ดาวหาง Elenin / Nibiru (planet X) - Elenin - Events

ในห้อง 'ภัยพิบัติและการเตรียมการ' ตั้งกระทู้โดย Falkman, 28 กุมภาพันธ์ 2011.

  1. Uaychai

    Uaychai เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    17 เมษายน 2011
    โพสต์:
    85
    ค่าพลัง:
    +231
  2. Nantnapas P

    Nantnapas P เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    7 พฤษภาคม 2009
    โพสต์:
    287
    ค่าพลัง:
    +902
    <iframe width="480" height="360" src="http://www.youtube.com/embed/EFUGN5Exm2A?rel=0" frameborder="0" allowfullscreen></iframe>

    Sunrise 6/5/13 6:45 a:m Westgermany
     
  3. Nantnapas P

    Nantnapas P เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    7 พฤษภาคม 2009
    โพสต์:
    287
    ค่าพลัง:
    +902
    <iframe width="480" height="360" src="http://www.youtube.com/embed/PJV3egh32Ag?rel=0" frameborder="0" allowfullscreen></iframe>

    Westgermany ( Saarbrücken)15.05.2013
     
  4. อณูธาตุ

    อณูธาตุ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    6 กุมภาพันธ์ 2008
    โพสต์:
    63
    ค่าพลัง:
    +195
    [ame=http://www.youtube.com/watch?v=hPFXdn0WUyc]101 - ANSWERS OF AN ALIEN FROM ANDROMEDA - Nibiru and Events - YouTube[/ame]

    101 - ANSWERS OF AN ALIEN FROM ANDROMEDA - Nibiru and Events มาแล้ว

    ขอความอนุเคราะห์ ท่าน Nirvana จร้า
     
  5. A-KiT

    A-KiT เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    29 มีนาคม 2012
    โพสต์:
    174
    ค่าพลัง:
    +610
    ANSWERS OF AN ALIEN FROM ANDROMEDA - Nibiru and Events - YouTube

    ตอนนี้ก็เป็นตอนที่ 101 แล้วไม่ทราบว่ามีใครเคยเก็บสถิติว่าเขาตอบหรือทำนายถูกกี่เปอร์เซ็นต์ จะได้เป็นข้อมูลประกอบการตัดสินใจครับ

    ขอบคุณครับ
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 21 พฤษภาคม 2013
  6. Nirvana

    Nirvana เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    9 กุมภาพันธ์ 2005
    โพสต์:
    8,188
    ค่าพลัง:
    +20,860

    อย่าไปคิดเรื่องผิดถูกกี่เปอร์เซนต์เลย ครับ

    เพราะที่ถูกก็มี ผิดเต็มๆก็มี
    แต่ที่แน่ๆ สิ่งที่น้า Mythi กล่าวถึงดูมีเหตุผล
    แต่เป็นเรื่องที่สุดการคาดเดาของมนุษย์ ต้องติดตามอ่านตั้งแต่คลิปที่ 1
    รวมถึงคลิปย่อยๆอีกหลายตอน

    ส่วนเรื่องความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี น้าแกก้าวไกลกว่าโลกเราเป็นพันปี
    เหมือนกับเราไปบอกพ่อขุนรามคำแหงว่า จะใช้ IPhone 5 โทรไปคุยกับเจงกืสข่าน ที่เมืองจีนนั่นแหละ ครับ

    แต่ส่วนตัวที่น้าแกโพสต์มา 2 ปี ยังน่าติดตามทุกตอน
     
  7. Nirvana

    Nirvana เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    9 กุมภาพันธ์ 2005
    โพสต์:
    8,188
    ค่าพลัง:
    +20,860
    จริงๆมาดูห้องนี้ แต่ไม่โพสต์อะไรในกระทู้ช่วงนี้

    เพราะดูแล้วมีตัวป่วนเวป แต่ไม่มีใครจัดการ
    ว่าจะปล่อยให้ห้องนี้ร้างไปซักพักนึง....รำคาญ น่ะ
    ไหนๆจะมีคนรอฟังก็คงจะทำหน้าที่ต่อ.....

    คลิปที่ 101 น้าก็ตอบคำถามแบบที่เคยทำมาตามปกติ แต่จะแปลให้เฉพาะส่วนที่มีผลกระทบโดยตรงเกี่ยวกับภัยพิบัติ

    สาระสำคัญก็มีอย่าง ผู้ที่มาถามเรื่อง Big Foot คือ อะไร คำตอบก็คือ สายพันธุ์มนุษย์จากต่างถิ่นเอามาปล่อยทดสอบในบรรยากาศของโลก
    แต่เนื่องจากคนบนโลกยังจิตใจหยาบช้าอยู่มาก เค้าเลยไม่ค่อยปรากฏตัว
    ในที่สุดถ้าอยู่ไม่ได้ เค้าก็จะย้ายไปอยู่ดาวดวงอื่นๆ

    สมาชิกถามคุณน้าถึงเรื่อง การเปลี่ยนแปลงของโลกว่ายังดำเนินต่อไปหรือไม่ คำตอบคือ ทุกอย่างที่เคยกล่าวไว้ก็ยังคงเป็นไปตามนั้น แม้ว่าชาวคลูเลี่ยนได้พยายามสร้างสมดุลย์ให้กับโลก โดยอาศัยดาวเคราะห์อีกดวงหนึ่งในสุริยะจักรวาลนี้ชื่อ Taus แต่ไม่สามารถเปลี่ยนแปลงหรือช่วยอะไรได้มากนักเมื่อโลกจะโคจรเข้าไปในกล่มเมฆคอสมิค ซึ่งจะมีผลกระทบมากมายกับผู้คนบนพื้นโลกเร็วๆนี้

    มีผู้ถามเกี่ยวกับแผนที่โลกใหม่ (ของไมเคิล สกัลเลี่ยน ตามที่เรารู้จักกันดี) ว่ายังคงเป็นตามนั้นเมื่อโลกจะสลับขั้ว คำตอบคือ แผนที่นั้นใช้ข้อมูลตามสภาพสูง/ต่ำของพื้นที่ในโลก ทำนายระดับน้ำท่วม

    แต่ความเป็นจริงจะไม่เป็นเช่นนั้น เพราะทวีปต่างๆจะมีส่วนที่ถล่มหายไปและในขณะเดียวกันก็จะเกิดทวีปใหม่ๆผุดขึ้นมา ดังนั้นแผนที่ดังกล่าวน่าจะใช้ไม่ได้อีกต่อไป

    คุณน้าทิ้งท้ายไว้ว่า หากเกิดอะไรขึ้นจะรีบแจ้งมายังสมาชิกในเวปบล๊อคของ CB โดยด่วน แต่เตือนให้ระวังถึงผู้นำในโลกจะสร้างสถานการณ์ส่งสัญญานผิดให้ผู้คนหลงเชื่อเท่านั้น


    ปล. สมาชิกหลายท่านคงจะงงเมื่ออ่านการถอดเทปครั้งนี้ แต่ถ้าท่านใดที่เคยติดตามมานานและสามารถเข้าใจคลิปตั้งแต่แรกได้ การติดตามข้อความของน้า Mythi จะสนุกตื่นเต้นมาก ครับ
     
  8. Nantnapas P

    Nantnapas P เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    7 พฤษภาคม 2009
    โพสต์:
    287
    ค่าพลัง:
    +902
    ไม่ทราบว่า เท็จ จริงเป็น เช่นไร
    แต่เห็นว่า ภาพสวยดี เลยเอามาฝากกันค่ะ

    <iframe width="560" height="315" src="http://www.youtube.com/embed/S4q8oZgogtU?rel=0" frameborder="0" allowfullscreen></iframe>
     
  9. ZZ

    ZZ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 เมษายน 2005
    โพสต์:
    5,374
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +34,649
    คุณ nantnapas ช่างขยันจริงๆ

    ผมเจอคลิบนี้...เลยเอามาฝาก...ครับ (ไม่ทราบว่าดูกันหรือยัง)

    นักวิทยาศาสตร์...ทำสารคดีได้น่าสนใจมากๆ...และอาจตอบคำถามหลายๆข้อที่เกี่ยวข้องกับเหตุการณ์ปัจจุบันได้...ครับ

    เช่น อุกกาบาตที่รัสเซีย , ฟลอริด้า , Fireball ในสถานที่ต่างๆ



    <iframe width="640" height="360" src="http://www.youtube.com/embed/O5rRpUsk8hY?feature=player_detailpage" frameborder="0" allowfullscreen></iframe>

    เผยแพร่เมื่อ 28 ก.พ. 2013
    The Universe Nemesis


    สรุปคร่าวๆ

    - Nemesis ดาวแฝดของดวงอาทิตย์จะโคจรผ่านเข้ามาในระบบสุริยะทุกๆ 26 ล้านปี และอาจเกิดปรากฎการณ์ภัยธรรมชาติครั้งใหญ่

    และอาจเป็นสาเหตุให้ไดโนเสาร์สูญพันธ์ไปเนื่องจากเศษดาวหาง(หรืออุกาบาต) ตกลงมาปะทะโลก

    - ขนาดของมันเล็กกว่าดวงอาทิตย์ สังเกตุได้...คาบจากวงโคจร...ที่ใหญ่กว่า (เพื่อการ balance มวล)



    นักวิทยาศาสตร์ที่ศึกษาเรื่องนี้

    - Richard Muller

    Richard A. Muller (born January 6, 1944) is an American professor of physics at the University of California, Berkeley. He is also a faculty senior scientist at the Lawrence Berkeley National Laboratory.

    Muller was a member of the JASON Defense Advisory Group, which brings together prominent scientists as consultants for the United States Department of Defense.

    - Greg Laughlin

    Gregory Laughlin received a PhD in Astronomy and Astrophysics from UC Santa Cruz in 1994. He held an NSF/JSPS Fellowship in Tokyo, and also did postdoctoral research at the University of Michigan and the University of California, Berkeley. From 1999-2001, he worked for NASA as a Planetary Scientist at the Ames Research Center in Mountain View, CA. He joined the UCSC faculty in 2001. In 2004, he was recipient of an NSF CAREER award, and was promoted to Full Professor in 2007.

    - Mike Brown (Michael E. Brown)

    Mike Brown (born 5 June 1965) has been a professor of planetary astronomy at the California Institute of Technology (Caltech) since 2003.[1] His team has discovered many trans-Neptunian objects (TNOs), notably the dwarf planet Eris, the only known TNO more massive than Pluto.[2] He has humorously referred to himself as the man who killed Pluto,[3][4] because he furthered Pluto being downgraded to a dwarf planet in the aftermath of the discovery of Eris and several other probable trans-Neptunian dwarf planets. He is also the author of How I Killed Pluto and Why It Had It Coming, published in 2010.

    - Laura Danly

    Laura Danly, Ph.D. is an American astronomer and academic. Currently, Danly serves as Curator at Griffith Observatory in Los Angeles. Prior to her current positions, she served as chair of the Department of Space Sciences at the Denver Museum of Nature & Science.

    Previously, Danly held academic posts at the University of Denver (where she served as assistant professor), and at Pomona College (where she served as visiting assistant professor). In these positions, she developed curricula focusing on astronomy, archaeoastronomy, solar physics, astrophotography and astrobiology.

    Danly spent several years at the Space Telescope Science Institute in Baltimore, Maryland, where she held a variety of positions including project scientist for education, assistant astronomer and Hubble Fellow. In addition, Danly conducted post-doctoral research at the STSci.

    As an astronomer, Danly has extensive observational experience, including some 441 hours of ultraviolet observation (much of it via the Hubble Space Telescope). Danly has also completed hundreds of hours of optical and radio observation at such facilities as Kitt Peak National Observatory, MacDonald Observatory, Cerro Tololo IntAm Observatory and the National Radio Astronomical Observatory.

    - Clifford Johnson

    Clifford V. Johnson , Ph.D. - Professor

    Clifford Johnson's research interests are mainly concerned with the development of theoretical tools for the description of the basic fabric of Nature. He is part of the international effort to understand and describe the origin of, and the fundamental constituents (and their interactions) of the Universe. He works mainly on superstring theory, quantum gravity, gauge theory, and M-theory, studying objects such as black holes and D-branes, using a variety of techniques from Mathematics and Physics.


    ข่าวที่เกี่ยวข้อง

    http://palungjit.org/threads/ไม่รู้ว่ามีใครเห็น-planet-x-หรือยัง.253139/page-18


    .
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 6 มิถุนายน 2013
  10. ZZ

    ZZ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 เมษายน 2005
    โพสต์:
    5,374
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +34,649
    ข่าวเก่า

    ที่สนับสนุนทฤษฏีเกี่ยวกับ...อุกกาบาต...ชนโลก

    ปัญหาคือ...ขนาดของมัน ?

    ดังนั้น...หน่วยงานที่ติดตามพวกอุกกาบาตที่เข้าใกล้โลก( Near-Earth asteroids‎ )...จึงมีบทบาทมากในปัจจุบัน...ครับ

    Link .... http://neo.jpl.nasa.gov/



    Amateur astronomer spots Earth-size scar on Jupiter

    Australian man alerts Nasa to hole in planet's atmosphere caused by comet or asteroid crash

    Toni O'Loughlin and agencies
    guardian.co.uk, Tuesday 21 July 2009 10.27 BST


    [​IMG]

    The large impact on Jupiter's south polar region as captured by Nasa's infrared telescope facility in Mauna Kea, Hawaii. Photograph: Nasa/AP
    An amateur Australian astronomer looking through his backyard telescope has discovered that a large comet or asteroid has crashed into Jupiter, creating a hole the size of the Earth in the planet's atmosphere.

    Anthony Wesley, 44, a computer programmer who lives in a small town outside the capital, Canberra, discovered a large scar on Jupiter when he was photographing the giant gaseous planet.

    He tipped off Nasa about his discovery, and images taken by the US space agency's infrared telescope in Hawaii show a scar in the atmosphere near the south pole of the planet.

    In a remarkable twist of fate, the discovery was made on the 40th anniversary of the Apollo 11 moon landing and the 15th anniversary of another large comet strike on Jupiter.

    Wesley, who spends about 20 hours a week on his passion of watching and photographing Jupiter, spotted the strike using the telescope at the bottom of his garden in Murrumbatema at about 1am yesterday (4pm BST on Sunday).

    But he almost missed making the discovery because he was watching the Open golf championship and the second Ashes test match. "I'm a keen golf watcher and unfortunately we were being flogged in the cricket," he told the Guardian. "I was imaging Jupiter until about midnight and seriously thought about packing up and going back to the house to watch the golf and the cricket. In the end I decided to just take a break and I went back to the house to watch Tom Watson almost make history.

    "I came back down half an hour later and I could see this black mark had turned into view."

    He recorded the moment in his observation log: "I noticed a dark spot rotating into view in Jupiter's south polar region [and] started to get curious," he said. "My next thought was that it must be either a dark moon ... or a moon shadow, but it was in the wrong place and the wrong size.

    "By two o'clock I'd come back up to the house and was sending alerts to all the people I could think of that should be looking at this and especially the professional astronomers with specialised instruments for measuring this," he said.

    Wesley emailed scientists at Nasa's jet propulsion laboratory in Pasadena, California. Using Nasa's infrared telescope facility at the summit of Mauna Kea, Hawaii, they gathered evidence indicating an impact.

    "We were extremely lucky to be seeing Jupiter at exactly the right time, the right hour, the right side of Jupiter to witness the event. We couldn't have planned it better," said Glenn Orton, a scientist at the Pasadena lab.

    "It could be the impact of a comet, but we don't know for sure yet," he said. "It's been a whirlwind of a day, and this on the anniversary of the Shoemaker-Levy 9 and Apollo anniversaries is amazing."

    Wesley has been an ardent star-gazer since the age of 10 when he was given a small telescope. But over the past five years he has been in Jupiter's thrall. "It's one of my passions. It's such a dynamic planet, it's changing all the time. To take a photograph of this type, really it's a dream come true for me."

    Leigh Fletcher, another Nasa scientist, told the New Scientist: "The impact scar we're seeing is about the same size as one of Jupiter's big storms ... That, I believe, is about the size of the Earth."

    Amateur astronomer spots Earth-size scar on Jupiter | Science | guardian.co.uk


    .
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    แก้ไขครั้งล่าสุด: 8 มิถุนายน 2013
  11. ZZ

    ZZ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 เมษายน 2005
    โพสต์:
    5,374
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +34,649
    วันนี้เอาคลิบนี้มาฝาก...ครับ

    คลิบสารคดีเชิงการ์ตูน...มีมุมมองที่น่าสนใจ...เกี่ยวกับวิวัฒนาการของโลก

    ประวัติศาสตร์โลก...มีบางช่วงบางตอนที่ขาดหายไป...เราลองมาดูว่า...คนอีกกลุ่มเค้าคิดยังไง...กันครับ

    ปล.ดูเพื่อเป็นข้อมูลข่าวสาร(นอกกระแส)...นะครับ


    <iframe width="640" height="360" src="http://www.youtube.com/embed/DwCaZaSon9A?feature=player_detailpage" frameborder="0" allowfullscreen></iframe>


    .
     
  12. Nantnapas P

    Nantnapas P เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    7 พฤษภาคม 2009
    โพสต์:
    287
    ค่าพลัง:
    +902
    สรุป เหตุการณ์ เดือน พ.ค. 2556

    <iframe width="560" height="315" src="http://www.youtube.com/embed/jvzkWpkRfpU?rel=0" frameborder="0" allowfullscreen></iframe>
     
  13. ZZ

    ZZ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 เมษายน 2005
    โพสต์:
    5,374
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +34,649
    ภัยดาวเคราะห์น้อย

    โดย สุทัศน์ ยกส้าน 21 มิถุนายน 2556 13:00 น.


    [​IMG]


    คลิกที่ภาพเพื่อดูขนาดใหญ่ขึ้น

    ส่วนหนึ่งของเหตุการณ์อุกกาบาตระเบิดเหนือรัสเซียเมื่อต้นปีที่ผ่านมา
    เมื่อวันที่ 15 กุมภาพันธ์ ที่ผ่านมานี้ องค์การ NASA ของสหรัฐอเมริกาได้รายงานว่า มีดาวเคราะห์น้อยดวงหนึ่งชื่อ 2012 DA14 ที่มีเส้นผ่านศูนย์กลางยาว 45 เมตร ได้พุ่งผ่านโลกที่ระยะห่าง 27,700 กิโลเมตร ซึ่งนับว่า “ใกล้” มาก เพราะดาวเทียม Geosynchronous ที่ถูกส่งขึ้นอวกาศเพื่อให้โคจรเหนือโลกที่ตำแหน่งเดิมตลอดเวลา ก็ยังอยู่ห่างจากโลกเพียง 37,000 กิโลเมตร ถึงแม้ดาวเคราะห์น้อยดวงนี้จะมีขนาดเล็กมาก เมื่อเปรียบเทียบกับโลก (คือประมาณ 1 ต่อ 100,000) แต่ด้วยความเร็วที่สูงมากประมาณ 6 กิโลเมตร/วินาที โมเมนตัมและพลังงานจลน์ที่จะสูญหายไปเมื่อดาวเคราะห์น้อยดวงนี้ชนโลกจะทำให้เกิดพลังระเบิดเทียบเท่ากับระเบิดปรมาณูที่เคยถล่ม Hiroshima ถึง 180 ลูก

    ความจริงนักดาราศาสตร์ขององค์การ NASA ได้เห็นดาวเคราะห์น้อยดวงนี้ตั้งแต่ปี 2011 และได้ติดตามดูอย่างใกล้ชิด จนรู้ว่ามันไม่มีวันชนโลก และจะหวนกลับมาใกล้โลกในอีก 40 ปี แต่ก็อาจจะชนได้ในอีก 1,200 ปี

    แม้โลกจะปลอดภัยในคราวนี้ แต่ NASA ก็ได้เตือนว่า นอกจากดาวเคราะห์น้อย 2012 DA14 แล้ว ในอวกาศยังมีดาวเคราะห์น้อยอื่นๆ อีกเป็นจำนวนมากที่กำลังโคจรอยู่ใกล้โลก จนนักดาราศาสตร์เรียกดาวเคราะห์น้อยประเภทนี้ว่า

    Near Earth Object หรือ NEO

    http://neo.jpl.nasa.gov/neo/


    และได้เห็นแล้วจำนวน 9,688 ดวง อีกทั้งมีข้อมูล เช่น มวล ความเร็ว และวิถีโคจรของดาวประเภทนี้ครบถ้วน NASA รู้ว่าคงมี NEO อีกเป็นจำนวนมากที่นักดาราศาสตร์ยังไม่เห็น และทุกดวงล้วนมีโอกาสมากบ้างน้อยบ้างที่จะพุ่งชนโลกได้ในอนาคต คำถามที่นักดาราศาสตร์และประชาชนทั่วไปสนใจ คือ โลกจะถูกดาวเคราะห์น้อยดวงใด ชนเมื่อใด ณ ตำแหน่งใด และความเสียหายจะมหาศาลเพียงใด

    ในอดีตเมื่อ 4,000 ล้านปีก่อน ที่โลกเพิ่งถือกำเนิดใหม่ๆ โลกได้ถูกดาวเคราะห์ขนาดใหญ่เท่าดาวอังคารพุ่งชน ทำให้ชิ้นส่วนหนึ่งของโลกหลุดกระเด็น แล้วกระจายไปจับกลุ่มรวมกันโดยอิทธิพลของแรงโน้มถ่วงเกิดเป็นดวงจันทร์ และเมื่อ 65 ล้านปีก่อน โลกก็เคยถูกอุกกาบาตขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 10 กิโลเมตรพุ่งชนที่แหลม Yucatan ของเม็กซิโก ความรุนแรงที่เกิดจากการชนในครั้งนั้นได้ทำให้ไดโนเสาร์สูญพันธ์ ครั้นเมื่อประมาณ 105 ปีก่อนนี้เอง คือเมื่อวันที่ 30 มิถุนายน ค.ศ.1908 ก็ได้มีดาวเคราะห์น้อยเส้นผ่านศูนย์กลาง 100 เมตร พุ่งบรรยากาศโลก และดาวได้ระเบิดตัวอย่างรุนแรงเหนือบริเวณป่าในไซบีเรียใกล้แม่น้ำ Tunguska พลังระเบิดได้ทำลายต้นไม้ในป่าพื้นที่ 1,330 ตารางกิโลเมตรราบพณาสูร เหล่านี้คือตัวอย่างของความหายนะที่เคยเกิดขึ้นเมื่อดาวเคราะห์น้อยพุ่งชนโลก

    ทุกวันนี้ นักดาราศาสตร์ได้พบว่า โลกถูกดาวเคราะห์น้อย และอุกกาบาตขนาดเล็ก พุ่งชนตลอดเวลา และได้พบว่า เหตุการณ์นี้ทำให้โลกมีมวลเพิ่มขึ้นวันละ 100 ตัน แต่การที่เราไม่รู้สึกตัวว่าโลกถูกพายุอุกกาบาตถล่ม เพราะมันมีขนาดเล็กตั้งแต่เท่าเม็ดทรายจนกระทั่งใหญ่เท่ารถยนต์ ครั้นเมื่ออุกกาบาตเหล่านี้ผ่านเข้ามาในบรรยากาศโลก มันจะถูกอากาศเสียดสีจนลุกไหม้ และเหลือเพียงส่วนน้อยที่ตกถึงโลก ในสภาพอุกกาบาตขนาดเล็ก หรือสลายในอากาศเป็นดาวตก และผีพุ่งใต้ ข้อมูลที่ได้จากการสังเกตแสดงว่า ในอวกาศมี NEO ขนาด 30 เมตรมากนับล้านชิ้น และมี 2,400 ชิ้นที่มีขนาดใหญ่ประมาณ 500 เมตร ซึ่งถ้าเป็นกรณีหลังนี้ หากมันพุ่งชนโลกนั่นจะเป็นเหตุการณ์โลกาวินาศสันตะโรทีเดียว

    นับเป็นเวลานานประมาณ 20 ปีแล้วที่นักดาราศาสตร์ได้เฝ้าติดตามดู NEO อย่างรอบคอบ โดย NASA ได้ใช้กล้องโทรทรรศน์ที่หอดูดาวบนเกาะ Maui กับที่หอดูดาวในเมือง Tucson รัฐ Arizona และที่ Socorro ในรัฐ New Mexico เพื่อดู NEO ได้จำนวนประมาณ 98% ของทั้งหมด และยังได้อาศัยความช่วยเหลือในการสังเกตจาก ยานอวกาศ WISE ที่มีเครื่องตรวจจับสมรรถภาพสูงในการรับรังสีอินฟราเรดจากดาวเคราะห์น้อยขณะติดตาม NEO ประมาณ 150 ดวง เพราะดาวเคราะห์น้อยกลุ่มนี้มองเห็นยาก ถ้าใช้กล้องธรรมดา แต่จะเห็นได้ง่ายขึ้นถ้าใช้กล้อง infrared

    [​IMG]


    คลิกที่ภาพเพื่อดูขนาดใหญ่ขึ้น

    ภาพดาวเคราะห์น้อย 2012 DA14 เหนือสระบุรี เมื่อ 16 ก.พ.56 โดยสมาคมดาราศาสตร์ไทย

    ข้อมูลสำคัญหนึ่งที่น่าสะพรึงกลัวมากสำหรับทุกคน คือ เรายังไม่มีหนทางหรือวิธีป้องกันภัยจากการถูกอุกกาบาตหรือดาวเคราะห์น้อยพุ่งถล่มอย่างมีประสิทธิภาพ 100% เลย

    นักต่อสู้ดาวเคราะห์น้อยบางคนเสนอวิธีส่งยานอวกาศไปลงบนดาวเคราะห์น้อย แล้วจุดชนวนระเบิด (ปรมาณู) บนดาวเพื่อทำลายตัวดาว นี่เป็นวิธีหนึ่งที่น่าทำ แต่ในขณะเดียวกันก็น่ากลัว เพราะเสี่ยงต่อความผิดพลาดในการยิงจรวดไปยังดาวเคราะห์น้อย ถ้าจรวดนั้นตกสู่โลก ดังนั้นการใช้ระเบิดทั่วไป จึงเป็นเรื่องที่เสี่ยงภัยน้อยกว่า โดยอาจส่งมนุษย์อวกาศไปร่อนลงบนดาวเคราะห์น้อย แล้วขุดเจาะผิวดาวเป็นรู เพื่อฝังดินระเบิดลงไป จากนั้นมนุษย์อวกาศเดินทางขึ้นจากดาว แล้วกดปุ่มจุดชนวนระเบิด ซึ่งจะทำให้ดาวเคราะห์น้อยแตกกระจายเป็นชิ้นเล็กชิ้นน้อย และอาจตกสู่โลกอีก อย่างไรก็ตามถ้าใช้วิธีนี้โลกจะเป็นอันตรายน้อยกว่าการถูกดาวเคราะห์น้อยขนาดใหญ่พุ่งชน

    แต่ก็มีวิธีหนึ่งที่อาจดูง่ายกว่า คือ การยิงจรวดนำระเบิดพุ่งชนดาวเคราะห์น้อยตรงๆ ซึ่งถ้าคำนวณความเร็วของจรวดให้พอเหมาะพอดี และมุมที่พุ่งชนเหมาะสม ดาวเคราะห์น้อยที่ถูกชนอาจเปลี่ยนวิถีโคจรไปไม่ชนโลก สำหรับวิธีนี้นักดาราศาสตร์ได้พบว่า ถ้าดาวเคราะห์น้อยอยู่ไกล ความเร็วที่เปลี่ยนไปเพียง 2-3 เซนติเมตร/วินาที ก็สามารถเบี่ยงเบนเส้นทางโคจรของดาวเคราะห์น้อยได้ แต่ในการยิงจรวดไปพุ่งชนดาวเคราะห์น้อย เราจำเป็นต้องใช้เวลาในการตระเตรียมจรวดนาน คือ อาจนานหลายปีจึงจะได้จรวดที่อยู่ในสภาพพร้อม

    เหล่านี้คือ ความคิดทางทฤษฎีในการป้องกันภัยที่จะเกิดจากการถูกดาวเคราะห์น้อยพุ่งชน สำหรับกรณีของดาวเคราะห์น้อย 2012 DA14 นั้น ถ้าพุ่งตรงโลกจริง นักดาราศาสตร์จะต้องคำนวณให้รู้ชัดว่า มันจะชนโลก ณ ตำแหน่งใด และรุนแรงเพียงใด จากนั้นก็เริ่มอพยพผู้คนออกจากพื้นที่อันตราย

    ในขณะที่โลกยังไม่มีภัยชนิดนี้มาคุกคาม หนทางหนึ่งในการป้องกันตัวคือ ฝึกบินไปลงบนดาวเคราะห์น้อยให้ได้คล่องก่อน เพื่อดำเนินการต่อไป

    ตามปกติ ในการตรวจหา Near Earth Object NASA ต้องการงบประมาณปีละ 20 ล้านเหรียญเพื่อใช้ในการส่องกล้องโทรทรรศน์ดู NEO และเป็นค่าจ้างกับเงินเดือนเจ้าพนักงาน โดยตั้งเป้าจะคำนวณวิถีโคจรของ NEO ทุกดวงล่วงหน้า 100 ปี เพราะดาวเคราะห์น้อย NEO มีจำนวนมาก ดังนั้น NASA จึงคิดว่าโครงการติดตามดู NEO นี้จะต้องมีตลอดไป

    ในปี 2036 คือ อีก 23 ปี นักดาราศาสตร์ได้พบว่า ดาวเคราะห์น้อย ชื่อ Apophis ซึ่งมีเส้นผ่านศูนย์กลางยาว 270 เมตรจะโคจรผ่านโลกที่ระยะใกล้ และมีโอกาสความเป็นไปได้ประมาณ 0.002% ที่จะชนโลก

    [​IMG]

    คลิกที่ภาพเพื่อดูขนาดใหญ่ขึ้น

    ร่องรอยป่าทังกัสกาในรัสเซียที่ถูกอุกกาบาตถล่มเมื่อร้อยกว่าปีก่อน
    แม้โอกาสการชนจะน้อยนิด แต่นักดาราศาสตร์เช่น David Dearborn แห่ง Lawrence Livermore National Laboratory ที่ California ก็กำลังเตรียมแผนป้องกัน โดยวางแผนส่งระเบิดนิวเคลียร์ไปทำลายดาว และได้จำลองสถานการณ์สมมติด้วยคอมพิวเตอร์ ให้ดาวมีเส้นผ่านศูนย์กลางยาว 1 กิโลเมตร และเนื้อดาวประกอบด้วยก้อนหินใหญ่ น้อยที่เกาะกันอย่างไม่หนาแน่นมากด้วยอิทธิพลของแรงโน้มถ่วง อีก 23 ปีก่อนที่ดาวเคราะห์น้อยดวงนี้จะพุ่งชนโลก Dearborn ได้พบว่า ถ้าใช้ดินระเบิดหนึ่งแสนตัน ให้ระเบิดเบื้องหลังดาวประมาณ 250 เมตร พลังระเบิดจะทำให้ดาวเคราะห์น้อยมีความเร็วเพิ่มประมาณ 6.5 มิลลิเมตร/วินาที ซึ่งสูงพอที่จะทำให้ดาวไม่ชนโลก

    Dearborn อ้างว่า เทคนิคนี้จะไม่ทำให้ดาวเคราะห์น้อยแตกกระจายและจะมีเพียง 1% ของเนื้อดาวที่จะหลุดกระเด็นจากตัวดาว และกระจายจนเหลือเพียง 1 ในล้านส่วนเท่านั้นที่จะชนโลก Dearborn คิดว่า ขั้นต่อไป คือ ใช้ระเบิดนิวเคลียร์ขนาดเล็กที่มีพลังเท่าดินระเบิดหนัก 100 ตัน ฝังในดาวเคราะห์น้อยที่ระดับลึก 1 เมตร วิธีนี้จะทำให้การส่งจรวดไปดำเนินการสามารถทำได้เร็วขึ้น

    แต่ก็มีอีกวิธีหนึ่งที่น่าสนใจ คือ ใช้ปืนเลเซอร์ระดมยิงดาวเคราะห์น้อยให้เบี่ยงทิศทาง โดย Massimiliano Vasile แห่งมหาวิทยาลัย Glasglow ในอังกฤษได้เสนอว่า ถ้าใช้ยานอวกาศ 8 ยาน โดยแต่ละยานนำปืนเลเซอร์ไปด้วย และทุกยานมุ่งหน้าไปที่ดาวเคราะห์น้อย จนกระทั่งยานอยู่ห่างจากดาวเคราะห์น้อยประมาณ 3 กิโลเมตร แล้วยานเหล่านี้ก็กางกระจกสะท้อนแสงออกเพื่อรับแสงอาทิตย์มากระตุ้นให้เครื่องเลเซอร์บนยานทำงาน ถ้าให้เลเซอร์จากยานทั้ง 8 ระดมยิงที่ตำแหน่งเดียวกันบนดาวเคราะห์น้อย จนส่วนที่เป็นดิน หิน น้ำแข็ง ระเหิดไป แรงดันที่เกิดขึ้นจะผลักให้ดาวเคราะห์น้อยเปลี่ยนทิศทาง ด้วยวิธีนี้ดาวเคราะห์น้อยก็ยังทรงรูปร่างเดิมและสะเก็ดดาวที่จะกระจายก็ไม่เป็นอันตรายต่อโลก

    Vasile คิดว่า วิธีนี้ปลอดภัยที่สุด และมีโอกาสมากที่จะประสบความสำเร็จ เพราะถ้ายานอวกาศยานหนึ่งไม่ทำงาน ยานที่เหลือก็ยังทำงานต่อได้ และถ้าดาวเคราะห์น้อยมีขนาดใหญ่ขึ้น ก็ให้ใช้ยานอวกาศจำนวนมากขึ้น

    ถ้าทุกสิ่งทุกอย่างดำเนินไปตามที่คิด Vasile คิดว่า โลกก็จะปลอดภัย แต่ถ้าเลเซอร์ทำได้เพียงแค่เจาะรูบนดาวเคราะห์น้อย และไม่ได้ทำให้มันเบี่ยงทิศทางเลย ภัยอุกกาบาตชนโลกก็ยังมีต่อไป

    อ่านเพิ่มเติมจาก Rocks from Space โดย Richard Norton จัดพิมพ์โดย Mountain Press Publishing, Missouri ปี 1994


    [​IMG]

    คลิกที่ภาพเพื่อดูขนาดใหญ่ขึ้น


    เกี่ยวกับผู้เขียน

    สุทัศน์ ยกส้าน
    ประวัติการทำงาน-ภาคีสมาชิกราชบัณฑิตยสถาน และ ศาสตราจารย์ ระดับ 11 ภาควิชาฟิสิกส์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, นักวิทยาศาสตร์ดีเด่นและนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ สาขากายภาพและคณิตศาสตร์

    ประวัติการศึกษา - ปริญญาตรีและโทจากมหาวิทยาลัยลอนดอน, ปริญญาเอกจากมหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย

    อ่านบทความ สุทัศน์ ยกส้าน ได้ทุกวันศุกร์

    http://www.manager.co.th/Science/ViewNews.aspx?NewsID=9560000073670


    .
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 24 มิถุนายน 2013
  14. PShinex

    PShinex เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    26 เมษายน 2012
    โพสต์:
    182
    ค่าพลัง:
    +382
    [ame=http://www.youtube.com/watch?v=dkTIhGFc5f8]102 - ANSWERS OF AN ALIEN FROM ANDROMEDA Nibiru and Events - YouTube[/ame]

    ผมติดตาม Captain Bill ทุกวัน ตอน 102 ออกมาแล้ว

    ฟังแล้วหนาวเหมือนกัน โดยเฉพาะเรื่องการลดประชากรโลก

    รอคุณ Nirvana มาช่วยแปลนะครับ
     
  15. Nirvana

    Nirvana เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    9 กุมภาพันธ์ 2005
    โพสต์:
    8,188
    ค่าพลัง:
    +20,860

    ช่วงนี้คงยังไม่อยากจะโพสต์อะไรมากนัก

    เพราะรู้สึกผิดหวังกับการจัดระเบียบในห้องนี้
    ในฐานะที่เข้ามาพูดคุยมานานตั้งแต่ยุคแรก
    ไม่เคยมี Rogue and Spam message
    เข้ามาวุ่นวายมากขนาดนี้ ถือว่าเป็นการละเลยต่อหน้าที่

    ผู้คนที่มีจิตใจจะช่วยเหลือให้คำแนะนำผู้อื่น
    โดยเอาข้อมูลดีๆเข้ามาแบ่งปันกัน
    ก็ถูกพวกกุ๊ยเหล่านี้เข้ามาเสียดสีทิ่มแทง

    ถ้าพวกนักเลงคีย์บอร์ดเหล่านี้ (เก่งแต่หน้าจอ)
    มีความรู้ความสามารถจริงก็ขอให้ส่งข้อมูล
    ทางวิชาการที่พวกเค้าเห็นแย้ง
    มาหักล้างในหัวข้อที่มาพูดคุยกัน

    ไม่ต้องมาทำตัวเป็นอีแอบ ได้ใบแดงไปแล้ว
    ยังหน้าด้านล๊อคอินชื่อใหม่เข้าป่วนอีก
    จนผู้มีความรู้เค้าเบื่อรำคาญกันหมดแล้ว........

    ช่วงนี้ดูน้า Mythi โพสต์แรงขึ้นเรื่อยๆ
    โชคดีและตัวใครตัวมันแล้วกัน ครับ
    [​IMG]
     
  16. Nantnapas P

    Nantnapas P เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    7 พฤษภาคม 2009
    โพสต์:
    287
    ค่าพลัง:
    +902
    Update ja '

    <iframe width="560" height="315" src="//www.youtube.com/embed/l5P8w31AN0Q?rel=0" frameborder="0" allowfullscreen></iframe>
     
  17. Nantnapas P

    Nantnapas P เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    7 พฤษภาคม 2009
    โพสต์:
    287
    ค่าพลัง:
    +902

    ไฟล์ที่แนบมา:

  18. A-KiT

    A-KiT เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    29 มีนาคม 2012
    โพสต์:
    174
    ค่าพลัง:
    +610
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 12 กรกฎาคม 2013
  19. A-KiT

    A-KiT เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    29 มีนาคม 2012
    โพสต์:
    174
    ค่าพลัง:
    +610
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 15 กรกฎาคม 2013
  20. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,791
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 18 กรกฎาคม 2013

แชร์หน้านี้

Loading...