ดาวหาง, อุกาบาต วัตถุนอกโลกที่คาดว่าจะเข้ามาในโลกช่วง ปีนี้ (2014)

ในห้อง 'ภัยพิบัติและการเตรียมการ' ตั้งกระทู้โดย Falkman, 7 มีนาคม 2013.

  1. hiflyer

    hiflyer เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 พฤษภาคม 2012
    โพสต์:
    3,321
    ค่าพลัง:
    +15,681
    ถ้าท่าน neoReloaded หมายถึงเรื่อง ดาวหาง ISON ที่มีเว็บฝรั่งแนว UFO ได้เสนอข่าวว่า ISON ไม่ใช่ดาวหางแต่น่าจะเป็นยานมนุษย์ต่างดาว อะไรประมาณนี้ คนส่วนใหญ่ที่ไม่ได้สนใจทางดาราศาสตร์จะไม่ทราบเลยว่า การที่จะได้ภาพดวงดาว หรือ ดาวหาง เขามีขั้นตอนการถ่ายและการทำภาพยังไง กรุณาเลื่อนขึ้นไปอ่านเรื่อง Image Stacking Process ที่ข้อความ # 208 โดย ท่าน BlueRock

    ขอยกตัวอย่างเพื่อเป็นการเปรียบเทียบดังนี้

    1. ภาพของ Hubble ต้องการเน้น background ที่่เห็นหมู่ดาวพร่างพรายบนท้องฟ้าให้คมชัดสวยงาม นั้นหมายความว่า ตอนนำภาพ 3-4 ภาพมาซ้อนทับกัน จะฟิกซ์ที่ตำแหน่งของดาวต่างเป็นหลัก ให้ซ้อนกันพอดี แต่ภาพของดาวหางในแต่ละภาพจะเปลี่ยนตำแหน่งไปเรื่อยๆ ( แต่ละภาพใช้เวลาถ่ายเปิดหน้ากล้อง 440 วินาที) ดังนั้นภาพที่ได้จากกระบวนการ Stacking ตำแหน่งของนิวเคลียสของดาวหางจะมีหลายจุด แต่หลังจากตกแต่งภาพแล้ว สุดท้ายก็จะได้ ภาพดาวหางที่ดูเป็นดวงเดียวที่ชัดเจนมากขึ้น ดวงใหญ่ขึ้น รายละเอียดมากขึ้น ( หลายภาพมารวมกันนั่นเอง)

    2. ถ้าเลื่อนขึ้นไปดูกระทู้ # 208 Toni Scarmato นำภาพ ISON 20 ภาพ มาซ้อนทับกัน เนื่องจากพวกเขาต้องการวิเคราะห์รายละเอียดของดาวหาง จึงไม่สนใจดาวดวงอื่นๆว่าจะซ้อนทับกันพอดีหรือไม่ แต่ภาพของ ISON ต้องซ้อนกันให้พอดีเป๊ะ ไม่เช่นนั้น รายละเอียดของภาพที่ได้อาจจะนำไปสู่การวิเคราะห์ที่ผิดพลาดได้


    [​IMG]
    [​IMG]

    [​IMG]

    ศาสตร์และศิลป์ ต้องไปคู่กันครับ

    .
     
  2. hiflyer

    hiflyer เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 พฤษภาคม 2012
    โพสต์:
    3,321
    ค่าพลัง:
    +15,681
    อ๋อภาพนี้หรือครับ มุมกล้องกว้างมาก ดวงอาทิตย์จะอยู่ด้านขวามือ แต่ในภาพไม่เห็นนะ จะเห็นก็ ดาว Uranus

    [​IMG]


    ตามที่ทางนาซ่าคำนวณไว้ มันเป็นตำแหน่งที่ ดาวหาง ISON จะโผล่เข้ามาทางซ้าย แล้วไปด้านขวา ( ตามรายละเอียดภาพที่ 2 ข้างล่าง ) แต่นี่อะไรไม่ทราบโผล่เข้ามาตั้งแต่ 27-28 กย. 2013 ?? WHATZAT ! HOW COME !


    [​IMG]


    The first STEREO telescope to see Comet ISON will be the large angle Heliospheric Imager #2 on the Ahead spacecraft (HI2-A). The first image below shows the projected day-by-day location of the comet in the HI2-A field-of-view from October 10, 2013, when it is expected to enter on the left side of the field, through November 23, 2013, when it is expected to leave on the right side of the field. Next to this is the comet's passage through the smaller HI1-A field-of-view November 21-28, 2013. Click on each image for a larger version.

    [​IMG]

    ขอผมเดาหน่อยนะ ผมว่าน่าจะเป็น เจ้ายักษ์ Jupiter คิดจะแย่งซีน ISON แน่ๆเลย อีกวันสองวัน ก็รู้แล้วครับว่า WHO IS WHO ?? on the Show . หรือไม่ก็ดาวอังคาร อย่างว่ามุมกล้องกว้างมาก

    อีกอย่าง ผมลองไปย้อนดูรูป ตั้งแต่ มค. เมย. สค. 2013 มุมกล้อง HI2 A และ HI1 A ไม่เคยเปลี่ยนไปเลยนะครับ confirm.

    .
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    แก้ไขครั้งล่าสุด: 9 ตุลาคม 2013
  3. neoReloaded

    neoReloaded เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    20 ธันวาคม 2011
    โพสต์:
    142
    ค่าพลัง:
    +675

    อ่าขอบคุณมากครับ :) รูปนี้แหละครับที่งงแท้
     
  4. hiflyer

    hiflyer เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 พฤษภาคม 2012
    โพสต์:
    3,321
    ค่าพลัง:
    +15,681
    มีอัพเดทดาวหาง ISON มาฝากครับ

    ข้อมูลที่ ISON จะไปปรากฏตัวที่ SOHO LASCO C2 & C3 ยังงงๆ เขียนคลุมเคลือ ช่วงนี้ นาซ่ายังหยุดงานเลยทำให้ข้อมูลขาดช่วงหน่อย

    [​IMG]


    ที่บอกว่า 27-30 พ.ย. น่าจะเฉพาะ LASCO C2 แต่ที่กำลังเข้ามาในจอ LASCO C3 มันน่าจะใช่ ISON หรือปล่าว ? หรือว่า เป็นใคร ?? เชิญชมวีดีโอ SOHO LASCO 3 ครับ เพิ่งอัพ สดๆร้อนๆเลย

    <iframe width="640" height="390" src="//www.youtube.com/embed/0OrShpSy4kw" frameborder="0" allowfullscreen></iframe>

    เพิ่มเติม : หาเจอมั๊ย ดาวหางมันเล็กน่ะครับ โปรดใส่แว่น ก่อนชม ^^ จะอัพไฟล์ .gif แต่มัน 5 mb เดี๋ยวจะลองอัพขึ้นเว็บของผมเอง ที่เปิดไว้ 3 เดือนแล้ว แต่ยังไม่เคยโหลดอะไรไปไว้เลย hahaha

    แก้ไข >> สีแดง
    .
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 10 ตุลาคม 2013
  5. hiflyer

    hiflyer เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 พฤษภาคม 2012
    โพสต์:
    3,321
    ค่าพลัง:
    +15,681
    ต้องอีกประมาณ 2-3 วัน ถึงจะได้เห็นภาพ ISON ในวิวของ STEREO A HI2 ของวันที่ 10 ตค.
    ข้อมูลต้อง transmit ผ่าน Deep Impact กลับมายังโลก

    กลมๆเข้ามาจากซ้ายมือ เขาคือใคร ??? Mars or Jupiter ??

    [​IMG]

    .
     
  6. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,791
    Theeoddora Minsk บอกว่า "ดิ๊กพูดว่า นาซ่าสร้างภาพของดาวหาง ISON เป็นทรง Terahedron นั่นหมายถึงว่า ดาวหาง ISON มีความสำคัญต่อนาซ่า นั่นหมายถึงพวกเราต้องจับตาดูการพัฒนาตัวอย่างน่าสนใจของดาวหางนี้....

    Theeoddora Minsk

    Dick says that NASA created Tetrahedron in image of ISON so this means that ISON is of some significance to NASA which means that we need to keep an eye out for interesting developments.

    @ 41:36 or so:
    Art Bell Dark Matter, Oct 1st, 2012

    <iframe width="640" height="360" src="//www.youtube.com/embed/MZRvrhDLoKo?feature=player_detailpage" frameborder="0" allowfullscreen></iframe>
     
  7. maxttdcv

    maxttdcv เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    29 กันยายน 2011
    โพสต์:
    220
    ค่าพลัง:
    +760

    ผมงงครับอ่านไม่เข้าใจ ทรง Terahedron คืออะไร แล้วที่ว่ามีความสำคัญต่อนาซ่า มันสำคัญมากขนาดนั้นเลยหรอครับ
     
  8. hiflyer

    hiflyer เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 พฤษภาคม 2012
    โพสต์:
    3,321
    ค่าพลัง:
    +15,681
    หายสับสนไปหนึ่งอย่าง ก็ดาวหางที่จู่ๆก็เข้ามาแย่งซีน ISON ใน SOHO LASCO C3 ก่อนล่วงหน้าตั้ง 47 วัน

    [​IMG]

    [​IMG]

    สรุปว่าเป็น new Kreutz sungrazing comet ครับ

    .
     
  9. hiflyer

    hiflyer เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 พฤษภาคม 2012
    โพสต์:
    3,321
    ค่าพลัง:
    +15,681
    เข้าเว็บนี้ดูจะทราบว่า รูปทรง Terahedron มันถูกนำมาใช้ในชีวิตประจำวันอย่างแพร่หลาย Tetrahedron

    [​IMG]

    Dick มองว่า ทางนาซ่าตั้งใจที่จะทำภาพ ISON ให้ออกมาเป็นทรง Terahedron ตามภาพข้างล่าง

    [​IMG]

    ซึ่งก็เป็นมุมมองอีกมุม ที่ใครจะคิดอย่างไรก็ได้ มันอาจจะมี หรือ ไม่มีอะไรเลยก็ได้ หรือ อาจเป็นเพียงแค่อยากทำให้ภาพ ISON อ้วนท้วน มีราศีขึ้น ดูดีกว่าที่จะนำภาพ ISON แบบผอมแห้ง ไม่สะดุดตา มาประกาศต่อสาธารณะ ( ความเห็นส่วนตัว )

    [​IMG]

    มันเป็นมากกว่าศิลปะในการแต่งภาพทางดาราศาสตร์หรือเปล่า ?? ลองคิดเอาเองครับ

    .
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 11 ตุลาคม 2013
  10. AmpeerA

    AmpeerA เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    7 กรกฎาคม 2008
    โพสต์:
    1,248
    ค่าพลัง:
    +900
    หินอุกาบาตเมื่อต้นปี
    นาซ่าออกมาประกาศว่า
    มันมีดวงจันทร์โคจรรอบตัวเอง
    แถมไม่ใช่เศษหินอีกต่างหาก
    ค่าการสะท้อน ต่างกันลิบลับ
    ระหว่างตัวหินกับดวงจันทร์

    <iframe width="640" height="360" src="//www.youtube.com/embed/Keoj-82-HJQ?feature=player_detailpage" frameborder="0" allowfullscreen></iframe>
     
    แก้ไขครั้งล่าสุดโดยผู้ดูแล: 12 ตุลาคม 2013
  11. AmpeerA

    AmpeerA เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    7 กรกฎาคม 2008
    โพสต์:
    1,248
    ค่าพลัง:
    +900
    พอมาเที่ยวนี้
    นาซ่าบอกว่า อ้ายศรเป็นภาพเชิงซ้อน
    เพราะถ้าไม่แต่ง เดี๋ยวไม่หล่อ ไม่มีใครกดlike ทำนองนั้น
    แต่ก็มีใครบางคน ขยันทำภาพออกมาให้ดูเรื่อยๆ
    เค้าลือกันให้แซด ว่ามันเป็น CG

    ตรรกะมันแปลกๆพิกล ทั้งอุกาบาตทั้งดาวหาง
    อุกาบาต หินโสโครก ดันมีดาวเทียมดึงดูดกันและกัน
    ภาพถ่ายดาวหาง ตกแต่งจนเกินจริง เพื่อ...ความสวยงาม

    ข้างล่างล่าสุดนี่ ก็น่าสงสัยเป็นภาพแต่ง
    เพราะตามหลักการ หาที่มาไม่ได้ แต่งไว้ก่อน ง่ายดี
    หย่ากันเมื่อไหร่ ไว้เจอกันที่อำเภอ

    <iframe width="640" height="360" src="//www.youtube.com/embed/n2VUc6nPhGQ?feature=player_detailpage" frameborder="0" allowfullscreen></iframe>
     
  12. Spammer

    Spammer เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 ธันวาคม 2009
    โพสต์:
    976
    ค่าพลัง:
    +3,498
    nasa ก็น่าจะปล่อยให้มันโครจรเป็นดวงที่ 3 ด้วยเลย ไว้ถ่ายทอดสดตอนที่ไอ้ศรโฉบผ่านระบบสุริยะอื่นๆ ไม่ต้องเปลืองงบขับดันยานสำรวจให้เปลืองเชื้อเพลิงงัย (ขำขันวันหยุด)
     
  13. hiflyer

    hiflyer เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 พฤษภาคม 2012
    โพสต์:
    3,321
    ค่าพลัง:
    +15,681
    รายละเอียดเพิ่มเติมครับ

    [​IMG]

    .
     
  14. hiflyer

    hiflyer เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 พฤษภาคม 2012
    โพสต์:
    3,321
    ค่าพลัง:
    +15,681
    ยังไม่มียานอวกาศหรือกล้องของชาวโลก ที่เข้าใกล้หรือมีความสามารถที่จะได้ภาพขนาดนี้แน่นอน อันนี้ CGI แบบไม่ต้องสงสัย

    การทำภาพทางดาราศาสตร์ต้องพึ่งพาวิธีการ Stacking เพราะเป็นการถ่ายภาพในระยะทางที่ไกลมาก วัคถุเล็ก แสงน้อย รายละเอียดที่ได้น้อยมาก แม้แต่ภาพกาแลคซี่ เนบิวลา ต่างๆ ที่สวยงามก็ไม่พ้นวิธีนี้ครับ

    .
     
  15. AmpeerA

    AmpeerA เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    7 กรกฎาคม 2008
    โพสต์:
    1,248
    ค่าพลัง:
    +900
    ขอบคุณครับ สำหรับความรู้ดีๆ
     
  16. AmpeerA

    AmpeerA เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    7 กรกฎาคม 2008
    โพสต์:
    1,248
    ค่าพลัง:
    +900

    ส่วนเรื่องดวงจันทร์ที่อ้างอิง คนเขียนใน Wigi
    คิดว่าฝรั่งมันลอกตามๆกันมามั๊ยครับ

    ด้วยข้อสังเกตุที่ว่า
    ธรรมชาติของ Doppler reflection ของคลื่นใดๆ
    วัตถุเป้าหมาย ยิ่งช้าเท่าไร repeatabilityจะยิ่งมาก
    หมายถึง รายละเอียด ที่มากกว่า
    ตรงข้ามกับที่เขียนลงในวิกกี้

    อีกข้อคือ ไม่ลงความเห็นเรื่องแรงดึงดูด
    เพราะไม่มีกฏข้อไหน รองรับได้เลยว่า
    หินโสโครก จะมีแรงดึงดูดมากพอให้วัตถุใดๆ
    มาโคจรเป็นบริวารได้ ยิ่งถ้ามีการเคลื่อนที่ด้วยแล้ว
    (หรือว่ามี แต่ตอนป.เจ็ด ครูไม่ได้สอนนะเนี่ย??)

    ตรรกะมันทะแม่งๆโทงเทงพิกล
     
  17. AmpeerA

    AmpeerA เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    7 กรกฎาคม 2008
    โพสต์:
    1,248
    ค่าพลัง:
    +900
    เคยได้อ่านบทความบ่อยๆว่า
    มหาอำนาจ มักส่งดาวเทียมสื่อสาร
    หรือดาวเทียมสำรวจ ขึ้นไปในอวกาศ
    แต่สุดท้ายกลายเป็น
    ดาวเทียมจารกรรม อานุภาพสูง ไปเสียทุกที
    (คงไม่มีประเทศไหนกล้าประกาศให้มาดู
    การส่งดาวเทียมสอดแนม ขึ้นวงโคจรจริงๆ
    ส่วนใหญ่ก็ยัดไส้กันทั้งนั้น)

    นี่ก็เป็นอีกรายละเอียดที่น่าสนใจ
    ดาวเทียมที่จีนส่งไปสำรวจดวงจันทร์
    เมื่อหลายเดือนก่อน
    ถูกพัฒนาตามพิมพ์เขียวของฮับเบิล
    แต่ด้วยเทคโนโลยีที่สูงกว่า (อย่างว่า ก็ส่งขึ้นไปทีหลังเค้้า)
    ภารกิจ นอกจากการสำรวจอะไรๆบนดวงจันทร์แล้ว
    ยังบังคับให้วงโคจร วนรอบดวงจันทร์
    (แทนที่จะเป็นโลก)
    ผลที่ได้คือ ความได้เปรียบ ในทุกกรณี

    ข้างล่าง อ้ายศรล่าสุด ที่ถูกปล่อยออกมา
    แต่เทียวนี้ อ้างว่า เป็นของ Russia บ้าง
    ดูกันเพลินๆ จริงไม่จริง ค่อยว่ากัน
    ชีวิต ถ้าอธิบายได้หมด ก็ไม่มีรดชาดอะดิ
    ปล่อยให้มัน งงๆ เง็กๆ บ้าง ไรบ้าง ก็ดี

    <iframe width="640" height="360" src="//www.youtube.com/embed/VVfjtwZKPSg?feature=player_detailpage" frameborder="0" allowfullscreen></iframe>
     
  18. hiflyer

    hiflyer เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 พฤษภาคม 2012
    โพสต์:
    3,321
    ค่าพลัง:
    +15,681
    1. ผมว่าถูกแล้วนะครับ narrow and bright ภาพของดวงจันทร์ที่ได้สว่าง ไม่ฟุ้งเบลอ ( แคบ ไม่กระจาย )
    2. Asteroids ที่มีดวงจันทร์บริวาร มีประมาณ 16 % ครับ เยอะเหมือนกันนะ

    Albedo - ค่าสัมประสิทธิ์การสะท้อนคลื่นรังสี/แสง ( reflection Coefficient ) ของ 1998 QE2 เท่ากับ 0.06 หรือ สะท้อนเพียง 6 % ส่วนอีก 94% ถูกดูดกลืนไว้ นั่นแสดงถึง 1998 QE2 มีสีมืดคล้ำมาก

    ลิงค์ http://en.wikipedia.org/wiki/Albedo

    ส่วน ดวงจันทร์ที่โคจรอยู่รอบๆ เมื่อโคจรช้า ภาพที่ได้ก็จะสว่างกว่าที่มันโคจรเร็ว เปรียบเทียบกับค้างคาวที่บินผ่านเราในยามกลางคืนที่แสงสว่างน้อย ถ้ามันบินเร็วเราจะมองยาก ไม่ชัด จับรายละเอียดไม่ได้ แต่ตอนที่บินช้าเราจะเห็นมันชัดกว่า ได้รายละเอียดกว่า การทำงานของคลื่นเรดาร์จากกล้อง Radio Telescope ก็ทำงานคล้ายๆกับตาคนเราครับ
    การนำ Doppler effect มาผสมผสานกับ Radio Telescope ซึ่งถือว่ามีบทบาทอย่างมากในทางดาราศาสตร์ (ใช้มา 6 ทศวรรษแล้ว ) อาศัยการเปลี่ยนแปลง ความถี่ และความยาวคลื่นของเทหวัตถุ เพื่อใช้ในการวัดการเคลื่อนที่ ขนาด รูปร่าง ความเร็ว และ ระยะทาง

    Radar Telescope provides the ability to study shape, size and spin state of asteroids and comets from the ground. Radar imaging has produced images with up to 7.5-m resolution. With sufficient data, the size, shape, spin and radar albedo of the target asteroids can be extracted.

    Goldstone Observatory link :
    Goldstone Deep Space Communications Complex - Wikipedia, the free encyclopedia
    Radar astronomy - Wikipedia, the free encyclopedia
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 17 ตุลาคม 2013
  19. hiflyer

    hiflyer เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 พฤษภาคม 2012
    โพสต์:
    3,321
    ค่าพลัง:
    +15,681
    การส่ง satellite ขึ้นวงโคจร เขามีหน่วยงานที่ดูแลอยู่นะครับ มีระเบียบ, การจดทะเบียน, กฏหมายระหว่างประเทศ, ชนิดของดาวเทียม, คลื่นความถี่ที่ใช้, มีระบบ tracking ตำแหน่ง, Traffic Control, การกำจัดทิ้ง, ความรับผิดชอบ ฯลฯ ที่ยิงขึ้นโดยไม่จดทะเบียน คร่าวๆไม่เกิน 5% (มากสุด US รองลงมาเรื่อยๆก็ Russia, China, UK )

    การส่งยานอวกาศก็เช่นกันครับ เป็นความร่วมมือระหว่างประเทศ ยกเว้นจีน ที่สหรัฐยังไม่มั่นใจในความปลอดภัยทางเทคโนโลยี่ เลยยังไม่รับจีนเข้าร่วม แต่จีนก็พยายามยื่นความจำนงอยู่ คร่าวๆที่ทราบครับ ส่วนเรื่องใครจะสอดใส้อะไรบ้าง โดยไม่แจ้งให้คนอื่นรู้ อันนี้ก็อาจจะมีครับ

    วีดีโอของ ISON อันนี้ ถ้าเป็นของจริง มีคำถามว่า กล้องติดอยู่ยานอวกาศอะไร ตอนนี้อยู่ตำแหน่งไหนของสุริยะจักรวาล เพราะดูเหมือนว่า ISON กำลังพุ่งตรงไปที่กล้อง ระยะใกล้มาก และกล้องต้องอยู่ระหว่าง ISON กับ ดวงอาทิตย์ ใครตอบได้บ้างครับ ?? คำตอบของผม คือ ภาพ CG ครับ

    .
     
  20. Lastquarter

    Lastquarter เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    24 ธันวาคม 2010
    โพสต์:
    386
    ค่าพลัง:
    +272
    คลิปนี้ภาพ CG แน่นอนครับ ไม่มีทางที่จะถ่ายได้ใกล้ขนาดนี้ถ้าใกล้ขนาดนี้กล้องน่าจะเจ๊งไปนานแล้ว
     

แชร์หน้านี้

Loading...