พระวังหน้า ที่หลวงปู่บรมครูเทพโลกอุดรเสก ถ้าต้องการที่จะได้.....

ในห้อง 'งานบุญอื่นๆ' ตั้งกระทู้โดย sithiphong, 23 ธันวาคม 2005.

  1. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    อ้างอิง:
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=6 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=alt2 style="BORDER-RIGHT: 1px inset; BORDER-TOP: 1px inset; BORDER-LEFT: 1px inset; BORDER-BOTTOM: 1px inset">ข้อความดั้งเดิมโดยคุณ nongnooo [​IMG]
    คิดถึงคุณตั้งจิตอีกแล้ว มาแซงพระพิมพ์ซุ้มไข่ปลาอีกแล้ว[bw-cry]
    </TD></TR></TBODY></TABLE>

    น่าฉงฉานคุณnongnooo จังเลย สู้ครับสู้

    (b-malang)

    ต้องยาบำรุงสักหน่อย มีแรงเร็วขึ้น

    [b-nurse]
     
  2. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    http://www.palungjit.org/board/showthread.php?t=89163&page=2

    <TABLE class=tborder id=post681653 cellSpacing=0 cellPadding=6 width="100%" align=center border=0><TBODY><TR><TD class=thead style="BORDER-RIGHT: #ffffff 0px solid; BORDER-TOP: #ffffff 1px solid; FONT-WEIGHT: normal; BORDER-LEFT: #ffffff 1px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 1px solid">31/08/2550, 04:34 PM <!-- / status icon and date --></TD><TD class=thead style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid; BORDER-TOP: #ffffff 1px solid; FONT-WEIGHT: normal; BORDER-LEFT: #ffffff 0px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 1px solid" align=right>#28 </TD></TR><TR vAlign=top><TD class=alt2 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid; BORDER-TOP: #ffffff 0px solid; BORDER-LEFT: #ffffff 1px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 0px solid" width=175>khongbeng<SCRIPT type=text/javascript> vbmenu_register("postmenu_681653", true); </SCRIPT>
    สมาชิก

    [​IMG]

    เข้ามาครั้งสุดท้ายเมื่อ: วันนี้ 04:40 PM
    วันที่สมัคร: Nov 2006
    สถานที่: กรุงเทพมหานคร
    ข้อความ: 122 <!-- Start Post Thank You Hack -->
    ได้ให้อนุโมทนา 427 ครั้ง
    ได้รับอนุโมทนา 642 ครั้ง ใน 120 โพส <!-- End Post Thank You Hack -->
    พลังการให้คะแนน: 86 [​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG]



    </TD><TD class=alt1 id=td_post_681653 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid"><!-- message -->[​IMG]

    [​IMG]

    [​IMG]

    [​IMG]



    ปัจจุบันคล้องคออยู่ 2 องค์ครับ

    สมเด็จองค์หนา องค์นี้ได้อานิสงค์มาจากศิษย์พี่ครับ

    ล็อคเก็ตนี้ ได้มาเมื่อเดือนเมษายนที่ผ่านมา
    <!-- / message --><!-- sig -->
    ____________________________________________________________
    นักรบโบราณ.....
    <!-- / sig -->
    </TD></TR></TBODY></TABLE>

    แอบไปโชว์มา
    สวยจริงๆครับศิษย์น้อง
     
  3. ตั้งจิต

    ตั้งจิต เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กันยายน 2005
    โพสต์:
    1,574
    ค่าพลัง:
    +5,485
    ขอจอง.......................ซ้อมครับ ซ้อมครับ เขย่าขวัญคุณน้องหนูไว้ก่อน
    (b-smile)
     
  4. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    อ้างอิง:
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=6 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=alt2 style="BORDER-RIGHT: 1px inset; BORDER-TOP: 1px inset; BORDER-LEFT: 1px inset; BORDER-BOTTOM: 1px inset">ข้อความดั้งเดิมโดยคุณ nongnooo [​IMG]
    คิดถึงคุณตั้งจิตอีกแล้ว มาแซงพระพิมพ์ซุ้มไข่ปลาอีกแล้ว[bw-cry]
    </TD></TR></TBODY></TABLE>

    อ้างอิง:
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=6 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=alt2 style="BORDER-RIGHT: 1px inset; BORDER-TOP: 1px inset; BORDER-LEFT: 1px inset; BORDER-BOTTOM: 1px inset">ข้อความดั้งเดิมโดยคุณ ตั้งจิต [​IMG]
    ถึงว่าสิ นั่งๆอยู่มันอยู่ไม่ติดต้องมาเปิดเน็ทซะนี่
    ส่วนเรื่องแซงนั้น คงเป็นที่แน่นอนแล้วล่ะว่า.......ความชาราได้มาเยี่ยมเยือนคุณnongnooo เป็นแน่แท้แล้ว
    (555)
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    น่าฉงฉานคุณnongnooo จังเลย สู้ครับสู้

    (b-malang)

    ต้องยาบำรุงสักหน่อย มีแรงเร็วขึ้น

    [b-nurse]
    <!-- / message --><!-- sig -->



    อ้างอิง:
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=6 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=alt2 style="BORDER-RIGHT: 1px inset; BORDER-TOP: 1px inset; BORDER-LEFT: 1px inset; BORDER-BOTTOM: 1px inset">ข้อความดั้งเดิมโดยคุณ sithiphong [​IMG]
    มาบอกกันล่วงหน้าเลยว่า หากท่านใดที่ไม่เคยร่วมทำบุญสร้างพระเจดีย์ศรีชัยผาผึ้งมาก่อน ก็ไม่ได้จองพระพิมพ์ซึ่งพิเศษๆ หรือถ้าจองได้ก็คงต้องทำบุญเพิ่มเติมจากที่จองได้ ไม่น้อยกว่า 8,000 - 10,000บาท

    ผมก็ขอเชิญร่วมทำบุญสร้างพระเจดีย์ศรีชัยผาผึ้งก่อนนะครับ

    โมทนาสาธุครับ

    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    ไอ้หย่า อย่างนี้เข็มเดียวไม่พอแน่คุณnongnooo ต้องทั้งกินทั้งฉีดแล้วครับ แถมนมสองโหล ,โอวัลติน 2 กระป๋องใหญ่สุดๆ ,ไข่วันละฟอง , วิ่งวันละ 4 รอบสนามบอลแล้วครับ

    (bb-flower
    .
     
  5. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    http://th.wikipedia.org/wiki/พระไตรปิฎก

    พระไตรปิฎก

    จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี


    พระไตรปิฎก เป็นคัมภีร์ที่บรรจุคำสอนของพระพุทธศาสนา ซึ่งเรียกรวมๆ ว่า พุทธธรรม คำว่าพระไตรปิฎก มาจากภาษาบาลี ติปิฏก แปลว่า ตะกร้าสามใบ หรือคำสอนสามหมวด (ติ หมายถึง สาม ปิฏก หมายถึง ตำรา คัมภีร์ หรือกระจาด) ซึ่งคำสอนสามหมวดนี้ ได้แก่
    • พระวินัยปิฎก หรือ พระวินัย ได้แก่ประมวลระเบียบข้อบังคับของบรรพชิตที่พระพุทธเจ้าทรงบัญญัติไว้สำหรับภิกษุและภิกษุณี
    • พระสุตตันตปิฎก หรือ พระสูตร ได้แก่ประมวลพระพุทธพจน์ที่พระพุทธเจ้าทรงแสดงยังที่ต่างๆ ให้เหมาะกับบุคคล สถานที่ และเหตุการณ์ มีเรื่องราวประกอบ
    • พระอภิธรรมปิฎก หรือ พระอภิธรรม ได้แก่ประมวลคำสอนที่เป็นหลักวิชาการล้วนๆ ไม่เกี่ยวด้วยบุคคลหรือเหตุการณ์ ไม่มีเรื่องราวประกอบ
    พระไตรปิฎกมีเนื้อหารวมทั้งสิ้น 84,000 ธรรมขันธ์ ฉบับพิมพ์ภาษาไทยนิยมจัดแยกเป็น 45 เล่ม เพื่อหมายถึงระยะเวลา 45 พรรษาแห่งพุทธกิจ
    พระพุทธเจ้าได้ตรัสไว้ครั้งหนึ่งว่า พระธรรมวินัยจะเป็นศาสดาแทนพระองค์ภายหลังที่พระองค์ล่วงลับไปแล้ว<SUP class=plainlinks id=ref_1>[1]</SUP> พระไตรปิฎกจึงเปรียบเสมือนตัวแทนของพระพุทธองค์ และเป็นที่ที่ชาวพุทธสามารถเข้าเฝ้าพระศาสดาของตน<SUP class=plainlinks id=ref_2>[2]</SUP> พุทธศาสนิกชนสามารถศึกษาปริยัติศาสน์จากพระไตรปิฎก เพื่อใช้เป็นแนวทางในการปฏิบัติตนให้พ้นจากความทุกข์ อันเป็นเป้าหมายสูงสุดของชีวิตตามนัยแห่งพระพุทธศาสนาสืบไป
    พระไตรปิฎกมีจุดเริ่มต้นมาจากการจัดรวบรวมคำสอนของพระพุทธเจ้า ออกเป็นหมวดหมู่ และซักซ้อมทบทวนกันจนลงตัว ในระยะแรก พระไตรปิฎกถ่ายต่อกันมาโดยการท่องจำปากเปล่า จนกระทั่งราว พ.ศ. 460 จึงมีการจารึกลงเป็นลายลักษณ์อักษร กล่าวได้ว่าพระพุทธศาสนาสืบทอดมาพร้อมกับพระไตรปิฎก จากสมัยพุทธกาลจนถึงวันนี้เป็นเวลากว่า 2,500 ปี พระไตรปิฎกบาลีของพระพุทธศาสนาฝ่ายเถรวาท เป็นที่ยอมรับกันว่า เป็นบันทึกคำสอนของพระพุทธเจ้าที่เก่าแก่ที่สุด ดั้งเดิมที่สุด สมบูรณ์ที่สุด และถูกต้องแม่นยำที่สุด ที่ยังคงมีอยู่ในปัจจุบัน
    <TABLE class=toc id=toc summary=เนื้อหา><TBODY><TR><TD>เนื้อหา

    [ซ่อน]
    </TD></TR></TBODY></TABLE><SCRIPT type=text/javascript>//<![CDATA[ if (window.showTocToggle) { var tocShowText = "แสดง"; var tocHideText = "ซ่อน"; showTocToggle(); } //]]></SCRIPT>

    [แก้] หมวดหมู่ในพระไตรปิฎก

    ในพระไตรปิฎก นอกจากจะเป็นที่รวบรวมคำสอนของพระพุทธเจ้าแล้ว ยังได้จัดหมวดหมู่คำสอนเหล่านั้นให้เป็นระเบียบพร้อมๆ กันไปด้วย ทั้งนี้เพื่อความสะดวกในการท่องจำ ความง่ายต่อการแบ่งหน้าที่รักษา และความไม่ลำบากในการศึกษาค้นคว้า
    คำสอนทั่วไปในพระพุทธศาสนาสามารถแบ่งได้กว้างๆ เป็น วินัย และ ธรรม โดย วินัย จะเป็นเรื่องเกี่ยวกับบทบัญญัติของคณะสงฆ์ สำหรับเป็นข้อบังคับในการปฏิบัติตัวของผู้ออกบวชเท่านั้น ส่วน ธรรม เป็นคำสอนที่ครอบคลุมพุทธบริษัททั้งหมด ซึ่งสามารถแยกได้อีกเป็นสองชนิด คือ
    • ธรรมที่พระพุทธเจ้าตรัสแสดงไปตามกาลเทศะ โต้ตอบกับบุคคลต่างๆ เป็นเรื่องๆ ในแต่ละเรื่องจะเรียกว่า สุตตะ หรือ สูตร หนึ่งๆ ในพระไตรปิฎกจะรวบรวมธรรมแบบนี้ไว้พวกหนึ่ง เรียกว่า สุตตันตะ หรือ พระสูตร
    • ธรรมที่พระพุทธเจ้าตรัสแสดงไปตามเนื้อหา ไม่เกี่ยวข้องกับบุคคลหรือเหตุการณ์ใดๆ ทั้งสิ้น เรียกว่าเป็นวิชาการล้วนๆ เช่น เมื่อยกเรื่องขันธ์ 5 มา ก็อธิบายโดยละเอียดว่าขันธ์ 5 คืออะไร แบ่งออกเป็นอะไรบ้าง แต่ละอย่างนั้นเป็นอย่างไร จนจบเรื่องขันธ์ 5 ธรรมที่แสดงเอาเนื้อหาเป็นหลักอย่างนี้ ในพระไตรปิฎกจะจัดอยู่ในประเภท อภิธัมมะ หรือ พระอภิธรรม
    เมื่อรวม พระวินัย พระสูตร และ พระอภิธรรม เข้าด้วยกัน ก็จะเกิดสามหมวดหมู่ใหญ่ ประกอบกันได้กลายเป็นพระไตรปิฎกขึ้นมา
     
  6. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    [แก้] หมวดหมู่ย่อย

    ในหมวดหมู่ใหญ่ทั้งสามของพระไตรปิฎก ยังสามารถแบ่งเป็นหมวดหมู่ย่อยได้อีก ซึ่งแสดงได้ดังแผนผังต่อไปนี้
    [​IMG]


    [แก้] ความเป็นมาของพระไตรปิฎก


    [แก้] สมัยพุทธกาล

    การรวบรวมคำสอนของพระพุทธศาสนาเริ่มมีขึ้นเมื่อครั้งที่นิครนถนาฏบุตร ศาสดาของศาสนาเชนสิ้นชีวิตลง และสาวกของท่านไม่ได้เก็บรวบรวมคำสอนไว้ ทำให้เหล่าผู้นับถือศาสนาเชนจึงเกิดการแตกแยก และถกเถียงกันว่าแท้จริงแล้วศาสดาของตนสอนไว้เช่นไร พระจุนทเถระทราบเรื่องจึงนำความขึ้นกราบทูลพระพุทธเจ้า พระองค์จึงได้ตรัสแนะนำให้พระสงฆ์ทั้งปวงร่วมกันทำสังคายนา<SUP class=plainlinks id=ref_3>[3]</SUP> เพื่อรักษาคำสอนที่แท้จริงของพระพุทธศาสนาให้คงอยู่สืบไป<SUP class=plainlinks id=ref_4>[4]</SUP>
    เมื่อพระสารีบุตรทราบถึงเรื่องราวปัญหาของศาสนาเชน ก็ได้แสดงวิธีสังคายนาไว้เป็นตัวอย่างต่อหน้าที่ประชุมคณะสงฆ์ โดยรวบรวมข้อธรรมต่างๆ ให้อยู่ตามลำดับหมวด ตั้งแต่หมวดหนึ่ง ไปจนถึงหมวดสิบ เมื่อพระสารีบุตรแสดงธรรมจบแล้ว พระพุทธเจ้าก็ทรงประทานสาธุการแก่หลักธรรมที่พระสารีบุตรแสดงไว้<SUP class=plainlinks id=ref_5>[5]</SUP>
    ทั้งนี้ ในสมัยพุทธกาลยังไม่มีการรวบรวมคำสอนของพระพุทธเจ้าเป็นพระไตรปิฎก แต่ก็มีคำเรียกพระธรรมคำสอนของพระพุทธเจ้าว่า พฺรหฺมจริย หรือพรหมจรรย์<SUP class=plainlinks id=ref_6>[6]</SUP> และ ธมฺมวินย หรือธรรมวินัย<SUP class=plainlinks id=ref_1>[7]</SUP>

    [แก้] ปฐมสังคายนา

    การทำสังคายนาครั้งแรกเกิดขึ้นภายหลังจากที่พระพุทธเจ้าเสด็จดับขันธ์ปรินิพพาน 3 เดือน ที่ถ้ำสัตตบรรณคูหา ข้างเวภารบรรพต ใกล้กรุงราชคฤห์ ประเทศอินเดีย ในพระราชูปถัมภ์ของพระเจ้าอชาตศัตรู โดยมีพระมหากัสสปเถระทำหน้าที่เป็นประธาน และเป็นผู้คอยซักถาม มีพระอุบาลีเป็นผู้นำในการวิสัชนาข้อวินัย และมีพระอานนท์เป็นผู้นำในการวิสัชนาข้อธรรม การทำสังคายนาครั้งนี้มีพระอรหันต์มาประชุมร่วมกันทั้งหมด 500 รูป ดำเนินอยู่เป็นเวลา 7 เดือน จึงเสร็จสิ้น
    มูลเหตุในการทำสังคายนาครั้งนี้เกิดขึ้นเมื่อพระมหากัสสปเถระทราบข่าวการปรินิพพานของพระพุทธเจ้าหลังจากพระองค์ปรินิพพานแล้วได้ 7 วัน บรรดาลูกศิษย์พระมหากัสสปเถระเมื่อได้ทราบข่าวต่างพากันร้องไห้คร่ำครวญ แต่มีภิกษุอยู่รูปหนึ่งชื่อสุภัททะ กล่าวว่า ท่านทั้งหลายจะร้องไห้กันไปทำไม เมื่อสมัยที่พระพุทธเจ้ายังอยู่ พระองค์ทรงเข้มงวดกวดขัน คอยชี้ว่านี่ถูก นี่ผิด นี่ควร นี่ไม่ควร ทำให้พวกเราลำบาก บัดนี้พระองค์ปรินิพพานไปแล้ว พวกเราจะได้ทำอะไรตามใจชอบเสียที เมื่อพระมหากัสสปเถระได้ฟังดังนี้ก็รู้สึกสลดใจ ดำริว่าแม้พระพุทธเจ้าปรินิพพานไปใหม่ๆ ยังปรากฏผู้มีใจวิปริตจากธรรมวินัยถึงเพียงนี้ ถ้าปล่อยไว้นานเข้า คำสอนทางพระพุทธศาสนาอาจถูกบิดเบือนไปได้ จึงริเริ่มวางแผนการทำสังคายนา

    [แก้] การสังคายนาครั้งที่สอง

    การทำสังคายนาครั้งที่สองเกิดขึ้นเมื่อ พ.ศ. 100 ที่วาลิการาม เมืองเวสาลี แคว้นวัชชี ประเทศอินเดีย โดยมีพระยสะ กากัณฑกบุตร เป็นผู้ชักชวน พระเถระผู้ใหญ่ที่เข้าร่วมทำสังคายนาครั้งนี้ได้แก่ พระสัพพกามี พระสาฬหะ พระขุชชโสภิตะ พระวาสภคามิกะ (ทั้งสี่รูปนี้เป็นชาวปาจีนกะ) พระเรวตะ พระสัมภูตะ สาณวาสี พระยสะ กากัณฑกบุตร และพระสุมนะ (ทั้งสี่รูปนี้เป็นชาวปาฐา) ในการนี้พระเรวตะทำหน้าที่เป็นประธานผู้คอยซักถาม และพระสัพพกามีเป็นผู้นำในการวิสัชนาข้อวินัย การทำสังคายนาครั้งนี้มีพระสงฆ์มาประชุมร่วมกัน 700 รูป ดำเนินการอยู่เป็นเวลา 8 เดือน จึงเสร็จสิ้น
    ข้อปรารภในการทำสังคายนาครั้งนี้เกิดขึ้นเมื่อ พระยสะ กากัณฑกบุตร พบเห็นข้อปฏิบัติย่อหย่อน 10 ประการทางพระวินัยของภิกษุวัชชีบุตร เช่น ควรเก็บเกลือไว้ในเขาสัตว์เพื่อรับประทานได้ ควรฉันอาหารยามวิกาลได้ ควรรับเงินทองได้ เป็นต้น พระยสะ กากัณฑกบุตรจึงชวนพระเถระต่างๆ ให้ช่วยกันวินิจฉัย แก้ความถือผิดครั้งนี้
    โดยรายละเอียดของปฐมสังคายนาและการสังคายนาครั้งที่สอง มีกล่าวถึงในพระวินัยปิฎก จุลลวรรค แม้ในวินัยปิฎกจะไม่กล่าวถึงคำว่าพระไตรปิฎกในการปฐมสังคายนาและการสังคายนาครั้งที่สองเลย แต่ในสมันตัปปาสาทิกา ซึ่งเป็นอรรถกถาอธิบายวินัยปิฎกนั้น บอกว่าการจัดหมวดหมู่คำสอนของพระพุทธศาสนาให้เป็นรูปเป็นร่างอย่างพระไตรปิฎกนั้น มีมาตั้งแต่ครั้งปฐมสังคายนาแล้ว

    [แก้] การสังคายนาครั้งที่สาม

    การทำสังคายนาครั้งที่สามเกิดขึ้นเมื่อ พ.ศ. 235 ที่อโศการาม กรุงปาฏลีบุตร ประเทศอินเดีย โดยมีพระโมคคลีบุตร ติสสเถระ เป็นประธาน การทำสังคายนาครั้งนี้มีพระสงฆ์มาประชุมร่วมกัน 1,000 รูป ดำเนินการอยู่เป็นเวลา 9 เดือน จึงเสร็จสิ้น
    ข้อปรารภในการทำสังคายนาครั้งนี้เกิดขึ้นเมื่อ มีพวกเดียรถีย์ หรือนักบวชศาสนาอื่นมาปลอมบวช แล้วแสดงลัทธิศาสนาและความเห็นของตนว่าเป็นพระพุทธศาสนา พระโมคคลีบุตร ติสสเถระ จึงได้ขอความอุปถัมภ์จากพระเจ้าอโศกมหาราชสังคายนาพระธรรมวินัยเพื่อกำจัดความเห็นของพวกเดียรถีย์ออกไป
    ในการทำสังคายนาครั้งนี้ พระโมคคลีบุตร ติสสเถระ ได้แต่งคัมภีร์กถาวัตถุ ซึ่งเป็นคัมภีร์หนึ่งในพระอภิธรรมไว้ด้วย และเมื่อทำสังคายนาเสร็จแล้ว ก็มีการส่งคณะทูตไปประกาศพระพุทธศาสนาในประเทศต่างๆ ในที่นี้มีพระมหินทเถระ ผู้เป็นโอรสของพระเจ้าอโศกมหาราช ที่นำพระพุทธศานาไปประดิษฐานในลังกา รวมทั้งพระโสณะเถระและพระอุตตระเถระ ที่นำพระพุทธศาสนามาเผยแผ่ยังดินแดนสุวรรณภูมิด้วย

    [แก้] การสังคายนาครั้งที่สี่

    การทำสังคายนาครั้งนี้เกิดขึ้นเมื่อประมาณ พ.ศ. 643 ที่เมืองชาลันธร แต่บางหลักฐานก็กล่าวว่าทำที่กัศมีร์หรือแคชเมียร์ การสังคายนาครั้งนี้มีลักษณะของศาสนาพราหมณ์และพระพุทธศาสนาฝ่ายมหายานเข้ามาผสม ทำให้ฝ่ายเถรวาทไม่นับว่าเป็นหนึ่งในการสังคายนา

    [แก้] การสังคายนาครั้งที่ห้า

    การทำสังคายนาครั้งนี้เกิดขึ้นเมื่อ พ.ศ. 460 ที่อาโลกเลณสถาน มตเลชนบท ประเทศศรีลังกา โดยมีพระรักขิตมหาเถระเป็นประธาน การทำสังคายนาครั้งนี้เพื่อต้องการจารึกพระพุทธวัจนะเป็นลายลักษณ์อักษร
     
  7. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    ปัญหาการนับครั้งการสังคายนา
    การนับครั้งการสังคายนามีความแตกต่างกันในพระพุทธศาสนาฝ่ายเถรวาทกับพระพุทธศาสนาฝ่ายมหายาน นอกจากนี้ แม้ประเทศที่นับถือพระพุทธศาสนาฝ่ายเถรวาทด้วยกันเองก็ยังนับครั้งการสังคายนาไม่ตรงกัน ซึ่งพอจะสรุปได้ดังนี้
    • ประเทศศรีลังกา นับการสังคายนาสามครั้งแรกที่ประเทศอินเดีย และการสังคายนาที่ประเทศตนเองอีก 3 ครั้ง โดยครั้งสุดท้ายกระทำเมื่อ พ.ศ. 2408 โดยการสังคายนาครั้งนี้เป็นที่รู้กันเฉพาะในประเทศศรีลังกาเท่านั้น
    • ประเทศพม่า นับการสังคายนาสามครั้งแรกที่ประเทศอินเดีย และนับการสังคายนาครั้งที่ 2 ที่ลังกาเป็นครั้งที่ 4 ที่ประเทศพม่า และนับการสังคายนาที่ประเทศตนเองอีก 2 ครั้ง โดยครั้งสุดท้าย หรือครั้งที่ 6 ในพม่า มีชื่อเรียกว่าฉัฏฐสังคายนา เริ่มกระทำเมื่อวันที่ 17 พฤษภาคม พ.ศ. 2497 เสร็จสิ้นเมื่อวันที่ 24 พฤษภาคม พ.ศ. 2499 การทำสังคายนาครั้งนี้ทำขึ้นเนื่องในโอกาสฉลอง 25 พุทธศตวรรษ เพื่อพิมพ์พระไตรปิฎก อรรถกถา และคำแปลเป็นภาษาพม่า โดยได้เชิญพุทธศาสนิกชนจากหลายประเทศเข้าร่วมพิธี โดยเฉพาะจากประเทศ พม่า ศรีลังกา ไทย ลาว และกัมพูชา
    • ประเทศไทย นับการสังคายนาสามครั้งแรกที่ประเทศอินเดีย และครั้งที่ 1-2 ที่ลังกา แต่ในหนังสือสังคีติยวงศ์ หรือประวัติแห่งการสังคายนา ของสมเด็จพระวันรัต ได้นับเพิ่มอีก 4 ครั้ง คือ
    [แก้] เชิงอรรถ

    <CITE class=plainlinks id=endnote_1>^</CITE> โย โว อานนฺท มยา ธมฺโม จ วินโย จ เทสิโต ปญฺญตฺโต โส โว มมจฺจเยน สตฺถา
    ดูก่อนอานนท์ ธรรมและวินัยใด ที่เราได้แสดงแล้ว และบัญญัติแล้ว แก่เธอทั้งหลาย ธรรมและวินัยนั้น จักเป็นศาสดาของเธอทั้งหลาย โดยกาลที่เราล่วงลับไป
    <SMALL>(สุตตันตปิฎก ฑีฆนิกาย มหาวรรค มหาปรินิพพานสูตร ข้อ 141)</SMALL>
    <CITE class=plainlinks id=endnote_2>^</CITE> โย ธมฺมํ ปสฺสติ โส มํ ปสฺสติ
    ผู้ใดเห็นธรรม ผู้นั้นเห็นเรา
    <SMALL>(สุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย อิติวุตตกะ สังฆาฎิสูตร ข้อ 272)</SMALL>
    <CITE class=plainlinks id=endnote_3>^</CITE> การทำสังคายนา คือการรวบรวมคำสอนทั้งหลายที่พระพุทธเจ้าได้ตรัสไว้ พร้อมจัดหมวดหมู่ให้จดจำได้ง่าย และซักซ้อมทบทวน สวดสาธยายพร้อมกันเพื่อเป็นแบบแผนในการทรงจำสืบต่อมา โดยคำว่า สังคายนา หรือ สังคีติ นี้ เป็นภาษาบาลี แปลว่า สวดพร้อมกัน (สํ หมายถึง พร้อมกัน คายน หรือ คีติ หมายถึง การสวด)
    <CITE class=plainlinks id=endnote_4>^</CITE> เรื่องนี้มีปรากฏอยู่ใน ปาสาทิกสูตร (สุตตันตปิฎก ทีฆนิกาย ปาฏิกวรรค)
    <CITE class=plainlinks id=endnote_5>^</CITE> เรื่องนี้มีปรากฏอยู่ใน สังคีติสูตร (สุตตันตปิฎก ทีฆนิกาย ปาฏิกวรรค)
    <CITE class=plainlinks id=endnote_6>^</CITE> จรถ ภิกฺขเว จาริกํ พหุชนหิตาย พหุชนสุขาย โลกานุกมฺปาย อตฺถาย หิตาย สุขาย เทวมนุสฺสานํ เทเสถ ธมฺมํ อาทิกลฺยาณํ มชฺเฌกลฺยาณํ ปริโยสานกลฺยาณํ สาตฺถํ สพฺยญฺชนํ เกวลปริปุณฺณํ ปริสุทฺธํ พฺรหฺมจริยํ ปกาเสถ
    ภิกษุทั้งหลาย เธอจงจาริกไปเพื่อประโยชน์และความสุขแก่คนหมู่มาก เพื่ออนุเคราะห์โลก เพื่อประโยชน์เกื้อกูลและความสุขแก่ทวยเทพและมนุษย์ จงแสดงธรรมงามในเบื้องต้น งามในท่ามกลาง งามในที่สุด จงประกาศพรหมจรรย์พร้อมทั้งอรรถทั้งพยัญชนะ อันบริสุทธ์บริบูรณ์โดยสิ้นเชิง
    <SMALL>(สุตตันตปิฎก สังยุตตนิกาย)</SMALL>


    [แก้] อ้างอิง

    [​IMG]

    วิกิซอร์ซ มีข้อมูลต้นฉบับเกี่ยวกับ: พระไตรปิฎก
    <!-- Pre-expand include size: 28345 bytesPost-expand include size: 8216 bytesTemplate argument size: 56 bytesMaximum: 2048000 bytes--><!-- Saved in parser cache with key thwiki:pcache:idhash:6977-0!1!0!!th!2 and timestamp 20070831115841 -->ดึงข้อมูลจาก "http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B9%84%E0%B8%95%E0%B8%A3%E0%B8%9B%E0%B8%B4%E0%B8%8E%E0%B8%81".
    หมวดหมู่: คัมภีร์ในพุทธศาสนา | วรรณคดีภาษาบาลี | อภิธานศัพท์พุทธศาสนา

    <TABLE class=toccolours id=WSerie_Buddhism style="BORDER-RIGHT: #060 1px solid; BORDER-TOP: #060 1px solid; FLOAT: right; MARGIN: 0px 0px 1em 1em; BORDER-LEFT: #060 1px solid; BORDER-BOTTOM: #060 1px solid; TEXT-ALIGN: center" cellSpacing=0 cellPadding=1 width=170><TBODY><TR><TD style="FONT-SIZE: 100%" colSpan=2><SMALL>ส่วนหนึ่งของ</SMALL>
    พุทธศาสนา

    [​IMG]

    ประวัติพุทธศาสนา</TD></TR><TR><TD style="FONT-SIZE: 95%; COLOR: #ffffff; BACKGROUND-COLOR: #8a9e49" colSpan=2>ศาสดา</TD></TR><TR><TD style="FONT-SIZE: 90%" colSpan=2>พระสัมมาสัมพุทธเจ้า
    </TD></TR><TR><TD style="FONT-SIZE: 95%; COLOR: #ffffff; BACKGROUND-COLOR: #8a9e49" colSpan=2>จุดมุ่งหมายของพุทธศาสนา</TD></TR><TR><TD style="FONT-SIZE: 90%" colSpan=2>เพื่อความดับทุกข์ · นิพพาน
    </TD></TR><TR><TD style="FONT-SIZE: 95%; COLOR: #ffffff; BACKGROUND-COLOR: #8a9e49" colSpan=2>ไตรสรณะ</TD></TR><TR><TD style="FONT-SIZE: 90%" colSpan=2>พระพุทธ · พระธรรม · พระสงฆ์
    </TD></TR><TR><TD style="FONT-SIZE: 95%; COLOR: #ffffff; BACKGROUND-COLOR: #8a9e49" colSpan=2>ความเชื่อและการปฏิบัติ</TD></TR><TR><TD style="FONT-SIZE: 90%" colSpan=2>ศีล · ธรรม
    ศีลห้า · ศีลแปด
    บทสวดมนต์และพระคาถา</TD></TR><TR><TD style="FONT-SIZE: 95%; COLOR: #ffffff; BACKGROUND-COLOR: #8a9e49" colSpan=2>คัมภีร์และหนังสือ</TD></TR><TR><TD style="FONT-SIZE: 90%" colSpan=2>พระไตรปิฎก
    พระวินัยปิฎก · พระสุตตันตปิฎก · พระอภิธรรมปิฎก</TD></TR><TR><TD style="FONT-SIZE: 95%; COLOR: #ffffff; BACKGROUND-COLOR: #8a9e49" colSpan=2>นิกาย</TD></TR><TR><TD style="FONT-SIZE: 90%" colSpan=2>เถรวาท · อาจริยวาท (มหายาน) · วัชรยาน · เซน</TD></TR><TR><TD style="FONT-SIZE: 95%; COLOR: #ffffff; BACKGROUND-COLOR: #8a9e49" colSpan=2>สังคมพุทธศาสนา</TD></TR><TR><TD style="FONT-SIZE: 90%">เมือง · ปฏิทิน · บุคคล · วันสำคัญ · ศาสนสถาน · วัตถุมงคล</TD></TR><TR><TD style="FONT-SIZE: 95%; COLOR: #ffffff; BACKGROUND-COLOR: #8a9e49" colSpan=2>ดูเพิ่มเติม</TD></TR><TR><TD style="FONT-SIZE: 90%" colSpan=2>ศัพท์เกี่ยวกับพุทธศาสนา
    หมวดหมู่พุทธศาสนา</TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  8. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    http://www.manager.co.th/Business/ViewNews.aspx?NewsID=9500000102497
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=headline vAlign=baseline align=left>ลูกหนี้บัตรเครดิตรวมพลังสกัดทวงหนี้โหด หากใช้บทเถื่อนยกเลิกสัญญาทันที</TD><TD vAlign=baseline align=right width=85>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD bgColor=#cccccc height=1>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left>โดย ผู้จัดการออนไลน์</TD><TD class=date vAlign=baseline align=left>31 สิงหาคม 2550 08:10 น.</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left> ชมรมธุรกิจบัตรเครดิต-แบงก์ชาติ จับเข่านั่งตีกรอบสถาบันการเงินทวงหนี้โหด โดยใช้สัญญาจ้างงานคุมพฤติกรรมบริษัทรับจ้างทวงหนี้ ระบุ หากรายใดมีพฤติกรรมป่าเถื่อน หากมีการร้องเรียนเข้ามา โดนยกเลิกสัญญาทันที ธปท.เผยจำนวนบริษัทรับจ้างทวงหนี้มีมากกว่า 30 แห่ง จีอีฯ แชมป์สูงสุดเกือบ 20 แห่ง ยอดหนี้บัตรเครดิตทั้งระบบ 1.69 แสนล้าน

    นายโชค ณ ระนอง ประธานชมรมธุรกิจบัตรเครดิต สมาคมธนาคารไทย กล่าวถึงปัญหาการทวงหนี้บัตรเครดิตว่า ชมรมหารือร่วมกับสถาบันการเงิน เพื่อประสานให้ตรวจสอบการทำงานของบริษัทรับทวงหนี้ภาคเอกชน ซึ่งหากพฤติกรรมการทวงหนี้ต่อลูกค้าที่ไม่ถูกต้อง จนสร้างความเสื่อมเสียต่อภาพรวมขององค์กร ก็จะยกเลิกสัญญาทันที แต่ทางชมรมคงไม่ได้กำหนดคุณสมบัติการว่าจ้างบริษัทรับทวงหนี้ชัดเจน ขึ้นอยู่กับการบริหารจัดการของสถาบันการเงินแต่ละแห่ง

    "สถาบันการเงินจะตรวจสอบสัญญาเกี่ยวกับการดูแลติดตามหรือแนวทางการทวงหนี้ของบริษัทรับจ้างทวงหนี้ให้ดีขึ้น เพื่อไม่ให้เกิดปัญหาการทวงหนี้แบบไม่ถูกต้อง หรือรบกวนลูกค้ามากเกินไป จนสร้างความเสื่อมเสียให้กับภาพพจน์ของสถาบันการเงิน โดยส่วนตัวมองว่าหากสถาบันการเงินใดจ้างบริษัทเอกชนที่สร้างความเสื่อมเสียให้หน่วยงานหรือองค์กรตัวเอง คงจะยกเลิกสัญญาจ้าง แต่สถาบันการเงินคงไม่สามารถรับงานติดตามทวงหนี้มาบริหารจัดการได้เอง เพราะไม่ใช่หน้าที่หรือธุรกิจหลัก อีกทั้งไม่มีมาตรการขึ้นบัญชีดำบรรดาบริษัทรับทวงหนี้ที่ด้อยคุณภาพ เพราะขึ้นอยู่กับสถาบันการเงินแต่ละแห่งจะพิจารณา"

    ทั้งนี้ ปัญหาดังกล่าวไม่ได้เกิดขึ้นจากสถาบันการเงินอย่างเดียวเท่านั้น แต่รวมถึงธุรกิจที่ให้สินเชื่อบุคคลอัตราดอกเบี้ยต่ำด้วย ซึ่งทางชมรมพยายามติดตามและรักษายอดเอ็นพีแอลให้อยู่ในระดับที่เหมาะสม และโดยปกติกระบวนการติดตามทวงหนี้จะมี 2 ลักษณะคือ พนักงานของสถาบันการเงิน และการว่าจ้างบริษัทเอกชนหรือสำนักงานกฎหมายติดตามทวงหนี้ ฉะนั้นหากทุกฝ่ายเห็นว่าบริษัททวงหนี้ไม่ดีไม่ถูกต้อง ก็ไม่ต้องจ้าง เชื่อว่าปัญหาจะได้รับการแก้ไขดีขึ้น

    ทั้งนี้ ควรกำหนดขอบเขตการทวงหนี้ไว้ว่า ต้องไม่กระทำให้กระทบต่อ ชื่อเสียงของธนาคารผู้ออกบัตร และตรวจควรสอบประวัติของบริษัทภายนอก ที่จะมาเซ็นสัญญาว่าจ้างรับทวงหนี้ก่อน ว่าเคยมีประวัติไม่ดีหรือไม่ ก่อนที่จะลงนามในสัญญาจ้าง เพราะจะได้ช่วยดูแลปัญหาเบื้องต้นได้บ้าง

    "ปัญหานี้ชมรมได้หารือกันเมื่อ 2 วันก่อน จึงขอให้สมาชิกดูแลมาตรฐานการทวงหนี้ของบริษัทที่รับช่วงให้มากขึ้น หากพบว่า เขาทำอะไรที่ไม่ตรงในสัญญา ก็ยกเลิกสัญญาจ้างได้ทันที"

    ทั้งนี้ ชมรมบัตรเครดิตได้หารือกันและได้ข้อสรุปร่วมกันว่า แต่ละแห่งต้องกลับไปตรวจดูสัญญาและแนวทางการทำงานของบริษัทรับจ้างทวงหนี้ว่าทำตามสัญญาและมาตรฐานที่ได้ตกลงกันไว้หรือไม่ เพื่อไม่ให้เกิดปัญหาดังกล่าว เพราะแต่ละสถาบันการเงินก็ต้องการรักษาชื่อเสียงอยู่แล้วล่าสุด เพื่อเป็นส่วนหนึ่งในการร่วมเทิดพระเกียรติเนื่องในวโรกาสมหามงคลที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงเจริญพระชนมพรรษา 80 พรรษา 5 ธันวาคม 2550สมาชิกชมรมธุรกิจบัตรเครดิต สมาคมธนาคารไทย จัดโครงการ 'Reward Points For Royal Charity' เชิญชวนให้ลูกค้าที่มีคะแนนสะสมจากการใช้จ่ายผ่านบัตรเครดิต ร่วมเปลี่ยนคะแนนสะสมเป็นเงินสนับสนุนโครงการตามแนวพระราชดำริ มูลนิธิชัยพัฒนา

    แม้จะเกิดปัญหาการทวงหนี้ เชื่อว่าธนาคารพาณิชย์คงไม่นำการทวงหนี้บัตรเครดิต กลับมาดำเนินการเอง เพราะธนาคารไม่ถนัดในการติดตามทวงหนี้ บทบาทของธนาคารพาณิชย์มีหน้าที่หลักในการปล่อยสินเชื่อ อย่างไรก็ตาม แนวโน้มอัตราการเติบโตของธุรกิจบัตรเครดิตปีนี้น่าจะขยายตัวได้ที่ 12-13% ชะลอลงตามภาวะเศรษฐกิจ และการที่ผู้บริโภคระมัดระวังการใช้จ่ายมากขึ้น

    สำหรับปัญหาหนี้เสียของบัตรเครดิต พบว่า มีอัตราเพิ่มขึ้นเพียงเล็กน้อย 0.5% จากประมาณ 3% เป็น 3.5% ซึ่งยังไม่น่าเป็นห่วง คาดว่าแนวโน้มในครึ่งปีหลังน่าจะปรับตัวดีขึ้น เนื่องจากหากมีการเลือกตั้งความเชื่อมั่นในการบริโภคจะกลับมา

    นายโชค ระบุว่า การที่ธนาคารแห่งประเทศไทย(ธปท.) ไม่ปรับลดดอกเบี้ยนโยบายลงจาก 3.25% เชื่อว่าจะไม่มีผลกระทบต่อการใช้จ่าย เพราะตัวแปรด้านการใช้จ่าย ขึ้นอยู่กับความเชื่อมั่น หากความเชื่อมั่นดีขึ้น การบริโภคก็ปรับตัวขึ้นตาม ซึ่งไม่น่าจะอยู่ที่เรื่องอัตราดอกเบี้ยต่ำ

    นายเกริก วณิกกุล ผู้ช่วยผู้ว่าการ ธนาคารแห่งประเทศไทย(ธปท.) กล่าวว่า กำลังจะเสนอเรื่องให้ ผู้ว่าการ ธปท.พิจารณาเพื่อลงนามในประกาศคำสั่งเกี่ยวกับการกำหนดแนวปฏิบัติในการติดตามทวงหนี้ให้สถาบันการเงิน บริษัทบัตรเครดิต และบริษัทปล่อยกู้ที่ไม่ใช่สถาบันการเงินต่างๆ เพื่อเป็นแนวทางให้ยึดถือเป็นกรอบในการปฏิบัติ โดยมีจุดมุ่งหมาย ไม่ให้สังคมต้องเดือดร้อนจากการทวงหนี้แบโหดๆ

    นายเกริก กล่าวว่า หลักการสำคัญคือการกำหนดเป็นกรอบกว้างๆ โดยตั้งเกณฑ์ว่า ผู้ติดตามทวงหนี้ไม่ควรใช้วาจาข่มขู่ การใช้วาจาไม่สุภาพ หรือแอบอ้าง รวมถึงการประจานให้ลูกค้าได้รับความเสียหาย ตลอดจนกำหนดการโทรศัพท์ติดตามต่อวัน/ครั้ง

    นอกจากนี้ จะมีการกำหนดกรอบปฏิบัติว่าผู้ประกอบการจะต้องมีการเปิดทางให้ลูกค้าได้ร้องเรียนและในระยะยาว อาจจะมีการตั้งเป็นศูนย์กลางเพื่อรับเรื่องราวร้องทุกข์จากลูกค้า(Complain bureau) แม้ว่าตอนนี้ สินเชื่อส่วนบุคคลและบัตรเครดิตจะมีจำนวนแค่ 3.6 แสนล้านบาทเศษ หรือคิดเป็นสัดส่วนประมาณ 3-4% ของสินเชื่อรวมทั้งระบบ ซึ่งหวั่นว่า บัตรเครดิตกำลังจะกลายเป็นปัญหาระดับชาติ เราต้องมีการวางระบบให้เป็นมาตรฐานไว้ก่อน

    ปัจจุบันผู้ประกอบธุรกิจปล่อยกู้และบัตรเครดิต จะว่าจ้างสำนักงานกฎหมายและบริษัทเอกชนรับทวงหนี้กันจำนวนมาก โดยจีอีฯ จ้างถึง 19 บริษัท เคทีซี จ้างอยู่ 6-7 บริษัท ซิตี้แบงก์ จ้าง 7-8 บริษัท ขณะที่จำนวนข้อมูลบัตรเครดิตล่าสุดเดือน มิ.ย. ปีนี้มีจำนวน 11.25 ล้านใบ มียอดสินเชื่อคงค้างประมาณ 1.69 แสนล้านบาท

    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle bgColor=#cccccc><TABLE cellSpacing=1 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle bgColor=#ffffff><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR vAlign=baseline><TD vAlign=top width=21 height=19>[​IMG]</TD><TD class=hit align=left height=19>ข่าวที่เกี่ยวข้อง</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle bgColor=#ffffff><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR vAlign=baseline><TD align=middle width=21 height=19>[​IMG]</TD><TD align=left height=19>“ซิตี้แบงก์” โต้ข่าวทวงหนี้โหด ยันดูแลบริษัทตามหนี้ใกล้ชิด</TD></TR><TR vAlign=baseline><TD align=middle width=21 height=19>[​IMG]</TD><TD align=left height=19>ลูกค้าบัตรเครดิตสุดทน! “สถาบันการเงิน” ทวงหนี้โหด-ทั้งประจานทั้งข่มขู่ บุกกองปราบแจ้งความ</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  9. AnGeliQue

    AnGeliQue เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 กรกฎาคม 2007
    โพสต์:
    126
    ค่าพลัง:
    +418
    โอ้ว โอววว ไม่ได้เข้ากระทู้นี้ซะนานเลย พี่หนุ่มกิ๊ก....คิ๊ คิ๊
     
  10. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
  11. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    ศีล 227

    จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี


    ไปที่: ป้ายบอกทาง, ค้นหา
    <!-- start content --><TABLE class=messagebox style="CLEAR: both; BORDER-RIGHT: dodgerblue 1px solid; BORDER-TOP: dodgerblue 1px solid; BACKGROUND: azure; MARGIN: 0px auto 1em; BORDER-LEFT: dodgerblue 1px solid; COLOR: #000000; BORDER-BOTTOM: dodgerblue 1px solid; POSITION: relative" cellSpacing=5 cellPadding=5 align=center border=0><TBODY><TR><TD width=50>[​IMG]</TD><TD><CENTER>บทความนี้ต้องการเก็บกวาด ตรวจสอบ ปรับปรุง แก้ไขรูปแบบ เพิ่มแหล่งอ้างอิง ใส่หมวดหมู่ หรือภาษาที่ใช้
    ในส่วนใดส่วนหนึ่งหรือหลายส่วนด้วยกัน เพื่อให้ได้ตามมาตรฐานวิกิพีเดียไทย
    คุณสามารถช่วยแก้ไขได้ โดยการตรวจสอบและปรับปรุงบทความนี้
    <SMALL>กรุณาเปลี่ยนไปใช้ป้ายข้อความอื่น เพื่อระบุสิ่งที่ต้องการตรวจสอบ หรือแก้ไข
    ดูรายละเอียดเพิ่มเติมที่ วิธีแก้ไขหน้าพื้นฐาน คู่มือการเขียน และ นโยบายวิกิพีเดีย เมื่อบทความนี้ได้รับการแก้ไขตามนโยบายแล้ว ให้นำป้ายนี้ออก</SMALL></CENTER>
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    ศีล 227 ข้อที่เป็นวินัยของสงฆ์ ทำผิดถือว่าเป็นอาบัติ สามารถแบ่งออกได้เป็นลำดับขั้น ตั้งแต่ขั้นรุนแรงจนกระทั่งเบาที่สุด ผิดข้อใดข้อหนึ่งถือว่าต้องอาบัติ การแสดงอาบัติสามารถกล่าวกับพระภิฏษุรูปอื่นเพื่อเป็นการแสดงตนต่อความผิดได้ แต่ถ้าถึงขั้นปาราชิกก็ต้องสึกอย่างเดียว
    ศีลรวมทั้งหมดแล้ว 227 ข้อ ได้แก่
    <TABLE class=toc id=toc summary=เนื้อหา><TBODY><TR><TD>เนื้อหา

    [ซ่อน]
    </TD></TR></TBODY></TABLE><SCRIPT type=text/javascript>//<![CDATA[ if (window.showTocToggle) { var tocShowText = "แสดง"; var tocHideText = "ซ่อน"; showTocToggle(); } //]]></SCRIPT>
    [แก้] ปาราชิก มี 4 ข้อ

    1. เสพเมถุน แม้กับสัตว์เดรัจฉานตัวเมีย (ร่วมสังวาสกับคนหรือสัตว์)
    2. ถือเอาทรัพย์ที่เจ้าของไม่ได้ให้มาเป็นของตน จากบ้านก็ดี จากป่าก็ดี (ขโมย)
    3. พรากกายมนุษย์จากชีวิต (ฆ่าคน)หรือแสวงหาศาสตราอันจะนำไปสู่ความตายแก่ร่างกายมนุษย์
    4. กล่าวอวดอุตตริมนุสสธัมม์ อันเป็นความเห็นอย่างประเสริฐ อย่างสามารถ น้อมเข้าในตัวว่า ข้าพเจ้ารู้อย่างนี้ ข้าพเจ้าเห็นอย่างนี้ (ไม่รู้จริง แต่โอ้อวดความสามารถของตัวเอง)

    [แก้] สังฆาทิเสส มี 13 ข้อ

    1.ปล่อยน้ำอสุจิด้วยความจงใจ เว้นไว้แต่ฝัน
    2.เคล้าคลึง จับมือ จับช้องผม ลูบคลำ จับต้องอวัยวะอันใดก็ตามของสตรีเพศ
    3.พูดจาหยาบคาย เกาะแกะสตรีเพศ เกี้ยวพาราสี
    4.การกล่าวถึงคุณในการบำเรอตนด้วยกาม หรือถอยคำพาดพิงเมถุน
    5.ทำตัวเป็นสื่อรัก บอกความต้องการของอีกฝ่ายให้กับหญิงหรือชาย แม้สามีกับภรรยา หรือแม้แต่หญิงขายบริการ
    6.สร้างกุฏิด้วยการขอ
    7.สร้างวิหารใหญ่ โดยพระสงฆ์มิได้กำหนดที่ รุกรานคนอื่น
    8.แกล้งใส่ความว่าปาราชิกโดยไม่มีมูล
    9.แกล้งสมมุติแล้วใส่ความว่าปาราชิกโดยไม่มีมูล
    10.ยุยงสงฆ์ให้แตกกัน
    11.เป็นพวกของผู้ที่ทำสงฆ์ให้แตกกัน
    12.เป็นผู้ว่ายากสอนยาก และต้องโดนเตือนถึง 3 ครั้ง
    13. ทำตัวเป็นเหมือนคนรับใช้ ประจบคฤหัสถ์

    [แก้] อนิยตกัณฑ์ มี 2 ข้อ่

    1. การนั่งในที่ลับตา มีอาสนะกำบังอยู่กับสตรีเพศ และมีผู้มาเห็นเป็นผู้ที่เชื่อถือได้พูดขึ้นด้วยธรรม ๓ ประการอันใดอันหนึ่งกล่าวแก่ภิกษุนั้นได้แก่ ปาราชิกก็ดี สังฆาทิเสสก็ดี หรือปาจิตตีย์ก็ดี ภิกษุนั้นถือว่ามีความผิดตามที่อุบาสกผู้นั้นกล่าว
    2. ในสถานที่ที่ไม่เป็นที่ลับตาเสียทีเดียว แต่เป็นที่ที่จะพูดจาค่อนแคะสตรีเพศได้สองต่อสองกับภิกษุผู้เดียว และมีผู้มาเห็นเป็นผู้ที่เชื่อถือได้พูดขึ้นด้วยธรรม 2 ประการอันใดอันหนึ่งกล่าวแก่ภิกษุนั้นได้แก่ สังฆาทิเสสก็ดี หรือปาจิตตีย์ก็ดี ภิกษุนั้นถือว่ามีความผิดตามที่อุบาสกผู้นั้นกล่าว

    [แก้] นิสสัคคิยปาจิตตีย์ มี 30 ข้อ

    คืออาบัติที่ต้องสละสิ่งของว่าด้วยเรื่องจีวร ไหม บาตร อย่างละ ๑๐ข้อ
    1.เก็บจีวรที่เกินความจำเป็นไว้เกิน 10 วัน
    2.อยู่โดยปราศจากจีวรแม้แต่คืนเดียว
    3.เก็บผ้าที่จะทำจีวรไว้เกินกำหนด 1 เดือน
    4.ใช้ให้ภิกษุณีซักผ้า
    5.รับจีวรจากมือของภิกษุณี
    6.ขอจีวรจากคฤหัสถ์ที่ไม่ใช่ญาติ เว้นแต่จีวรหายหรือถูกขโมย
    7.รับจีวรเกินกว่าที่ใช้นุ่ง เมื่อจีวรถูกชิงหรือหายไป
    8.พูดทำนองขอจีวรดีๆ กว่าที่เขากำหนดจะถวายไว้แต่เดิม
    9.พูดให้เขารวมกันซื้อจีวรดีๆ มาถวาย
    10.ทวงจีวรจากคนที่รับอาสาเพื่อซื้อจีวรถวายเกินกว่า ๓ ครั้ง
    11.หล่อเครื่องปูนั่งที่เจือด้วยไหม
    12.หล่อเครื่องปูนั่งด้วยขนเจียม (ขนแพะ แกะ) ดำล้วน
    13.ใช้ขนเจียมดำเกิน 2 ส่วนใน 4 ส่วน หล่อเครื่องปูนั่ง
    14.หล่อเครื่องปูนั่งใหม่ เมื่อของเดิมยังใช้ไม่ถึง ๖ ปี
    15.เมื่อหล่อเครื่องปูนั่งใหม่ ให้เอาของเก่าเจือปนลงไปด้วย
    16.นำขนเจียมไปด้วยตนเองเกิน 3 โยชน์ เว้นแต่มีผู้นำไปให้
    17.ใช้ภิกษุณีที่ไม่ใช้ญาติทำความสะอาดขนเจียม
    18.รับเงินทอง
    19.ซื้อขายด้วยเงินทอง
    20.ซื้อขายโดยใช้ของแลก
    21.เก็บบาตรที่มีใช้เกินความจำเป็นไว้เกิน 10 วัน
    22.ขอบาตร เมื่อบาตรเป็นแผลไม่เกิน 5 แห่ง
    23.เก็บเภสัช ๕ (เนยใส เนยข้น น้ำมัน น้ำผึ้ง น้ำอ้อย)ไว้เกิน 7 วัน
    24.แสวงและทำผ้าอาบน้ำฝนไว้เกินกำหนด 1 เดือนก่อนหน้าฝน
    25.ให้จีวรภิกษุอื่นแล้วชิงคืนในภายหลัง
    26.ขอด้ายเอามาทอเป็นจีวร
    27.กำหนดให้ช่างทอทำให้ดีขึ้น
    28.เก็บผ้าจำนำพรรษา (ผ้าที่ถวายภิกษุเพื่ออยู่พรรษา) เกินกำหนด
    29.อยู่ป่าแล้วเก็บจีวรไว้ในบ้านเกิน 6 คืน
    30.น้อมลาภสงฆ์มาเพื่อให้เขาถวายตน

    [แก้] ปาจิตตีย์ มี 92 ข้อ

    1.ห้ามพูดปด
    2.ห้ามด่า
    3.ห้ามพูดส่อเสียด
    4.ห้ามกล่าวธรรมพร้อมกับผู้ไม่ได้บวชในขณะสอน
    5.ห้ามนอนร่วมกับอนุปสัมบัน(ผู้ไม่ใช้ภิกษุ)เกิน ๓ คืน
    6.ห้ามนอนร่วมกับผู้หญิง
    7.ห้ามแสดงธรรมสองต่อสองกับผู้หญิง
    8.ห้ามบอกคุณวิเศษที่มีจริงแก่ผู้มิได้บวช
    9.ห้ามบอกอาบัติชั่วหยาบของภิกษุแก่ผู้มิได้บวช
    10.ห้ามขุดดินหรือใช้ให้ขุด
    11.ห้ามทำลายต้นไม้
    12.ห้ามพูดเฉไฉเมื่อถูกสอบสวน
    13.ห้ามติเตียนภิกษุผู้ทำการสงฆ์โดยชอบ
    14.ห้ามทิ้งเตียงตั่งของสงฆ์ไว้กลางแจ้ง
    15.ห้ามปล่อยที่นอนไว้ ไม่เก็บงำ
    16.ห้ามนอนแทรกภิกษุผู้เข้าไปอยู่ก่อน
    17.ห้ามฉุดคร่าภิกษุออกจากวิหารของสงฆ์
    18.ห้ามนั่งนอนทับเตียงหรือตั่งที่อยู่ชั้นบน
    19.ห้ามพอกหลังคาวิหารเกิน ๓ ชั้น
    20.ห้ามเอาน้ำมีสัตว์รดหญ้าหรือดิน
    21.ห้ามสอนนางภิกษุณีเมื่อมิได้รับมอบหมาย
    22.ห้ามสอนนางภิกษุณีตั้งแต่อาทิตย์ตกแล้ว
    23.ห้ามไปสอนนางภิกษุณีถึงที่อยู่
    24.ห้ามติเตียนภิกษุอื่นว่าสอนนางภิกษุณีเพราะเห็นแก่ลาภ
    25.ห้ามให้จีวรแก่นางภิกษุณีผู้มิใช่ญาติ
    26.ห้ามเย็บจีวรให้นางภิกษุณีผู้มิใช่ญาติ
    27.ห้ามเดินทางไกลร่วมกับนางภิกษุณี
    28.ห้ามชวนนางภิกษุณีเดินทางเรือร่วมกัน
    29.ห้ามฉันอาหารที่นางภิกษุณีไปแนะให้เขาถวาย
    30.ห้ามนั่งในที่ลับสองต่อสองกับภิกษุณี
    31.ห้ามฉันอาหารในโรงพักเดินทางเกิน 3 มื้อ
    32.ห้ามฉันอาหารรวมกลุ่ม
    33.ห้ามรับนิมนต์แล้วไปฉันอาหารที่อื่น
    34.ห้ามรับบิณฑบาตเกิน 4 บาตร
    35.ห้ามฉันอีกเมื่อฉันในที่นิมนต์เสร็จแล้ว
    36.ห้ามพูดให้ภิกษุที่ฉันแล้วฉันอีกเพื่อจับผิด
    37.ห้ามฉันอาหารในเวลาวิกาล
    38.ห้ามฉันอาหารที่เก็บไว้ค้างคืน
    39.ห้ามขออาหารประณีตมาเพื่อฉันเอง
    40.ห้ามฉันอาหารที่มิได้รับประเคน
    41.ห้ามยื่นอาหารด้วยมือให้ชีเปลือยและนักบวชอื่นๆ
    42.ห้ามชวนภิกษุไปบิณฑบาตด้วยแล้วไล่กลับ
    43.ห้ามเข้าไปแทรกแซงในสกุลที่มีคน 2 คน
    44.ห้ามนั่งในที่ลับมีที่กำบังกับมาตุคาม (ผู้หญิง)
    45.ห้ามนั่งในที่ลับ (หู) สองต่อสองกับมาตุคาม
    46.ห้ามรับนิมนต์แล้วไปที่อื่นไม่บอกลา
    47.ห้ามขอของเกินกำหนดเวลาที่เขาอนุญาตไว้
    48.ห้ามไปดูกองทัพที่ยกไป
    49.ห้ามพักอยู่ในกองทัพเกิน 3 คืน
    50.ห้ามดูเขารบกันเป็นต้น เมื่อไปในกองทัพ
    51.ห้ามดื่มสุราเมรัย
    52.ห้ามจี้ภิกษุ
    53.ห้ามว่ายน้ำเล่น
    54.ห้ามหลอกภิกษุให้กลัว
    55.ห้ามแสดงความไม่เอื้อเฟื้อในวินัย
    56.ห้ามติดไฟเพื่อผิง
    57.ห้ามอาบน้ำบ่อยๆเว้นแต่มีเหตุ
    58.ให้ทำเครื่องหมายเครื่องนุ่งห่ม
    59.วิกัปจีวรไว้แล้ว (ทำให้เป็นสองเจ้าของ-ให้ยืมใช้) จะใช้ต้องถอนก่อน
    60.ห้ามเล่นซ่อนบริขารของภิกษุอื่น
    61.ห้ามฆ่าสัตว์
    62.ห้ามใช้น้ำมีตัวสัตว์
    63.ห้ามรื้อฟื้นอธิกรณ์(คดีความ-ข้อโต้เถียง)ที่ชำระเป็นธรรมแล้ว
    64.ห้ามปกปิดอาบัติชั่วหยาบของภิกษุอื่น
    65.ห้ามบวชบุคคลอายุไม่ถึง ๒๐ ปี
    66.ห้ามชวนพ่อค้าผู้หนีภาษีเดินทางร่วมกัน
    67.ห้ามชวนผู้หญิงเดินทางร่วมกัน
    68.ห้ามกล่าวตู่พระธรรมวินัย (ภิกษุอื่นห้ามและสวดประกาศเกิน 3 ครั้ง)
    69.ห้ามคบภิกษุผู้กล่าวตู่พระธรรมวินัย
    70.ห้ามคบสามเณรผู้กล่าวตู่พระธรรมวินัย
    71.ห้ามพูดไถลเมื่อทำผิดแล้ว
    72.ห้ามกล่าวติเตียนสิกขาบท
    73.ห้ามพูดแก้ตัวว่า เพิ่งรู้ว่ามีในปาฏิโมกข์
    74.ห้ามทำร้ายร่างกายภิกษุ
    75.ห้ามเงื้อมือจะทำร้ายภิกษุ
    76.ห้ามโจทภิกษุด้วยอาบัติสังฆาทิเสสที่ไม่มีมูล
    77.ห้ามก่อความรำคาญแก่ภิกษุอื่น
    78.ห้ามแอบฟังความของภิกษุผู้ทะเลาะกัน
    79.ให้ฉันทะแล้วห้ามพูดติเตียน
    80.ขณะกำลังประชุมสงฆ์ ห้ามลุกไปโดยไม่ให้ฉันทะ
    81.ร่วมกับสงฆ์ให้จีวรแก่ภิกษุแล้ว ห้ามติเตียนภายหลัง
    82.ห้ามน้อมลาภสงฆ์มาเพื่อบุคคล
    83.ห้ามเข้าไปในตำหนักของพระราชา
    84.ห้ามเก็บของมีค่าที่ตกอยู่
    85.เมื่อจะเข้าบ้านในเวลาวิกาล ต้องบอกลาภิกษุก่อน
    86.ห้ามทำกล่องเข็มด้วยกระดูก งา หรือเขาสัตว์
    87.ห้ามทำเตียง ตั่งมีเท้าสูงกว่าประมาณ
    88.ห้ามทำเตียง ตั่งที่หุ้มด้วยนุ่น
    89.ห้ามทำผ้าปูนั่งมีขนาดเกินประมาณ
    90.ห้ามทำผ้าปิดฝีมีขนาดเกินประมาณ
    91.ห้ามทำผ้าอาบน้ำฝนมีขนาดเกินประมาณ
    92.ห้ามทำจีวรมีขนาดเกินประมาณ

    [แก้] ปาฏิเทสนียะ มี 4 ข้อ

    1. ห้ามรับของคบเคี้ยว ของฉันจากมือภิกษุณีมาฉัน
    2. ให้ไล่นางภิกษุณีที่มายุ่งให้เขาถวายอาหาร
    3. ห้ามรับอาหารในสกุลที่สงฆ์สมมุติว่าเป็นเสขะ (อริยบุคคล แต่ยังไม่ได้บรรลุเป็นอรหันต์)
    4. ห้ามรับอาหารที่เขาไม่ได้จัดเตรียมไว้ก่อนมาฉันเมื่ออยู่ป่า

    [แก้] เสขิยะ สารูป มี 26 ข้อ

    1.นุ่งให้เป็นปริมณฑล (ล่างปิดเข่า บนปิดสะดือไม่ห้อยหน้าห้อยหลัง)
    2.ห่มให้เป็นนปริมณฑล (ให้ชายผ้าเสมอกัน)
    3.ปกปิดกายด้วยดีไปในบ้าน
    4.ปกปิดกายด้วยดีนั่งในบ้าน
    5.สำรวมด้วยดีไปในบ้าน
    6.สำรวมด้วยดีนั่งในบ้าน
    7.มีสายตาทอดลงไปในบ้าน (ตาไม่มองโน่นมองนี่)
    8.มีสายตาทอดลงนั่งในบ้าน
    9.ไม่เวิกผ้าไปในบ้าน
    10.ไม่เวิกผ้านั่งในบ้าน
    11.ไม่หัวเราะดังไปในบ้าน
    12.ไม่หัวเราะดังนั่งในบ้าน
    13.ไม่พูดเสียงดังไปในบ้าน
    14.ไม่พูดเสียงดังนั่งในบ้าน
    15.ไม่โคลงกายไปในบ้าน
    16.ไม่โคลงกายนั่งในบ้าน
    17.ไม่ไกวแขนไปในบ้าน
    18.ไม่ไกวแขนนั่งในบ้าน
    19.ไม่สั่นศีรษะไปในบ้าน
    20.ไม่สั่นศีรษะนั่งในบ้าน
    21.ไม่เอามือค้ำกายไปในบ้าน
    22.ไม่เอามือค้ำกายนั่งในบ้าน
    23.ไม่เอาผ้าคลุมศีรษะไปในบ้าน
    24.ไม่เอาผ้าคลุมศีรษะนั่งในบ้าน
    25.ไม่เดินกระโหย่งเท้า ไปในบ้าน
    26.ไม่นั่งรัดเข่าในบ้าน

    [แก้] โภชนปฏิสังยุตต์ มี 30 ข้อ

    คือหลักในการฉันอาหารได้แก่
    1.รับบิณฑบาตด้วยความเคารพ
    2.ในขณะบิณฑบาต จะแลดูแต่ในบาตร
    3.รับบิณฑบาตพอสมส่วนกับแกง (ไม่รับแกงมากเกินไป)
    4.รับบิณฑบาตแค่พอเสมอขอบปากบาตร
    5.ฉันบิณฑบาตโดยความเคารพ
    6.ในขณะฉันบิณฑบาต และดูแต่ในบาตร
    7.ฉันบิณฑบาตไปตามลำดับ (ไม่ขุดให้แหว่ง)
    8.ฉันบิณฑบาตพอสมส่วนกับแกง ไม่ฉันแกงมากเกินไป
    9.ฉันบิณฑบาตไม่ขยุ้มแต่ยอดลงไป
    10.ไม่เอาข้าวสุกปิดแกงและกับด้วยหวังจะได้มาก
    11.ไม่ขอเอาแกงหรือข้าวสุกเพื่อประโยชน์แก่ตนมาฉัน หากไม่เจ็บไข้
    12.ไม่มองดูบาตรของผู้อื่นด้วยคิดจะยกโทษ
    13.ไม่ทำคำข้าวให้ใหญ่เกินไป
    14.ทำคำข้าวให้กลมกล่อม
    15.ไม่อ้าปากเมื่อคำข้าวยังมาไม่ถึง
    16.ไม่เอามือทั้งมือใส่ปากในขณะฉัน
    17.ไม่พูดในขณะที่มีคำข้าวอยู่ในปาก
    18.ไม่ฉันโดยการโยนคำข้าวเข้าปาก
    19.ไม่ฉันกัดคำข้าว
    20.ไม่ฉันทำกระพุ้งแก้มให้ตุ่ย
    21.ไม่ฉันพลางสะบัดมือพลาง
    22.ไม่ฉันโปรยเมล็ดข้าว
    23.ไม่ฉันแลบลิ้น
    24.ไม่ฉันดังจับๆ
    25.ไม่ฉันดังซูด ๆ
    26.ไม่ฉันเลียมือ
    27.ไม่ฉันเลียบาตร
    28.ไม่ฉันเลียริมฝีปาก
    29.ไม่เอามือเปื้อนจับภาชนะน้ำ
    30.ไม่เอาน้ำล้างบาตรมีเมล็ดข้าวเทลงในบ้าน

    [แก้] ธัมมเทสนาปฏิสังยุตต์ มี 16 ข้อ

    1.ไม่แสดงธรรมแก่คนไม่เป็นไข้ที่มีร่มในมือ
    2.ไม่แสดงธรรมแก่คนไม่เป็นไข้ที่มีไม้พลองในมือ
    3.ไม่แสดงธรรมแก่คนไม่เป็นไข้ที่มีของมีคมในมือ
    4.ไม่แสดงธรรมแก่คนไม่เป็นไข้ที่มีอาวุธในมือ
    5.ไม่แสดงธรรมแก่คนไม่เป็นไข้ที่สวมเขียงเท่า (รองเท้าไม้)
    6.ไม่แสดงธรรมแก่คนไม่เป็นไข้ที่สวมรองเท้า
    7.ไม่แสดงธรรมแก่คนไม่เป็นไข้ที่ไปในยาน
    8.ไม่แสดงธรรมแก่คนไม่เป็นไข้ที่อยู่บนที่นอน
    9.ไม่แสดงธรรมแก่คนไม่เป็นไข้ที่นั่งรัดเข่า
    10.ไม่แสดงธรรมแก่คนไม่เป็นไข้ที่โพกศีรษะ
    11.ไม่แสดงธรรมแก่คนไม่เป็นไข้ที่คลุมศีรษะ
    12.ไม่แสดงธรรมแก่คนไม่เป็นไข้ที่อยู่บนอาสนะ (หรือเครื่องปูนั่ง) โดยภิกษุอยู่บนแผ่นดิน
    13.ไม่แสดงธรรมแก่คนไม่เป็นไข้ที่นั่งบนอาสนะสูงกว่าภิกษุ
    14.ไม่แสดงธรรมแก่คนไม่เป็นไข้ที่นั่งอยู่ แต่ภิกษุยืน
    15.ภิกษุเดินไปข้างหลังไม่แสดงธรรมแก่คนไม่เป็นไข้ที่เดินไปข้างหน้า
    16.ภิกษุเดินไปนอกทางไม่แสดงธรรมแก่คนไม่เป็นไข้ที่ไปในทาง

    [แก้] ปกิณสถะ มี 3 ข้อ

    1. ภิกษุไม่เป็นไข้ไม่ยืนถ่ายอุจจาระ ปัสสาวะ
    2. ภิกษุไม่เป็นไข้ไม่ถ่ายอุจจาระ ปัสสาวะ หรือบ้วนน้ำลายลงในของเขียว (พันธุ์ไม้ใบหญ้าต่างๆ)
    3. ภิกษุไม่เป็นไข้ไม่ถ่ายอุจจาระ ปัสสาวะ หรือบ้วนน้ำลายลงในน้ำ

    [แก้] อธิกรณสมถะ มี 7 ข้อ

    1. ระงับอธิกรณ์ (คดีความ หรือความที่ตกลงกันไม่ได้) ในที่พร้อมหน้า (บุคคล วัตถุ ธรรม)
    2. ระงับอธิกรณ์ (คดีความ หรือความที่ตกลงกันไม่ได้) ด้วยการยกให้ว่าพระอรหันต์เป็นผู้มีสติ
    3. ระงับอธิกรณ์ (คดีความ หรือความที่ตกลงกันไม่ได้) ด้วยยกประโยชน์ให้ในขณะเป็นบ้า
    4. ระงับอธิกรณ์ (คดีความ หรือความที่ตกลงกันไม่ได้) ด้วยถือตามคำรับของจำเลย
    5. ระงับอธิกรณ์ (คดีความ หรือความที่ตกลงกันไม่ได้) ด้วยถือเสียงข้างมากเป็นประมาณ
    6. ระงับอธิกรณ์ (คดีความ หรือความที่ตกลงกันไม่ได้) ด้วยการลงโทษแก่ผู้ผิด
    7. ระงับอธิกรณ์ (คดีความ หรือความที่ตกลงกันไม่ได้) ด้วยให้ประนีประนอมหรือเลิกแล้วกันไป
    <!-- Pre-expand include size: 3595 bytesPost-expand include size: 2959 bytesTemplate argument size: 0 bytesMaximum: 2048000 bytes--><!-- Saved in parser cache with key thwiki:pcache:idhash:91802-0!1!0!!th!2 and timestamp 20070831070923 -->ดึงข้อมูลจาก "http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%A8%E0%B8%B5%E0%B8%A5_227".
     
  12. AnGeliQue

    AnGeliQue เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 กรกฎาคม 2007
    โพสต์:
    126
    ค่าพลัง:
    +418
    สาธุ...ค่ะพี่หนุ่ม...(ปรมาจารย์หนุ่ม) สรรหามาให้อ่านเพิ่มความรู้ดีจริงๆค่ะ
     
  13. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
  14. AnGeliQue

    AnGeliQue เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 กรกฎาคม 2007
    โพสต์:
    126
    ค่าพลัง:
    +418
    หึหึ จำเมล์ที่สมัครชื่อ rinnn ไม่ได้ซะนี่ รินเอ้ยย เลยเป็นเวอร์ชั่นทู ซะเลย

    นะพี่หนุ่ม...ดีนะไม่บอก หนูเป็นกะละมัง...หึ่มๆๆๆ
     
  15. :::เพชร:::

    :::เพชร::: เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    8,584
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +36,137
    โห!! ดูกระดาษหนังสือยังเก่าขนาดนี้ พระเครื่องหลวงปู่ยิ่งเก่ากว่า....
     
  16. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    อ้างอิง:
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=6 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=alt2 style="BORDER-RIGHT: 1px inset; BORDER-TOP: 1px inset; BORDER-LEFT: 1px inset; BORDER-BOTTOM: 1px inset">ข้อความดั้งเดิมโดยคุณ AnGeliQue [​IMG]
    หึหึ จำเมล์ที่สมัครชื่อ rinnn ไม่ได้ซะนี่ รินเอ้ยย เลยเป็นเวอร์ชั่นทู ซะเลย

    นะพี่หนุ่ม...ดีนะไม่บอก หนูเป็นกะละมัง...หึ่มๆๆๆ
    </TD></TR></TBODY></TABLE>

    (555) (555) (555)

    เปลี่ยนเวอร์ชั่นบ้างก็ดี แต่หุ่นไม่เปลี่ยนละมั้ง
    <!-- / message --><!-- sig -->

    อย่ากินมากนะหนูริน เวลาที่ต้องวิ่ง เดี๋ยวจะวิ่งไม่ทันเขา

    .
     
  17. AnGeliQue

    AnGeliQue เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 กรกฎาคม 2007
    โพสต์:
    126
    ค่าพลัง:
    +418
    กัดๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆ พี่หนุ่ม...พี่หนุ่มมีไปงานบุญที่ไหนมั้งป่ะคะ หนูอยากไปด้วย แหะๆๆ
     
  18. nongnooo

    nongnooo เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 พฤศจิกายน 2006
    โพสต์:
    4,139
    ค่าพลัง:
    +9,446
    ผมสังหรณ์แล้วเชียว คุณตั้งจิต น้า...คุณตั้งจิต เมื่อครู่ดื่มน้ำเก็กฮวยไปหลายแก้ว ถึงสำลัก สงสัยต้องเปลี่ยนเป็นใบบัวบกแก้ช้ำในซะแล้ว (eek) พี่ปุ๊กับ คุณ sithiphong ขอคะแนนความสงสารหน่อยครับ เผื่อหัวเราะทีหลังดังกว่า(glass)
    nongnooo...
     
  19. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948

    ไปงานบุญเดือนพฤศจิกายน ไปนอนสนส.ผาผึ้ง 1 คืน ไปหรือเปล่า งานนี้มีคนไปหลายคน คิดว่าไม่น่าจะน้อยกว่า 15 คน ก็ไปนั่งสมาธิกันครับ แต่กลัวหนูริน จะลำบาก เพราะว่าไม่มีไฟ ต้องใช้เทียนกับไฟฉาย แถมน้ำก็เป็นน้ำบาดาลน๊ะจะบอกให้

    .
     
  20. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    อ้างอิง:
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=6 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=alt2 style="BORDER-RIGHT: 1px inset; BORDER-TOP: 1px inset; BORDER-LEFT: 1px inset; BORDER-BOTTOM: 1px inset">ข้อความดั้งเดิมโดยคุณ sithiphong [​IMG]
    อ้างอิง:
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=6 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=alt2 style="BORDER-RIGHT: 1px inset; BORDER-TOP: 1px inset; BORDER-LEFT: 1px inset; BORDER-BOTTOM: 1px inset">ข้อความดั้งเดิมโดยคุณ nongnooo [​IMG]
    คิดถึงคุณตั้งจิตอีกแล้ว มาแซงพระพิมพ์ซุ้มไข่ปลาอีกแล้ว[bw-cry]


    </TD></TR></TBODY></TABLE>

    อ้างอิง:
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=6 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=alt2 style="BORDER-RIGHT: 1px inset; BORDER-TOP: 1px inset; BORDER-LEFT: 1px inset; BORDER-BOTTOM: 1px inset">ข้อความดั้งเดิมโดยคุณ ตั้งจิต [​IMG]
    ถึงว่าสิ นั่งๆอยู่มันอยู่ไม่ติดต้องมาเปิดเน็ทซะนี่
    ส่วนเรื่องแซงนั้น คงเป็นที่แน่นอนแล้วล่ะว่า.......ความชาราได้มาเยี่ยมเยือนคุณnongnooo เป็นแน่แท้แล้ว
    (555)


    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    น่าฉงฉานคุณnongnooo จังเลย สู้ครับสู้

    (b-malang)

    ต้องยาบำรุงสักหน่อย มีแรงเร็วขึ้น

    [b-nurse]
    <!-- / message --><!-- sig -->



    อ้างอิง:
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=6 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=alt2 style="BORDER-RIGHT: 1px inset; BORDER-TOP: 1px inset; BORDER-LEFT: 1px inset; BORDER-BOTTOM: 1px inset">ข้อความดั้งเดิมโดยคุณ sithiphong [​IMG]
    มาบอกกันล่วงหน้าเลยว่า หากท่านใดที่ไม่เคยร่วมทำบุญสร้างพระเจดีย์ศรีชัยผาผึ้งมาก่อน ก็ไม่ได้จองพระพิมพ์ซึ่งพิเศษๆ หรือถ้าจองได้ก็คงต้องทำบุญเพิ่มเติมจากที่จองได้ ไม่น้อยกว่า 8,000 - 10,000บาท

    ผมก็ขอเชิญร่วมทำบุญสร้างพระเจดีย์ศรีชัยผาผึ้งก่อนนะครับ

    โมทนาสาธุครับ


    </TD></TR></TBODY></TABLE>


    ไอ้หย่า อย่างนี้เข็มเดียวไม่พอแน่คุณnongnooo ต้องทั้งกินทั้งฉีดแล้วครับ แถมนมสองโหล ,โอวัลติน 2 กระป๋องใหญ่สุดๆ ,ไข่วันละฟอง , วิ่งวันละ 4 รอบสนามบอลแล้วครับ

    (bb-flower
    .
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    ต้องฟิตร่างกายแล้วละเนี่ย ถึงจะสู้คุณตั้งจิตได้ ^-^
     

แชร์หน้านี้

Loading...