadding=0 width=90 align=right border=0><TBODY><TR style="FONT-SIZE: 12px"><TD style="FONT-SIZE: 12px" width=45>[​IMG]</TD><TD style="FONT-SIZE: 12px" width=45>[​IMG]</TD></TR><TR style="FONT-SIZE: 12px"><TD style="FONT-SIZE: 12px">[​IMG]</TD><TD style="FONT-SIZE: 12px">[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>

    <DD style="FONT-SIZE: 12px">พ่อแม่อุทิศส่วนกุศลให้ลูกได้ เมื่อเร็ว ๆ นี้มีคนอยู่พรหมพิราม จังหวัดพิษณุโลก มาหาที่วัดบอกว่า ลูกไปเรียนต่อปริญญาโทที่ประเทศสหรัฐอเมริกา ไม่มีจดหมายมาเลย ๓ เดือนแล้ว ไม่ทราบว่าจะเป็นอย่างไรบ้าง
    <TABLE style="FONT-SIZE: 12px" cellSpacing=0 cellPadding=10 width="100%" background=../images/dot01.gif border=0><TBODY><TR style="FONT-SIZE: 12px"><TD style="FONT-SIZE: 12px">อาตมารู้แล้ว ลูกกำลังจะตายอยู่ในห้อง ไอ.ซี.ยู. ที่สหรัฐอเมริกา
    เขาบอกว่า "จะมาทำบุญวันเกิดให้ลูก เลี้ยงเพลพระที่วัดนี้"
    อาตมาก็บอกว่า "ได้เลยโยม จะสวดธรรมจักรให้ด้วย"


    </TD></TR></TBODY></TABLE>

    <DD style="FONT-SIZE: 12px">ที่วัดนี้สวดธรรมจักรยากนะ ต้องมีเหตุผล โยมคู่นี้เคยนั่งกรรมฐานมาแล้ว เลยรู้ว่าควรทำอย่างไร คนที่ไม่รู้เรื่องอะไร ทำบุญส่งเดชก็ได้บุญส่งเดช พอเสร็จพิธีแล้ว อาตมาก็อธิบายให้ฟัง โยมทำบุญวันนี้ ตั้งใจแผ่ส่วนกุศลให้ลูกอยู่ที่สหรัฐอเมริกา วันนี้เป็นวันเกิดของลูก ลูกเขาไม่มีโอกาสทำ ลองดูจะได้ผลไหม พ่อแม่ก็กรวดน้ำ อุทิศส่วนกุศลให้ลูก วันนี้เป็นวัดเกิดของลูกนะ พ่อแม่ทำให้ลูกในวันนี้ ขอให้ลูกสำเร็จปริญญาโท ตอนนั้นลูกเขาไปศึกษาต่อปริญญาโท ขณะนั้นปริญญาโทก็ยังไม่ผ่าน ต้องแก้ไขวิทยานิพนธ์อีกมาก และเขาป่วยเชื้อไวรัสลงตับ จะต้องตายอยู่ในห้อง ไอ. ซี. ยู.


    <DD style="FONT-SIZE: 12px">พ่อแม่ก็เจริญกุศล สวดพุทธคุณเท่าอายุ พาหุงมหากา แล้วอุทิศส่วนกุศลให้ลูกที่อเมริกา นาน ๓ เดือน แล้วไม่ส่งข่าวให้พ่อแม่ทราบเลย แม่โทรศัพท์ไปก็ไม้รับ ลูกชายอยู่โรงพยาบาลจะไปรับได้อย่างไร จะตายไม่ตายเท่ากันแล้ว หมอบอกไม่มีทางรอด ปรากฏว่าทำบุญเสร็จแล้ว ๑๐ วัน ได้รับจดหมายทันที ลูกเขียนมาบอกว่า คุณพ่อคุณแม่ครับที่ไม่ได้กราบเท้ามา เพราะผมป่วยหนักอยู่โรงพยาบาลครับ และประการที่สองเรื่องวิทยานิพนธ์ปริญญาโทที่ไม่ผ่าน บัดนี้ตั้งแต่วันที่เท่านั้น เวลาเท่านี้ ผมฟื้นจากห้อง ไอ.ซี.ยู. แล้วหายวันหายคืน ได้แก้ไขวิทยานิพนธ์แล้ว อาจารย์ให้ผ่านแล้วครับ และจะขอต่อปริญญาเอกต่อไป
    <TABLE style="FONT-SIZE: 12px" cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR style="FONT-SIZE: 12px"><TD style="FONT-SIZE: 12px" width="12%">[​IMG]</TD><TD style="FONT-SIZE: 12px" width="88%">มีจดหมายมาตรงกับที่ทำบุญให้ที่วัดนี้ เวลา ๑๑.๐๐ - ๑๒.๐๐ น. เป็นเวลากลางคืนที่สหรัฐฯ ที่ฟื้นขึ้นมาตรงกันพอดี ขอฝากไว้เป็นเรื่องกฎแห่งกรรม จากการกระทำทั้งหมด พ่อแม่สร้างกุศลให้ลูกได้


    </TD></TR></TBODY></TABLE>๒๒ เม.ย. ๓๕
    ลูกแผ่ส่วนกุศลให้พ่อ-แม่ได้ พระณรงค์ศักดิ์ ฐิตเปโม เป็นบุตรของ พ.อ. ประกิต ศิริพันธุ์ กรุงเทพมหานคร ท่านบวชหน้าศพให้คุณปู่ บวชแล้วโยมนำมาฝากเจริญกรรมฐานที่วัดนี้ จะขออยู่ ๗ วันแล้วจึงจะสึก พอเจริญกรรมฐานได้ ๗ วัน โยมแม่มารับ บอกกับโยมแม่ว่า ขออยู่ต่ออีก ๑ เดือน นั่งเจริญกรรมฐานแล้วแผ่เมตตาให้ปู่ ให้พ่อให้แม่ บัดนี้น่าอนุโมทนา คุณพ่อได้เลื่อนยศเป็นนายพลเลย และเลื่อนตำแหน่งเป็นผู้บัญชาการศูนย์ป้องกันภัยทางอากาศกองทัพบก เมื่อสองสามวันมานี้ นำสายสะพายมาให้เจิม บอกว่าหลวงพ่อครับ ผมไม่เคยคิดว่าจะเป็นนายพลเลย เส้นก็ไม่มี ผมดีใจมาก ตอนนี้ลูกยังบวชอยู่ ลูกนั่งกรรมฐานให้พ่อแม่เป็นใหญ่เป็นโตก็ได้
    ๒๒ เม.ย. ๓๕
    ภรรยาแผ่ส่วนกุศลให้สามี มีข้าราชการซี ๗ คนหนึ่งรับราชการที่จังหวัดลพบุรี แต่ตอนนี้ย้ายไปแล้ว จะไม่ขอออกชื่อ สามีรับราชการระดับซี ๘ สามีเป็นคนเจ้าชู้ เล่นการพนัน กลับบ้านเที่ยงคืนทุกวัน ภรรยาก็เสียใจ ร้องไห้มาหาอาตมา บอกว่าสามีไปชอบเด็กสาวที่ศาลากลาง ชื่อนางสาววาสนา อาตมาก็บอกว่า เอาละคุณนายไม่เป็นไร จะแก้ที่โยมภรรยา โยมลาพักร้อนสัก ๗ วันได้ไหม มานั่งกรรมฐาน เขาก็มาที่นี่ พอนั่งกรรมฐานเสร็จ แผ่เมตตาทุกวัน ให้สามีมีความสุข แผ่เท่านี้เป็นการแก้กรรม กลับไปบ้านแล้วก็ไปนั่งสวดมนต์ไหว้พระ สามีมาก็ไม่ว่ากระไร ไม่ชวนทะเลาะอีกต่อไป หากับข้าวให้เต็มสำรับไว้ เขาจะทานหรือไม่ทานก็แล้วไป ทำหน้าที่แม่บ้านการเรือนอย่างดียิ่ง และจะไม่พุดถึงเรื่องนี้อีก
    <TABLE style="FONT-SIZE: 12px" cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR style="FONT-SIZE: 12px"><TD style="FONT-SIZE: 12px" width="12%"><TABLE style="FONT-SIZE: 12px" cellSpacing=5 cellPadding=0 width=57 border=0><TBODY><TR style="FONT-SIZE: 12px"><TD style="FONT-SIZE: 12px" width=47>[​IMG]</TD></TR><TR style="FONT-SIZE: 12px"><TD style="FONT-SIZE: 12px">[​IMG]</TD></TR><TR style="FONT-SIZE: 12px"><TD style="FONT-SIZE: 12px">[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD style="FONT-SIZE: 12px" width="88%">ขอเจริญพรว่า จะแก้บทใดอย่าพูดเรื่องนั้น อย่าไปด่าว่าสามีเจ้าชู้ เล่นการพนัน จะไม่มีทางแก้ไขได้ จะเป็นการหยิกเล็บเจ็บเนื้อ จะเหลือวิสัย อย่าไปจี้แผลนัก เดี๋ยวจะกลายเป็นโรคมะเร็ง และจะแก้ไขปัญหาไม่ได้ ในที่สุดสามีก็กลับใจ เลิกเที่ยว หันมาดูแลลูกเพิ่มขึ้น มานั่งสวดมนต์กับภรรยา และนางสาววาสนาที่ศาลากลางก็กลับมาหาคุณนายนี้ บอกว่า "คุณพี่ขา หนูไม่มีอะไรหรอกนะ" คุณนายก็บอกว่า "ฉันไม่ว่าอะไรเธอหรอก ตามใจเธอ ฉันแผ่ให้เธอมีความสุขแล้ว" เลยร้ายกลับกลายดี นางสาววาสนามีพี่ชายเป็นนายแพทย์ใหญ่อยู่อเมริกา ได้อุปการะลูกบ้านนี้ไปเรียนต่อที่อเมริกา มันช่วยกันได้อย่างนี้ แต่ไม่ได้เป็นสามีภรรยากันดังที่กล่าวแล้ว สามีบ้านอยู่สันป่าข่อย จังหวัดเชียงใหม่ ยังไม่เคยบวช ได้ปรึกษากับภรรยาว่าจะบวชที่วัดอัมพวัน เลยขออนุญาตลาอุปสมบท ๑๒๐ วัน ภรรยาพาสามีบวชได้แล้ว วิธีแก้กรรมอย่าไปผูกใจเจ็บ ให้อโหสิกรรมเสียก็จะเป็นสุขทุกฝ่าย


    </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE style="FONT-SIZE: 12px" cellSpacing=0 cellPadding=10 width="100%" background=../images/dot01.gif border=0><TBODY><TR style="FONT-SIZE: 12px"><TD style="FONT-SIZE: 12px">๒๒ เม.ย. ๓๕
    การอุทิศส่วนกุศลให้บรรพบุรุษ วันนี้เป็นวันปูชนียบุคคล เป็นวันที่เราได้บำเพ็ญกุศลอุทิศให้แก่บรรพบุรุษ มีบิดามารดา ปู่ย่าตายาย ผู้มีพระคุณทั้งหลาย จะเป็นสามีภรรยา หรือญาติวงศ์พงศา หลายชาติ หลายกัปป์หลายกัลป์ ทั้งบิดามารดายุคใหม่ปัจจุบันนี้ที่ยังมีชีวิตอยู่ก็ได้ผลด้วย บิดามารดาชาติเก่าครั้งอดีตก็มีโอกาสมารับส่วนบุญกุศลด้วย เรามีบิดามารดามาหลายชาติ หลายกัปป์หลายกัลป์ มาชาตินี้ก็มิได้ทราบว่าคนนั้นเป็นบิดามารดาของเราหรือไม่


    </TD></TR></TBODY></TABLE>

    <DD style="FONT-SIZE: 12px">พระเกจิอาจารย์ท่านเล่าสืบมา บางทีบิดามารดาญาติวงศ์พงศามาเกิดเป็นสุนัข เป็นวัว เป็นควาย เป็นม้า เป็นช้าง และเราก็หารู้ไม่ว่า เขาเหล่านั้นเป็นญาติของเรา เพราะล้มหายตายจากไปหลายชาติ หลายกัปป์หลายกัลป์แล้ว ยกตัวอย่างที่จังหวัดพิจิตร มีบ้านที่นับถือกับอาตมาอยู่บ้านหนึ่ง อาตมาได้สังเกตการณ์มานาน เคยไปแต่ยังไม่ได้บวช บวชแล้วก็ไปอีก เขาจะทำบุญอุทิศส่วนกุศลให้แก่บรรพบุรุษทุกปี พี่น้องที่ไปอยู่ถิ่นอื่นก็กลับมารวมกัน มีกระทาชายหนึ่งคนหนึ่งมาจากจังหวัดปัตตานี ได้ขึ้นไปอยู่จังหวัดพิจิตร มีอาชีพรับจ้างหาบน้ำมันยางกับขี้ไต้ลงเรือ เพื่อล่องมาขายทางภาคกลาง และรับจ้างถากไร่ไถนา ซื้อบ้านกระท่อมอยู่ ยังไม่มีครอบครัว บ้านที่รู้จักกับอาตมานี้อยู่ใกล้กับบ้านของเขา มีลูกหลานมาก ถึงวันทำบุญบรรพบุรุษก็นำกระดูกมาบังสุกุล หนุ่มคนนี้ก็มาช่วยงานบ้านนี้เสมอ อาตมาเข้าใจผิดคิดอกุศลว่า คงมาชอบลูกสาวหลานสาวบ้านนี้ จึงกุลีกุจอช่วยเหลือเขามาตลอด เมื่ออาตมาบวชแล้วก็ไปบ้านนี้อีก ก็เห็นคนนี้มาช่วยงานอีก และไม่ได้มีครอบครัวแต่ประการใด ถึงเวลาพระรับภัตตาหารเสร็จแล้ว เขารับประทานข้าวกันหมด แต่หนุ่มคนนี้ไม่ยอมรับประทานอาหาร
    <TABLE style="FONT-SIZE: 12px" cellSpacing=0 cellPadding=10 width="100%" background=../images/dot01.gif border=0><TBODY><TR style="FONT-SIZE: 12px"><TD style="FONT-SIZE: 12px">อาตมาถามว่า "นี่โยม ทำไมไม่รับประทานข้าว"
    เขาตอบว่า "มันอิ่มจริง ๆ ครับ ถึงเวลาทำบุญอย่างนี้ ไม่รู้เป็นอย่างไร ผมอิ่มตลอดวัน อิ่มตลอดคืนเลยครับ"


    </TD></TR></TBODY></TABLE>

    <DD style="FONT-SIZE: 12px">กว่าอาตมาจะรู้ได้ เมื่อมาบวชเป็นพระ เจริญกรรมฐานถึงได้รู้ว่า กระทาชายที่มาจากภาคใต้คนนี้เป็นใคร เขาเอาใจใส่บ้านนี้มาก ลูกหลานจะไปโรงเรียน หนุ่มผู้นี้ก็ตามไปส่งไปรับกลับ ชาวบ้านเหนือบ้านใต้ก็คิดตรงกันกับอาตมา คงจะชอบลูกสาวหลานสาวบ้านนี้แน่นอน มาตอนหลังเขาก็ยังไม่มีครอบครัว ได้เงินมามากก็ซื้อที่ไว้ ๕๐๐ ไร่ มีบ้านช่องใหญ่โต แต่เวลาบ้านนี้มีงานเขาก็มาช่วยทุกที แล้วก็ช่วยลูกช่วยหลาน จนลูกสาวหลานสาวแต่งงานไปหมดแล้ว เขาก็ยังอยู่ช่วยหลานเหลนต่อไป บัดนี้ท่านผู้นี้อายุมากแล้ว ก็ยังช่วยงานอย่างดียิ่งและถึงเวลาบ้านนี้ทำบุญทีไร เขาอิ่มทุกที และปลื้มปีติยินดี อาตมามารู้ได้ภายหลังมานั่งเจริญกรรมฐาน "อ๋อ! กระทาชายหนุ่มคนนี้คือ พ่อของบ้านนี้ เมื่อครั้งอดีตชาติ" อันนี้เป็นเรื่องจริง ขอประกาศให้ทราบโดยทั่วกัน นี่แหละพ่อของเรา แม่ของเรา ไม่ใช่ชาติเดียว มีหลายชาติ สามีของเราในชาตินี้ จะเป็นสามีในครั้งอดีตของเราหรือไม่ เราก็มิทราบ ภรรยาของเราในชาตินี้จะเป็นภรรยาตลอดทุกชาติก็หามิได้ ศัตรูของเราที่ฆ่ารันฟันแทงกัน ก็มาเป็นสามีภรรยากันในชาตินี้ มีอยู่คู่หนึ่ง บัดนี้ภรรยาได้ฆ่าสามีตายไปแล้ว นี่แสดงว่าเป็นศัตรูกัน ไม่ใช่ว่าเป็นสามีภรรยากันทุกชาติ ที่เป็นชายจริงหญิงแท้ เป็นคนแก่ที่น่าบูชา มีคู่เดียว คือ องค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า เสวยพระชาติทุกชาติจนกระทั่งเป็นพระเวสสันดร ๑๕ เม.ย. ๓๕
    <!-- InstanceEndEditable -->

    </DD></TD></TR></TBODY></TABLE>

    [​IMG][​IMG][​IMG]
    วัดอัมพวัน อ. พรหมบุรี จ. สิงห์บุรี 16160 โทร. 036 599381
    Copyright 2004 jarun.org All Rights Reserved Version 4.0
    เปิดใช้ครั้งแรกเมื่อวันที่ 1 สิงหาคม พ.ศ. 2547
    ติดต่อคณะผู้จัดทำ: webmaster@jarun.org หรือ กรอกแบบฟอร์มที่นี่
    <!-- InstanceBeginEditable name="next back" --><!-- InstanceEndEditable -->
     
  12. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    http://www.geocities.com/RainForest/Jungle/2897/file6.html

    <CENTER>
    [SIZE=+2]ภาคผนวก[/SIZE]

    [SIZE=+2]ความสุข 3 อย่าง[/SIZE]</CENTER>


    คนเราในสังคมปัจจุบันส่วนใหญ่ ได้ใช้ชีวิตไปตามวิถีทางซึ่งตนกำหนดขึ้นเอง โดยไม่ได้ศึกษาเลยว่า ทางที่เดินนั้นถูกต้องสมควรแล้วหรือยัง คนชั่วทั้งหลายย่อมใช้ชีวิตไปตามความพอใจของตน โดยไม่คำนึงถึงความเดือดร้อนของผู้อื่น ส่วนคนดีในสมัยนี้ก็ได้แต่ทำในสิ่งที่ตนคิดว่าดี โดยไม่ศึกษาให้ถ่องแท้เสียก่อนว่า อะไรคือความดี อะไรคือความชั่ว เมื่อไม่ศึกษาให้เข้าใจถึงความดีที่แท้จริง จะรู้จักความดีได้อย่างไร เมื่อไม่รู้จักความดี จะกล่าวว่าตนเองทำดีได้อย่างไร ก็สิ่งที่เขาคิดว่าดี ที่จริงแล้วมันอาจจะเป็นความชั่วก็ได้ เขาเหล่านั้นย่อมได้ชื่อว่าเป็นผู้ประมาท ส่วนผู้ไม่ประมาทย่อมศึกษาเสียก่อนว่า อะไรคือความดี อะไรคือความชั่ว เมื่อได้คำตอบแล้ว ก็เลือกทำความดีตามที่ตั้งใจเอาไว้ อย่างนี้จึงจะได้ชื่อว่าเป็นคนดีที่แท้จริง
    ในเรื่องของความสุขก็เช่นกัน ทุกชีวิตที่เกิดมาในโลกนี้ย่อมต้องการความสุขด้วยกันทั้งสิ้น แต่การไขว่คว้าให้ได้มาซึ่งความสุขนั้น แตกต่างกันออกไป ถ้าท่านต้องการความสุขท่านจะทำอย่างไร ทำในสิ่งที่ตนเองคิดว่าเป็นความสุขเลยทันที หรือจะศึกษาถึงเหตุที่ทำให้เกิดความสุขเสียก่อน แล้วจึงสร้างเหตุให้เกิดความสุขตามที่ใจปรารถนาในภายหลัง ผู้ที่มีความประมาท ไม่ศึกษาให้รู้ถึงแก่นแท้ของความสุขเสียก่อน เมื่อแสวงหาความสุข ย่อมหลงทางได้ง่าย เหมือนกับการหาขุมทรัพย์โดยไม่มีลายแทงอย่างนั้นแหละ
    ในเรื่องของความสุข 3 อย่าง เป็นการกล่าวถึงธรรมชาติของความสุขในชีวิต ว่าไม่ได้มีอยู่เพียงอย่างเดียวดังเช่นที่คนส่วนใหญ่เข้าใจ แต่ความสุขในโลกนี้มีถึง 3 อย่าง ในการปฏิบัติธรรมของผม ได้พบเห็นธรรมชาติของความสุขทั้งสามนี้ ว่ามีเหตุเกิดจากอะไร และมีลักษณะแตกต่างกันอย่างไร จึงได้เขียนลงในหนังสือเล่มนี้ เพื่อให้ผู้อ่านได้เข้าใจในเรื่องของความสุขที่แท้จริง
    ความสุข เป็นสภาพธรรมชาติที่เป็นคู่ปรับ หรือเป็นฝ่ายตรงข้ามกับความทุกข์ ขณะใดที่มีความสุขมาก็อาจกล่าวได้ว่า มีความทุกข์น้อย ขณะใดที่มีความสุขน้อยก็อาจกล่าวได้ว่า มีความทุกข์มาก ความทุกข์ หมายถึง สภาพที่ทนอยู่ได้ยาก หรือสภาพที่ไม่น่าพอใจ ความสุข หมายถึง สภาพที่ทนอยู่ได้ง่าย หรือสภาพที่น่าพอใจ ความสุขของคนเราแบ่งออกได้เป็น 3 อย่างคือ
    [SIZE=+2]1. ความสุขในกาม[/SIZE]
    คำว่า กาม หมายถึง ความใคร่ อันได้แก่ความใคร่ในรูป รส กลิ่น เสียง สัมผัส เช่น ขณะที่เราเห็นรูปสวย ๆ แล้วเกิดความพอใจ เรียกว่าเสพกาม ขณะนั้นเราได้รับอารมณ์ที่พอใจ เรียกว่ามีความสุขในการเห็น จัดเป็นความสุขในกาม ขณะที่เราได้ยินเสียงเพลงไพเราะแล้วเกิดความพอใจ เรียกว่าเสพกาม ขณะนั้นเรามีความสุขอยู่กับการฟังเพลง จัดเป็นความสุขในกาม
    เรื่องของความสุขในกามนี้ มีทั้งฝ่ายที่เป็นกุศลหรือฝ่ายบุญ และฝ่ายที่เป็นอกุศลหรือฝ่ายบาป บุญ ก็คือกรรมที่การกระทำที่ส่งผลให้มีความสุขหรือทำให้ได้รับความสบายในอนาคต ส่วน บาป หมายถึงกรรมหรือการกระทำที่ส่งผลให้เกิดทุกข์หรือทำให้ได้รับความลำบากในอนาคต
    [SIZE=+2] ความสุขในการฝ่ายบุญ[/SIZE]
    ความสุขในกามที่เป็นบุญได้แก่ ความรู้สึกยินดี โดยไม่มีกิเลสเจือปน เช่น ขณะที่เราฟังธรรม มีความยินดี ได้ชื่อว่าเสพกามฝ่ายกุศล เป็นบุญ ปัจจุบันย่อมมีความสุข และยังจะส่งผลให้สบายหรือมีความสุขในอนาคต เช่น จะเป็นผู้มีปัญญาเข้าใจธรรมะได้ง่ายในอนาคต วันดีคืนดีนึกอยากฟังธรรมขึ้นมา ก็ไม่รู้สึกหงุดหงิด ไม่รู้สึกทุรนทุราย เมื่อได้ฟังธรรมอีกก็มีความสุขอีก แต่ถ้าไม่ได้ฟังธรรมก็ไม่ได้กลุ้มใจหงุดหงิดแต่อย่างใด
    ขณะที่เราตักบาตร มีความยินดี มีความพอใจ ได้ชื่อว่าเสพกามฝ่ายกุศล เป็นบุญ ปัจจุบันก็มีความสุขและยังส่งผลให้สบายในอนาคตอีกด้วย เช่น จะเป็นผู้ไม่ขัดสนในทรัพย์ วันดีคืนดีนึกอยากจะตักบาตรขึ้นมา ก็ไม่กลุ้มใจ ไม่ทุรนทุราย เมื่อได้ตักบาตรอีกก็มีความสุขอีก แต่ถ้าไม่ได้ตักบาตรก็ไม่ได้กลุ้มใจหงุดหงิดแต่ อย่างใด
    [SIZE=+2]ความสุขในกามฝ่ายบาป[/SIZE]
    ความสุขในกามที่เป็นบาป ก็ได้แก่การที่จิตมีโลภะ เช่น ขณะตกปลา ปลาติดเบ็ดเกิดความพอใจ ได้ชื่อว่าเสพกาม ฝ่ายอกุศล คือ จิตมีความโลภ เป็นบาป ปัจจุบันเขาย่อมมีความสุข แต่บาปนี้จะส่งผลให้เขาลำบากในอนาคต เช่น ถูกประทุษร้ายหรือได้รับอุบัติเหตุในอนาคต วันดีคืนดีนึกอยากจะตกปลาอีก ขณะนั้นย่อมมีความไม่สบายใจ จิตย่อมทุรนทุราย มีความทุกข์ หาทางที่จะให้ได้ตกปลาอีก เรียกว่ามีตัณหาเกิดขึ้น ถ้าได้สนองตัณหา คือได้ตกปลาสมอยาก ความทุรนทุรายก็หมดไป แต่ถ้ามีอุปสรรคเป็นเหตุให้ไม่ได้ตกปลา จิตก็จะมีความหงุดหงิดเศร้าหมองเกิดความไม่พอใจ เกิดความทุกข์ขึ้นมา เพราะเหตุนี้จึงกล่าวว่า โลภะคือความพอใจส่งผลให้มีสุขในปัจจุบัน แต่ส่งผลให้ลำบากหรือเป็นทุกข์ในอนาคต
    ขณะที่เราฟังเพลงไพเราะแล้วเกิดความพอใจในเสียงเพลงนั้น ได้ชื่อว่าเสพกามฝ่ายอกุศล คือจิตมีโลภะ เป็นบาป ในปัจจุบันย่อมมีความสุข แต่จะส่งผลให้ลำบากในอนาคต เช่นวันดีคืนดีนึกอยากจะฟังเพลงอีก จิตย่อมทุรนทุรายไม่เป็นสุข เพราะมีตัณหาคือความปรารถนาที่จะได้ฟังเพลงเกิดขึ้น ขณะนี้ก็ได้ชื่อว่าเป็นทุกข์แล้ว ต่อเมื่อได้ฟังเพลงสมอยาก ความทุรนทุรายก็หมดไป กลับมีความสุขในการฟังเพลงอีกเพราะได้สนองตัณหา แต่ถ้าไม่สามารถหาเพลงฟังได้ จิตก็จะเร่าร้อนหงุดหงิดทุรนทุราย เกิดความไม่พอใจ เป็นทุกข์ขึ้นมาอีก
    ความทุกข์ที่เกิดขึ้นในอนาคตอันเนื่องมาจากการที่จิตมีโลภะนั้นจะมากหรือน้อย ก็ขึ้นอยู่กับกำลังของกรรมที่ทำ เช่น การมีความสุขอยู่กับการตกปลา ย่อมส่งผลให้ลำบากกว่าการมีความสุขอยู่กับการฟังเพลง การเพลิดเพลินไปกับเสียงเพลง เป็นเพียงการประพฤติผิดทางใจเท่านั้น ไม่ได้แสดงออกทางกายให้ผู้อื่นเดือดร้อน แต่การตกปลาเป็นการประพฤติทั้งทางใจและทางกาย เป็นการเบียดเบียนสัตว์อื่นให้ได้รับความลำบาก จึงมีผลมากกว่า [SIZE=+2]ความทุกข์ในกาม[/SIZE]
    การเสพกาม นอกจากจะมีลักษณะที่เป็นสุขในปัจจุบันแล้ว ยังมีลักษณะที่เป็นทุกข์ในปัจจุบันอีกด้วย การเสพกามที่เป็นทุกข์ก็ได้แก่ การที่จิตมีโทสะ เช่น ขณะถูกด่า รู้สึกโกรธ ได้ชื่อว่าเสพกามฝ่ายอกุศล คือ จิตมีโทสะเป็นบาป ในปัจจุบันย่อมมีความทุกข์ใจ และยังจะส่งผลให้ลำบากหรือเป็นทุกข์ในอนาคตอีก เช่น วันดีคืนดีนึกถึงคนที่ด่าเรา ก็รู้สึกโกรธไม่พอใจอีก หรือเดินไปเจอหน้าคนที่ด่าเรา ก็รู้สึกโกรธขึ้นมาอีก กรรมที่เราทำในลักษณะนี้ ส่งผลให้ลำบากน้อย เพราะเป็นการประพฤติผิดทางใจ แต่ถ้าเราถูกด่า รู้สึกโกรธแล้วไปทำร้ายตอบ ก็จะเป็นกรรที่ส่งผลให้ลำบากมากกว่า เช่น อาจจะถูกทำร้าย หรือประสบอุบัติเหตุ ในอนาคตข้างหน้า
    จะเห็นว่าการเสพกามนี้ มีทั้งฝ่ายที่เป็นบุญและบาป ฝ่ายที่เป็นบุญให้ความสุขทั้งในปัจจุบันและอนาคต ส่วนฝ่ายที่เป็นบาป มีทั้งที่ให้ความสุขในปัจจุบัน แต่เป็นทุกข์ในอนาคต และที่ให้ความทุกข์ทั้งในปัจจุบันและในอนาคต
    ผู้ที่ใช้ชีวิตส่วนใหญ่ในการเสพกาม ย่อมหาความสุขในชีวิตได้ยาก เพราะต้องอาศัยเหตุปัจจัยจากภายนอกมาทำให้เกิดความสุขขึ้น คือความสุขจะเกิดขึ้นได้ก็ต่อเมื่อได้รับสุขเวทนาเท่านั้น เช่นเมื่อได้เห็นภาพดี ๆ ได้ยินเสียงดี ๆ ได้รับรสอาหารดี ๆ จึงจะมีความสุขเกิดขึ้น ความสุขในกามนี้จัดเป็นความสุขระดับต่ำ ผู้ใฝ่หาความสุขในกาม ถ้าทำกรรมดีหรือทำบุญเสมอ ๆ เมื่อตายไป ก็จะไปเกิดในสุคติภูมิ ได้แก่ เป็นมนุษย์หรือเทวดา ถ้าทำกรรมชั่วหรือทำบาปเสมอ ๆ เมื่อตายไป ก็จะเกิดในทุคติภูมิ ได้แก่เกิดเป็นสัตว์เดรัจฉาน สัตว์นก หรือเปรต
     
  13. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    http://www.geocities.com/RainForest/Jungle/2897/file6.html
    2. ความสุขในฌาน
    คำว่า ฌาน หมายถึง อารมณ์ที่เกิดขึ้นในขณะที่จิตตั้งมั่นเป็นสมาธิ เช่น อารมณ์สงบ ปีติสุข อารมณ์เหล่านี้จะเกิดขึ้นก็เฉพาะกับคนที่ฝึกสมาธิได้ผลแล้วเท่านั้น บุคคลใดก็ตามที่ทำจิตให้สงบ ตั้งมั่นเป็นสมาธิอยู่กับอารมณ์ใดอารมณ์หนึ่งได้ ละความฟุ้งซ่าน ละความกังวลในเรื่องต่าง ๆ ได้ ก็จะมีอารมณ์ฌานเกดขึ้นกับบุคคลนั้น ในตอนแรกอาจจะรู้สึกว่าจิตสงบ รู้ชัดในอารมณ์ที่กำหนด มีความสบายใจเกิดขึ้น ต่อมาอาจจะมีปีติคือความอิ่มใจเกิดขึ้น ต่อมาอาจจะมีสุขคือความรู้สึกเป็นสุขอย่างยิ่งเกิดขึ้น ต่อมาอาจจะมีจิตผ่องใส เป็นอิสระจากกิเลส อารมณ์ต่าง ๆ เหล่านี้ล้วนเป็นความสุขที่เกิดขึ้นในปัจจุบันสำหรับผู้ทำสมาธิ เรียกว่า ความสุขในฌาน อารมณ์ฌานนี้เป็นฝ่ายกุศล เป็นบุญ ส่งผลให้เกิดความสุขทั้งในปัจจุบันและอนาคต ผู้ที่ทำฌานให้เกิดขึ้นเสมอ ๆ ย่อมเป็นคนที่จิตใจมั่นคง อารมณ์ดีเยือกเย็น มีความสบายใจอยู่เสมอ
    ผู้ที่ใช้ชีวิตสวนใหญ่อยู่กับสมาธิ อยู่กับฌาน ย่อมหาความสุขได้ง่าย เพราะความสุขในฌานเกิดขึ้นจากภายในไม่อาศัยเวทนาจากภายนอก คือไม่ว่าภายนอกจะมีความสุขเวทนาหรือทุกขเวทนาเกิดขึ้นก็ตาม ถ้าขณะนั้นเขาสามารถทำจิตให้สงบเป็นสมาธิได้ ความสุขในฌานก็จะเกิดขึ้นเสมอ ความสุขในกามกับความสุขในฌาน มีเหตุปัจจัยที่เกิดขึ้นแตกต่างกัน ผู้ที่ปรารถนาจะมีความสุขในฌาน จะต้องละความสุขในกามเสียก่อน แล้วทำสมาธิให้จิตสงบ ความสุขในฌานจึงจะเกิดขึ้น ความสุขในฌานนี้จะดีกว่า ประณีตกว่า เป็นสุขกว่า น่ายินดีกว่าความสุขในกาม นอกจากนี้ ถ้าผู้ใดทำสมาธิจนแก่กล้า ก็จะสามารถทำอิทธิปาฏิหาริย์ต่าง ๆ ได้ เช่น สามารถอ่านใจผู้อื่นได้ ระลึกชาติได้ หายตัวได้ เป็นต้น เมื่อตายไปก็จะมีโอกาสเกิดเป็นพรหมอยู่ในพรหมโลก

    [SIZE=+2]3. ความสุขในนิโรธ[/SIZE]
    คำว่า นิโรธ หมายถึง ความสละ หรือความปล่อยวางตัณหา ตัณหาคือความอยาก คืออยากได้อารมณ์ที่ดี เช่น อยากเห็นรูปสวย ๆ อยากได้กลิ่นหอม ๆ อยากฟังเสียงที่ไพเราะ ขณะใดที่เราทำสติสัมปชัญญะให้เกิดขึ้น ขณะนั้นนิโรธก็เกิดขึ้น ลักษณะของนิโรธก็คือ รู้ชัดในอารมณ์ตามความเป็นจริง เรียกว่าไม่มีโมหะ ไม่มีความยินดียินร้ายในอารมณ์นั้น เรียกว่าไม่มีโลภะ และโทสะ ขณะนั้นจิตย่อมบริสุทธิ์ ปราศจากกิเลส
    การทำนิโรธให้เกิดขึ้น สามารถทำได้โดยการตั้งใจดูอารมณ์ รับรู้ในอารมณ์เฉย ๆ ทำใจเป็นกลาง ไม่เสพอารมณ์ เมื่อสุขเวทนาเกิดขึ้น ก็ให้รู้ในสุขเวทนานั้นเฉย ๆ ไม่ยินดีในสุขเวทนานั้น เมื่อทุกขเวทนาเกิดขึ้น ก็ให้รู้ในทุกขเวทนานั้นเฉย ๆ ไม่ยินร้ายในทุกขเวทนานั้น เช่น ขณะที่อากาศเย็นสบาย ก็ให้รู้ว่าอากาศเย็นเฉย ๆ ไม่ยินดีในความเย็นนั้น ขณะที่อากาศร้อนอบอ้าว ก็ให้รู้ว่าอากาศร้อนเฉย ๆ ไม่ยินร้ายในความร้อนให้เกิดความหงุดหงิดรำคาญใจขึ้นมา ขณะกินอาหารรสไม่ดี ก็ให้รู้ในรสเฉย ๆ ไม่ยินร้ายในรสชาติของอาหารให้เกิดความไม่อร่อยหรือความไม่พอใจขึ้นมา ขณะดูภาพยนตร์ก็ตั้งใจดูให้รู้ในเรื่องราวเฉย ๆ ไม่ใส่อารมณ์ ไม่เพลิดเพลินไปกับเรื่องราวในภาพยนตร์นั้น ถึงตอนที่พระเอกชนะผู้ร้าย ก็ให้รู้เฉย ๆ ไม่ให้ดีใจ ถึงตอนที่พระเอกแพ้ผู้ร้าย ก็ให้รู้เฉย ๆ ไม่ให้เสียใจ ไม่ให้รู้สึกโกรธขึ้นมา เรียกว่าไม่เข้าข้างฝ่ายไหน มีใจเป็นกลางดูเหตุการณ์ที่ปรากฏบนจอเฉย ๆ อย่างนี้ได้ชื่อว่า ไม่เสพกาม ได้ชื่อว่าทำสติสัมปชัญญะให้เกิดขึ้น ได้ชื่อว่าทำนิโรธให้เกิดขึ้น
    ในขณะที่เราทำสมาธิ เมื่อมีอารมณ์ฌานเช่นมีปีติเกิดขึ้นก็ให้รู้ว่ามีปีติเกิดขึ้น ยังมีปีติอยู่ ไม่ยินดีในปีตินั้น เมื่อปีติเสื่อมไป ก็ให้รู้ว่าปีติเสื่อมไป ไม่เสียใจในความเสื่อมนั้น เมื่อมีสุขเกิดขึ้น ก็ให้รู้ว่ามีสุขเกิดขึ้น สุขปรากฏอยู่ ก็ให้รู้ว่าสุขปรากฏอยู่ ไม่ยินดีในสุขนั้น อย่างนี้ได้ชื่อว่าไม่เสพอารมณ์ฌาน ได้ชื่อว่าทำสติสัมปชัญญะให้เกิดขึ้น ได้ชื่อว่าทำนิโรธให้เกิดขึ้น
    จะเห็นว่านิโรธก็คือการรู้ในอารมณ์แต่ไม่เสพอารมณ์นั่นเอง เมื่อมีกามก็ไม่เสพกาม เมื่อมีฌานก็ไม่เสพฌาน ได้แต่รับรู้เฉย ๆ นิโรธเป็นฝ่ายกุศล เป็นบุญ ส่งผลให้มีความสุขทั้งในปัจจุบันและอนาคต ความสุขที่เกิดขึ้นในปัจจุบันจะมีลักษณะเช่นเดียวกับฌาน เพราะในการปฏิบัติจิตต้องตั้งมั่นเป็นสมาธิเหมือนกัน แต่ให้ผลในอนาคตต่างกันคือ ผู้ที่ทำนิโรธให้เกิดขึ้นเสมอ ๆ ย่อมมีการสั่งสมปัญญา ทำให้กิเลสอ่อนกำลังลง และเมื่อปฏิบัติจนนิโรธมีกำลังแก่กล้า ก็จะสามารถเอาชนะตัณหา สามารถประหารกิเลส ทำให้บรรลุมรรคผลได้ในที่สุด
    ผู้ที่ได้มรรคผลครั้งที่ 1 เรียกว่า พระโสดาบัน เมื่อตายไป จะเวียนว่ายตายเกิดในสุคติภูมิอีกไม่เกิน 7 ชาติก็จะได้เป็นพระอรหันต์
    ผู้ที่ได้มรรคผลครั้งที่ 2 เรียกว่า พระสกิทาคามี เมื่อตายไป จะเกิดเป็นมนุษย์อีกเพียงชาติเดียว และจะได้เป็นพระอรหันต์ในชาตินั้น
    ผู้ที่ได้มรรคผลครั้งที่ 3 เรียกว่า พระอนาคามี เมื่อตายไป จะเกิดเป็นพรหมและได้เป็นพระอรหันต์ในชาตินั้น
    ผู้ที่ได้มรรคผลครั้งที่ 4 เรียกว่า พระอรหันต์ เป็นผู้ที่มีจิตบริสุทธิ์หมดจดจากกิเลส เมื่อตายไป ก็จะไม่เกิดอีกเรียกว่าเปลี่ยนสภาพจากการมีชีวิตที่ต้องเวียนว่ายตายเกิดไปเป็นสภาพที่ว่างเปล่า ไม่มีชีวิต ไม่มีการเวียนว่ายตายเกิดอีก ที่เรียกว่า นิพพาน


    <CENTER>[SIZE=+2]กฎแห่งกรรม-กฎของชีวิต[/SIZE]</CENTER>
    ทำดีได้ดี ทำชั่วได้ชั่วจริงหรือ ตายแล้วเกิดจริงหรือ อิทธิปาฏิหาริย์มีจริงหรือ มีคนเป็นจำนวนมากสงสัยในเรื่องเหล่านี้ แต่ทุกคนก็หาคำตอบไม่ได้ เพราะเหตุใดจึงหาคำตอบไม่ได้ ก็เพราะทุกคนไม่เคยลงมือพิสูจน์ให้เห็นจริงด้วยตนเองเลย บางคนก็เชื่อในเรื่องเหล่านี้ทั้ง ๆ ที่ไม่เคยเห็น บางคนก็ไม่เชื่อ บางคนก็ยังสงสัยอยู่ แต่บุคคลทั้งสามประเภทนี้ต่างก็ไม่รู้จริงด้วยกันทั้งนั้น ได้แต่คิดเอาเองตามเหตุผลของตน ในพระไตรปิฎกได้กล่าวไว้ชัดเจนในเรื่องของกฎแห่งกรรม ในเรื่องของการเวียนว่ายตายเกิด รวมทั้งเรื่องของอิทธิปาฏิหาริย์ต่าง ๆ ว่ามีอยู่จริง แต่คนรุ่นใหม่โดยเฉพาะพวกที่เรียนทางด้านวิทยาศาสตร์มักจะไม่เชื่อ โดยอ้างว่ามีการตีความในพระไตรปิฎกผิดบ้าง หรือไม่ก็อ้างว่ามีคนแต่งเพิ่มเติมเข้าไปเพื่อให้ผู้อ่านเลื่อมใสศรัทธาบ้าง ผมย่อมตำหนิคนเหล่านี้ว่าอ้างโดยไม่มีเหตุผล เพราะไม่เคยได้ลงมือทดลองพิสูจน์หาความจริงเลย เพียงแต่นึกคิดไปตามเหตุผลของตนเองก็ด่วนสรุปเสียแล้ว โดยธรรมชาติของคนเราจะไม่เชื่ออะไรร้อยเปอร์เซนต์ถ้าไม่ได้เห็นด้วยตนเอง คนที่เชื่อเรื่องกฎแห่งกรรมร้อยเปอร์เซนต์ก็คือคนที่มีฌานวิเศษหยั่งรู้ในเรื่องกรรมว่าคนนี้ได้รับผลกรรมอย่างนี้เพราะทำกรรมอะไรไว้ในอดีต คนนั้นมีร่างกายพิการอย่างนั้น เพราะทำกรรมชั่วอะไรไว้ในอดีต คนที่เชื่อเรื่องการเวียนว่ายตายเกิดร้อยเปอร์เซนต์ก็คือคนที่ระลึกชาติได้ หรือเป็นผู้ที่มีฌานวิเศษ หยั่งรู้ว่าใครตายแล้วไปเกิดเป็นอะไร อยู่ในภพใด ส่วนคนที่เชื่อว่าอิทธิปาฏิหาริย์มีจริงร้อยเปอร์เซนต์ก็คือคนที่มีอิทธิฤทธิ์ สามารถทำปาฏิหาริย์ต่าง ๆ ได้ ในปัจจุบันคนที่ทำเช่นนี้ได้ คนที่ยืนยันในเรื่องเหล่านี้ได้ ยังมีอยู่มาก
    [SIZE=+2]ความจริงแห่งชีวิต[/SIZE]
    ตามที่ทราบมาแล้วว่าชีวิตทุกชีวิตย่อมประกอบด้วย กาย จิต และเจตสิก กายก็คือร่างกายอันเป็นที่ตั้งของทวารต่าง ๆ จิตก็ได้แก่จิตใจซึ่งมีหน้าที่สั่งให้ร่างกายทำงาน เจตสิกก็ได้แก่ตัวปรุงแต่งจิตให้สามารถรับรู้อารมณ์ทางทวารต่าง ๆ ให้มีความรู้สึกนึกคิดเข้าใจในเรื่องราวต่าง ๆ ได้ เจตสิกมีทั้งฝ่ายดี ฝ่ายชั่ว และฝ่ายกลาง ๆ เจตสิกฝ่ายดี เรียกว่า กุศลเจตสิก ซึ่งได้แก่ สติ ปัญญา ศรัทธา เป็นต้น เจตสิกฝ่ายชั่วเรียกว่า อกุศลเจตสิก ซึ่งแบ่งออกได้เป็น 3 ชนิดใหญ่ ๆ คือ โลภะ โทสะ และโมหะ ส่วนเจตสิกฝ่ายกลาง ๆ ก็ได้แก่ เวทนา สัญญา เป็นต้น เมื่อเจตสิกปรุงแต่งจิต จิตก็จะมีลักษณะตามเจตสิกที่มาปรุงแต่งนั้น ถ้าอกุศลเจตสิกปรุงแต่งจิต จิตก็เป็นอกุศลด้วย ถ้ากุศลเจตสิกปรุงแต่งจิต จิตก็เป็นกุศลด้วย เช่น เมื่อโทสะเจตสิกปรุงแต่งจิตของเรา จิตก็จะโกรธ ถ้าโทสะ เจตสิกมีกำลังน้อยก็จะรู้สึกโกรธน้อย คือรู้สึกไม่พอใจ รำคาญ หรือหงุดหงิด แต่ถ้าโทสะมีกำลังมาก เราก็จะรู้สึกโกรธมากถ้าไม่ยับยั้งจิต จิตก็จะสั่งให้กายทำชั่วได้ เช่น สั่งให้ทุบตี ทำร้ายหรือด่าว่า เพื่อสนองความโกรธ เมื่อสนองกิเลสแล้ว กิเลสก็จะสงบลง พฤติกรรมต่าง ๆ ที่เราแสดงออกมานี้เรียกว่า กรรม
    [SIZE=+2]กรรมคืออะไร ?[/SIZE]
    กรรม ก็คือการกระทำซึ่งแสดงออกได้ 3 ทาง คือ การกระทำทางใจเรียกว่า มโนกรรม การกระทำทางวาจาเรียกว่า วจีกรรม และการกระทำทางกายเรียกว่า กายกรรม กรรมแบ่งออกได้เป็นสองลักษณะคือ กรรมดีหรือกรรมที่เป็นบุญ เรียกว่า กุศลกรรม และกรรมชั่วหรือกรรมที่เป็นบาปเรียกว่า อกุศลกรรม
    กรรมดี ได้แก่การกระทำอันเกิดจากการที่กุศลเจตสิกปรุงแต่งจิต เช่น นึกอยากจะตักบาตร คิดช่วยเหลือผู้อื่น พยายามระงับความโกรธ นึกแผ่เมตตาในใจ เห็นผู้อื่นทำดีก็นึกยินดีด้วยที่เรียกว่า อนุโมทนา เหล่านี้เรียกว่า ทำกรรมดีทางใจ และถ้ากุศลเจตสิกมีปริมาณมากหรือมีกำลังมาก ก็จะส่งผลให้มีการแสดงออกเป็นกรรมดีทางวาจาหรือทางกายได้ เช่น แผ่เมตตาโดยเปล่งวาจาออกมา เห็นผู้อื่นทำดีก็กล่าวคำอนุโมทนาด้วย กล่าวธรรมะให้ผู้อื่นฟัง เหล่านี้เป็นการทำกรรมดีทางวาจา ส่วนการทำกรรมดีทางกายก็ได้แก่ การตักบาตร การไหว้พระ การบริจาคทรัพย์ การลงมือช่วยเหลือผู้อื่น เป็นต้น
    กรรมชั่ว ก็ได้แก่การกระทำอันเกิดจากการที่อกุศลเจตสิกปรุงแต่งจิต เช่น รู้สึกโกรธ ไม่พอใจ หงุดหงิด เบื่อ กลุ้มใจ รู้สึกโลภอยากได้ อยากกินอาหารอร่อย ๆ อยากฟังเพลง อยากตกปลา ใจลอย รู้สึกฟุ้งซ่าน เหล่านี้เป็นการทำกรรมชั่วทางใจ และถ้าอกุศลเจตสิกมีปริมาณมากหรือมีกำลังมาก ก็จะส่งผลให้มีการแสดงออกเป็นกรรมชั่วทางวาจาหรือทางกายก็ได้ เช่นโกรธจึงด่าว่าออกไป อยากได้เงินจึงพูดโกหกหลอกลวงเพื่อนเพื่อให้ได้เงินมา พูดคำหยาบ พูดจาเพ้อเจ้อ เหล่านี้เป็นการทำกรรมชั่วทางวาจา ส่วนการทำกรรมชั่วทางการก็เช่น รู้สึกโกรธจึงทุบตี ทำร้าย อยากได้เงินจึงไปลักขโมย กลุ้มใจจึงกินเหล้าสูบบุหรี่ ไม่เชื่อเรื่องกรรมจึงยิงนกตกปลาตามใจชอบ เป็นต้น
    กรรมดีกรรมชั่วเหล่านี้จะมีกำลังมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับเจตนา หรือความตั้งใจ เช่นเมื่อถูกยุงกัดรู้สึกโกรธแต่ไม่ตบบาปน้อยกว่าได้ตบยุงให้ตายไป ฆ่ายุงบาปน้อยกว่าฆ่าหนู เพราะฆ่าหนูทำได้ยากกว่า ต้องมีเจตนาแรงกว่าจึงจะฆ่าได้ ฆ่าหนูบาปน้อยกว่าฆ่าคน เพราะการที่จะฆ่าคนได้จะต้องมีเจตนาที่แรงกว่าฆ่าหนู แต่ถ้าเราได้ทำสัตว์ให้ตายลงโดยไม่ได้เจตนา เช่น เดินไปเหยียบมดตายโดยที่เราไม่เห็นอย่างนี้ไม่บาป เพราะเราไม่ได้เจตนา
    นอกจากกรรมดีกรรมชั่วแล้ว ยังมีการกระทำที่เกิดจากการที่เจตสิกฝ่ายกลาง ๆ ปรุงแต่งจิต ทำให้เกิดความรู้สึกกลาง ๆ ไม่เป็นบุญเป็นบาป ลักษณะของจิตที่ไม่เป็นบุญเป็นบาปก็ได้แก่ กิริยาจิต ซึ่งเป็นทีจิตที่สั่งให้ร่างกายทำงานตามหน้าที่ เช่น การที่หัวใจเต้น การหายใจ การยืน เดิน นั่ง นอน ลักษณะเหล่านี้ไม่เป็นบุญเป็นบาป คนชั่วก็หายใจ ยืน เดิน นั่ง นอนได้ คนดีก็หายใจ ยืน เดิน นั่ง นอนได้ แม้พระอรหันต์ก็หายใจ ยืน เดิน นั่ง นอนได้เช่นกัน นอกจากนี้เวทนาคือการรับรู้อารมณ์ทางทวารต่าง ๆ ก็ไม่เป็นบุญเป็นบาป คนชั่วก็เห็นได้ ได้ยินได้ คนดีก็เห็นได้ ได้ยินได้ แม้พระอรหันต์ ก็เห็นได้ ได้ยินได้ เช่นกัน
    [SIZE=+2]วิบาก[/SIZE]
    ในเรื่องของกฎแห่งกรรมกล่าวไว้ว่า ทุกสิ่งทุกอย่างต้องมีเหตุมีปัจจัย ไม่มีกรรมใดที่ทำแล้วไม่ส่งผล บุคคลใดเมื่อทำกรรมแล้วย่อมต้องได้รับผลของกรรมนั้นแน่นอน แต่จะช้าหรือเร็วนั้นก็ขึ้นอยู่กับเหตุปัจจัยหรือสภาพแวดล้อม ผลของกรรมเรียกว่า วิบาก กรรมเป็นการกระทำของเรา ส่วนวิบากเป็นสิ่งที่เราได้รับ กรรมและวิบากย่อมตรงกันเสมอ คือ ทำกรรมดีก็ย่อมได้รับวิบากดี ทำกรรมชั่วก็ย่อมได้รับวิบากชั่ว เช่น ถ้าเราฆ่าสัตว์ในปัจจุบัน ย่อมส่งผลให้เราได้รับอุบัติเหตุถูกทำร้าย หรือมีโรคภัยไข้เจ็บเบียดเบียน วิบากร้ายนี้จะเกิดขึ้นในลักษณะใด เร็วหรือช้า จะเกิดในชาตินี้หรือชาติหน้า ก็แล้วแต่เหตุปัจจัย แต่จะเกิดขึ้นแน่นอน เพราะเหตุที่ทำกรรมชั่วเอาไว้
    เวทนาต่าง ๆ ที่เราได้รับในปัจจุบัน ไม่ว่าจะเป็นการเห็น การได้ยิน ฯลฯ ก็ล้วนแต่เป็นวิบากอันเป็นผลกรรมที่เราทำเอาไว้ในอดีตทั้งสิ้น ที่เราได้รับทุกขเวทนาในปัจจุบันก็เพราะอดีตเราเคยทำกรรมชั่วเอาไว้ และขณะนี้กรรมนั้นกำลังส่งผล เราจึงได้รับอารมณ์ที่ไม่ดี ที่เราได้รับสุขเวทนาในปัจจุบันก็เพราะอดีตเราเคยทำกรรมดีเอาไว้ และขณะนี้กรรมดีนั้นกำลังส่งผล เราจึงได้รับอารมณ์ดี ในคนคนหนึ่งย่อมทำกรรมดีกรรมชั่วมากบ้างน้อยบ้างคละเคล้ากันไป เขาจึงได้รับวิบากดีเป็นสุขเวทนาบ้าง ได้รับวิบากชั่วเป็นทุกขเวทนาบ้าง คละเคล้ากันไปเช่นกัน [SIZE=+2]ทรงสอนเรื่องกรรม[/SIZE]
    พระพุทธองค์ได้ตรัสไว้ว่า สัตว์โลกต่างมีกรรมเป็นของตน เป็นทายาทแห่งกรรม มีกรรมเป็นกำเนิด มีกรรมเป็นเผ่าพันธุ์ มีกรรมเป็นที่พึ่งอาศัย กรรมย่อมจำแนกสัตว์ให้เลว ให้ดีได้ และได้ทรงยกตัวอย่างของกรรมเอาไว้ดังนี้
    บุคคลบางคนในโลกนี้เป็นคนเหี้ยมโหด ชอบฆ่าสัตว์ตัดชีวิตอยู่เสมอ เมื่อตายไปย่อมเกิดในทุคติภูมิ เพราะผลกรรมที่ได้สั่งสมไว้นั้น แต่ถ้าไม่ไปเกิดในทุคติภูมิ กลับมาเกิดเป็นมนุษย์อีก ก็จะเป็นคนที่มีอายุสั้น
    บุคคลบางคนเว้นจากการฆ่าสัตว์ มีความอนุเคราะห์เกื้อกูลต่อสัตว์ทั้งหลายอยู่เสมอ เมื่อตายไปย่อมเกิดในสุคติโลกสวรรค์ เพราะผลกรรที่สั่งสมไว้นั้น แต่ถ้าไม่ไปเกิดในสวรรค์ กลับมาเกิดเป็นมนุษย์อีก ก็จะเป็นคนที่มีอายุยืน
    บุคคลบางคนชอบเบียดเบียนสัตว์ ทำร้ายสัตว์ด้วยฝ่ามือ ด้วยท่อนไม้ หรือด้วยอาวุธต่าง ๆ อยู่เสมอ เมื่อตายไปย่อมเกิดในทุคติภูมิ เพราะผลกรรที่สั่งสมไว้นั้น แต่ถ้าไม่ไปเกิดในทุคติภูมิ กลับมาเกิดเป็นมนุษย์อีก ก็จะเป็นคนที่มีโรคมาก
    บุคคลบางคนมีปรกติไม่เบียดเบียนสัตว์ ไม่ทำร้ายสัตว์ด้วยฝ่ามือ ด้วยท่อนไม้ หรือด้วยอาวุธต่าง ๆ เมื่อตายไปย่อมเกิดในโลกสวรรค์ เพราะผลกรรมที่สั่งสมไว้นั้น แต่ถ้าไม่ไปเกิดในโลกสวรรค์ กลับมาเกิดเป็นมนุษย์อีก ก็จะเป็นคนที่มีโรคน้อย
    บุคคลบางคนมักโกรธง่าย ถูกว่าเพียงเล็กน้อยก็โกรธเคือง ผูกพยาบาท มักแสดงอาการโกรธให้ปรากฏอยู่เสมอ เมื่อตายไปย่อมเกิดในทุคติภูมิ เพราะผลกรรที่สั่งสมไว้นั้น แต่ถ้าไม่ไปเกิดในทุคติภูมิ กลับมาเกิดเป็นมนุษย์อีก ก็จะเป็นคนที่มีผิวพรรณทราม
    บุคคลบางคนมักไม่โกรธง่าย ถูกว่ามากก็ไม่โกรธเคือง ไม่ผูกพยาบาท มักไม่แสดงอาการโกรธให้ปรากฏ เมื่อตายไปย่อมไปเกิดในโลกสวรรค์ เพราะผลกรรมที่สั่งสมไว้นั้น แต่ถ้าไม่ไปเกิดในสวรรค์ กลับมาเกิดเป็นมนุษย์ ก็จะเป็นคนน่าเลื่อมใส
    บุคคลบางคนมักมีใจอิจฉาริษยาผู้อื่นอยู่เสมอ เมื่อตายไปย่อมเกิดในทุคติภูมิ เพราะผลกรรมที่สั่งสมไว้นั้น แต่ถ้าไม่ไปเกิดในทุคติภูมิ กลับมาเกิดเป็นมนุษย์อีก ก็จะเป็นคนที่มีอำนาจน้อย
    บุคคลบางคนมีปรกติไม่อิจฉาริษยาในลาภสักการะของผู้อื่น เมื่อตายไปย่อมเกิดในโลกสวรรค์ เพราะผลกรรมที่สั่งสมไว้นั้น แต่ถ้าไม่ไปเกิดในสวรรค์ กลับมาเกิดเป็นมนุษย์อีก ก็จะเป็นคนที่มีอำนาจมาก
    บุคคลบางคนมักไม่ให้ข้าว น้ำ ดอกไม้ ของหอม ปัจจัย 4 ต่าง ๆ แก่สมณพราหมณ์ เมื่อตายไปย่อมเกิดในทุคติภูมิ เพราะผลกรรมที่สั่งสมไว้นั้น แต่ถ้าไม่ไปเกิดในทุคติภูมิ กลับมาเกิดเป็นมนุษย์อีก ก็จะเป็นคนที่มีทรัพย์น้อย
    บุคคลบางคนมักให้ข้าว น้ำ ดอกไม้ ของหอม ปัจจัย 4 ต่าง ๆ แก่สมณพราหมณ์ เมื่อตายไปย่อมเกิดในโลกสวรรค์ เพราะผลกรรมที่สั่งสมไว้นั้น แต่ถ้าไม่ไปเกิดในสวรรค์ กลับมาเกิดเป็นมนุษย์อีก ก็จะเป็นคนที่มีทรัพย์มาก
    บุคคลบางคนมักกระด้าง เย่อหยิ่ง ไม่กราบไหว้คนที่ควรกราบไหว้ ไม่บูชาคนที่ควรบูชา ไม่เคารพคนที่ควรเคารพ ไม่ต้อนรับคนที่ควรต้อนรับ เมื่อตายไปย่อมเกิดในทุคติภูมิ เพราะผลกรรมที่สั่งสมไว้นั้น แต่ถ้าไม่ไปเกิดในทุคติภูมิ กลับมาเกิดเป็นมนุษย์อีก ก็จะเกิดเป็นคนในสกุลต่ำ
    บุคคลบางคนมักไม่กระด้าง ไม่เย่อหยิ่ง กราบไหว้คนที่ควรกราบไหว้ บูชาคนที่ควรบูชา เคารพคนที่ควรเคารพ ต้อนรับคนที่ควรต้อนรับ เมื่อตายไปย่อมเกิดในโลกสวรรค์ เพราะผลกรรมที่สั่งสมไว้นั้น แต่ถ้าไม่ไปเกิดในสวรรค์ กลับมาเกิดเป็นมนุษย์อีก ก็จะเกิดเป็นคนในสกุลสูง
    บุคคลบางคนไม่สนใจที่จะสนทนาธรรมกับสมณพราหมณ์ ไม่ศึกษาหาความรู้ว่า อะไรเป็นกุศล อะไรเป็นอกุศล อะไรมีโทษ อะไรไม่มีโทษ ทำกรรมอะไรจึงเกิดทุกข์ ทำกรรมอะไรจึงเกิดสุข บุคคลเช่นนี้เมื่อตายไปย่อมเกิดในทุคติภูมิ เพราะผลกรรมที่สั่งสมไว้นั้น แต่ถ้าไม่ไปเกิดในทุคติภูมิ กลับมาเกิดเป็นมนุษย์อีก ก็จะเป็นคนที่มีปัญญาทราม
    บุคคลบางคนมักสนใจที่จะสนทนาธรรมกับสมณพราหมณ์ ศึกษาหาความรู้ว่า อะไรเป็นกุศล อะไรเป็นอกุศล อะไรมีโทษ อะไรไม่มีโทษ ทำกรรมอะไรจึงเกิดทุกข์ ทำกรรมอะไรจึงเกิดสุข บุคคลเช่นนี้เมื่อตายไปย่อมเกิดในโลกสวรรค์ เพราะผลกรรมที่สั่งสมไว้นั้น แต่ถ้าไม่ไปเกิดในสวรรค์ กลับมาเกิดเป็นมนุษย์อีก ก็จะเป็นคนที่มีปัญญามาก
    เนื่องจากกรรมต่าง ๆ ที่เรากระทำลงไป ไม่ได้ส่งผลในขณะนั้นทันที ต้องใช้เวลา ซึ่งบางครั้งยาวนานมากถึงข้ามภพข้ามชาติเลยทีเดียว ทำให้คนส่วนใหญ่ไม่เชื่อในเรื่องกฎแห่งกรรม เขาเหล่านั้นจึงได้ทำกรรมต่าง ๆ ไปตามความปรารถนาของตน บางคนชอบทำความดี ช่วยเหลือผู้อื่นแล้วมีความสุข ก็ดำเนินชีวิตไปในทางแห่งความดีนั้น โดยที่ตนเองก็ไม่ได้สนใจในเรื่องกรรมดีกรรมชั่วแต่อย่างใด บางคนชอบทำความชั่ว เบียดเบียนผู้อื่นแล้วมีความสุข ก็ดำเนินชีวิตไปตามวิถีทางแห่งความชั่วนั้น โดยไม่นึกถึงผลของบาปกรรมที่ทำลงไป แต่ไม่ว่าเขาจะเชื่อเรื่องกฎแห่งกรรมหรือไม่ก็ตาม เขาย่อมได้รับผลของกรรมที่ทำไว้อยู่นั่นเอง เพราะกฎแห่งกรรมเป็นกฎของธรรมชาติ ไม่ใช่เรื่องของความเชื่อ ไม่ใช่หลักปรัชญา สัตว์โลกทั้งหลายย่อมอยู่ภายใต้กฎแห่งกรรมด้วยกันทั้งสิ้น ไม่ว่าจะเกิดเป็นเทวดา มนุษย์ สัตว์เดรัจฉาน ก็ต้องอยู่ภายใต้กฎแห่งกรรม เป็นคนไทย จีน แขก ฝรั่ง ก็ต้องอยู่ภายใต้กฎแห่งกรรม นับถือศาสนาพุทธหรือศาสนาอื่น ๆ ก็ต้องอยู่ภายใต้กฎแห่งกรรมด้วยกันทั้งสิ้น
     
  14. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    http://www.geocities.com/RainForest/Jungle/2897/file6.html

    การส่งผลของกรรม
    การที่กรรมจะส่งผลได้นั้น ต้องมีเหตุปัจจัยหรือมีสภาพแวดล้อมที่เหมาะสม เช่น ในอดีตเราเคยเบียดเบียนสัตว์อื่นให้เดือดร้อน มาวันนี้กรรมนั้นจะส่งผลให้เราเจ็บป่วย ถ้าเราเดินทางออกไปนอกบ้าน ถูกฝนเปียกปอน เราก็จะเป็นไข้ เพราะมีเหตุคือถูกฝน แต่ถ้าเราไปออกนอกบ้าน กรรมนั้นก็จะส่งผลไม่ได้เพราะไม่มีเหตุที่ทำให้เราเจ็บป่วย ต้องไปส่งผลในโอกาสอื่น และถ้ากรรมนั้นยังไม่ส่งผลในวันนี้ แม้เราจะถูกฝนเปียกปอน เราก็ไม่เป็นไข้เช่นกัน
    ถ้าในอดีตเราเคยฆ่าสัตว์ให้ตายลง มาวันนี้เป็นช่วงที่เราเคราะห์ร้าย เป็นช่วงที่กรรมนั้นจะส่งผลให้ได้รับอุบัติเหตุ ถ้าเราออกไปเที่ยวเตร่ก็อาจจะถูกรถชน แต่ถ้าเราไปทำบุญนั่งสมาธิอยู่ในวัด เหตุที่จะทำให้ได้รับอุบัติเหตุก็ไม่มี กรรมนั้นก็ส่งผลไม่ได้ ต้องไปส่งผลในโอกาสอื่น หรือถ้าวันนี้เราเดินทางไปนอกบ้านแต่ได้ปฏิบัติธรรมไปด้วย จนจิตใจผ่องใส เบิกบาน ขณะนั้นจิตเป็นกุศล กรรมฝ่ายที่เป็นอกุศลก็ส่งผลไม่ได้เช่นกัน ต้องไปส่งผลในโอกาสอื่น จะเห็นว่าเหตุที่ทำให้เราถูกรถชน มีอยู่ 2 เหตุด้วยกันคือ เหตุอดีต ได้แก่กรรมชั่วที่ทำไว้ในอดีต และ เหตุปัจจุบัน คือ รถที่แล่นมาชนเรา ถ้าไม่มีเหตุอดีต รถก็จะไม่แล่นมาชนเรา ถ้าไม่มีเหตุปัจจุบัน คือไม่มีรถแล่นมา เราก็ไม่ถูกรถชนเช่นกัน แต่เพราะเราเห็นแต่เหตุปัจจุบัน ไม่เห็นเหตุอดีต ก็เลยเข้าใจผิดว่าผลของกรรมไม่มี
    ความรู้ในเรื่องกฎแห่งกรรมนี้ เราสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติธรรมได้ ในขณะปฏิบัติธรรม มีบ่อยครั้งที่เราต้องกระทบกับอารมณ์ที่ไม่ถูกใจ ทำให้มีความหงุดหงิด มีความโกรธขึ้นมา บางครั้งก็ทนไม่ได้ ถึงกับต้องแสดงออกเป็นความชั่วทางวาจา หรือทางกาย ทำให้เกิดเรื่องวุ่นวายติดตามมา เราจึงควรสอนตนเองอยู่เสมอว่า อารมณ์ที่เราได้รับคือวิบาก สิ่งที่เรากระทำคือกรรม เมื่อเราได้รับอารมณ์ที่ไม่ดี ก็ให้รู้ว่านี่เป็นวิบากอันเกิดจากกรรมชั่วที่เรากระทำไว้ในอดีต ขณะนี้เป็นการชดใช้กรรม เราควรยินดีรับผลกรรมนั้น และตั้งใจว่าจะไม่ทำกรรมชั่วต่อไปอีก อนาคตเราจะได้ไม่ลำบากเช่นนี้ ถ้าเราคิดได้อย่างนี้ ความหงุดหงิด ความโกรธ ก็จะไม่กำเริบ เราก็สามารถที่จะปฏิบัติธรรมต่อไปได้

    [SIZE=+2]บาปบุญอยู่ที่ใจ[/SIZE]
    มีชาวพุทธหลายคนที่ได้ยินได้ฟังมาว่า บาปบุญอยู่ที่ใจ ก็เข้าใจไปว่า ใจของเราเองที่เป็นตัวกำหนดบาปบุญ เช่น ถ้าเราคิดว่าฆ่าสัตว์แล้วไม่บาป มันก็ไม่บาป แต่ถ้าเราไปคิดไปกังวลว่ามันบาป มันก็บาป คนที่คิดเช่นนี้นับว่ามีความเห็นผิดอย่างมาก ที่จริงแล้วทำพูดที่ว่าบาปบุญอยู่ที่ใจนั้นหมายถึง สัตว์โลกทั้งหลายทำบาปหรือทำบุญได้ด้วยใจ เช่น ถ้าเราเดินไปเห็นมด ก็ตรงเข้าไปเหยียบจนมดตาย อย่างนี้บาป เพราะเรามีความจงใจฆ่ามด แต่ถ้าเรามองไม่เห็นมด เดินไปเหยียบมดตายโดยไม่ได้ตั้งใจอย่างนี้ไม่บาป เพราะเราไม่มีเจตนาที่จะฆ่า
    [SIZE=+2]การตายหมู่[/SIZE]
    บางคนกล่าวว่าการตายหมู่เกิดจากการที่ใครคนหนึ่งในกลุ่มมีชะตาถึงฆาต จึงพาให้คนอื่นต้องประสบเคราะห์กรรมตายตามไปด้วย ในเรื่องของกฎแห่งกรรมเป็นเรื่องเฉพาะตน ใครถึงฆาต คนนั้นก็ต้องตายคนเดียว จะไปถึงให้คนอื่นตายด้วยไม่ได้ แต่ที่เกิดการตายหมู่ เช่นเครื่องบินตก ก็เพราะทุกคนเคยทำกรรมชั่วไว้ในอดีต และในปัจจุบันนี้มีเหตุพร้อมให้ตายได้คือเครื่องบินขัดข้อง ทุกคนในเครื่องบินจึงตายหมด แต่ถ้ามีใครคนหนึ่งชะตายังไม่ถึงฆาต เขาก็จะต้องประสบเหตุให้แคล้วคลาดจากการตายหมู่ เช่น ไปไม่ทันเครื่องบิน หรือเกิดเปลี่ยนใจไม่ไปเที่ยวบินมฤตยูนั้น
    [SIZE=+2]ประโยชน์ของการอบรมตน[/SIZE]
    พระพุทธองค์ทรงอธิบายถึงความแตกต่างระหว่างผู้ที่อบรมตน กับผู้ที่ไม่อบรมตนว่า ผู้ที่อบรมตนเมื่อได้รับวิบากร้าย ย่อมได้รับความลำบากน้อยกว่าผู้ที่ไม่อบรมตน บุคคลบางคน ไม่อบรมกาย ไม่อบรมศีล ไม่อบรมจิต ไม่อบรมปัญญา ทำบาปกรรมแม้เพียงเล็กน้อย บาปกรรมนั้นก็สามารถส่งผลให้เขาตกนรกได้ ส่วนบุคคลบางคน อบรมกาย อบรมศีล อบรมจิต อบรมปัญญา ทำบาปกรรมเล็กน้อยเช่นเดียวกัน บาปกรรมนั้นย่อมส่งผลทันตาเห็น แต่เขาก็ไม่เดือดร้อนมากนัก ที่ตรัสเช่นนี้ก็เพราะ บุคคลที่ไม่อบรมตน ย่อมมีบารมีน้อย เปรียบเสมือนคนจน ทั้งเนื้อทั้งตัวมีเงินอยู่เพียงร้อยบาท ถูกโจรขโมยเงินไปร้อยบาท ย่อมได้รับความเดือดร้อนมากมาย ถึงอดตายได้ ส่วนบุคคลที่อบรมตน ย่อมมีบารมีมาก เปรียบเสมือนคนรวยมีทรัพย์มาก ถูกโจรขโมยเงินไปร้อยบาท ย่อมไม่เดือดร้อนมากนัก

    [SIZE=+2]การเวียนว่ายตายเกิด[/SIZE]
    ธรรมชาติของชีวิตทุกชีวิตย่อมมีการเวียนว่ายตายเกิดอยู่ในภพนี้ มีฐานะความเป็นอยู่อย่างนี้ ดำเนินชีวิตอยู่ในภพนี้ชั่วระยะเวลาหนึ่ง แล้วก็ตายไป เกิดในภพโน้น ใช้ชีวิตอยู่ในภพโน้นระยะหนึ่ง แล้วก็ตายไป เกิดในภพใหม่ต่อไปอีก ไม่มีที่สิ้นสุด ทำไมตายแล้วจึงต้องเกิดอีก ก็เพราะมีกิเลสอยู่ในปัจจุบันชาติ เมื่อตายแล้วจึงต้องเกิดอีก ผู้ที่เป็นพระอรหันต์เท่านั้นที่ตายแล้วจะไม่เกิดอีก ชีวิตที่ยังมีกิเลสอยู่ ย่อมเวียนว่ายตายเกิดชั่วนิรันดร์ เมื่อตายแล้วจะไปเกิดในภพใด จะมีฐานะความเป็นอยู่อย่างไร ย่อมเป็นไปตามกฎแห่งกรรมทั้งสิ้น ภพภูมิทั้งหมดแบ่งออกได้เป็น 6 ภูมิใหญ่ ๆ จัดเป็นสุคติภูมิ 3 ได้แก่ พรหม เทวดา มนุษย์ และทุคติภูมิ 3 ได้แก่ สัตว์เดรัจฉาน เปรต และสัตว์นรก รวมเป็น 6 ภูมิ เหตุที่เรียกว่า สุคติภูมิ เพราะภูมิเหล่านั้นมีความเป็นอยู่สบาย สามารถทำบุญทำกุศลได้ง่าย และที่เรียกว่า ทุคติภูมิ เพราะภูมิเหล่านั้นมีความเป็นอยู่ลำบาก ทำบุญทำกุศลได้ยาก พวกมนุษย์และสัตว์เดรัจฉานเวลาเกิดต้องอาศัยครรภ์มารดา หรือฟองไข่ หรือของโสโครกเป็นที่เกิด เช่น มนุษย์ วัว ควาย สุนัข แมว อาศัยครรภ์มารดาเป็นที่เกิด นก เป็ด ไก่ เต่า อาศัยฟองไข่เป็นที่เกิด หนอนต่าง ๆ อาศัยของโสโครกเป็นที่เกิด ทั้งมนุษย์และสัตว์เดรัจฉานมีการเจริญเติบโต มีการแก่หง่อมของร่างกาย และใช้โลกนี้เป็นที่อยู่อาศัยเช่นเดียวกัน ส่วนพรหม เทวดา เปรต และสัตว์นรก เวลาเกิด ก็เติบโตขึ้นมาเป็นร่างกายที่สมบูรณ์ทันที ไม่มีการเจริญเติบโต ไม่มีการการแก่หง่อมของร่างกายในภายหลังอีก เวลาตายก็หายวับไปทันที ไม่มีการเน่าเปื่อย ชีวิตประเภทที่เกิดเติบโตทันทีเหล่านี้เรียกว่า โอปปาติกะ ส่วนต้นไม้ซึ่งทางวิทยาศาสตร์ ถือว่าเป็นสิ่งที่มีชีวิตนั้นในทางพุทธศาสนาไม่ถือว่าเป็นสิ่งที่มีชีวิต เพราะไม่มีจิตใจ ไม่สามารถรับรู้อารมณ์ได้ ไม่มีการเวียนว่ายตายเกิด ไม่เป็นไปตามกฎแห่งกรรม ดังนั้น การตัดต้นไม้จึงไม่เป็นบาป เมื่อต้นไม้ตายแล้ว ก็ไม่ได้ไปเกิดใหม่ที่ใด ๆ อีก มีแต่เน่าเปื่อยผุพังไปเท่านั้น
    ว่าถึงเรื่องของการเกิด การที่มนุษย์แต่ละคนเกิดขึ้นได้นั้น จะต้องมีเหตุปัจจัยพร้อมมูล คือ สตรีจะต้องมีระดูที่เหมาะสม ต้องมีการสมสู่ระหว่างสตรีนั้นกับบุรุษ ต้องมีชีวิตหนึ่งตายลงจากภพภูมิใดภพภูมิหนึ่ง และผู้ตายนั้นต้องมีกรรมสอดคล้องที่จะเกิดเป็นมนุษย์ในครรภ์ของสตรีนั้นได้ เมื่อมีเหตุครบถ้วนพร้อมมูล ชีวิตจึงอุบัติขึ้นในครรภ์ของสตรีผู้ที่จะได้ชื่อว่าเป็นมารดานับตั้งแต่บัดนั้น ฉะนั้น การทำแท้งจึงเป็นบาป เพราะเป็นการฆ่าชีวิตหนึ่งชีวิตให้ตายลง แต่การคุมกำเนิดไม่เป็นบาป เพราะชีวิตยังไม่ได้อุบัติขึ้นในครรภ์ของสตรี [SIZE=+2]ลักษณะของภพภูมิต่าง ๆ[/SIZE]
    1. เทวดา ผู้ที่เกิดเป็นเทวดาก็คือผู้ที่อดีตชาติชอบทำบุญทำกุศลอยู่เสมอ เมื่อตายไปก็จะเกิดเป็นเทวดาอยู่ในเทวโลก หรือที่เราเรียกว่าสวรรค์ สวรรค์มีทั้งหมด 6 ชั้น เรียงจากชั้นต่ำไปสูงดังนี้คือ จาตุมหาราชิกา ดาวดึงส์ ยามา ดุสิต นิมมานรดี ปรนิมมิตวสวัตดี แต่ละชั้นจะมีเทพผู้เป็นใหญ่ปกครอง เช่น สวรรค์ชั้นดาวดึงส์ มีท้าวสักกะ หรือที่เราเรียกกันว่า พระอินทร์ เป็นผู้ปกครอง เทวดาไม่มีพ่อแม่ เพราะเป็นพวกโอปปาติกะ คือเกิดเติบโตทันที มีทั้งเพศชายและเพศหญิง เพศชายเรียกว่าเทพบุตร หรือบางทีก็เรียกว่าเทวดา ส่วนเพศหญิงเรียกว่าเทพธิดา หรือบางทีก็เรียกว่านางฟ้า เทวดามีอายุขัยยาวนานกว่ามนุษย์มาก และมีความเป็นอยู่สุขสบาย พรั่งพร้อมด้วยกามคุณ ทุกสิ่งทุกอย่างเป็นทิพย์หมด ไม่ว่าจะเป็นอาหารการกิน เครื่องใช้ไม้สอยหรือที่อยู่อาศัย ซึ่งเรียกว่าวิมาน ก็ล้วนแต่เนรมิตขึ้นมาทั้งสิ้น เทวดาไม่มีการเจ็บไข้ได้ป่วย ไม่มีการแก่ เวลาตายร่างกายก็หายวับไปทันที ไม่มีการเน่าเปื่อย เนื่องจากเหล่าเทวดามีความเป็นอยู่สุขสบาย ร่างกายไม่มีการเจ็บป่วย ไม่แก่เฒ่า ทำให้การปฏิบัติธรรมทำได้ยากเพราะไม่เห็นทุกข์ที่เกิดขึ้นในชีวิต
    นอกจากเทวดาที่อาศัยอยู่ในสวรรค์แล้ว ยังมีเทวดาชั้นจาตุมหาราชิกาบางจำพวกอาศัยอยู่ในที่ต่าง ๆ บนโลกมนุษย์ และมีชื่อเรียกแตกต่างกันออกไป เช่น เทวดาที่อาศัยอยู่ในบ้าน เราเรียกกันทั่วไปว่า ผีบ้านผีเรือน เทวดาที่อาศัยอยู่ตามต้นไม้เรียกว่ารุกขเทวดา ถ้าเป็นหญิงบางทีก็เรียกว่านางไม้ เทวดาที่ดูแลอยู่ตามสถานที่ต่าง ๆ เราก็เรียกกันทั่วไปว่าเจ้าที่เจ้าทาง แม้ว่าเทวดาเหล่านี้จะอาศัยอยู่ที่เดียวกับเรา แต่เราไม่สามารถมองเห็นได้ด้วยตาเนื้อธรรมดา เพราะร่างกายของเทวดาเป็นกายทิพย์ การที่จะเห็นเทวดาได้ เราจะต้องมีตาทิพย์ หรือไม่ก็เทวดาเนรมิตกายให้เห็น เราจึงจะเห็นได้
    2. พรหม ผู้ทีเกิดเป็นพรหมก็คือผู้ที่อดีตชาติได้ฝึกสมาธิจนมีฌานแก่กล้า เป็นผู้ที่มีจิตใจสงบเยือกเย็นอยู่เสมอ เมื่อตายไปก็จะเกิดเป็นพรหมอยู่ในพรหมโลก พรหมมีอยู่ 2 ประเภท คือ รูปพรหม และอรูปพรหม พวกรูปพรหมมีรูปร่างลักษณะคล้ายเทวดาอาศัยอยู่ในพรหมโลกที่เรียกว่ารูปภพ มีทั้งหมด 16 ชั้น ผู้ที่เกิดเป็นรูปพรหมก็คือผู้ที่อดีตชาติเคยฝึกรูปฌานจนแก่กล้า เมื่อตายไปก็เกิดเป็นรูปพรหม ส่วนพวกอรูปพรหมไม่มีกายมีแต่จิตและเจตสิก จึงมองไม่เห็นรูปร่าง อาศัยอยู่ในพรหมโลกที่เรียกว่า อรูปภพ มีทั้งหมด 4 ชั้น ผู้ที่เกิดเป็นอรูปพรหมก็คือ ผู้ที่อดีตชาติเคยฝึกอรูปฌานจนแก่กล้า เมื่อตายไปก็จะเกิดเป็นอรูปพรหม
    ในชั้นพรหมนี้ ไม่มีการข้องแวะทางเพศ ไม่ต้องกินอาหาร อาศัยความสุขจากฌานเป็นเครื่องหล่อเลี้ยงชีวิต พรหมโดยทั่วไปมีรูปร่างเป็นชาย อายุขัยของพรหมยาวนาน ยาวนานจนพรหมบางองค์เข้าใจผิดว่าพวกของตนเป็นอมตะ ไม่มีวันตาย นอกจากนี้ยังหลงผิดไปอีกว่าพวกของตนเป็นผู้สร้างโลก ที่เข้าใจเช่นนี้ก็เพราะตนได้เห็นสัตว์ในภพอื่นเวียนว่ายตายเกิดไปหลายต่อหลายชาติ แต่ตนเองนั้นยังไม่ตาย นอกจากนี้ยังเห็นว่าตนเองเป็นผู้ที่มีฤทธิ์ มีอานุภาพมาก ปรารถนาสิ่งใดก็เนรมิตได้สมปรารถนา จึงคิดเอาเองว่าพวกของตนเป็นอมตะ ไม่มีวันตาย และพวกของตนนี่แหละที่เป็นผู้สร้างโลก
    3. เปรต ผู้ที่เกิดเป็นเปรตก็คือ ผู้ที่ในอดีตชาติชอบทำบาป ทำอกุศลอยู่เสมอ ธรรมชาติของเปรตมีรูปร่างอัปลักษณ์แตกต่างกันตามลักษณะของกรรมที่นำเกิด มีความอดอยาก หิวโหยอยู่เสมอ อาหารและเครื่องใช้สอยต่าง ๆ ของเปรต สามารถทำให้เกิดขึ้นได้ ด้วยการอุทิศส่วนกุศลจากผู้อื่นที่อยู่ในสุคติภูมิ การที่เรากรวดน้ำอุทิศส่วนกุศลให้แก่ผู้ที่ล่วงลับไปแล้ว หลังจากที่ได้ทำบุญเสร็จใหม่ ๆ ผู้ที่ได้รับส่วนบุญที่เราอุทิศให้ ก็คือเปรตนี่เอง ส่วนผู้ที่เกิดในภพภูมิอื่นไม่สามารถรับส่วนบุญนี้ได้ แต่อาจจะทำบุญให้เกิดขึ้นได้ด้วยการอนุโมทนา เช่น เมื่อเราได้ทำบุญเสร็จแล้ว ไปบอกให้คนอื่นฟัง คนอื่นก็นึกยินดีในบุญที่เราทำ หรือกล่าวอนุโมทนาในบุญที่เราทำ ขณะนั้นคนผู้นั้นก็ได้บุญ คือ บุญที่เกิดจากการอนุโมทนา ถ้าเราทำบุญและอุทิศส่วนกุศลให้แก่โอปปาติกะทั้งหลาย มีเทวดาองค์หนึ่งรับรู้ในบุญที่เราทำ และได้อนุโมทนาในบุญนั้น ขณะนั้นเทวดาผู้นั้นก็ได้บุญ คือ บุญที่เกิดจากการอนุโมทนา เปรตโดยทั่วไปมีอายุยืนยาวกว่ามนุษย์มาก และใช้ชีวิตอย่างอดอยากอยู่ในโลกเปรตเป็นการชดใช้กรรมที่ในไว้ในอดีตชาติ อสุรกายที่เราเคยได้ยินได้ฟังมา ก็จัดเป็นเปรตชนิดหนึ่ง แต่มักนิยมเรียกแยกกันว่า เปรตและอสุรกาย เปรตบางจำพวกอาศัยอยู่ตามสถานที่ต่าง ๆ บนโลกมนุษย์เช่นเดียวกับเทวดาบางจำพวก เปรตบางตนก็มีฤทธิ์เช่นเดียวกับเทวดา และสามารถปรากฏกายให้เราเห็นได้ ซึ่งเราเรียกกันทั่วไปว่า ผี
    ว่าถึงเรื่องผีเรื่องวิญญาณ ความเข้าใจของคนไทยในเรื่องผีเรื่องวิญญาณนี้ ต่างจากคำสอนในพุทธศาสนาอย่างมาก พวกเราส่วนใหญ่มักจะเข้าใจกันว่า คนเราเมื่อตายไปก็จะเป็นวิญญาณล่องลอย ยังไม่ไปผุดไปเกิด บางทีก็ปรากฏร่างให้เราเห็น ที่เรียกกันว่าผี ส่วนทางพุทธศาสนานั้น วิญญาณ หมายถึง จิต จิตเป็นนามธรรม มองไม่เห็นต้องอาศัยอยู่กับรูปหรือกายอยู่เสมอ จะล่องลอยไปมาไม่ได้ คนเราเมื่อตายลง จิตก็จะดับจากกายนี้ ไปเกิดในกายใหม่ทันที ที่เราเห็นเป็นผีนั้น อาจจะเป็นลักษณะของเปรตปรากฏกายให้เห็นก็ได้ เปรตก็มีกายมีจิตเช่นเดียวกับมนุษย์ หรืออาจจะเป็นเทวดาที่อาศัยอยู่ในบริเวณนั้น เนรมิตให้เราเห็นเป็นภาพของคนตายก็ได้ ไม่ใช่ภาพของวิญญาณที่ล่องลอยอย่างที่เราเข้าใจ
    4. สัตว์นรก ผู้ที่เกิดเป็นสัตว์นรกก็คือ ผู้ที่อดีตชาติชอบทำบาปทำอกุศลอยู่เสมอ เมื่อตายไปก็จะเกิดเป็นสัตว์นรก ถูกทรมานให้ได้รับความเจ็บปวดเร่าร้อนอยู่ในนรก เป็นการชดใช้กรรมที่ทำมาในอดีตชาติ ไม่มีโอกาสทำบุญทำกุศลแต่อย่างใด ผู้เป็นใหญ่ในนรกเรียกว่า พญายม หรือยมราช ผู้ที่มีหน้าที่ดูแลความเรียบร้อยในนรกเรียกว่า นิรยบาล นรกแบ่งออกเป็นขุมใหญ่ ๆ ได้ 8 ขุม ขุมที่ลึกที่สุดเรียกว่า อเวจี อายุขัยของสัตว์นรกยืนยาวกว่ามนุษย์มาก
    5. สัตว์เดรัจฉาน ผู้ที่เกิดเป็นสัตว์เดรัจฉานก็คือ ผู้ที่อดีตชาติชอบทำบาปทำอกุศลอยู่เสมอ สัตว์เดรัจฉานอาศัยอยู่บนโลกนี้ และมีกายเนื้อเช่นเดียวกับมนุษย์ เราจึงมองเห็นได้ สัตว์เดรัจฉานแบ่งออกเป็นหลายชนิด แต่ละชนิดก็มีการดำรงชีวิตและมีอายุขัยที่แตกต่างกัน ธรรมชาติของสัตว์เดรัจฉานนั้น มีโมหะมาก มีสติน้อย มีความเข้าใจในเหตุผลน้อย ไม่ค่อยเข้าใจในเรื่องบาปบุญ ถ้าเปรียบมนุษย์กับสัตว์เดรัจฉานแล้วละก็ คนบ้ามีวิถีชีวิตไม่ต่างอะไรกับสัตว์เดรัจฉานเลย
    6. มนุษย์ ผู้ที่เกิดเป็นมนุษย์ก็คือ ผู้ที่มีอดีตชาติชอบทำบุญทำกุศลอยู่เสมอ เมื่อตายไปก็จะไปเกิดเป็นมนุษย์อยู่บนโลกนี้ มนุษย์เป็นภพภูมิที่ทำกรรมทั้งดีทั้งชั่วได้ง่ายกว่าภพภูมิอื่น เช่น นึกอยากจะทำทานก็ทำได้ง่าย เพราะผู้ที่มีความเดือดร้อน ผู้ที่ต้องการความช่วยเหลือมีมาก ต่างกับเทวดาและพรหม จะทำทานก็ทำได้ยาก เพราะต่างก็มีความเป็นอยู่อย่างสุขสบาย ผู้ที่เดือดร้อนมีน้อย ส่วนทุคติภูมิทั้งสามก็มีความเป็นอยู่ลำบาก ไม่มีโอกาสที่จะทำบุญทำกุศลได้มากนัก เพราะเหตุที่โลกมนุษย์มีความเป็นอยู่ที่ไม่สุขสบายเกินไปและไม่ลำบากเกินไป จึงเป็นภพภูมิที่เหมาะแก่การปฏิบัติธรรมอย่างยิ่ง พระพุทธเจ้าทุกพระองค์ที่อุบัติขึ้น ก็ล้วนแต่เป็นมนุษย์ทั้งสิ้น
    อายุขัยของมนุษย์นั้นไม่แน่นอน สมัยใดที่คนส่วนใหญ่อยู่ในศีลในธรรมอายุขัยก็ยืนยาว สมัยใดที่คนไม่อยู่ในศีลในธรรม อายุขัยก็สั้น ในสมัยพุทธกาลอายุขัยของมนุษย์ประมาณ 100 ปี หลังจากนั้นอายุขัยก็สั้นลงตามลำดับจนเหลือ 10 ในสมัยนั้นผู้คนจะมีจิตใจต่ำทรามถึงกับฆ่าฟันกันล้มตายเป็นอันมาก พวกที่รอดชีวิตเห็นโทษภัยของการเบียดเบียนซึ่งกันและกัน จึงพยายามทำความดี อายุขัยของมนุษย์ก็ยืนยาวขึ้นตามลำดับ เมื่ออายุขัยของมนุษย์ยืนยาวถึง 80,000 ปี จะมีพระพุทธเจ้าพระองค์หนึ่งอุบัติขึ้น ชื่อว่า พระศรีอริยเมตไตรย นับเป็นพระพุทธเจ้าองค์ที่ 5 ในภัทรกัปนี้ นี่เป็นเรื่องที่พระพุทธเจ้าของเราได้ทรงพยากรณ์ไว้ และมีบันทึกอยู่ในพระไตรปิฎก
     
  15. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    http://www.geocities.com/RainForest/Jungle/2897/file6.html
    [​IMG]
    การให้ทาน
    พระพุทธองค์ได้ทรงกล่าวถึงผลของทานว่า ผลของทานขึ้นอยู่กับทั้งผู้ให้และผู้รับ ถ้าผู้ให้มีจิตใจที่บริสุทธิ์มากทานนั้นก็มีผลมาก ถ้าผู้รับมีจิตใจที่บริสุทธิ์มาก ทานนั้นก็มีผลมาก และได้ทรงกล่าวถึงผู้รับประเภทต่าง ๆ ที่ทำให้ผลของทานแตกต่างกัน ดังนี้

    บุคคลให้ทานแก่ สัตว์เดรัจฉาน ทานมีผลร้อยเท่า
    บุคคลให้ทานแก่ ปุถุชนผู้ทุศีล ทานมีผลพันเท่า
    บุคคลให้ทานแก่ ปุถุชนผู้มีศีล ทานมีผลแสนเท่า
    บุคคลให้ทานแก่ บุคคลนอกพุทธศาสนาที่ปราศจากความกำหนัดในกาม ทานมีผลแสนโกฏิเท่า
    บุคคลให้ทานแก่ ผู้ปฏิบัติเพื่อบรรลุเป็นพระโสดาบัน ทานมีผลมากมายมหาศาลจนประมาณไม่ได้
    บุคคลให้ทานแก่ พระโสดาบัน มีผลมากกว่าให้ทานแก่ ผู้ปฏิบัติเพื่อบรรลุเป็นพระโสดาบัน
    บุคคลให้ทานแก่ ผู้ปฏิบัติเพื่อบรรลุเป็นพระสกิทาคามี มีผลมากกว่าให้ทานแก่พระโสดาบัน
    บุคคลให้ทานแก่ พระสกิทาคามี มีผลมากกว่าให้ทานแก่ผู้ปฏิบัติเพื่อบรรลุเป็นพระสกิทาคามี
    บุคคลให้ทานแก่ ผู้ปฏิบัติเพื่อบรรลุเป็นพรอนาคามี มีผลมากกว่าให้ทานแก่ พระสกิทาคามี
    บุคคลให้ทานแก่ พระอนาคามี มีผลมากกว่าให้ทานแก่ ผู้ปฏิบัติเพื่อบรรลุเป็นพระอนาคามี
    บุคคลให้ทานแก่ ผู้ปฏิบัติเพื่อบรรลุเป็นพระอรหันต์ มีผลมากกว่าให้ทานแก่ พระอนาคามี
    บุคคลให้ทานแก่ พระอรหันต์ มีผลมากกว่าให้ทานแก่ ผู้ปฏิบัติเพื่อบรรลุเป็นพระอรหันต์
    บุคคลถวายทานแก่ พระปัจเจกพุทธเจ้า มีผลมากกว่าให้ทานแก่ พระอรหันต์
    บุคคลถวายทานแก่ พระพุทธเจ้า มีผลมากกว่าถวายทานแก่ พระปัจเจกพุทธเจ้า
    ทานที่พระพุทธองค์ทรงกล่าวนี้ หมายถึง ทานที่เจาะจงให้เฉพาะบุคคลเท่านั้น ส่วนทานที่ถวายแก่สงฆ์ คือ ให้เป็นส่วนรวม ไม่เจาะจงว่าเป็นภิกษุรูปใดรูปหนึ่ง พระพุทธองค์ก็ตรัสว่ามีผลมากเช่นกัน ได้ทรงกล่าวว่า ในอนาคตกาลจะมีแต่ภิกษุที่เป็นปุถุชน มีผ้าเหลืองพันคอ เป็นคนทุศีล ไม่รู้แจ้งในธรรม คนทั้งหลายได้ถวายทานแก่สงฆ์ในหมู่ภิกษุผู้ทุศีลเหล่านั้น ทานนั้นก็มีผลมากมายมหาศาลจนประมาณไม่ได้เช่นกัน
    [SIZE=+2]การอุทิศส่วนกุศล[/SIZE]
    ตามประเพณีของชาวพุทธ เมื่อเราทำบุญเสร็จแล้วก็มักจะอุทิศส่วนกุศลไปให้ญาติมิตรที่ล่วงลับไปแล้ว หรืออุทิศให้แก่โอปปาติกะ หรือเปรตอสุรกายทั้งหลาย ตามปรกติการอุทิศส่วนกุศลจะทำหลังจากที่ได้ทำบุญเสร็จใหม่ ๆ ทั้งนี้เพื่อให้สามารถนึกถึงบุญได้ง่าย บุญที่ทำโดยทั่วไปก็จะเป็นการให้ทานแก่สมณพราหมณ์ หรือผู้ที่เป็นคนดีมีศีลธรรม เช่น การตักบาตร ทำบุญเลี้ยงพระ ถวายสังฆทาน ทอดผ้าป่า ทอดกฐิน บริจาคเงินเพื่อสาธารณประโยชน์ นำอาหารเสื้อผ้าหรือเครื่องใช้ไม้สอยไปให้มิตรสหายที่รักษาศีลปฏิบัติธรรม เป็นต้น ขณะที่ทำบุญต้องทำด้วยความเต็มใจและต้องตั้งใจทำ เมื่อมีปัญหาเกิดขึ้น ก็หาทางแก้ไขด้วยเหตุผล อย่าให้มีความหงุดหงิดหรือความโกรธเกิดขึ้น ให้ทำบุญด้วยความสบายใจ พยายามทำจิตให้ผ่องใส จึงจะได้บุญมาก
    เมื่อทำบุญเสร็จแล้ว ต่อไปก็เป็นการอุทิศส่วนกุศล การอุทิศส่วนกุศลอาจจะใช้วิธีกรวดน้ำหรือใช้วิธีกล่าวคำอุทิศส่วนกุศลเฉย ๆ ก็ได้ สิ่งสำคัญอยู่ที่ว่าในขณะที่อุทิศส่วนบุญนั้น เราต้องตั้งใจอุทิศให้ด้วยความเต็มใจและจิตต้องสงบตั้งมั่นเป็นสมาธิ การอุทิศส่วนกุศลนั้นจึงจะมีผลมาก ต่อไปนี้จะขอเล่าเรื่องการอุทิศส่วนบุญของพระสารีบุตรให้แก่นางเปรตตนหนึ่งเป็นตัวอย่างพอสังเขป ดังนี้
    มีเปรตตนหนึ่ง รูปร่างน่าเกลียด ซูบผอม เห็นแต่ซี่โครงและเส้นเอ็น มีหนังแตกเป็นริ้วรอยทั่วทั้งตัว ยืนเปลือยกายอยู่ต่อหน้าพระสารีบุตร ผู้ซึ่งเป็นอัครสาวกเบื้องขวาของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า พระสารีบุตรได้ถามนางเปรตว่า ทำกรรมชั่วอะไรไว้จึงได้มาเกิดเป็นเปรตอยู่ในสภาพเช่นนี้ นางเปรตจึงเล่าว่า ตอนที่ตนเป็นมนุษย์อยู่นั้น มิตรสหายได้ชักชวนให้ทำบุญทำทาน ตนก็ไม่ได้ทำแต่อย่างใด เมื่อตายจากโลกมนุษย์จึงมาเกิดเป็นเปรตเปลือย ได้รับความทุกข์ยาก อดอยากหิวโหยอยู่ตลอด 500 ปี และนางเปรตนั้นก็ได้ของความอนุเคราะห์ให้พระสารีบุตรทำทานแล้วอุทิศกุศลให้ตน พระสารีบุตรก็รับคำ ต่อมาพระสารีบุตรได้ถวายข้าวคำหนึ่ง ผ้าขนาดเท่าฝ่ามือผืนหนึ่ง และน้ำดื่มขันหนึ่ง แก่ภิกษุรูปหนึ่งแล้วอุทิศส่วนบุญไปให้นางเปรตตนนั้นก็ได้รับอาหาร น้ำและเครื่องนุ่งห่มทันที ภายหลังนางเปรตซึ่งกลับมีร่างกายอันบริสุทธิ์ งดงาม สวมอาภรณ์อันวิจิตร มีรัศมีสว่างไสวไปทั่ว ได้มาหาพระสารีบุตร พระสารีบุตรเห็นจึงถามนางเทพธิดานั้นว่าเป็นใคร ทำกรรมอะไรไว้จึงมีความงดงามเช่นนี้ นางเปรตก็ตอบว่าตนคือนางเปรตที่เคยมาขอให้พระสารีบุตรอุทิศส่วนบุญให้ และกล่าวว่า เพราะผลของการให้ข้าวคำหนึ่ง ทำให้ตนมีอาหารอย่างดีบริโภคนานนับพัน ๆ ปี ผลของการให้ผ้าเท่าฝ่ามือ ทำให้ตนมีเครื่องนุ่งห่มอย่างดีมากมายห้อยอยู่ในอากาศ เลือกนุ่งห่มได้ตามชอบใจ ผลของการให้น้ำขันหนึ่งทำให้ตนมีสระโบกขรณี มีน้ำใสสะอาด ดาดาษไปด้วยดอกบัว มีความร่มรื่นยิ่งนัก และกล่าวว่า ที่ตนมานี้ก็เพื่อมาไหว้พระสารีบุตร ที่ได้มีเมตตาอุทิศส่วนกุศลให้ตน
    [SIZE=+2]ควรมีสัมมาทิฏฐิ[/SIZE]
    สัมมาทิฏฐิ หมายถึง ความเห็นชอบ หรือความเห็นที่ถูกต้อง มีความหมายตรงกันข้ามกับคำว่า มิจฉาทิฏฐิ ซึ่งแปลว่าความเห็นผิด ทุกคนที่เกิดมาย่อมมีความเห็นในเรื่องต่าง ๆ แตกต่างกันออกไป บ้างก็ถูก บ้างก็ผิด พระพุทธองค์ตรัสว่า คนเราควรมีความเห็นที่ถูกต้อง ความเห็นที่ถูกต้องก็ได้แก่ เห็นว่าการให้ทานมีผล การบูชาสังเวยบวงสรวงมีผล กรรมดีกรรมชั่วมีผล มีโลกนี้โลกหน้า บิดามารดามีคุณ มีสัตว์ที่เป็นโอปปาติกะ มีสมณพราหมณ์ที่ปฏิบัติชอบ มีปัญญารู้แจ้งในเรื่องโลกนี้โลกหน้า ผู้ที่รู้อย่างนี้ เข้าใจอย่างนี้ ได้ชื่อว่าเป็นผู้ที่มีความเห็นที่ถูกต้อง เป็นผู้มีสัมมาทิฏฐิ คำว่า สัมมาทิฏฐิในที่นี้ มีความหมายต่างจากคำว่าสัมมาทิฏฐิในมรรค 8 คำว่าสัมมาทิฏฐิในมรรค 8 นั้น หมายถึง ปัญญา ซึ่งเกิดจากการปฏิบัติธรรม
    [SIZE=+2]ทำไมจึงลืมอดีตชาติ ?[/SIZE]
    ในเรื่องของการเวียนว่ายตายเกิด มีหลายคนไม่เชื่อและมักจะย้อนถามว่า ถ้าอดีตชาติมีจริง ทำไมเราจึงจำเรื่องราวในชาติก่อนไม่ได้ ถ้าจะให้ผมอธิบาย ผมก็คงยืนยันไม่ได้ในเรื่องของการเวียนว่ายตายเกิด ว่ามีจริงหรือไม่ แต่ถ้ามีใครมาถามผมว่า ทำไมเราจึงจำเรื่องราวในอดีตชาติไม่ได้ ผมก็จะย้อนถามเขาว่า เขาจำเรื่องราวเมื่อวานนี้ได้หรือไม่ ถ้าตอบว่าจำได้ ผมก็จะถามอีกว่า จำเรื่องราวเมื่อตอนเป็นเด็กอายุ 7 ขวบ ได้หรือไม่ ถ้าตอบว่าจำได้ ผมก็จะถามอีกว่า เขาจำเรื่องราวเมื่อตอนที่เป็นทารกอายุ 1 ขวบ ได้หรือไม่ ถ้ายังตอบว่าจำได้ ผมก็จะถามอีกว่า เขาจำเรื่องราวในวันแรกที่เกิดออกมาได้หรือไม่ ว่าเอาหัวหรือขาออกมาก่อน ขณะคลอดรู้สึกเจ็บปวดหรือไม่ ร้องไห้หรือไม่ ได้ดูดนมมารดาหรือไม่ ถ้าเราจำเรื่องราวในวันเกิดซึ่งเป็นเหตุการณ์ในชาตินี้ไม่ได้ เราก็ไม่ควรจะจำเรื่องราวในอดีตชาติได้เช่นกัน
    [SIZE=+2]ทำไมจึงต้องสนใจเรื่องการเวียนว่ายตายเกิด ?[/SIZE]
    มักจะมีคนกล่าวอยู่เสมอว่า ทำไมเราจะต้องไปสนใจเรื่องชาติหน้าด้วย ควรสนใจแต่เพียงชาตินี้ก็พอแล้ว ความคิดเช่นนี้จะถูกต้อง ถ้าชาติหน้าไม่มีจริง แต่ถ้าชาติหน้ามีจริง คนที่คิดเช่นนี้ย่อมได้ชื่อว่าโชคร้ายอย่างมาก เพราะการดำเนินชีวิตของผู้ที่ไม่สนใจในเรื่องชาติหน้า ย่อมทำไปตามความพอใจของตน ไม่สนใจในเรื่องของกฎแห่งกรรม จึงมีโอกาสที่จะพลาดถลำไปสู่ทางแห่งความชั่วได้ง่าย ส่วนผู้ที่สนใจในเรื่องชาติหน้าย่อมศึกษาหาความจริงว่าควรจะดำเนินชีวิตไปอย่างไร จึงจะทำให้ชาติหน้ามีความเป็นอยู่ที่สุขสบาย เขาย่อมได้ชื่อว่าเป็นผู้ไม่ประมาท
    [SIZE=+2]ไม่ควรประมาท[/SIZE]
    ว่าถึงเรื่องความประมาท คนเราส่วนใหญ่มักจะมีความประมาท ตอนเป็นหนุ่มเป็นสาว ร่างกายแข็งแรงกระชุ่มกระชวย ไม่ยอมศึกษาปฏิบัติธรรม แต่พอแก่เฒ่าอายุมากแล้วสำนึกได้ จึงหันมาศึกษาปฏิบัติธรรม แต่ถึงเวลานั้นมันก็อาจจะสายเกินไป สำหรับการที่จะได้มรรคผลในชาตินี้ เพราะสุขภาพร่างกายไม่อำนวย ต้องรอไปชาติหน้า และก็ไม่แน่ว่าชาติหน้าจะได้เกิดเป็นมนุษย์หรือไม่ ถ้าได้เกิดเป็นมนุษย์ ก็ไม่แน่ว่าจะได้เกิดในพุทธศาสนาหรือไม่ แม้ได้เกิดในพุทธศาสนา ก็ไม่แน่ว่าจะได้ฟังธรรมที่ถูกต้องหรือไม่ ผมจึงหวังเป็นอย่างยิ่งว่าทุกท่านที่ได้อ่านหนังสือเล่มนี้คงจะได้ชื่อว่าเป็นผู้ไม่ประมาท

    <CENTER>
    [SIZE=+2]ประวัติผู้แต่ง[/SIZE]</CENTER>
    ผมชื่อ ชวยง พิกุลสวัสดิ์ เกิดเมื่อวันที่ 2 มกราคม พ.ศ. 2499 ที่จังหวัดลำปาง บิดาชื่อ นายยรรยง พิกุลสวัสดิ์ มารดาชื่อ นางพรพรรณ พิกุลสวัสดิ์ มีพี่น้องด้วยกันทั้งหมด 6 คน ผมเป็นคนสุดท้อง เมื่อยังเป็นเด็กตัวเล็ก ๆ ได้เรียนหนังสืออยู่กับมารดาจนอ่านออกเขียนได้ เมื่ออายุประมาณ 5 ขวบ ครอบครัวได้ย้ายมาอยู่กรุงเทพ ฯ พออายุได้ 7 ขวบ ก็เข้าเรียนชั้นประถมปีที่ 1 ที่โรงเรียนเทศบาลวัดดิสหงสาราม แถวมักกะสัน การเรียนอยู่ในเกณฑ์ดี ขณะนั้นผมมีนิสัยเป็นคนขี้อาย ไม่ค่อยกล้าแสดงออก มีความสนใจทางด้านวิทยาศาสตร์อย่างมาก ชอบสร้าง ชอบประดิษฐ์ ชอบทดลอง มีความใฝ่ฝันที่จะเป็นนักวิทยาศาสตร์ เมื่อจบชั้นประถมปีที่ 7 ก็เข้าเรียนต่อชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่ โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย การเรียนช่วงแรก ๆ แย่หน่อยเพราะมาเจอแต่คนเก่ง ๆ ภายหลังได้พยายามตั้งใจเรียนมากขึ้น การเรียนจึงอยู่ในระดับพอใช้ได้ ตัวผมเองเกิดมาค่อนข้างจะเสียเปรียบคนอื่น คือความจำไม่ค่อยดี คิดอะไรก็ช้า สมาธิก็ไม่ดี มีจิตใจไม่มั่นคง รวนเรง่าย แต่เพราะเป็นคนที่ชอบปรับปรุงตัวอยู่เสมอ จึงพยายามแก้ไขจุดอ่อนของตน รู้ว่าความจำไม่ดี เวลาเรียนก็อาศัยความเข้าใจเป็นหลัก จึงไม่ต้องใช้ความจำมากนัก เมื่อจบการศึกษาระดับมัธยมศึกษา ก็สอบเข้าเรียนต่อระดับอุดมศึกษา โดยเลือกเรียนในคณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ปรากฏว่าก็ได้เรียนสมใจ ได้เลือกเรียนในสาขาอิเล็กทรอนิกส์ ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้าตามที่ตนเองชอบ การเรียนในระดับปริญญาตรีนี้เรียนได้สบายเพราะวิชาที่เรียนเป็นวิชาทางด้านช่างซึ่งผมสนใจอยู่แล้ว หลักสูตรในตอนนั้นยังเป็นหลักสูตร 5 ปี เมื่อตอนอยู่ปีที่ 4 อายุได้ 22 ปี ก็ขออนุญาตบิดามารดาบวชในช่วงปิดภาคเรียน ได้บวชเป็นพระภิกษุอยู่ที่ วัดเบญจมบพิตร เป็นเวลา 2 เดือนเศษ ก็สึกออกมาศึกษาต่อ เมื่อจบการศึกษาในระดับปริญญาตรี อาจารย์ที่เคยสอนผม ได้ชักชวนให้เป็นอาจารย์ เพราะตอนนั้นยังขาดแคลนมาก ผมเองเป็นคนที่ชอบสอนอยู่แล้ว จึงตัดสินใจเป็นอาจารย์ประจำสาขาอิเล็กทรอนิกส์ ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า ตั้งแต่นั้นมา เมื่อทำงานได้เพียงปีเดียวก็ได้แต่งงานกับภรรยา ซึ่งรู้จักกันมาตั้งแต่ครั้งจบมัธยมศึกษาปีที่ 5 ใหม่ ๆ ได้ใช้ชีวิตในการเป็นอาจารย์เรื่อยมาจนถึงปัจจุบัน (พ.ศ. 2535) มีบุตรชายด้วยกัน 2 คน
    ชีวิตทางธรรม
    ในชีวิตทางธรรมนั้น ตอนเป็นเด็กก็มีความสนใจในเรื่องฝึกสมาธิอยู่บ้าง เคยอ่านหนังสือเกี่ยวกับการทำสมาธิโดยการกำหนดรู้ลมหายใจเข้าออก ลองทำดูไม่ได้ผลก็เลิกไป ในคราวที่บวชเป็นพระอยู่นั้นก็ยังไม่รู้วิธีปฏิบัติธรรม ได้แต่อ่านหนังสือธรรมะเป็นส่วนใหญ่ มีหนังสืออยู่เล่มหนึ่งกล่าวถึงเรื่องนิพพาน ว่านิพพานเป็นสุขอย่างยิ่ง นิพพานมีจริง คนเราสามารถปฏิบัติให้บรรลุได้ ผมจึงเริ่มสนใจแต่ก็ยังไม่รู้วิธีปฏิบัติว่าทำอย่างไร
    ที่ผมสนใจเรื่องนิพพานก็เพราะว่าในชีวิตของผมนั้น ความสุขหาได้ไม่ยาก แต่ความสุขที่เกิดขึ้นมันเกิดเพียงชั่วครู่ชั่วยาม ไม่นานก็หายไป ความทุกข์ก็มาแทนที่อีก ไปดูหนังก็มีความสุขดี พอกลับบ้านความสุขมันก็หมดไปอีก ต้องดิ้นรนหาความสุขใหม่เรื่อยไป ผมปรารถนาที่จะมีความสุขตลอด ชนิดที่ไม่ต้องกลับมาทุกข์อีก แต่ก็ไม่เห็นทางว่าจะทำได้ เมื่อได้ยินว่านิพพานเป็นสุขอย่างยิ่ง นิพพานมีความเที่ยงไม่เปลี่ยนแปลง จึงมีความสนใจมาก
    สู่ทางธรรม
    เมื่อผมสึกออกมา ก็ได้เที่ยวแสวงหาสำนักปฏิบัติธรรม พบสำนักปฏิบัติแห่งหนึ่งอยู่ในวัดที่มีชื่อเสียงวัดหนึ่งในกรุงเทพ ฯ จึงได้ฝึกปฏิบัติธรรมตั้งแต่นั้นมา ในตอนนั้นการปฏิบัติธรรมของผมเป็นการนั่งสมาธิแบบยุบหนอพองหนอ คือนั่งขัดสมาธิ เอาสติกำหนดที่ท้อง เวลาท้องพองก็ภาวนาว่าพองหนอในใจ เวลาท้องยุบก็ภาวนาว่ายุบหนอ ถ้านั่งนาน ๆ รู้สึกเมื่อย ก็ภาวนาว่าเมื่อยหนอ ถ้าเมื่อยมากทนไม่ไหว ก็ลุกขึ้นมาเดินจงกรมบ้างตามสมควร ช่วงนั้นมีความตั้งใจในการปฏิบัติมาก ทำที่บ้านบ้าง ไปทำที่วัดบ้าง ทำอยู่นานหลายเดือนก็ไม่เห็นจะได้อะไรขึ้นมา อย่างมากก็แค่ทำให้ใจสงบเท่านั้นเอง ในขณะที่คนอื่นเขาทำกันเดือนสองเดือนก็ได้ผลแล้ว บางคนได้ฌาน สามารถนั่งสมาธิได้หลายชั่วโมงก็มี
    เมื่อเรียนจบปริญญาตรีใหม่ ๆ อายุได้ 23 ปี ก่อนจะเริ่มทำงาน ก็ได้ไปอยู่ที่วัดฝึกสมาธิอยู่ 7 วัน รู้สึกว่าจิตใจไม่ค่อยสงบ นึกถึงแต่เรื่องอาชีพการงาน มีความต้องการที่จะใช้ชีวิตทางโลกอยู่มาก เห็นว่าแม้ตั้งใจปฏิบัติก็คงไม่สำเร็จ จึงตั้งใจว่าจะใช้ชีวิตในการทำงานทางโลก 10 ปี แล้วจึงจะลาออกมาปฏิบัติธรรมใหม่ ตั้งแต่นั้นเป็นต้นมาผมก็ทำสมาธิในช่วงก่อนนอนทุกวัน เพื่อเป็นการสั่งสมบุญบารมี บางวันก็ทำเพียงไม่กี่นาที บางวันก็ทำกว่าครึ่งชั่วโมงแล้วแต่อารมณ์ ในระหว่างการทำงานเป็นอาจารย์อยู่นั้น ผมต้องดิ้นรนทำงานหารายได้พิเศษ เพราะเงินเดือนที่ได้รับไม่เพียงพอกับรายจ่ายในครอบครัว แต่ก็ได้หาเวลาศึกษาวิธีปฏิบัติธรรมจากสำนักต่าง ๆ แล้วนำมาประยุกต์ใช้กับตนเอง เมื่อทำงานมาได้ 7 ปี เหลือเวลาอีกเพียง 3 ปี ก็จะครบกำหนดที่จะต้องลาออกจากงานไปปฏิบัติธรรม ผมมีความรู้สึกว่าการปฏิบัติธรรมที่ผ่านมาเป็นเวลาถึง 8 ปีแล้วยังไม่ก้าวหน้าไปถึงไหน จึงคิดว่าควรจะเร่งปฏิบัติให้ได้อะไรมากกว่านี้ ผมได้ตั้งใจปฏิบัติโดยใช้เวลานั่งสมาธิมากขึ้น รักษาศีลให้บริสุทธิ์ขึ้น ได้อดข้าวเย็นทั้ง ๆ ที่ตนเป็นคนกินจุ เพื่อหวังให้การปฏิบัติธรรมก้าวหน้ากว่าเดิม และเพื่อให้มีกำลังใจในการปฏิบัติ ผมจึงได้ไปสนทนาธรรมกับผู้ที่ปฏิบัติธรรมได้ผลแล้ว บางคนก็ทำสมาธิได้แก่กล้า สามารถติดต่อกับเทวดาได้ รู้เหตุการณ์ล่วงหน้าได้
    เห็นธรรมครั้งแรก
    มีอยู่คราวหนึ่ง ผมได้พูดคุยกับเพื่อนว่าอยากจะดูการแสดงอิทธิปาฏิหาริย์ จะได้มีกำลังใจในการปฏิบัติธรรมมากขึ้น เพื่อนก็แนะนำให้ไปยังสำนักสอนธรรมะแห่งหนึ่ง ผมได้ไปตามคำแนะนำและได้ดูตามที่ตั้งใจ ผู้ที่แสดงฤทธิ์บอกว่าท่านเป็นเทวดา ท่านมาเข้าร่างทรงซึ่งเป็นหญิงสาวเพื่อสอนธรรมะ มีการแสดงปาฏิหาริย์ประกอบการสอน นอกจากนี้ยังมีการรักษาโรคให้ฟรีอีกด้วย ตอนที่ไปครั้งแรกผมตั้งใจจะไปดูการแสดงปาฏิหาริย์เพียงอย่างเดียว ไม่ได้สนใจธรรมะที่ท่านสอน เพราะฟังดูก็เป็นเรื่องพื้น ๆ ง่าย ๆ แต่เมื่อไปฟังได้สองสามครั้งก็รู้สึกสนใจ ท่านได้กล่าวถึงปรมัตถธรรม คือเรื่องรูป-นาม ขันธ์ 5 และสอนให้มีสติอยู่กับรูป-นาม ประกอบกับตอนนั้นผมได้อ่านพบข้อความที่สะดุดใจในหนังสือธรรมะเล่มหนึ่ง ข้อความนั้นกล่าวว่า "ไม่มีเราในขันธ์ 5 ในขันธ์ 5 ไม่มีเรา" ผมจึงได้ลองฝึกการมีสติอยู่กับรูปหรือกาย เมื่อกายเคลื่อนไหวไปอย่างไร ก็ทำความรู้สึกว่า กายเคลื่อนไหวไปอย่างนั้น ไม่ใช่เราเคลื่อนไป สอนตัวเองอยู่เสมอว่าในขันธ์ 5 นี้ ไม่มีเรา มีแต่กาย แล้วเอาสติดูกายตลอด ถ้าเผลอก็แล้วไป เมื่อนึกได้ก็เอาสติมาอยู่ที่กายอีก ทำเช่นนี้เรื่อยไปตลอดทั้งวัน ทำไปได้ประมาณ 4 วัน ก็มีวิปัสสนาญาณเกิดขึ้น คือในขณะที่กำลังย่อตัวลงนั่งเก้าอี้บนรถเมล์ก็รู้สึกว่า สิ่งที่ย่อตัวลงมานี้เป็นเพียงกาย ไม่มีความรู้สึกเป็นเราอยู่เลย ความรู้สึกในขณะนั้นแปลกประหลาดอย่างบอกไม่ถูก เป็นความรู้สึกที่ไม่เคยเกิดขึ้นมาก่อนเลยในชีวิต มีความรู้สึกว่าชีวิตมีเพียงเท่านี้เอง ไม่มีอะไรมากกว่านี้เลย ในตอนนั้นผมยังไม่ทราบว่าเป็นวิปัสสนาญาณ ได้แต่คิดไปว่า ความรู้สึกที่เกิดขึ้นคงเป็นนิมิตหมายความว่า ในอนาคตเราจะได้มรรคผลนิพพาน หลังจากนั้นก็ไม่ได้ปฏิบัติธรรมลักษณะนี้อีกเลย ได้แต่นั่งสมาธิเหมือนเดิม อีก 1 เดือนต่อมาก็ได้มีโอกาสสนทนาธรรมกับนักปฏิบัติท่านหนึ่ง ผมได้เล่าเรื่องนี้ให้ท่านฟัง ท่านก็พูดเปรย ๆ ขึ้นว่า น่าจะเป็นวิปัสสนาญาณ ผมจึงนึกเอะใจขึ้นมา เพราะขณะที่มีความรู้สึกประหลาดเกิดขึ้นมานั้น เป็นช่วงที่ผมปฏิบัติธรรมโดยการมีสติอยู่กับกายพอดี และความรู้สึกที่เกิดขึ้นก็เป็นลักษณะของการมีปัญญา ตั้งแต่นั้นมาผมก็ได้ปฏิบัติธรรมด้วยการมีสติอยู่กับรูปนามเป็นส่วนใหญ่ นั่งสมาธิน้อยลง และได้ไปฟังธรรมที่สำนักเดิมเกือบทุกสัปดาห์ เพื่อให้มีกำลังใจและเข้าใจธรรมะได้ดีขึ้น
    วิเคราะห์ผลการปฏิบัติ
    ในช่วงของการปฏิบัติธรรมนั้น ผมได้พยายามศึกษาหาวิธีว่า ปฏิบัติอย่างไรจึงจะถูกทาง อย่างไรผิดทาง อย่างไรได้ผลเร็ว อย่างไรได้ผลช้า เป็นการทำอย่างสะเปะสะปะ ใช้วิธีลองผิดลองถูก เนื่องจากผมอดข้าวเย็นหลายเดือน ร่างกายจึงซูบผอม น้ำหนักลดลงไปมาก เห็นว่าการอดอาหารเย็นให้โทษมากกว่าให้ประโยชน์ จึงกลับมากินอาหารเย็นตามเดิม ปรากฏว่าการปฏิบัติธรรมก้าวหน้าเร็วขึ้น เพราะไม่ต้องพะวงอยู่กับความหิว ผมได้ศึกษาวิธีการปฏิบัติธรรมทุกรูปแบบ ทั้งการมีสติอยู่กับกาย เวทนา จิต และธรรม ซึ่งผมเรียกการปฏิบัติธรรมเหล่านี้ว่า การมีสติสัมปชัญญะ ผมปฏิบัติอยู่ประมาณ 4 เดือน ก็เริ่มมีปีติ มีสุข ซึ่งเป็นอารมณ์ฌานเกิดขึ้นทั้ง ๆ ที่เดิมใช้วิธีนั่งสมาธิมาถึง 8 ปี ยังไม่เคยมีปีติ สุข เกิดขึ้นเลย อย่างมากก็แค่มีจิตสงบเท่านั้น ต่อมาผมก็เข้าใจผิด หลงทางอยู่หลายเดือน เพราะคิดว่าการทำฌานให้เกิดขึ้นจนจิตมีความสุขอยู่เสมอจะทำให้ได้มรรคผล ภายหลังสังเกตดูก็เห็นว่า ขณะที่มีฌานเกิดขึ้นตัณหาเบาบางลงก็จริงอยู่ แต่พอฌานเสื่อม ตัณหาก็เท่าเดิมอีก ส่วนการมีสติสัมปชัญญะนั้นแตกต่างออกไป คือเมื่อทำสติสัมปชัญญะให้เกิดขึ้น ตัณหาก็เบาบางลง เมื่อสติสัมปชัญญะเสื่อมไป ตัณหาก็ยังคงอ่อนกำลัง และเมื่อทำสติสัมปชัญญะให้เกิดขึ้นเสมอ ๆ ตัณหาก็จะอ่อนกำลังลงตามลำดับ ผมจึงมองเห็นทางว่าการที่จะได้มรรคผลก็คือการทำสติสัมปชัญญะให้เกิดขึ้นบ่อย ๆ เกิดขึ้นนาน ๆ เกิดขึ้นเสมอ ๆ ส่วนการทำสมาธิเป็นเพียงเครื่องช่วยให้การปฏิบัติธรรมได้ผลเร็วขึ้นเท่านั้น
    มีอยู่หลายครั้งที่ผมพิจารณาธรรม เช่น พิจารณาว่าร่างกายเป็นของน่ารังเกียจ บางทีก็พิจารณาถึงความแก่ความตาย พิจารณาจนจิตใจหดหู่แนบแน่นอยู่กับสิ่งที่พิจารณา มีความรู้สึกว่าตัณหาสงบระงับ ไม่กำเริบ จึงเข้าใจผิดไปว่า การพิจารณาธรรมอยู่เสมอจะทำให้บรรลุมรรคผลได้ ภายหลังสังเกตดูก็เห็นว่า ขณะที่เราพิจารณาธรรมนั้นตัณหาสงบ ไม่กำเริบก็จริงอยู่ แต่พอเราเลิกพิจารณาธรรม ตัณหาก็มีกำลังขึ้นมาอีก ผมจึงมองเห็นว่า การพิจารณาธรรมไม่ใช่ทางที่จะทำให้บรรลุมรรคผล เป็นแต่เพียงเครื่องช่วยให้การปฏิบัติธรรมได้ผลเร็วขึ้นเท่านั้น
    บางครั้งการปฏิบัติธรรมของผมก็ตึงเกินไป บางครั้งก็หย่อนเกินไป ทำให้การปฏิบัติธรรมไม่ก้าวหน้าเท่าที่ควร ภายหลังก็พบว่า ทางสายกลาง เป็นทางที่ทำให้การปฏิบัติธรรมเป็นไปได้โดยง่าย ในการตรวจสอบข้อบกพร่องของการปฏิบัติ ผมพบว่า อินทรีย์ 5 สามารถนำมาใช้ในการตรวจสอบและแก้ไขข้อบกพร่องได้เป็นอย่างดี
    เริ่มแต่งหนังสือ
    ตลอดเวลาของการปฏิบัติธรรม ผมได้พยายามคิดหาเหตุผลว่า วิธีปฏิบัติธรรมที่ถูกต้องนั้นเป็นอย่างไร วิธีที่ง่ายและได้ผลเร็วนั้นทำอย่างไร และคิดวิธีอธิบายให้คนอื่นเข้าใจได้ง่าย เพราะตั้งใจเอาไว้ว่าเมื่อถึงเวลาอันสมควรก็จะสอนคนอื่นให้ปฏิบัติตาม ผมได้ปฏิบัติธรรมโดยการฝึกมีสติสัมปชัญญะเรื่อยมา การปฏิบัติธรรมก็ก้าวหน้าตามลำดับ ปฏิบัติได้ประมาณ 2 ปี ก็เริ่มเขียนหนังสือ วิธีปฏิบัติให้ได้มรรคผลนิพพาน ใช้เวลาเขียนประมาณ 2 ปี จึงเสร็จสมบูรณ์
    ในช่วงเวลา 2 ปีที่เขียนหนังสือนี้ ผมได้ปฏิบัติธรรมและศึกษาหลักธรรมในพระไตรปิฎกฉบับภาษาไทยควบคู่ไปด้วย ทั้งนี้เพื่อไม่ให้คำสอนของผมขัดกับพระไตรปิฎก ศัพท์ต่าง ๆ ที่ใช้ในหนังสือเล่มนี้ ส่วนใหญ่ก็นำมาจากพระไตรปิฎก ส่วนรายละเอียดและเทคนิคต่าง ๆ ในการปฏิบัติธรรมส่วนใหญ่จะเขียนจากผลการปฏิบัติธรรมของผมเอง จะมีก็แต่เรื่องกฎแห่งกรรม - กฎของชีวิตเท่านั้นที่นำมาจากพระไตรปิฎก
    เริ่มเผยแพร่ธรรมะ
    เมื่อหนังสือ วิธีปฏิบัติให้ได้มรรคผลนิพพาน เริ่มวางจำหน่ายในท้องตลาด (กรกฎาคม พ.ศ. 2533) ผมก็เริ่มสอนการปฏิบัติธรรมโดยสนทนาทางโทรศัพท์บ้าง ไปสอนตามบ้านบ้าง ในช่วงแรกไม่ค่อยมีคนรู้จักผม ผมจึงได้เขียนบทความ แนะแนวทางการปฏิบัติธรรม ลงในนิตยสาร โลกทิพย์ ฉบับที่ 195-201 รวม 7 เล่ม ทำให้ผมเป็นที่รู้จักในวงการปฏิบัติธรรมมากขึ้น
    ชีวิตในปัจจุบัน
    มาถึงตอนนี้ (พ.ศ. 2535) คิดเวลาที่ผมปฏิบัติธรรมด้วยการมีสติสัมปชัญญะนี้ได้ 6 ปีแล้ว ผมก็ยังมีกิเลสหลงเหลืออยู่ และยังคงปฏิบัติธรรมอยู่ แต่ก็ได้รู้ ได้เห็น ได้เข้าใจในเรื่องของการปฏิบัติธรรม และได้รับผลของการปฏิบัติธรรมมากพอที่จะยืนยันได้ว่าทางนี้เป็นทางที่ถูกต้องแน่นอน
    มีหลายคนเข้าใจว่าผมมีฤทธิ์ สามารถนั่งทางในเห็นโน่นเห็นนี่ได้ ผมก็ขอออกตัวในที่นี้เลยว่าเกี่ยวกับอิทธิฤทธิ์นั้นตัวผมไม่มีเลย จะมีก็แต่อารมณ์ฌาน เช่น ปีติ สุข เกิดขึ้นบางครั้งบางคราวเท่านั้น สิ่งที่ผมทำได้ก็เห็นจะมีแต่เรื่องของการปฏิบัติธรรม เรื่องของการประหารกิเลส เรื่องของการบรรลุมรรคผลเท่านั้น นอกจากนี้ผมยังรู้ในเหตุในผลของการปฏิบัติธรรม สามารถแนะนำได้ว่าวิธีที่นักปฏิบัติทำอยู่นั้น ถูกหรือผิด ดีหรือไม่ดีอย่างไร ถ้าใครสนใจที่จะปฏิบัติธรรม หรือมีปัญหาเกี่ยวกับการปฏิบัติธรรม ผมก็ยินดีที่จะแนะนำให้ด้วยความเต็มใจ
    ชวยง พิกุลสวัสดิ์ ผู้แต่ง​
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • f12.jpg
      f12.jpg
      ขนาดไฟล์:
      33.8 KB
      เปิดดู:
      945
  16. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    http://www.rakpratat.com/index.php?...how&Category=rakpratatcom&thispage=1&No=63755

    การอุทิศส่วนกุศล โดยพระราชพรหมยาน วัดท่าซุง (ตอนที่ 1)



    การอุทิศส่วนกุศล ตอนที่ 2 (พระราชพรหมยาน วัดท่าซุง)
    <O:p</O:p

    ผู้ถาม : เมื่อทำบุญแล้ว ถ้าจะอุทิศส่วนกุศลภายหลังจะได้ไหมคะ ?<O:p</O:p
    หลวงพ่อ : การทำบุญไปแล้วครั้งหนึ่งสักกี่ปี ๆ บุญก็ยังมีอยู่ ถ้าทำไปแล้วสัก 30 ปี ก็ยังอุทิศส่วนกุศลได้ บุญมันไม่หาย ไม่ใช่เราทำบุญแล้วเดี๋ยวเดียวมันหาย ไม่ใช่อย่างนั้นนะ !
    ผู้ถาม : แล้วถ้าเผื่อทำบุญแล้ว ไม่ได้อุทิศส่วนกุศลจะได้บุญเต็มที่ไหมคะ... ?
    หลวงพ่อ : ก็ได้เต็มที่อยู่แล้ว เราเป็นผู้ได้สมบูรณ์แบบ แต่อยู่ที่ว่าเราจะให้เขาหรือไม่ให้ การอุทิศส่วนกุศลนี่นะถ้าเราไม่ให้ เราก็กินคนเดียวใช่ไหม.. ทีนี้ถ้าเราให้เขา ของเราก็ไม่หมดอีก ส่วนที่เราให้ไปไม่ได้ยุบไปจากเดิม
    อย่างเรื่องของ พระอนุรุทธ สมัยที่ท่านเกิดเป็นคนเกี่ยวหญ้าช้างของมหาเศรษฐี เวลาที่ท่านทำบุญแล้ว เจ้านายขอแบ่งบุญ ท่านก็สงสัยว่าการแบ่งบุญน่ะจะแบ่งได้ไหม จึงไปถามพระปัจเจกพุทธเจ้าที่ท่านรับบาตรนะ
    ท่านก็เปรียบเทียบให้ฟังว่า
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 30 สิงหาคม 2007
  17. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    http://www.dharma-gateway.com/monk/preach/lp-charun/lp-charun-02.htm


    วิธีแผ่เมตตาและอุทิศส่วนกุศล
    พระเทพสิงหบุราจารย์ (จรัญ ฐิตธมฺโม)
    วัดอัมพวัน จังหวัดสิงห์บุรี
    (เทศน์ให้พระสงฆ์ฟัง มิได้เทศน์ให้ฆราวาสฟัง)
    [​IMG]

    โพสท์ในลานธรรมเสวนา กระทู้ที่ 003600 โดยคุณ : สยาม [ 25 ต.ค. 2544]
    ท่านเถรานุเถระและพระนวกะทั้งหลาย วันนี้ผมจะเรียนถวายวิธีแผ่เมตตาและอุทิศส่วนกุศล ท่านเป็นพระบวชใหม่ยังไม่เข้าใจ ขอให้ตั้งใจฟัง อย่าวอกแวก ทำใจให้สงบ ตั้งสติก่อน ผมทำได้ผลแล้วนะ จะสอนถวายอุทิศให้ตั้งสติหายใจยาว ๆ ตอนที่กรวดน้ำเสร็จแล้วอธิษฐานจิตไว้ก่อน อธิษฐานจิตหมายความว่า ตั้งสติสัมปชัญญะไว้ที่ลิ้นปี่ สำรวมกาย วาจา จิต ได้ตั้งมั่นแล้ว จึงขอแผ่เมตตาไว้ในใจสักครู่หนึ่ง แล้วก็ขออุทิศให้บิดามารดาของเราว่าเราได้บำเพ็ญกุศล ท่านจะได้บุญได้ผลแน่ ๆ เดี๋ยวนี้ด้วย ผมเรียนถวายนะ มิฉะนั้นผมจะอุทิศไปยุโรปได้อย่างไร ท่านทั้งหลายไม่สนใจไม่เป็นไรนะ ผมทำของผมได้ผลเองโดยแผ่เมตตาก่อน บางทีสอนกรรมฐานกัน อุทิศกันแล้วทำอะไรก็ไม่ได้ผล กรรมฐานก็ไม่ได้ ประโยชน์อานิสงส์ก็ยังไม่ได้ แผ่ไม่ออกนะ ไม่ได้ผล เป็นบาปเปล่า ๆ
    หายใจยาว ๆ ตั้งสติก่อน หายใจลึก ๆ ยาว ๆ แล้วก็แผ่เมตตาก่อน มีเมตตาดีแล้ว ได้กุศลแล้ว เขาก็อุทิศเลย อโหสิกรรม ไม่โกรธ ไม่เกลียด ไม่พยาบาทใครอีกต่อไป และเราจะขออุทิศให้ใคร ญาติบุพเพสันนิวาสจะได้ก่อน ญาติเมื่อชาติก่อนจะได้มารับ เราก็มิทราบว่าใครเป็นพ่อแม่ในชาติอดีต ใครเป็นพี่น้องของเราเราก็ไม่ทราบ แต่แล้วเราจะได้ทราบตอนอุทิศส่วนกุศลนี้ไปให้ เหมือนโทรศัพท์ไป เขาจะได้รับหรือไม่ เราจะรู้ได้ทันที
    ขณะที่ท่านสวดมนต์อุทิศให้ว่า ยาเทวตา...., อิมินา.... เป็นต้น ท่านจะรู้นะว่าย้อนกลับมา เหมือนเราโทรศัพท์ไป อ๋อ มีคนรับ เขาจะย้อนตอบเราว่าฮัลโหล เป็นต้นนี่ก็เช่นเดียวกัน เราจะปลื้มปีติทันทีนะ เราจะตื้นตันขึ้นมาเลย ถ้าท่านมีสมาธิ น้ำตาท่าจะร่วงนะ ขนพองสยองเกล้าเป็นปีติเบื้องต้นถ้าท่านมาสวดมนต์กันส่งเดช ไม่เอาเหนือเอาใต้ ท่านไม่อุทิศ ท่านจะไม่รู้เลยนะ ขอฝากท่านนวกะไว้ด้วย วันนี้ท่านทำบุญอะไร สร้างความดีอะไรบ้าง ดูหนังสือ ท่องจำบทอะไรได้บ้าง ก็อุทิศได้เมืองฝรั่งเขาไม่มีการทำบุญ เราไปทอดกฐิน ผ้าป่า ถวายสังฆทาน เขาทำไม่เป็น แต่ทำไมเขาเป็นเศรษฐี ทำไมเขามีความเจริญทางด้านเทคโนโลยี ทำไมถึงเจริญด้วยอารยธรรมของเขา เพราะเขามีบุญวาสนา เขาตั้งใจทำ มีกิจกรรมในชีวิตของเขา
    จะยกตัวอย่าง วันนี้เขาค้าขายได้เป็นพันเป็นหมื่นด้วยสุจริตธรรม เขาก็เอาอันนั้นแหละอุทิศไป วันนี้เขาปลูกต้นไม้ได้มากมาย เขาก็เอาสิ่งนี้อุทิศไปว่าได้สร้างความดีในวันนี้ ไม่ได้อยู่ว่างแต่ประการใด เขาก็ได้บุญ ไม่จำเป็นต้องเอาสตางค์มาถวายพระเหมือนเมืองไทย ถวายสังฆทานกันไม่พัก ถวายโน่นถวายนี่แต่ใจเป็นบาป อุทิศไม่ออก บอกไม่ได้ อย่างนี้เป็นต้น จะไม่ได้อะไรเลยนะเมืองไทยนี่ผมพูดมานาน ส่วนใหญ่ปากเป็นบุญใจเป็นบาปทั้งนั้น รับศีลแล้วก็ไปดื่มเหล้า รับศีลแล้วก็ไปเล่นการพนัน นี่ ใจไม่ยอมรับ ดื้อด้าน เพราะไม่ได้ปฏิบัติธรรมฝรั่งเขามีธรรมะ ผมไปยุโรปมา ๕ ประเทศ เขามาถามธรรมะกันมาก แต่คนไทยมาขอบุญช่วย มาวัดแต่ละรายมีแต่ให้ช่วยทั้งนั้น แต่เขาไม่มีโอกาสจะช่วยตัวเองเลยนะ ขอฝากท่านทั้งหลายไว้ด้วย ที่ผมไปประสบมา
    ที่ผมแผ่เมตตาและอุทิศส่วนกุศล ไปเข้าบ้านลูกสาวญวนที่กรุงปารีส ฝรั่งเศส ทำอย่างนี้นะ เวลาสวดมนต์ อิติปิโส... ยาเทวตา... ตั้งใจสวดด้วยภาษาบาลีเช่นนี้ ที่หยุดเงียบไปน่ะ ผมสำรวมจิตตั้งสติแผ่เมตตา จิตสงบดีแล้วจึงอุทิศไปบางองค์ไม่เอา เอามือลง ไม่อธิษฐาน ท่านจะไม่ได้อะไร แล้วสวดกันก็ได้ด้วย ที่ท่องจำโคลงให้ได้น่ะเพื่อให้คล่องปาก ว่าให้คล่องปากแล้วก็จะคล่องใจ คล่องใจแล้วถึงจะเป็นสมาธิ เป็นสมาธิแล้วถึงจะอุทิศได้ ไม่อย่างนั้นไม่ได้นะเอาตำรามาดูกันก็ไม่ได้ผล แต่ดูตำราเพื่อให้ถูกวรรคตอน และให้คล่องปาก แล้วจะได้คล่องใจ เป็นสมาธิ ถึงจะมีกำลังส่งอุทิศ ไม่อย่างนั้นไม่มีกำลังส่งเลยนะท่านบัณฑิตทั้งหลาย ที่ท่านมาบวชกันสนใจเอาไปเลยครับ ผมจะถวาย ไม่สนใจเอาของผมทิ้งไว้ ท่านจะไม่ได้ผลอะไรเลย เสียเวลาการมาก ผมคิดเสมอว่า หนึ่งนาทีเท่ากับหนึ่งตำลึงทอง ชีวิตของท่านมีค่าไหม ที่ผมพูดมานานท่านจะตีความหมายไม่ออกชีวิตท่านมีค่ามากยิ่งกว่าเพชรนิลจินดา ท่านจะรู้ว่าเวลามีประโยชน์ บวชเก่าบวชใหม่ถ้าไม่ได้ทำประโยชน์ของตนก็ไร้ประโยชน์พวกฝรั่งคาทอลิก ไม่จำเป็นต้องกล่าวว่าพุทธ เขานั่งกรรมฐานเยอะและได้ผลนะ ผมไปเห็นอารยธรรมของประเทศต่าง ๆ เขาเจริญจริง ๆ เขาสะอาดจริง ๆ เขาไม่มีการถวายสังฆทาน กฐินผ้าป่าเขาก็ไม่มี คนไทยทัวร์กฐิน ทัวร์ผ้าป่าไปตามสภาพ มากันเป็นพัน มาทานข้าวแล้วยังด่าเราเสียอีก นี่แหละปากเป็นบุญ ใจเป็นบาป
    การอุทิศส่วนกุศล นี่สำคัญนะ แต่ต้อง แผ่เมตตา ก่อน แผ่เมตตาให้มีสติก่อน แผ่เมตตาให้มีความรู้ว่าเราบริสุทธิ์ ใจมีเมตตาไหม และอุทิศเลย มันคนละขั้นตอนกันนะแผ่เมตตากับอุทิศมันต่างกัน ทำใจให้เป็นเมตตาบริสุทธิ์ก่อน ไม่อิจฉา ไม่ริษยา ไม่ผูกพยาบาทใครไว้ในใจ ทำให้แจ่มใส ทำใจให้สบาย คือเมตตา แล้วเราจะอุทิศให้ใครก็บอกกันไป มันจะมีพลังสูง สามารถจะอุทิศให้คุณพ่อคุณแม่ของเรากำลังป่วยไข้ ให้หายจากโรคภัยไข้เจ็บได้ เช่น วีโก้ บรูน ชาวนอรเวย์ ที่เคยมาบวชที่วัดนี้ เป็นต้น
    วันนี้ผมจะถวายความรู้เกี่ยวกับการอุทิศส่วนกุศล โปรดฟังต่อไป
    เรามาสวดมนต์ไหว้พระกันว่า โยโสภะคะวา....ใจเป็นบุญไหม สวากขาโต... สุปฏิปันโน...ใจเป็นบุญไหม ท่านจะฟุ้งซ่านไปทางไหน สำรวมอินทรีย์ หน้าที่คอยระวัง เอาของจริงไปใช้ อย่าเอาของปลอมมาใช้เลย ท่าจะเอาบุญหรือเอาบาป คืนหนึ่งกับวันหนึ่ง ท่านคิดนอกออกในอย่างไร จะรู้ได้ด้วยตัวของท่านเองนะ ท่านทำประโยชน์อะไรในวันนี้ เอามาตีความ สำรวมตั้งสติไว้ก่อน ว่าขาดทุนหรือได้กำไรชีวิต และจะไปเรียงสถิติในจิตใจเรียกว่าเมตตา แปลว่าระลึกก่อน เมตตาแปลว่าปรารถนาดีกับตนเอง สงสารตัวเองที่ได้สร้างความดีหรือความชั่วเช่นนี้ วันนี้เราดูหนังสือได้อะไรบ้าง ไม่จำเป็นต้องเอาสตางค์ไปทำบุญเลย วันนี้เราอ่านหนังสือ ท่องนวโกวาทได้ วันนี้ดูธรรมะได้ วันนี้ท่องสวดมนต์ไหว้พระได้ นั่นแหละท่านจะตื้นตัน ท่านจะปีติ ท่านจะยินดี ที่อ่านหนังสือ ท่องบ่น ท่องจำนวโกวาทได้ นั่นแหละเป็นบุญ เป็นคุณประโยชน์ของท่านเอง ในเมื่อเป็นคุณประโยชน์ของท่านแล้ว ท่านจะได้อะไรต่อไป เกิดปีติตอบแทน ปลื้มใจ ดีใจ อันถูกต้องเป็นมงคล มงคลเรียกว่า การปลื้มปีติยินดีในธรรม ได้ผลสมคาดปรารถนา เป็นการสร้างกุศลให้แก่ชีวิตของตนใช่หรือไม่
    ท่านทั้งหลายอย่าสร้างอกุศลกรรม สร้างมงคลไว้เถอะ อย่าสร้างอัปมงคลทุกวัน ทำอะไรไม่เชื่อฟัง นั่นแหละเป็นอัปมงคล เป็นอกุศลกรรม เอาดีไม่ได้หรอกครับ ขอเรียนถวายว่า ไม่จำเป็นต้องมีสตางค์เอาไปถวายพระ ไปถวายโน่น ถวายนี่ แล้วก็เป็นบุญ ไม่จริงแน่ ๆ บุญต้องสะสมไว้ในจิตใจของท่าน นะครับ พระนวกะที่รักทั้งหลาย โปรดคิดความหมายและเครื่องหมายแห่งความดีนี้ก่อน ความดีเป็นเครื่องหมายของคนดี ความชั่วเป็นเครื่องหมายของคนชั่ว เครื่องหมายของคนดี ดูลักษณะอย่างการบวชนี้เป็นต้น เราชายชาติเชื้อดีครั้งเดียวนะครับคือบวช เราจะไม่มีโอกาสทำดีเชียวหรือ ท่านออกแขกไม่ดีแล้ว ท่านจะเล่นตลอดชีพเลวร้าย ในยามแก่ก็จะแย่ซิ จะเป็นอัมพาต นอนร้องครวญครางในภายหลังนะ และอกุศลจะย้อน ทำให้สร้างความดีไม่ได้ ท่านจะไม่ได้อะไรเลย นอกเหนือจากไม่ได้แล้วต้องขาดทุนด้วย เสียหายด้วย ถ้าเสมอตัวไปก็ดี แต่เสมอตัวมีทางขาดทุน ถ้าได้กำไรชีวิตแล้วกำไรก็จะได้งาม ท่านมีความประสงค์สิ่งใดท่านจะได้ผลนี้เป็นประโยชน์มาก
    ท่านนวกะ วันหนึ่งและคืนหนึ่ง ท่านได้สะสมบุญ ดีใจในความสุข ที่ท่านได้ท่องหนังสือได้ ท่องสวดมนต์ไหว้พระได้ ดีใจไหม ปลื้มปีติยินดี จิตใจของท่านก็เบิกบานได้ท่องหนังสือ ได้พิจารณาปัจจัย ๔ ได้ท่องสวดมนต์ไหว้พระ ทำวัตรเช้าเย็น ได้หมดแล้ว นั่นแหละบุญ ปลื้มปีติยินดีในจิตใจของท่าน ถ้าท่านจะคิดว่าบวชเดี๋ยวเดียวก็สึกไป อย่าคิดอย่างนั้นนะท่านจะขาดทุนนะ คิดแล้วขาดทุน ท่านจะเสียใจในขณะนั้น ถ้าท่านมีสติดี ท่านจะรู้ได้ว่า ท่านขาดทุนหรือได้กำไร ชีวิตนี้คืออะไร ท่านจะตีความหมายของท่านได้ ไหน ๆ มาบวชกันไกลแสนไกลแล้ว ให้มันได้อะไรไปบ้าง ฟังอุปัชฌาย์พูดบ้าง อย่าเอาแต่อารมณ์ อย่าเอาแต่สิ่งที่ไร้สาระ อุปัชฌาย์ชอบอะไรหรือ ชอบเอาของดีให้ อย่าเอาของชั่วมาปนของดี ของดีจะเสีย ท่านเป็นบัณฑิตแล้ว มีปริญญากันทั้งนั้น และเป็นผู้มีอายุไม่ใช่เด็กแล้ว เป็นผู้ใหญ่ด้วยกันทุกรูป ผู้ใหญ่คือผู้มีคุณธรรมแล้ว คุณธรรมของท่านผู้ใหญ่จะเต็มไปด้วยเมตตา เต็มไปด้วยความปรารถนาดี และสงสารสรรพสัตว์ สงสารตัวเอง มีมุทิตาจิต ส่งกระแสจิตด้วยความดีใจ และวางอุเบกขาบางประการที่ไม่ต้องประสงค์ วางตนให้เป็นกลาง ไม่ปล่อยอารมณ์ไปเข้าข้างโน้น เข้าข้างนี้ และไม่เข้าข้างตัวเองด้วย เรียกว่า อุเบกขาของท่านผู้ใหญ่ เราก็เป็นผู้ใหญ่ด้วยกันทุกรูปแล้วไม่ใช่เด็ก มีคุณธรรมสูงทุกองค์ มีสมบัติมนุษย์ทุกองค์ และมีคุณค่าทุกองค์ ค่าของชีวิติมนุษย์ มันตีค่าราคาไม่ได้เลย มันสูงที่สุด ชีวิตมีค่าอย่างนี้ ท่านจะคิดว่าเวลาน่ะมีประโยชน์เหลือเกินนะครับ ท่านโปรดตีความหมาย ไม่ใช่มาบวชกันเล่นสนุกสนาน เราเป็นชายชาติเชื้ออย่าเหลือวิสัย ได้ชีวิตครั้งแรกคือการบวช ท่านจะอวดเขาได้ไหม นี่ชีวิตครั้งเดียวนะ ไม่ใช่ผลุบเข้าผลุบออกเหมือนอย่างเก่า บวชแล้วบวชอีก เหมือนบวดกล้วย บวดฟักทอง ใช้ไม่ได้
    การบวชเป็นชีวิตครั้งแรกของลูกผู้ชาย ที่เรามาชุบตัวเอง เหมือนเงาะป่าโดดลงไปในบ่อทองฉะนั้น และเราก็เอาทองเกลือกกลั้วในจิตใจ เงาะป่าจะได้ดีเพราะพูดไม่เป็น มันเป็นใบ้ มันสวนเงาะ
    กินน้อย นอนน้อย พูดน้อย ทำความเพียรมาก คือ เงาะป่า
    ต่อไปจะถอดเงาะเป็นพระสังข์ทองนะ รูปตัวเป็นทองหล่อหลอมด้วยจิตใจ มีประกายด้วยธรรมะ แสงระยิบระยับทั่วโลก จะมีแต่ความเจริญรุ่งเรืองไม่เหมือนหกเขยหน้าโง่ ตาก็โง่ หูก็โง่ จมูกก็โง่ ปากก็โง่อีก ทวารหกโง่หมด เรียกว่าหกเขย สู้เงาะป่าผู้เดียวไม่ได้เลย รจนายาใจ อยู่หลายไร่ปลายนา ยังมีความสุขความเจริญ เป็นมหามงคลชีวิต อยู่ตรงนี้นะ แต่ทุกคนไม่เข้าใจที่มาบวชกันนี้ ท่านเก็บหน่วยกิตไว้เถอะ ทีละหยดทีละหยาดเป็นบาปหรือเป็นบุญ เป็นคุณหรือเป็นประโยชน์ ประโยชน์จะถึงได้กับท่านตรงไหน ท่านรู้ตัวของท่านเองนะครับ ผมไม่ไปรู้ของท่านหรอก ไม่อยากรู้ของใคร อยากรู้ของตัวเองว่าทำอะไรบ้าง มีกำไรชีวิตอะไรบ้างในวันนี้ ทำประโยชน์ต่อวัดวาอารามตรงไหน กิจวัตรอย่างไร เรารู้ตัวของเรา แจ้งแก่ใจทุกรูปทุกนามแล้ว ไม่มีใครตีตราให้ท่าน ท่านต้องตีตราของท่านเองนะ เรือจะออกระวัง เรือจะจอดระวัง แต่วิ่งเสียแล้วมันก็ไม่เป็นไร เหมือนเครื่องบิน เวลาจะขึ้นจะลงต้องรัดเข็มขัด การบวชนี้ก็เช่นเดียวกัน จะบวชจะสึกต้องดูให้ดีนะ คิดให้ยาว จะอยู่แค่หัวบันไดหรือประการใด โปรดท่องคำคมนี้ไว้ จะเห็นสั้นดีกว่ายาว หรือเห็นยาวดีกว่าสั้น ต้องคิดแล้วคิดอีกนะ ใน โยนิโสมนสิการ นี้ ผมยังไม่เคยเห็นใครแผ่เมตตาได้ผลเป็นตัวหนังสือเลยนะ ลมหายใจเข้าออกนี่เป็นตัวหนังสือได้ จะสอนครูกรรมฐานก็ยังทำกันไม่ได้ ยืนหนอ ๕ ครั้งก็ทำกันไม่ได้ ยังเคลือบแคลงสงสัยว่าตรงไหนเป็นอะไร ขอเรียนถวายว่า การแผ่เมตตานี่สำคัญมาก
    เวลาเราสวดมนต์ตั้งแต่ โยโสภควา... อรหัง
     
  18. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    http://www.larnbuddhism.com/tripitaka/prasuttanta/k17.html

    [​IMG]


    <CENTER>[COLOR=darkgold,direction=-35);]เล่มที่ ๒๕ ชื่อขุททกนิกาย [/COLOR]</CENTER><CENTER>[COLOR=darkgold,direction=-35);]( เป็นสุตตันตปิฎก เล่ม ๑๗)[/COLOR]</CENTER><CENTER>ขุททกปาฐะ, ธัมมปทาคาถา, อุทาน, อิติวุตตกะ, สุตตนิบาต.</CENTER>


    เล่ม ๒๕ นี้เป็นเล่มแรกของขุททกนิกาย หรือหมวดเบ็ดเตล็ด. ได้กล่าวแล้วในตอนแรกว่า ขุททกนิกาย หรือหมวดเบ็ดเตล็ดนี้ เริ่มตั้งแต่เล่มที่ ๒๕ ถึงเล่มที่ ๓๓ รวม ๙ เล่ม ว่าด้วยหัวข้อใหญ่ รวม ๑๕ เรื่อง ( ดูหน้าความรู้เรื่องพระไตรปิฎก ) หัวข้อสุตตันตปิฎกและข้อสังเกตท้ายสุตตันตปิฎก เฉพาะเล่มที่ ๒๕ นี้ มีหัวข้อใหญ่รวมอยู่ถึง ๕ เรื่อง คือ :-
    ๑. ขุททกปาฐะ บทสวดเล็ก ๆ น้อย ๆ.
    ๒. ธัมมปทคาถา หรือเรียกสั้น ๆ ว่า ธรรมบท แปลว่า บทแห่งธรรม ว่าด้วยสุภาษิตสั้น ๆ ประมาณ ๓๐๐ หัวข้อ.
    ๓. อุทาน ว่าด้วยพระพุทธภิษที่ทรงเปล่งออกมาปรารภเหตุการณ์นั้น ๆ.
    ๔. อิติวุตตกะ ว่าด้วยถ้อยคำที่อ้างอิงว่าเป็นภาษิตของพระผู้มีพระภาค.
    ๕. สุตตนิบาต ว่าด้วยชุมนุมพระสูตรเบ็ดเตล็ด.

    <CENTER>[COLOR=darkgold,direction=-35);]๑. ขุททกปาฐะ [/COLOR]</CENTER>
    <CENTER>บทสวดเล็ก ๆ น้อย ๆ</CENTER>


    แบ่งออกเป็น ๙ ส่วน คือ :-

    ๑. สรณคมนะ ( การถึงสรณะ ) เป็นบทสวดถึงพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ เป็น ที่พึ่งที่ระลึกรวม ๓ ครั้ง ( พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ ถึง ตติยมฺปิ สงฺฆํ สรณํ คจฺฉามิ ).
    ๒. ทสสิกขาบท (สิกขาบท ๑๐) เป็นบทสมาทานศีล ( สำหรับสามเณร ) คือเว้นจากการฆ่า สัตว์, ลักทรัพย์, ประพฤติล่วงพรหมจรรย์, พูดปด, ดื่มสุราเมรัย, บริโภคอาหารในเวลากาล;( เที่ยงแล้วไปจนถึงเวลารุ่งอรุณ ), ฟ้อนรำขับร้อง ประโคมดูการเล่น, ทัดทรงระเบียบดอกไม้ของหอม ตกแต่งประดับประดา, ที่นั่งที่นอนสูงใหญ่, รับทองและเงิน.
    ๓. อาการ ๓๒ คือ ผม, ขน, เล็บ, ฟัน, หนัง, เนื้อ, เอ็น, กระดูก, เยื่อในกระดูก, ม้าม, หัวใจ, ตับ, พังผืด, ไต, ปอด, ใส้ใหญ่, ใส้น้อย, อาหารใหม่, อาหารเก่า, ดี, เศลษม์, หนอง, เลือด, เหงื่อ, มันข้น, น้ำตา, เปลวมัน, น้ำลาย, น้ำมูก, ไขข้อ, มูตร, มันสมอง.
    ๔. ปัญหาของสามเณร อะไรชื่อว่าหนึ่ง ? สัตว์เป็นอยู่ได้ด้วยอาหาร. อะไรชื่อว่าสอง ? นามและรูป ฯ ล ฯ ( ดูข้อความหน้าพระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๖ หน้า ๑ ซึ่งมี ๑๐ ข้อ ) ในข้อหมายเลขที่ ๓.
    ๕. มงคลสูตร เล่าเรื่องของพระผู้มีพระภาคตรัสตอบปัญหาของเทวดา ผู้มาถามว่าอะไรเป็น มงคล โดยตรัสชี้ไปที่ข้อประพฤติปฏิบัติทั้งสิ้น รวม ๓๗ ประการ<SUP></SUP> มิได้ทรงชี้ไปที่มงคลภายนอก หรือโชคลางอะไรเลย ดังต่อไปนี้ :-
    ๑. ไม่คบพาล ๒. คบบัณฑิต ๓. บูชาผู้ควรบูชา ๔. อยู่ในประเทศอันสมควร ๕. เคยทำบุญไว้ในกาลก่อน ๖. ตั้งตนชอบไว้ ๗. สดับตรับฟังมาก ๘. ศิลปะ ๙. ศึกษาวินัยดี ๑๐. วาจาเป็นสุภาษิต ๑๑. บำรุงบิดามารดา ๑๒. สงเคราะห์บุตรภริยา ๑๓. การงานไม่อากูล ๑๔. ให้ทาน ๑๕. ประพฤติธรรม ๑๖. สงเคราะห์ญาติ ๑๗. การงานที่ไม่มีโทษ ๑๘. เว้นจากบาป ๑๙. สำรวมจาก การดื่มน้ำเมา ๒๐. ไม่ประมาทในธรรม ๒๑. เคารพ ๒๒. เจียมตัว ๒๓. สันโดษ ( ยินดีด้วยของของตน ) ๒๔. รู้คุณท่าน ๒๕. ฟังธรรมตาม กาล ๒๖. อดทน ๒๗. ว่าง่าย ๒๘. เห็นสมณะ ๒๙. สนทนาธรรมตามกาล ๓๐. ตบะ ( ความเพียร ) ๓๑. ประพฤติพรหมจรรย์ ๓๒. เห็น อริยสัจจ์ ๓๓. ทำให้แจ้งซึ่งพระนิพพาน ๓๔. จิตไม่หวั่นไหวเมื่อถูกต้องโลกธรรม ๓๕. จิตไม่เศร้าโศรก ๓๖. จิตปราศจากธุลี ๓๗. จิตเกษม ( ปลอดโปร่งจากกิเลส ).
    ๖. รตนสูตร เป็นบทสวดพรรณนาคุณพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ และอ้างสัจจวาจา อำนวยสวัสดิมงคล.
    ๗. ติโรกุฑฑกัณฑ์ ในที่บางแห่งเรียกติโรกุฑฑสูตร คำว่า กัณฑ์ ก็แปลว่า หมวด ติโรกุฑฑะ แปลว่า " นอกฝา " เป็นเรื่องพรรณนาถึงผู้ล่วงลับไปแล้วว่า การอุทิศส่วนกุศลไปให้ ย่อมเข้าถึงคือสำเร็จแก่ผู้ล่วงลับเหล่านั้นโดย ควรแก่ฐานะ.
    ๘. นิธิกัณฑ์ ว่าด้วยเรื่องขุมทรัพย์ การฝังทรัพย์ไว้ในดินไม่ยั่งยืน อาจถูกคนลักขุดไป หรือ ดินเลื่อนเคลื่อนที่ไป หรือฝังแล้วจำไม่ได้ เมื่อสิ้นบุญ สิ่งทั้งหมดนั้นก็พินาศ แต่ขุมทรัพย์คือบุญ ( อันเกิดแต่การบำเพ็ญคุณงามความดี ) เป็น ขุมทรัพย์ที่ใครจะช่วงชิงไม่ได้ เป็นของติดตัวไปเสมอ และอาจให้สำเร็จประสงค์ตั้งแต่อย่างต่ำถึงอย่างสูง.
    ๙. กรณียเมตตสูตร พรรณนาถึงการแผ่เมตตาไปในสัตว์ทุกประเภทให้มีความสุขทั่วหน้ากัน.

    <CENTER>[COLOR=darkgold,direction=-35);]๒. ธัมมปทคาถา หรือธัมมบท [/COLOR]</CENTER>
    <CENTER>ว่าด้วยบทแห่งธรรม</CENTER>


    ได้กล่าวแล้วว่า ธัมมบท ( หรือเขียนว่าธรรมบทก็ได้ ) หมายถึงสุภาษิตสั้น ๆ ประมาณ ๓๐๐ ข้อ และได้แปลไว้เป็น อย่างแล้วในหน้าข้อความน่ารู้จากไตรปิฎก หมายเลข ๙๗.-๑๒๕ รวมหลายสิบข้อ ในที่นี้จะนำข้อความที่ไม่ซ้ำกันมา แปลไว้เป็นตัวอย่างอีก ๑๐ ข้อ คือ :-
    ๑. ไม่พึงมองดูความผิดพลาดของคนอื่น หรือมองดูสิ่งที่เขาทำหรือมิได้ทำ พึงมองดูแต่สิ่งที่ตนทำแล้ว หรือยัง มิได้ทำเท่านั้น.
    ๒. ดอกไม้ที่น่าชอบใจ มีสี แต่ไม่มีกลิ่น ก็เหมือนวาจาสุภาษิต ย่อมไม่มีผลแก่ผู้ไม่ทำตาม.
    ๓. ในมนุษย์ทั้งหลาย คนที่ถึงฝั่งมีน้อย คนนอกนี้วิ่งเลาะไปตามชายฝั่ง ( ข้างนี้ ) เท่านั้น.
    ๔. คนไม่มีศรัทธา, ไม่กตัญญู, ตัดช่อง ( เข้าขโมย ), มีโอกาศอันถูกขจัด, หมดหวัง, ผู้นั้นเป็นบุรุษผู้สูงสุด. ( เป็น คำกล่าว ดัดแปลงคำด่าให้เป็นคำดี คำว่า ไม่มีศรัทธา ในทางที่ดี ควรแปลว่า " ไม่เชื่อง่าย " คือพยายามทำให้ประจักษ์ในผลความดี ด้วยตนเองจนไม่ต้องเชื่อผู้อื่น, ไม่กตัญญู หรืออตัญญู แปลในทางดีว่า ผู้รู้นิพพาน ซึ่งไม่มีสิ่งใด ๆ หรือใครมาทำมาสร้างได้, ตัดช่อง ( เข้าขโมย ) แปลจากคำว่า สันธิจเฉทะ ซึ่งอาจแปลในทางที่ดีได้ว่า ตัดที่ต่อคือวัฏฏะ หรือการเวียนว่ายตายเกิดไม่ต้องเกิด อีก. มีโอกาสถูกขจัด แปลในทางดีได้ว่า หมดโอกาสที่จะเกิดอีก เพราะหมดพืชคือกุศลกรรมและอกุศลกรรมแล้ว หมดหวังหรือ คายความหวัง อาจจะตีความได้ว่า เมื่อได้บรรลุสิ่งที่สูงสุดแล้ว ก็ไม่จำเป็นจะต้องคอยมุ่งหวังอะไรต่อไปอีก. เรื่องเหล่านี้เป็นตัวอย่างใน ทางมองแง่ดี จากคำเยาะเย้ยถากถางของคนที่มุ่งร้าย ).
    ๕. ผู้ใดประทุษร้ายต่อคนผู้มิได้ประทุษร้าย ซึ่งเป็นผู้บริสุทธิ์ ไม่มีกิเลส บาปย่อมสนองคนพาลนั้นเหมือนฝุ่นที่ ซัดไปทวนลม.
    ๖. คนเลี้ยงโคใช้ท่อนไม้ต้อนโคไปสู่ที่หากินฉันใด ความแก่และความตาย ย่อมต้อนอายุของสัตว์ทั้งหลายไปฉัน นั้น.
    ๗. ร่าเริงอะไรหรือหรือชื่นใจอะไรกัน ในเมื่อโลกลุกเป็นไฟอยู่เป็นนิตย์ ท่านทั้งหลายถูกความมืดห่อหุ้มแล้ว ไฉน จึงไม่แสวงหาดวงประทีป.
    ๘. ความหิวเป็นโรคอย่างยิ่ง สังขาร ( สิ่งที่ปัจจัยปรุงแต่ง ) เป็นทุกข์อย่างยิ่ง รู้ความจริงข้อนี้แล้วดับทุกข์ได้เป็นสุขอย่างยิ่ง.
    ๙. อตุละเอย ! การนินทานี้เป็นของเก่า มิใช่ของดุจมีในวันนี้ คนนั่งนิ่งก็ถูกนินทา คนพูดมากก็ถุกนินทา คนพูด พอประมาณก็ถูกนินทา คนไม่ถูกนินทาไม่มีในโลก.
    ๑๐. ไฟเสมอด้วยราคะไม่มี เคราะห์เสมอด้วยโทสะไม่มี ข่ายเสมอด้วยโมหะไม่มี แม่น้ำเสมอด้วยตัณหาไม่มี.
    มีคำสรุปว่า ในธรรมบทมีคาถา คำฉันท์ ) ๔๒๓ บท ( บางเรื่องและบางหัวข้อ อาจประกอบด้วยคำฉันท์หลายบท เพราะฉะนั้น ที่กล่าวว่าประมาณ ๓๐๐ หัวข้อ จึงหมายเฉพาะเนื้อเรื่อง ).

    <CENTER>[COLOR=darkgold,direction=-35);]๓. อุทาน [/COLOR]</CENTER>


    (พระอรรถกถาจารย์อธิบายเรื่องการจัดระเบียบไว้ว่า อุทานนี้มี ๘ วรรค กล่าวโดยสูตรประมาณ ๘๐ สูตร กล่าว โดยคาถา ( คำฉันท์ ) มี ๙๕ บท ).
    ใจความสำคัญในเรื่องอุทานก็คือ เมื่อมีเหตุการณ์อะไรเกิดขึ้น พระผู้มีพระภาคทรงปรารภเหตุการณ์นั้น ๆ ก็ทรงเปล่ง อุทานเป็นข้อธรรมอันมีเนื้อหาเป็นคำสั่งสอน ในที่นี้จะเลือกแปลบทอุทานใน ๘ วรรคนั้น วรรคละ ๒ เรื่อง รวมเป็น ๑๖ เรื่อง ( จาก ๘๐ เรื่อง ) ดังต่อไปนี้ :-
    <CENTER>๑. โพธิวรรค ว่าด้วยการตรัสรู้</CENTER>


    ๑. ทรงเปล่งอุทานในราตรีแรกแห่งการตรัสรู้
    ในยามที่ ๑ " ในกาลใด ธรรมทั้งหลายปรากฏแก่พราหมณ์ผู้มีความเพียรเพ่งอยู่ ใน กาลนั้น ความสงสัยทั้งปวงของพราหมณ์นั้น ย่อมสิ้นไป เพราะรู้ธรรมพร้อมทั้งเหตุ. "
    ในยามที่ ๒ " ในกาลใด ธรรมทั้งหลายปรากฏแก่พราหมณ์ผู้มีความเพียรเพ่งอยู่ ใน กาลนั้น ความสงสัยทั้งปวงของพราหมณ์นั้น ย่อมสิ้นไป เพราะได้รู้ความสิ้นไปแห่งปัจจัย. "
    ในยามที่ ๓ " ในกาลใด ธรรมทั้งหลายปรากฏแก่พราหมณ์ผู้มีความเพียรเพ่งอยู่ พราหมณ์นั้นย่อมกำจัดมารพร้อมทั้งเสนาเสียได้ เหมือนดวงอาทิตย์กำจัดความมืดทำท้องฟ้าให้สว่างฉะนั้น. "
    ๒. ทรงเปล่งอุทาน ปรารภพระสังคามชิผู้ไม่เยื่อใยในอดีตภริยา
    " ผู้ใดไม่ยินดีผู้ที่มา ไม่เศร้าโศกถึงผู้ที่ไป เรากล่าวถึงผู้นั้น ซึ่งเป็นผู้ชนะสงคราม ผู้พ้นจากความข้อง ว่าเป็น พราหมณ์.
    <CENTER>๒. มุจจลินทวรรค ว่าด้วยเหตุการณ์ที่ต้นจิก</CENTER>


    ๑. ทรงเปล่งอุทานที่ใต้ต้นจิก
    " ความสงัดของบุคคลผู้ยินดี ผู้สดับธรรม ผู้เห็นด้วยปัญญา เป็นสุข. ความไม่เบียดเบียน คือ ความสำรวมในสัตว์ ทั้งหลาย เป็นสุขในโลก. ความปราศจากราคะ คือความก้าวล่วงกามทั้งหลาย เป็นสุขในโลก. การนำออกเสียซึ่งอัสมิมานะ ( ความถือตัวว่าเรา เป็นนั่นเป็นนี่ ) เป็นสุขอย่างยิ่ง. "
    ๒. ทรงเปล่งอุทาน ณ เชตวนารม กรุงสาวัตถี ปรารภคำสนทนาของภิกษุทั้งหลาย " ความสุขทางกามอันใดในโลก และความสุขใดอันเป็นทิพย์ ความสุขทั้งหมดนั้น ย่อมไม่ถึงเสี้ยวที่ ๑๖ แห่งความ สุขเพราะสิ้นตัณหา ( ความทพยานอยาก ). "
     
  19. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    http://www.larnbuddhism.com/tripitaka/prasuttanta/k17.html

    <CENTER>๓. นันทวรรค ว่าด้วยพระนันทะ</CENTER>


    ๑. ทรงเปล่งอุทานปรารภพระนันทะ ( ผู้เป็นพระอนุชาต่างพระมารดา )
    " ผู้ใดข้ามหล่มกามได้ ย่ำยีหนามคือกามได้ บรรลุความสิ้นไปแห่งความหลง ผู้นั้นเป็นผู้เห็นภัย ( ภิกษุ ) ย่อมไม่หวั่น ไหวในสุขและทุกข์. "
    ๒. ทรงเปล่งอุทานปรารภพระปิลินทวัจฉะ ( ผู้พูดไม่ไพเราะเพราะเคยปาก )
    " ผู้ใดไม่มีมายา ไม่มีความถือตัว สิ้นความโลภ ไม่ยึดว่าอะไรเป็นของเรา ปราศจากความหวัง บันเทาความโกรธ ดับอัตตาเสียได้ ผู้นั้นเป็นพราหมณ์ เป็นสมณะ เป็นภิกษุ.. "
    <CENTER>๔. เมฆิยวรรค ว่าด้วยพระเมฆิยะ</CENTER>


    ๑. ทรงเปล่งอุทาน ปรารภพระเมฆิยะ
    " ความความตรึกที่เลว ( กามวิตก ) ความตรึกที่ละเอียดอ่อน ( ปรารภญาติ, ชนบท, ลาภ, สักการะ เป็นต้น ) ที่ ติดตามไป ที่ทำจิตให้ผิดปกติ ผู้มีจิตหมุนไป ไม่รู้ความตรึกแห่งใจเหล่านี้ ยอมแล่นไป ๆ มา ๆ ( ในอารมณ์ มีรูป เสียง เป็นต้น ). แต่ผู้รู้ความ ตรึกแห่งใจเหล่านี้ มีความเพียร มีสติสำรวม ย่อมเป็นผู้ตรัสรู้ ละความตรึกเหล่านั้นที่ติดตามไป ที่ทำใจให้ผิดปกติได้โดยไม่เหลือ. "
    ๒. ทรงเปล่งอุทาน ปรารภพระอุปเสนาวังคันตบุตร
    " ผู้ใดไม่เดือดร้อนต่อชีวิต ไม่เศร้าโศกเมื่อจะตาย ผู้นั้นแลเป็นนักปราชญ์ เป็นผู้เห็นบท ( แห่งธรรม ) ย่อมไม่เศร้าโศก ในท่ามกลางแห่งโศก. ภิกษุถอนความทะยานอยากในภพได้ มีจิตสงบ สิ้นความท่องเที่ยวสู่ความเกิด ย่อมไม่มีความเกิดอีก. "
    <CENTER>๕. โสณัตเถรวรรค ว่าด้วยพระโสณเถระ</CENTER>


    ๑. ทรงเปล่งอุทาน ปรารภพระราชดำรัสของพระเจ้าปเสนทิโกศล และพระนางมัลลิกา
    " บุคคลเอาใจตรวจดูทั่วทุกทิศแล้ว ไม่พบคนอื่นซึ่งเป็นที่รักยิ่งกว่าตนในที่ไหน ๆ คนอื่นก็รักตนอย่างยิ่งเช่นเดียวกัน เพราะเหตุนั้น ผู้ใคร่ความสุขแก่ตน จึงไม่ควรเบียดเบียนผู้อื่น. "
    ๒. ทรงเปล่งอุทาน ปรารภพระเทวทัตผู้ทำลายสงฆ์ให้แตกกัน
    " ความดีคนดีทำได้ง่าย คนชั่วทำได้ยาก ความชั่วคนชั่วทำง่าย แต่คนที่ประเสริฐทำได้ยาก. "
    <CENTER>๖. ชัจจันทวรรค</CENTER>
    <CENTER>ว่าด้วยอุปมาด้วยคนตาบอดแต่กำเนิด</CENTER>


    ๑. ทรงเปล่งอุทาน ปรารภพระเจ้าปเสนทิโกศล
    " ไม่พึงพยายามในความชั่วทุกอย่าง, ไม่พึงเป็นคนของคนอื่น ( ควรเป็นตัวของตัวเอง ), ไม่พึงอาศัยผู้อื่นดรงชีวิต, ไม่พึงประพฤติธรรมให้มีแผล. "
    ๒. ทรงเปล่งอุทาน ปรารภนักบวชนอกศาสนาที่เถียงทะเลาะกัน เพราะเห็นต่าง ๆ กัน
    " สมณพราหมณ์บางพวกย่อมติดอยู่ในทิฏฐิเหล่านี้ เป็นคนมีความเห็นแง่เดียว ย่อมทะเลาะวิวาทกัน. "
    <CENTER>๗. จูฬวรรค ว่าด้วยภิกษุผู้ร่างเล็ก</CENTER>


    ๑. ทรงเปล่งอุทาน ปรารภพระภัททิยะผู้ค่อม
    " ผู้ใดหลุดพ้นในเบื้องบน เบื้องต่ำ ในที่ทั้งปวง ไม่ตามเห็นว่าเราเป็นนั่นเป็นนี่ ผู้หลุดพ้นอย่างนี้ ได้ข้ามแล้วซึ่งโอฆะ ( ห้วงน้ำ ) ที่ยังไม่เคยข้าม เพื่อความไม่เกิดอีก. "
    ๒. ทรงเปล่งอุทาน ปรารภมนุษย์ผู้ติดอยู่ในกาม
    " ผู้บอดเพราะกาม ติดอยู่ในข่าย ( คือตัณหา ) ถูกเครื่องปกปิดคือตัณหาปกปิดไว้ ถูกพญามารผู้ผูกมัดสัตว์ผู้ประมาท ผูกไว้แล้ว ย่อมเป็นเหมือนปลาเข้าไปในปากไซ ย่อมถึงความแก่และความตาย เหมือนลูกโคยังดื่มนม วิ่งเข้าหาแม่. "
    <CENTER>๘. ปาฏลิคามิวรรค ว่าด้วยอุบาสกชาวปาฏลิคาม</CENTER>


    ๑. ทรงเปล่งอุทาน ปรารภพระนิพพาน
    " ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ! อายตนะนั้นมีอยู่ คืออายตนะที่ไม่มีดิน, น้ำ, ไฟ, ลม, อากาสานัญจายตนะ, วิญญาณัญจาตนะ,. อากิญจัญญาตนะ, เนวสัญญานาสัญญายตนะ, ไม่มีโลกนี้, ไม่มีโลกอื่น, ไม่มีพระจันทร์, พระอาทิตย์ทั้งสอง. เราไม่กล่าวถึงอายตนะนั้น ว่า เป็นการมา, การไป, การตั้งอยู่, การจุติ ( เคลื่อน ), การอุปบัติ ( เข้าถึงหรือเกิด ), อายตนะนั้น ไม่มีที่ตั้ง, ไม่มีความเป็นไป,ไม่มีอารมณ์. นั่น แหละเป็นที่สุดแห่งทุกข์. "
    ( หมายเหตุ : คำอธิบายพระนิพพานในรูปปฏิเสธเช่นนี้ บางท่านอาจฉงนว่าจะมีประโยชน์หรือมีความมาย อย่างไร ขอตอบว่า อย่าว่าแต่พระนิพพานซึ่งเป็นธรรมะอันสูงยิ่ง จะอธิบายได้ยากเลย แม้เรื่องง่าย ๆ ในโลกนี้ เช่น สีขาว สีเขียว ถ้าจะให้ อธิบาย ก็พูดไม่ถูกเหมือนกัน บางครั้งก็ต้องอาศัยสำนวนปฏิเสธหรือชี้ให้ดู พระนิพพานก็เช่นกัน ผู้บรรลุด้วยตนเองก็ไม่มีปัญหา ส่วนผู้ยังมิได้ บรรลุ ก็ต้องอธิบายว่า ไม่เป็นอย่างที่เขานึกกันอย่างโลก ๆ )
    ๒. ทรงเปล่งอุทาน ปรารภนายจุนทะ กัมมารบุตร
    " บุญย่อมเจริญแก่ผู้ให้ เวรของผู้สำรวมย่อมไม่ถูกก่อขึ้น ผู้ฉลาดย่อมละความชั่ว ปรินิพพาน เพราะสิ้นราคะ, โทสะ, โมหะ. "

    <CENTER>[COLOR=darkgold,direction=-35);]๔. อิติวุตตกะ [/COLOR]</CENTER>
    <CENTER>ว่าด้วยข้อความที่พระผู้มีพระภาคตรัสไว้อย่างนี้</CENTER>


    อิติวุตตกะนี้ แบ่งออกเป็น ๔ นิบาต ( ชุมนุมธรรมะ ๔ ส่วน ) คือเป็นเอกนิบาต ( ชุมนุมธรรมะที่มี ๑ ข้อ ) ๒๗ สูตร, เป็นทุกนิบาต ( ชุมนุมธรรมะที่มี ๒ ข้อ ) ๒๒ สูตร, เป็นติกนิบาต ( ชุมนุมธรรมะที่มี ๓ ข้อ ) ๕๐ สูตร, เป็นจตุกกนิบาต ( ชุมนุม ธรรมะที่มี ๔ ข้อ ) ๑๓ สูตร, รวมทั้งสิ้นจึงมี ๑๑๒ สูตร.<SUP></SUP> ในการย่อจะเลือกย่อนิบาตละ ๕ สูตร ดังต่อไปนี้:-

    <CENTER>เอกนิบาต ชุมนุมธรรมะที่มี ๑ ข้อ</CENTER>


    ๑. ข้าพเจ้า ( พระอานนท์ ) ได้สดับว่า พระผู้มีพระภาคผู้อรหันต์ได้ตรัสคำนี้ไว้ คือ " ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ! ท่านทั้ง หลายจงละธรรมอย่างหนึ่ง เราเป็นผู้ประกันพวกเธอให้ได้ความเป็นพระอนาคามี ธรรมอย่างหนึ่งนั้น คือ ความโลภ. " ตรัสทำนอง เดียวกันนี้ ถึงโทสะ ( ความคิดประทุษร้าย ), โมหะ ( ความหลง ), ความโกรธ, มักขะ ( ลบหลู่บุญคุณท่าน ), มานะ ( ความถือตัว ).
    ๒. ข้าพเจ้า ( พระอานนท์ ) ได้สดับว่า พระผู้มีพระภาคผู้อรหันต์ได้ตรัสคำนี้ไว้ คือ " ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ! ผู้ ไม่รู้ยิ่ง ไม่กำหนดรู้สิ่งทั้งปวง ไม่ทำจิตให้คลายความกำหนัดในสิ่งนั้น ไม่ละสิ่งนั้น ก็ไม่ควรจะสิ้นทุกข์ได้ " และได้ตรัสทำนองเดียวกันนี้ ถึงเรื่องมานะ, โลภะ, โทสะ, โมหะ, ความโกรธ, ความลบหลู่บุญคุณท่าน.
    ๓.<SUP></SUP> " ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ! เราไม่เห็นนีวรณ์ ( ธรรมเครื่องกั้นจิตมิให้บรรลุ คุณความดี ) อื่นแม้ข้อหนึ่ง ที่สัตว์ถูกนีวรณ์นั้นหุ้มห่อแล้ว ย่อมแล่นไป ท่องเที่ยวไปตลอดกาลนาน เหมือน นีวรณ์ คืออวิชชา ( ความ ไม่รู้ ) เลย. "
    ๔. " ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ! เราไม่เห็นเครื่องร้อยรัดอื่นแม้ข้อหนึ่ง ที่สัตว์ถูกร้อยรัดแล้ว ย่อมแล่นไปท่องเที่ยวไปตลอด กาลนาน เหมือนเครื่องร้อยรัด คือ ตัณหา ( ความทะยานอยาก ) เลย. "
    ๕. " ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ! เราไม่เห็นองค์ ( องคคุณ ) อื่นแม้ข้อหนึ่ง ที่เป็นองค์ภายในของภิกษุผู้ยังศึกษา ผู้ยังมิได้ บรรลุอรหัตตผล ปรารถนาธรรมอันเกษม ( ปลอดโปร่ง ) จากโยคะ<SUP></SUP> อันยอดเยี่ยม, อันเป็นองค์ ที่มีอุปการะมาก เหมือน โยนิโสมมนสิการ ( การใส่ใจหรือการพิจารณาโดยแยบคาย ) นี้เลย. " ( องค์ภายนอกตรัสถึงการคบเพื่อนที่ ดีงาม ).

    <CENTER>ทุกนิบาต ชุมนุมธรรมะที่มี ๒ ข้อ</CENTER>


    ๑. " ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๒ อย่างแล้ว ย่อมอยู่เป็นทุกข์ ข้องขัดเดือดร้อนในปัจจุบัน ตายไปแล้วก็หวังทุคคติ ( ที่ไปอันชั่ว ) ได้. ธรรม ๒ อย่าง คือ ความไม่สำรวมอินทรีย์<SUP></SUP> กับ ความไม่รู้ประมาณในโภชนะ คืออาหารที่กินเข้าไป. " ( ฝ่ายดีคือที่ตรงกันข้าม ).
    ๒. " ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ! ธรรมะ ๒ อย่างเหล่านี้ ทำความเดือดร้อนให้ คือบุคคลบางคนในโลกนี้ ไม่ทำความ ดี, ทำความชั่วไว้ ผู้นั้นย่อมเดือดร้อนว่า เรามิได้ทำความดีไว้, ย่อมเดือดร้อนว่า เราได้ทำความชั่วไว้. " ( ธรรมะที่ไม่ทำความเดือดร้อนให้ คือที่ตรงกันข้าม ).
    ๓. " ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ! บุคคลประกอบด้วยธรรม ๒ อย่าง ย่อมเหมือนถูกนำไปตั้งไว้ในนรก ธรรมะ ๒ อย่าง คือ ศีลอันชั่ว, ทิฏฐิ ( ความเห็น ) อันชั่ว. " ( ฝ่ายดีคือที่ตรงกันข้าม คือศีลอันดีงาม ทิฏฐิอันดีงาม ).
    ๔. " ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ! ภิกษุผู้ ไม่มีความเพียร ไม่มีความเกรงกลัว ( ต่อบาป ) เป็นผู้ไม่ควรเพื่อตรัสรู้ เพื่อนิพพาน เพื่อบรรลุธรรมอันปลอดโปร่งจากโยคะอันยอดเยี่ยม. ภิกษุผู้มีความเพียร มีความเกรงกลัว ( ต่อบาป ) จึงเป็นผู้ควรเพื่อตรัสรู้ เพื่อ นิพพาน เพื่อบรรลุธรรมอันปลอดโปร่งจากโยคะอันยอดเยี่ยม. " ( ฝ่ายดีคือที่ตรงกันข้าม ).
    ๕. " ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ! ความตรึก ( วิตก ) ๒ อย่าง ย่อมมาสู่พระตถาคตอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าโดยมาก คือ ความตรึกอันเกษม ( ไม่เบียดเบียน ) และ ความตรึกอันสงัด ( จากอกุศลธรรม ). ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ! ตถาคตมีความไม่ เบียดเบียนเป็นที่มายินดี ยินดีในความไม่เบียดเบียน ความตรึกข้อนี้ จึงมาสู่ตถาคตผู้ยินดีในความไม่เบียดเบียนโดยมากว่า เราย่อมไม่เบียดเบียน ใคร ๆ ด้วยการกระทำนี้ ไม่ว่าจะยังเป็นผู้สะดุ้งดิ้นรน ( ด้วยกิเลส ) หรือว่าเป็นผู้ถาวร ( ไม่ดิ้นรนเพราะกิเลสได้แล้ว ). ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ! ตถาคตมีความสงัดเป็นที่มายินดี ยินดีในความสงัด. ความตรึกข้อนี้ จึงมาสู่ตถาตคผู้ยินดีในความสงัดโดยมากว่า เราละอกุศลได้แล้ว. เพราะ เหตุนั้นแล ท่านทั้งหลายพึงอยู่อย่างยินดีในความไม่เบียดเบียน ยินดีในความสงัดเถิด. "

    <CENTER>ติกนิบาต ชุมนุมธรรมะที่มี ๓ ข้อ</CENTER>


    ๑. " ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ! ธาตุ ๓ อย่างเหล่านี้ คือ รูปธาตุ ( ธาตุคือรูป ), อรูปธาตุ ( ธาตุคือสิ่งที่ ไม่มีรูป ), " ( ฝ่ายดีคือที่ตรงกันข้าม ) นิโรธธาตุ ( ธาตุคือนิโรธความดับ ). "
    ๒. " ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ! การแสวงหา ๓ อย่างเหล่านี้ คือ กาเมสนา ( การแสวงหากาม ), ภเวสนา( การแสวงหาภพ คือความมีความเป็น ), พรหมจริยสนา ( การแสวงหพรหมจรรย์ ). "
    ๓. " ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ! จักษุ ๓ อย่างเหล่านี้ คือ มังสจักษุ ( ตาเนื้อ ), ทิพพจักษุ ( ตาทิพย์), ปัญญาจักษุ ( ตาปัญญา ). "
    ๔. " ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ! นิสสรณิยธาตุ ( ธาตุคือความแล่นออก หรือความพ้นไป ) ๓ ประการ คือ เนกขัมมะ ( การออกจากกาม ) เป็นความพ้นไปแห่งกามทั้งหลาย, อารุปปะ ( ความเป็นของไม่มีรูป ) เป็นความพ้นไปแห่งรูปทั้งหลาย, นิโรธ ( ความดับ ) เป็นความพ้นไปแห่งสิ่งที่ปัจจัยปรุงแต่ง เกิดขึ้นเพราะอาศัยปัจจัย. "
    ๕. " ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ! บุคคล ๓ ประเภท มีอยู่ในโลก คือ ๑. บุคคลที่เสมอด้วยฝนที่ไม่ตก ๒. บุคคลที่ เหมือนฝนตกเฉพาะแห่ง ๓. บุคคลที่เหมือนฝนตกทุกแห่ง ( ตรัสอธิบายต่อไปว่า ผู้ไม่ให้ทานเลย เปรียบเหมือนฝนไม่ตก, ผู้ให้ทานแก่บาง คน ไม่ให้แก่บางคน เปรียบเหมือนฝนตกเฉพาะแห่ง, ผู้ให้ทานแก่ทุกคน คือแก่สมณะ, พราหมณ์, คนกำพร้า, คนเดินทาง, วณิพพก,<SUP> </SUP>ยาจก เปรียบเหมือนฝนตกทุกแห่ง ). "

    <CENTER>จตุกกนิบาต ชุมนุมธรรมะที่มี ๔ ข้อ</CENTER>


    ๑. " ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ! ของที่เล็กน้อยด้วย หาง่ายด้วย ไม่มีโทษด้วย มี ๔ อย่าง คือ ผ้าเปื้อนฝุ่น ( เศษ ผ้าที่เที่ยวเก็บตกในที่นั้น ๆ ), อาหารที่หามาด้วยลำแข้ง ( ที่เที่ยวบิณฑบาตได้มา ), โคนไม้, ยาดองด้วยน้ำมูตรเน่า. ตราบเวลาที่ภิกษุยินดีด้วยของเล็กน้อย อันหาได้ง่าย อันไม่มีโทษ เราย่อมกล่าวความยินดีนั้นว่า เป็นองค์ของความเป็นสมณะแต่ละข้อของ ภิกษุนี้. "
    ๒. " ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ! เราย่อมกล่าวถึงความสิ้นไปแห่งอาสวะ ( กิเลสที่ดองสันดาน ) ของผู้รู้ผู้เห็น ไม่กล่าว สำหรับผู้ไม่รู้ไม่เห็น คือ รู้ทุกข์, เหตุให้ทุกข์เกิด, ความดับทุกข์, ข้อปฏิบัติให้ถึงความดับทุกข์. "
    ๓. " ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ! สมณพราหมณ์เหล่าใดไม่รู้ทุกข์, เหตุให้ทุกข์เกิด, ความดับทุกข์, ข้อปฏิบัติให้ถึงความ ดับทุกข์ ตามเป็นจริง. สมณพราหมณ์เหล่านั้นย่อมเป็นเพียง สมณสมมต, พราหมณสมมต ; ไม่ทำให้แจ้งซึ่ง ประโยชน์ของความ เป็นสมณะ, ประโยชน์ของความเป็นพราหมณ์ ด้วยความรู้ยิ่งอยู่ในปัจจุบัน. " ( ฝ่ายดีทรงแสดงตรงกันข้าม ).
    ๔. " ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ! ความเกิดขึ้นแห่งตัณหา ๔ อย่างเหล่านี้ คือความเกิดขึ้นแห่งตัณหาเพราะเหตุแห่งจีวร ( ผ้านุ่งห่ม ), อาหาร ( บิณฑบาต ), ที่อยู่อาศัย ( เสนาสนะ ), ความมีความเป็น และความไม่มีไม่เป็น ( ภวาภวะ ). " ๕. " ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ! โลกอันตถาคตตรัสรู้แล้ว ตถาคตก็ปลีกตัวได้จากโลก, เหตุที่ทำให้โลกเกิดอัน ตถาคตตรัสรู้แล้ว ตถาคตก็ละเหตุที่ให้เกิดโลกได้แล้ว, ความดับแห่งโลกอันตถาคตตรัสรู้แล้ว ตถาคตก็ได้ทำให้แจ้งความดับแห่ง โลกแล้ว, ข้อปฏิบัติให้ถึงความดับแห่งโลกอันตถาคตตรัสรู้แล้ว ตถาคตก็ได้เจริญข้อปฏิบัติให้ถึงความดับแห่งโลกแล้ว
     
  20. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    http://www.larnbuddhism.com/tripitaka/prasuttanta/k17.html

    [COLOR=darkgold,direction=-35);]๕. สุตตนิบาต ชุมนุมพระสูตร [/color]


    ( สุตตนิบาต หรือชุมนุมพระสูตรนี้ มีพระสูตรทั้งสิ้น ๗๐ สูตร ล้วนเป็นคำฉันท์ทั้งสิ้น บางแห่งแม้จะมีร้อยแก้วปน แต่สาระผูกเป็นคำฉันท์ แบ่งออกเป็น ๕ วรรค คือ วรรคแรก ชื่อว่าอุรควรรค ว่าด้วยอุรคสูตรเป็นหัวหน้า มี ๑๒ สูตร, วรรคที่ ๒ ชื่อ จูฬวรรค แปลว่า วรรคเล็ก มี ๑๔ สูตร, วรรคที่ ๓ ชื่อมหาวรรค แปลว่า วรรคใหญ่ มี ๑๒ สูตร, วรรคที่ ๔ ชื่ออัฏฐกวรรค ว่าด้วยพระ สูตรที่มีคำว่า อัฏฐกะตามหลัง ( อัฏฐกะ แปลว่า ผู้ไม่ตั้งอยู่ ถือเอาความว่า ไม่ติด หรืออาจแปลได้ว่า เนื้อความ หรือใจความ ) มี ๑๖ สูตร วรรคที่ ๕ ชื่อปารายนวรรค ว่าด้วยที่มุ่งอันสูง มี ๑๖ สูตร.


    <CENTER>[COLOR=darkgold,direction=-35);]อุรควรรคที่ ๑ มี ๑๒ สูตร [/color]</CENTER>


    ๑. อุรคสูตร ( สูตรเปรียบเทียบด้วยงู )
    พรรณนาถึงการที่ภิกษุละความชั่วต่าง ๆ เช่น ความโกรธ, ราคะ, ตัณหา, มานะ เป็นต้น ภิกษุนั้นย่อมละฝั่งนี้ ฝั่งโน้นได้ เหมือนงูลอกคราบเก่าทิ้งเสียฉะนั้น.
    ๒. ธนิยสูตร ( สูตรว่าด้วยธนิยะผู้เลี้ยงโค )
    แสดงคำโต้ตอบของธนิยะผู้เลี้ยงโค พูดเชื้อเชิญให้ฝนตกเพราะตนได้ทำหน้าที่ของตนเสร็จแล้ว เช่น มุงหลังคา นำ เชื้อไฟมาเตรียมไว้แล้ว ฝนจะตกก็ตกเถิด. พระผู้มีพระภาคตรัสตอบว่า เราเป็นผู้ไม่โกรธ ปราศจากตอ ( ของจิต ) มีหลังคา ( คือกิเลส ) อัน เปิดแล้ว, ไฟ ( คือกิเลส ) ก็ดับแล้ว ฝนจะตกก็ตกเถิด. อันเป็นคำโต้ตอบแสดงความเตรียมพร้อมทางโลก กับความเตรียมพร้อมทางธรรม.
    ๓. ขัคควิสาณสูตร ( สูตรเปรียบเทียบด้วย นอแรด )
    เป็นพระสูตรที่พรรณนาการประพฤติพรหมจรรย์ ซึ่งแนะให้อยู่แต่ผู้เดียว เที่ยวไปผู้เดียวเหมือนนอแรด.<SUP> </SUP> เช่น ที่กล่าวว่า " วางอาชญาในสัตว์ทั้งปวงแล้ว ไม่เบียดเบียนใคร ๆ เลย ไม่ปรารถนาบุตร ก็จะ ปรารถนาสหายแต่ที่ไหน ควรเป็นผู้เดียวเที่ยวไปเหมือนนอแรดฉะนั้น. "
    ๔. กสิภารทวาชสูตร ( ว่าด้วยภารทวาช พราหมณ์ผู้ไถนา )
    พราหมณ์ทูลพระผู้มีพระภาคว่า ข้าพเจ้าไถหว่านแล้วจึงบริโภค ท่านจงไถหว่านบ้างสิ พระผู้มีพระภาคตรัสตอบว่า พระองค์ก็ไถและหว่านเหมือนกัน. เมื่อพราหมณ์ถามถึงไถ จึงตรัสตอบว่า " ศรัทธาเป็นพืช, ความเพียรเป็นฝน, ปัญญาเป็นแอกและไถ, ความละอายใจเป็นงอนไถ, ใจเป็นสายเชือก, สติเป็นผาล ( ใบไถสำหรับไถนา ) "เป็นต้น.
    ๕. จุนทสูตร ( ว่าด้วยนายจุนทะ กัมมารบุตร )
    พระผู้มีพระภาคตรัสตอบคำถามของนายจุนทะ กัมมารบุตร เรื่องสมณะมี ๔ ประเภท คือ ๑. มัคคชินะ ( ผู้ชนะ กิเลสด้วยมรรค ).<SUP></SUP> ๒. มัคคเทสกะ ( ผู้แสดงมรรค ) ๓. มัคคชีวี ( ผู้ดำรงชีพอยู่ในมรรค คือผู้กำลัง ปฏิบัติ ) ๔. มัคคทูสี ( ผู้ประทุษร้ายมรรค คือผู้ประพฤติชั่ว เท่ากับเป็นผู้ทำลายแห่งความเจริญของตน )."
    ๖. ปราภวสูตร ( ว่าด้วยความเสื่อม )
    พระผู้มีพระภาคตรัสแสดงปากทางแห่งความเสื่อมไว้หลายข้อด้วยกัน. ดังจะยกมาเป็นตัวอย่างดังต่อไปนี้ " รัก อสัตบุรุษ ( คนชั่ว ), ไม่รักสัตบุรุษ ( คนดี ), ชอบใจธรรมของอสัตบุรุษ, นั่นเป็นปากทางแห่งความเสื่อม. " " มักหลับ, มักเข้ากลุ่มสนทนา, ไม่หมั่น, เกียจคร้าน, โกรธง่าย, นั่นเป็นปากทางแห่งความเสื่อม. " " มั่งคั่ง แต่ไม่เลี้ยงมารดาบิดาผู้แก่เฒ่าล่วงวัย, นั่นเป็นปากทางแห่งความ เสื่อม. " หยิ่งเพราะชาติ, หยิ่งเพราะทรัพย์, หยิ่งเพราะโคตร, ดูหมิ่นญาติของตน, นั่นเป็นปากทางแห่งความเสื่อม. " " เป็นนักเลงหญิง เป็น นักเลงสุรา, เป็นนักเลงการพนัน, ทำทรัพย์ที่ได้มาแล้วให้พินาศ, นั่นเป็นปากทางแห่งความเสื่อม. " เป็นต้น.
    ๗. วสลสูตร ( ว่าด้วยคนเลวหรือคนถ่อย )
    พระผู้มีพระภาคตรัสแสดงธรรมแก่ภารทวาชพราหมณ์ผู้บูชาไฟ ถึงเรื่องคนเลว และธรรมที่ทำให้คนเลว รวมหลาย หัวข้อด้วยกัน ดังตัวอย่างต่อไปนี้. " คนใดมักโกรธ, ผูกโกรธ, เป็นคนชั่วที่ลบหลู่บุญคุณท่าน, มีความคิดเห็นวิบัติ, มีมายา, พึงรู้คนนั้นว่าเป็น คนเลว. " " คนใดเบียดเบียนผู้เกิดครั้งเดียว หรือเกิด ๒ ครั้ง ( เกิด ๒ ครั้ง คือออกมาเป็นไข่แล้วจึงออกจากไข่เป็นตัวอีกต่อหนึ่ง ), ไม่มีความ เอ็นดูในสัตว์มีชีวิต, พึงรู้คนนั้นว่าเป็นคนเลว. " " ผู้ใดยกตัวเอง, ข่มผู้อื่น, เป็นคนเลวเพราะความถือตัวนั้น, พึงรู้คนนั้นว่าเป็นคนเลว " ในที่ สุดได้ตรัสสรูปหลักการทางพระพุทธศาสนาว่า " บุคคลมิใช่เป็นคนเลวเพราะชาติ มิใช่เป็นคนดี ( พราหมณ์ ) เพราะชาติ แต่เป็นคนเลวเพราะ การกระทำ, เป็นคนดีเพราะการกระทำ. ".
    ๘. เมตตสูตร ( ว่าด้วยการแผ่เมตตา )
    พ้องกับที่กล่าวไว้แล้วในขุททกปาฐะ ( ดูในหัวข้อ ๑ ขุททกปาฐะ บทสวดเล็ก ๆ น้อย ๆ ด้านบน ) เป็นการแสดงวิธีแผ่เมตตาจิตไปในสัตว์ ทุกชนิดอย่างกว้างขวาง.
    ๙. เหมวตสูตร ( ว่าด้วยการโต้ตอบระหว่าง สาตาคิรยักษ์กับเหวตยักษ์ รวมทั้งพระพุทธภาษิตในตอนท้าย )
    เหมวตยักษ์ได้ทูลถามพระผู้มีพระภาคเจ้าว่า " โลกเกิดขึ้นในอะไร, ทำความพอใจ ( สันถวะ = ชมเชย ) ในอะไร, โลกอาศัยอะไร และเดือดร้อนในอะไร ? " ตรัสตอบว่า " โลกเกิดขึ้นในสิ่ง ๖ สิ่ง, ทำความพอใจในสิ่ง ๖ สิ่ง, อาศัยสิ่ง ๖ สิ่ง, เดือดร้อน ในสิ่ง ๖ สิ่ง ( คือในกามคุณ ๕ ได้แก่รูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ ที่น่าปรารถนารักใคร่ชอบใจ มีใจเป็นที่ ๖ ทั้งนี้ตามพระพุทธภาษิตตอน ต่อไป ) " และได้ตรัสว่า คลายความพอใจในสิ่งเหล่านี้ได้ ก็จะพ้นจากทุกข์เป็นต้น.
    ๑๐. อาฬวกสูตร (ว่าด้วยอาฬวกยักษ์ )
    แสดงการตรัสตอบของพระผู้มีพระภาค ในเมื่ออาฬวกยักษ์ทูลถามแบบข่มขู่ คำถามคำตอบมีดังนี้ :-
    " อะไรเป็นทรัพย์เครื่องปลื้มในในโลกนี้ของบุรุษ ตรัสตอบว่า ศรัทธา ), อะไรประพฤติดีแล้ว นำความสุขมาให้ ( ตรัสตอบว่า ธรรมะ ), อะไรมีรสดียิ่งกว่ารสทั้งหลาย ( ตรัสตอบว่า สัจจะ ), ปราชญ์กล่าวถึงชีวิตของผู้เป็นอยู่เช่นไรว่า เป็นชีวิตอันประเสริฐ ( ตรัสตอบว่า ชีวิตของผู้เป็นอยู่ด้วยปัญญ ). "
    " จะข้ามโอฆะ<SUP></SUP> ได้อย่างไร ( ตรัสตอบว่า ข้ามได้ด้วยศรัทธา ), จะข้าม อรรณพ<SUP>๑๐</SUP> ได้อย่างไร ( ตรัสตอบว่า ข้ามได้ด้วยความไม่ประมาท ), จะก้าวล่วงทุกข์ได้อย่างไร ( ตรัสตอบว่า ด้วยความเพียร ), จะบริสุทธิ์ได้อย่างไร ( ตรัสตอบว่า ด้วยปัญญา ). "
    " จะบรรลุเกียรติได้อย่างไร ( ตรัสตอบว่า ด้วยสัจจะ ), จะผูกมิตรไว้ได้อย่างไร ( ตรัสตอบว่า ผู้ให้ย่อมผูกมิตรไว้ได้ ), ละโลกนี้ไปสู่โลกอื่น จะไม่เศร้าโศกได้อย่างไร ( ตรัสตอบว่า มีธรรมะผู้ครองเรือน ๔ อย่าง คือ สัจจะ, ธัมมะ,<SUP>๑๑ </SUP>ธิติ ( ความอดทน ), จาคะ ( การสละ ) ละโลกนี้ไปแล้วย่อมไม่เศร้าโศก. " อาฬวกยักษ์ก็ได้ดวงตาเห็นธรรม เลื่อมใสในพระ พุทธศาสนา.
    ๑๑. วิชยสูตร ( ว่าด้วยชัยชนะ )
    พรรณนาถึงความน่าเกลียดของร่างกายส่วนต่าง ๆ ซึ่งไม่ควรติด ไม่ควรยึดถือ.
    ๑๒. มุนิสูตร ( ว่าด้วยมุนีคือผู้รู้ )
    มีคำพรรณนาลักษณะต่าง ๆ ของมุนีไว้เป็นอันมาก เช่น " บัณฑิตทั้งหลายย่อมประกาศบุคคลผู้ครอบงำสิ่งทั้งปวง, รู้จักสิ่งทั้งปวง, มีปัญญาดี, ไม่ติดในธรรมทั้งปวง, ละสิ่งทั้งปวง, หลุดพ้นแล้วเพราะสิ้นตัณหา ว่าเป็นมุนี " ดังนี้เป็นต้น.


    <CENTER>จบวรรคที่ ๑ ขึ้นวรรคที่ ๒ ซึ่งมี ๑๔ สูตร</CENTER>


    ๑๓. รตนสูตร ( ว่าด้วยพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ ซึ่งเปรียบดุจรตนะ )
    เป็นคำพรรณนาคุณพระรัตนตรัย ทำนองเดียวกับที่กล่าวมาแล้ว ในหัวข้อ ๑ ขุททกปาฐะ บทสวดเล็ก ๆ น้อย ๆ ด้านบน
    ๑๔. อามคันธสูตร (ว่าด้วยกลิ่นคาว )
    เป็นสูตรที่พรรณนาถึงความชั่วทางกาย วาจา ใจ ว่าเป็นกลิ่นคาวมิใช่ปลาหรือของกินอื่น ๆ แล้วพรรณนาถึงการ ประกอบคุณงามความดีว่าทำให้ปราศจากกลิ่นคาว.
    ๑๕. หิริสูตร ( ว่าด้วยความละอายในการทำ ความชั่ว )
    แสดงถึงการประกอบคุณงามความดีและคุณธรรมของมิตร ลงสุดท้ายให้ดื่มรสของความสงัด และรสของความสงบ ผู้ดื่มรส อันเกิดแต่ปีติในธรรม ย่อมเป็นผู้ไม่มีความกระวนกระวาย ไม่มีบาป.
    ๑๖. มงคลสูตร ( ว่าด้วยข้อปฏิบัติอันเป็นมงคล)
    ได้กล่าวไว้แล้ว ( ดูในหัวข้อ ๑ ขุททกปาฐะ บทสวดเล็ก ๆ น้อย ๆ ด้านบน )
    ๑๗. สูจิโลมสูตร (ว่าด้วยสุจิโลมยักษ์ )
    แสดงการตรัสตอบปัญหาว่า ราคะ, โทสะ, ความไม่ยินดี, ความยินดี, ความกลัว, ( ขนพอง ), ความตรึก ล้วนเกิด จากอัตตภาพ ( คือร่างกายจิตใจ ) นี้ทั้งสิ้น ผู้ใดรู้และบันเทาได้ ผู้นั้นย่อมข้ามโอฆะได้.
    ๑๘. ธัมมจริยสูตร (ว่าด้วยการประพฤติธรรม )
    แสดงว่าแม้การประพฤติธรรมและประพฤติพรหมจรรย์ จะเป็นแก้วอันประเสริฐ แต่ผู้ที่บวชแล้วถ้าประพฤติไม่ดี ชีวิตของผู้นั้นก็เลวทราม เพิ่มมลทินให้แก่ตน ต่อเมื่อละความชั่วต่าง ๆ จึงทำที่สุดแห่งทุกข์ได้.
    ๑๙. พราหมณธัมมิกสูตร (ว่าด้วยธรรมะของ พราหมณ์ )
    พระผู้มีพระภาคตรัสแสดงธรรมแก่พราหมณมหาศาลหลายคน ชี้แจงธรรมะของพราหมณ์ตามคติพระพุทธศาสนา ซึ่งสอนมิให้เบียดเบียน เป็นคำสอนตรงกันข้ามกับคติของพราหมณ์ ที่มีการฆ่าสัตว์บูชายัญ. นอกจากนั้นยังแสดงภึงธรรมะอื่น ๆ พราหมณ์ก็ เลื่อมใส ปฏิญญาตนเป็นอุบาสกถึงพระรัตนตรัยเป็นสรณะตลอดชีวิต.
    ๒๐. นาวาสูตร (ว่าด้วยเรือ )
    เป็นคำสอนถึงการประพฤติธรรมว่า เปรียบเหมือนมีเรือข้ามน้ำได้..
    ๒๑. กึสีลสูตร (ว่าด้วยประพฤติอย่างไร จึงจะ บรรลุประโยชน์อันสูงสุด )
    ตรัสสอนให้ตั้งอยู่ในธรรม.
    ๒๒. อุฏฐานสูตร (ว่าด้วยความหมั่น )
    เป็นคำสอนปลุกใจให้ลุกขึ้น อย่ามัวหลับไหลอยู่ ให้ศึกษาเพื่อสันติ อย่าปล่อยให้กาลเวลาล่วงไปเปล่า.
    ๒๓. ราหุลสูตร (ว่าด้วยพระราหุล )
    พระผู้มีพระภาคตรัสสอนพระราหุลเนือง ๆ ด้วยพระพุทธโอวาทใจความว่า ให้ละกามคุณ ๕ คบกัลยาณมิตร เสพเสนาสนะอันสงัด รู้ประมาณในอาหาร อย่าทำความทะยานอยากในปัจจัย ๔ สำรวมในปาฏิโมกข์ ( ศีลที่เป็นประธาน ) ในอินทรีย์ ๕ ( มีตาเป็นต้น ) เจริญกายคตาสติ มากด้วยความหน่าย ( ในโลกิยะ ). เจริญนิมิตว่าไม่งาม และเจริญความไม่มีนิมิต ถอนกิเลสที่แฝงด้วยตัวคือ มานะเสีย.
    ๒๔. วังคีสสูตร (ว่าด้วยพระวังคีสะ )
    พระวังคีสะกราบทูลถามถึงพระอุปัชฌายะของตน พระผู้มีพระภาคตรัสตอบว่า อุปัชฌายะของเธอดับตัณหาได้แล้ว ปรินิพพานแล้ว.
    ๒๕. สัมมาปริพพาชนิยสูตร (ว่าด้วยการเที่ยว ไปด้วยดี )<SUP>๑๒</SUP>
    พระผู้มีพระภาคตรัสแสดงว่า ผู้เช่นไรชื่อว่าเที่ยวไปด้วยดี หรือมีหลักธรรมของปริพพาชกอย่างแท้จริง โดยใจ ความคือกิเลสต่าง ๆ ไม่ติด อยู่ในโลกิยธรรม.
    ๒๖. ธัมมิกสูตร (ว่าด้วยธัมมิกอุบาสก )
    พระผู้มีพระภาคตรัสตอบคำถามของธัมมิกอุบาสกถึงคุณสมบัติของพระสาวกที่ดี โดยใจความ คือไม่ละเมิดพระวินัย ฟังธรรมแล้วพิจารณาส้องเสพ ( ธรรม ) ด้วยดี และได้แสดงถึงคุณสมบัติของสาวกที่เป็นคฤหัสถ์ เช่น ให้รักษาอุโบสถ, เว้นทุจจริต, เลี้ยง มารดาบิดา ประกอบด้วยการค้าอันถูกต้องตามธรรม.


    <CENTER>จบวรรคที่ ๒ ขึ้นวรรคที่ ๓ ซึ่งมี ๑๒ สูตร</CENTER>


    ๒๗. ปัพพัชชาสูตร (ว่าด้วยการบวช )
    ตรัสเล่าเรื่องการเสด็จออกผนวชของพระองค์ จนกระทั่งเสด็จผ่านกรุงราชคฤห์ พระเจ้าพิมพิสารทอดพระเนตรเห็น ทรงส่งทูตตามไป ทราบที่พักแล้วเสด็จด้วยพระองค์เองไปถึงที่ประทับ ณ บัณฑวบรรพต ทูลถามถึงพระชาติ. พระผู้มีพระภาคตรัสตอบตอน นั้นยังมิได้ตรัสรู้ ).
    ๒๘. ปธานสูตร (ว่าด้วยการตั้งความเพียร )
    พระผู้มีพระภาคเมื่อยังมิได้ตรัสรู้ ขณะทรงบำเพ็ญเพียรใกล้แม่น้ำเนรัญชรา ทรงตอบมารชื่ออนมุจิ ซึ่งมาพูดกล่อม พระทัยให้เลิกความเพียร ทรงชี้ว่า กาม, ความริษยา, ความหิวระหาย, ความทะยานอยาก, ความหดหู่ ง่วงงุน, ความหวาดกลัว, ความสงสัย, ความลบลู่บุญคุณผู้อื่น ความตีเสมอ เป็นเสนามารที่ ๑ ถึงที่ ๘ ตามลำดับ นอกจากนั้นยังทรงแสดงเสนามารต่อไปอีก คือลาภ, ชื่อเสียง, สักการะ, ยศที่ได้มาโดยผิดธรรม, การยกตัวเอง, การดูหมิ่นผู้อื่น แล้วตรัสว่า ในการทำสงคราม ( กับพญามาร ) นั้น พระองค์ยอมตายดีกว่า ที่จะเป็นผู้แพ้แล้วมีชีวิตอยู่. พญามารเสียใจที่ไม่สามารถเอาชนะพระองค์ได้ จึงหายไปในที่นั้น.
    ๒๙. สุภาสิตสูตร (ว่าด้วยคำสุภาษิต )
    พระผู้มีพระภาคตรัสแสดงองค์ ๔ ของวาจาสุภาษิตที่ไม่มีโทษ ที่วิญญูชนไม่ติเตียน คือ ๑. พูดเป็นสุภาษิต ๒. พูดเป็นธรรม ๓. พูดเป็นที่รัก ๔. พูดจริง ไม่พล่อย. แล้วพระวังคีสะกราบทูลขยายความเป็นคำฉันท์.
    ๓๐. สุนทริกสูตร (ว่าด้วยสุนทริก ภารทวาช พราหมณ์ )
    พราหมณ์ภารทวาชโคตร ชื่อสุนทริกะ เห็นพระผู้มีพระภาค ก็ถามว่า ท่านชาติอะไร ( ในวรรณะ ๔ ) พระองค์ตรัส ตอบว่า อย่าถามถึงชาติเลย จงถามถึงความประพฤติดีกว่า แล้วทรงแสดง แสดงคุณสมบัติของมุนี ที่แม้เกิดในสกุลต่ำ แต่ประพฤติดี ทำลาย กิเลส ก็นับเป็นอาชาไนยได้ พราหมณ์เลื่อมใส แสดงตนเป็นอุบาสก.
    ๓๑. มาฆสูตร (ว่าด้วยมาฆมาณพ )
    พระผู้มีพระภาคตรัสตอบคำถามของมาฆมาณพเรื่องผู้ประสงค์บุญควรบูชายัญอย่างไร โดยทรงแสดงว่า ควรบูชา ท่านผู้มีคุณสมบัติที่ดีงาม ละกิเลสได้ มาณพก็เลื่อมใส แสดงตนเป็นอุบาสก
    ๓๒. สภิยสูตร (ว่าด้วยสภิยปริพพาชก)
    สภิยปริพพาชกไปทูลถามพระผู้มีพระภาคเรื่องคุณสมบัติของภิกษุ พระผู้มีพระภาคตรัสตอบ. ปริพพาชกขอบรรพชา อุปสมบทและได้สำเร็จอรหัตตผล.
    ๓๓. เสลสูตร (ว่าด้วยเสลพราหมณ์ )
    เนื้อความอย่างเดียวกับเสลสูตร ที่ย่อไว้แล้ว หน้าพระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๕ หน้า ๕ ) หมายเลขที่ ๔๒. เสลสูตร
    ๓๔. สัลลสูตร (ว่าด้วยลูกศรคือความโศก )
    ส่วนใหญ่พรรณนาถึงชีวิตที่ใกล้ต่อความตายเข้าไปทุกขณะ เมื่อบุคคลถอนลูกศรได้ ก็จะไม่เศร้าโศก ได้นิพพาน.
    ๓๕. วาเสฏฐสูตร (ว่าด้วยเสฏฐมาณพ )
    มีข้อความอย่างเดียวกับที่ย่อไว้แล้วหน้าพระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๕ หน้า ๕) หมายเลขที่ ๔๘.วาเสฏฐสูตร
    ๓๖. โกกาลิกสูตร (ว่าด้วยพระโกกาลิกะ )
    มีความพ้องกับที่ย่อไว้แล้ว หน้าพระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๖ หน้า ๒ ) ในหมวด ๕๐ ที่ ๒ หมายเลขที่ ๔
    ๓๗. นาลกสูตร (ว่าด้วยพระนาสกะ )
    พระนาลกะ ( ผู้เป็นน้องชายของอสิตดาบส ) ถามปัญหาเรื่องโมเนยยปฏิบัติ ( การปฏิบัติเพื่อความเป็นมุนี ), พระผู้มี พระภาคตรัสตอบแสดงคุณสมบัติของมุนี.
    ๓๘. ทวยตานุปัสสนาสูตร (ว่าด้วยการพิจารณาธรรมที่เป็นคู่ )
    คือพิจารณาทุกข์พร้อมด้วยเหตุให้ทุกข์เกิด พิจารณาความดับทุกข์ พร้อมทั้งข้อปฏิบัติให้ถึงความดับทุกข์ เมื่อ พิจารณาเป็นคู่อย่างนี้ อย่างไม่ประมาท มีความเพียร ก็จะได้บรรลุอรหัตตผลในปัจจุบัน หรือถ้ายังมีกิเลสเหลือ ก็จะได้เป็นพระอนาคามี. นอก จากนั้นได้ตรัสแสดงวิธีพิจารณาธรรมเป็นคู่อย่างพิสดาร.


    <CENTER>จบวรรคที่ ๓ ขึ้นวรรคที่ ๔ ซึ่งมี ๑๖ สูตร<SUP>๑๓</SUP> </CENTER>


    ๓๙. กามสูตร (ว่าด้วยกาม )
    พรรณาโทษของกามและสอนให้เว้นกาม เหมือนวิดน้ำเรือรั่วพาเรือให้ถึงฝั่งได้.
    ๔๐. คุหัฏฐกสูตร (ว่าด้วยข้อเปรียบเทียบมิให้ ติดอยู่ในถ้ำ )
    โดยใจความ ให้รู้ความจริงเรื่องกาม มีความรู้เท่า ไม่ติดยึดถือ ก็จะข้ามโอฆะได้. อนึ่ง คำว่า ถ้ำ นั้น หมายถึง ร่างกาย.
    ๔๑. ทุฏฐัฏฐกสูตร (ว่าด้วยมิให้ติดอยู่ในทิฏฐิ อันชั่ว )
    แสดงว่ามุนีไม่ติดอยู่ในทิฏฐิความเห็น เพราะมีคุณธรรม จึงไม่ติดอัตตา หรือนิรัตตา ( อนัตตา ).
    ๔๒. สุทธัฏฐกสูตร (ว่าด้วยมิให้ติดอยู่ในความ บริสุทธิ์ที่คนเข้าใจผิดว่าจะมีได้ด้วยการเห็น )
    มีบางคนเข้าใจว่า ความบริสุทธิ์ จะมีได้เพราะได้เห็นสิ่งนั้นสิ่งนี้. พระผู้มีพระภาคตรัสสอนมิให้ติดในสิ่งที่ได้เห็น ได้ฟัง เป็นต้น.
    ๔๓. ปรมัฏฐกสูตร (ว่าด้วยมิให้ติดอยู่ในสิ่งที่ ยอดเยี่ยมตามความเห็นผิด )
    ข้อสำคัญคือให้คลายทิฏฐิ อย่ายึดถือในสิ่งใด ๆ.
    ๔๔. ชราสูตร (ว่าด้วยความแก่ )
    แสดงว่าชีวิตน้อย ในที่สุดก็จะต้องตาย ไม่ควรยึดถือ คนที่เรารักตายไปแล้ว ก็ไม่ได้เห็นกัน เปรียบเหมือนการ ฝันไป ตื่นขึ้นก็ไม่เห็น.
    ๔๕. ติสสเมตเตยยสูตร (ว่าด้วยติสสเมตเตยย- มาณพ )
    พระผู้มีพระภาคตรัสสอนเรื่องโทษของกาม ตรัสแนะนำให้ศึกษาความสงัด.
    ๔๖. ปสูรสูตร (ว่าด้วยปริพพาชกชื่อปสูระ )
    ตรัสแสดงว่า ผู้ที่ติดอยู่ในความเห็น หรือสัจจะเฉพาะอย่าง ย่อมโต้เถียงกันว่า ความบริสุทธิ์มีเฉพาะในลัทธิของตน แล้วตรัสแสดงโทษของความติดในทิฏฐิ.
    ๔๗. มาคัณฑิยสูตร (ว่าด้วยคัณฑิยพราหมณ์ )
    ตรัสแสดงให้เห็นความน่าเกลียดของกายนี้ อันเต็มไปด้วยของโสโครก และตรัสสอนให้ละมานะความถือตัว ไม่ติด ในกาม ไม่ยึดมั่นสัญญา ( ความกำหนดหมายในใจ ) และทิฏฐิความเห็น.
    ๔๘. ปุราเภทสูตร (ว่าด้วยภายหลังความตาย )
    ตรัสสอนให้ละตัณหา ไม่มีความยึดถือ. มีคำสอนไม่ให้ยึดอัตตาและนิรัตตา ( อนัตตา ) ทั้งสองด้วย.
    ๔๙. กลหวิวาทสูตร (ว่าด้วยการทะเลาะ วิวาท )
    ตรัสแสดงเหตุแห่งการทะเลาะวิวาท แล้วตรัสสอนให้ใช้ปัญญาพิจารณา เป็นผู้หลุดพ้น ไม่ทะเลาะวิวาทกับใคร.
    ๕๐. จูฬวิยูหสูตร (ว่าด้วยการวิวาทกันเพราะ ทิฏฐิ สูตรเล็ก )
    ตรัสสอนให้เห็นว่า การติดความคิดเห็นเป็นเหตุให้ทะเลาะวิวาทกันซึ่งควรจะแก้ไข.
    ๕๑. มหาวิยูหสูตร (ว่าด้วยการวิวาทกันเพราะ ทิฏฐิ สูตรใหญ่ )
    ตรัสสอนผลร้ายของการวิวาทกันและสอนมิให้ยึดถือ.
    ๕๒. ตุวฏกสูตร (ว่าด้วยสันติบท คือทางแห่ง ความสงบ<SUP>๑๔</SUP> )
    พระผู้มีพระภาคแสดงทางแห่งความสงบและมีข้อความเรื่องไม่มีอัตตา และนิรัตตา ( อนัตตา ) และคุณธรรมอื่น ๆ ที่เป็นไปเพื่อไม่ยึดถือ.
    ๕๓. อัตตทัณฑสูตร (ว่าด้วยโทษของตน )
    ตรัสสอนให้เห็นโทษของการทะเลาะวิวาท และให้ตั้งอยู่ในคุณความดี.
    ๕๔. สาริปุตตสูตร (ว่าด้วยพระสาริบุตร )
    แสดงการโต้ตอบระหว่างพระผู้มีพระภาคกับพระสาริบุตรเรื่องคุณธรรมของภิกษุ.


    <CENTER>จบวรรคที่ ๔ ขึ้นวรรคที่ ๕ ซึ่งมี ๑๖ สูตร</CENTER>


    ในวรรคที่ ๕ นี้ แสดงการถามปัญหาของมาณพ ๑๖ คน ซึ่งพาวรีพราหมณ์แต่งปัญหาให้ศิษย์ ของตน ๑๖ คนไป กราบทูลพระผู้มีพระภาค เพื่อรู้ว่าจะเป็นผู้ตรัสรู้จริงหรือไม่. สูตรทั้งสิบหกจึงมีชื่อตามชื่อของมาณพทั้งสิบหก ซึ่งแต่ละสูตรแสดงคำถามและ คำตอบ ( เป็นคำฉันท์ ) ในที่นี้จะแสดงชื่อมาณพทั้งสิบหกนั้นคือ ๑. อชิตะ ๒. ติสสเมตเตยยะ ๓. ปุณณกะ ๔. เมตตคู ๕. โธตกะ ๖. อุปสีวะ ๗. นันทะ ๘. เหมกะ ๙. โตเทยยะ ๑๐. กัปปะ ๑๑. ชตุกัณณี ๑๒. ภัทราวุธะ ๑๓. อุทยะ ๑๔. โปสาละ ๑๕. โมฆราช ๑๖. ปิงคิยะ ( เมื่อรวม ๑๖ สูตรนี้เข้าด้วย จึงเป็น ๗๐ สูตร ).
    ( หมายเหตุ : สาระสำคัญในสุตตนิบาตนี้ ส่วนใหญ่แสดงคุณธรรมที่ให้หลุดพ้นจากทุกข์ ให้ดับกิเลสเพื่อบรรลุ นิพพาน แม้คำถามคำตอบของมาณพ ๑๖ คน ก็เป็นไปในเรื่องความหลุดพ้นแทบทั้งสิ้น.


    <CENTER>[COLOR=darkgold,direction=-35);]จบพระไตรปิฎก เล่มที่ ๒๕ ขุททกนิกาย [/color]</CENTER>

    <CENTER>ขุททกปาฐะ, ธัมมปทคาถา, อุทาน, อิติวุตตกะ, สุตตนิบาต.</CENTER>


    <HR>
    '๑' . การนับจำนวนว่า ๓๗ นี้ไม่มีในพระไตรปิฎก แต่ในอรรถกถาท่านนับเป็น ๓๘ โดยการแยกการบำรุงมารดากับ การบำรุงบิดาไว้เป็น ๒ ข้อ และว่าอาจแยกข้อสงเคราะห์บุตร กับภริยาออกเป็น ๒ ข้ออีกก็ได้ หรือจะรวมอย่างที่เขียนไว้ข้างบน ( คือรวมเป็น ๓๗ ข้อ ) ก็ได้
    '๒' . พระสูตรเหล่านี้ได้เลือกแปลไว้บ้างแล้ว รวม ๑๕ สูตร หรือ ๑๕ หัวข้อ คือระหว่างหน้าข้อความน่ารู้จากไตรปิฎก หมายเลข ๒-๒๑ หมายเลข ๒ ถึง ๑๔ และ ๑๗-๑๘-๑๙ ที่นำมาย่อไว้ในตอนนี้จะเลือกที่ไม่ซ้ำกัน
    '๓' . คำขึ้นต้น แบบเดียวกับข้อ ๑, ๒ จึงละไว้ ไม่ต้องกล่าวซ้ำอีก. และเป็นอันโปรดทราบด้วยว่า จนจบอิติวุตตกะ มีคำ ขึ้นต้นแบบเดียวกันทั้งสิ้น
    '๔' . โยคะ คือกิเลสที่ประกอบสัตว์ไว้ในภพ
    '๕' . คำเต็มว่า ไม่สำรวมทวารในอินทรย์ทั้งหลาย โดยใจความ คือไม่ระวังตา หู เป็นต้น
    '๖' . วณิพพก กับยาจก ต่างกัน คือวณิพพก คือผู้ขออย่างพรรณนาอานิสงส์ของทานว่า จะให้ได้บรรลุผลดีอย่างนั้นอย่างนี้ ส่วนยาจก คือผู้ขอธรรมดา ทั้งนี้เป็นคำอธิบายของอรรถกถา
    '๗' . แรดพันธุ์อินเดีย มีนอหรือเขาเดียว แต่พันธุ์ของประเทศอื่น มีนอคู่บ้าง นอเดียวบ้าง
    '๘' . มรรค หมายถึงหนทาง หรือข้อปฏิบัติที่ให้บรรลุถึงความดับทุกข์
    '๙' . โอฆะ ได้แก่ห้วงน้ำคือกิเลส มี ๔ อย่าง คือ กาม, ภพ, ทิฏฐิ, อวิชชา
    '๑๐' . อรรณพ ได้แก่ห้วงน้ำ หรือมหาสมุทร คือความเวียนว่ายตายเกิด
    '๑๑' . ธัมมะในที่นี้ หมายถึงทมะการฝึกตนหรือความข่มใจ
    '๑๒' . พระสูตรนี้ เท่ากับการให้ความหมายของคำว่า ปริพพาชก ตามหลักพระพุทธศาสนา. เมื่อแปลตามศัพท์ปริพพาชก แปลว่า ผู้เที่ยวไป เป็นชื่อนักบวชนอกพระพุทธศาสนา
    '๑๓' . มีเรื่องเล่าว่า พระโสณกุฏิกัณณะ ได้เคยสวดพระสูตร ๑๖ สูตรนี้ ในที่พระพักตร์พระศาสดา อันแสดงว่า มีการท่อง จำพระสูตรมาแล้วแม้ในครั้งพุทธกาล ดูหน้าความรู้เรื่องพระไตรปิฎก ) พระจุนทะเถระผู้ปรารถนาดี '๑๔' . ตามศัพท์ ตุวฏะ หรือตุวฏกะ แปลว่า เร็ว
     

แชร์หน้านี้

Loading...