ดาวหาง, อุกาบาต วัตถุนอกโลกที่คาดว่าจะเข้ามาในโลกช่วง ปีนี้ (2014)

ในห้อง 'ภัยพิบัติและการเตรียมการ' ตั้งกระทู้โดย Falkman, 7 มีนาคม 2013.

  1. AmpeerA

    AmpeerA เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    7 กรกฎาคม 2008
    โพสต์:
    1,248
    ค่าพลัง:
    +900
    ก็ว่าอย่างนั้นแหละครับ
    ดูเพลินๆไป
     
  2. AmpeerA

    AmpeerA เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    7 กรกฎาคม 2008
    โพสต์:
    1,248
    ค่าพลัง:
    +900
    อิอิอิ จ่อเผาขนกันไป

    [​IMG]
     
  3. ธรรมแท้ว่าง

    ธรรมแท้ว่าง กายเบาใจเบา

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 มีนาคม 2011
    โพสต์:
    12,288
    ค่าพลัง:
    +12,620
    ใครคือเจ้าของสตู ถ่ายทำโฆษณาขายดาวเทียมติดกล้องชิ้นนี้ล่ะเนี่ย!!!
     
  4. AmpeerA

    AmpeerA เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    7 กรกฎาคม 2008
    โพสต์:
    1,248
    ค่าพลัง:
    +900
    เดาตามประสาชาวบ้านนะครับ

    ข้อแรก ความสว่างความมืดของภาพ ไม่ได้ขี้นกับความเร็วเท่าไร
    (นอกเสียจากมันเคลื่อนที่ เร็วกว่าความเร็วคลื่นที่ใช้งาน)
    แต่ขึ้นกับวัสดุสะท้อนคลื่นมากกว่า
    ตัวอย่าง

    [​IMG]

    หรือ

    [​IMG]


    ทำให้เห็นได้ว่า คุณสมบัติของวัตถุและมุมสะท้อนกลับ มีผลโดยตรง
    เช่น ถ้ามีกางเกงในลอยอยู่อวกาศ นาซ่าจะต้องใช้ความถี่อื่นๆ
    ที่ไม่โดนกางเกงในดูดคลื่นไปเสียหมด



    ข้อสอง น่าสนใจ
    ก็เลยลองหาดู ปรากฎว่า นักดาราศาสตร์รู้เรื่องนี้มานานแล้ว
    (แต่ชาวบ้านไม่รู้ ก็เลยแตกตื่นกันใหญ่)
    แต่กลับไม่มีคำตอบเรื่องดวงจันทร์ ได้แค่ตั้งทฤษฎีคาดเดากันไปต่างๆนาๆ
    เช่น

    [​IMG]
    [​IMG]
    [​IMG]

    มันทำให้ได้ข้อมูลสนับสนุนมากขึ้นว่า อ้ายศรมีอะไรบางอย่าง
    โคจรรอบตัวเองอยู่จริงๆซะแล้ว

    ส่วนเรื่องการมองเห็นค้างคาว ไม่น่าจะนำมาใช้กันได้
    เพราะการมองเห็น เป็นเรื่องของแสง ไม่ใช่คลื่น

    มั่วสรุปได้ว่า ภาพวัตถุที่โคจรรอบดาวหาง
    ออกมาเป็นสีขาวทั้งหมดได้นั้น
    จะต้องเป็นวัสดุมันวาว เรียบ ลื่นดีด้วย

    [​IMG]
     
  5. AmpeerA

    AmpeerA เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    7 กรกฎาคม 2008
    โพสต์:
    1,248
    ค่าพลัง:
    +900
    Radar images of asteroid 1998 QE2

    [​IMG]

    [​IMG]
     
  6. AmpeerA

    AmpeerA เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    7 กรกฎาคม 2008
    โพสต์:
    1,248
    ค่าพลัง:
    +900
  7. hiflyer

    hiflyer เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 พฤษภาคม 2012
    โพสต์:
    3,321
    ค่าพลัง:
    +15,681
    1. ถูกต้องครับ ความสว่างของภาพที่ได้ ขึ้นกับลักษณะและสีผิวของวัตถุ ซึ่ง 1998 QE2 ผิวสีดำมืด ขรุขระ เป็นหลุมเป็นบ่อ ดูดกลืนคลื่นเรดาร์ 94% ส่วนดวงจันทร์ ผิวสว่างมากกว่า การถ่ายภาพลักษณะนี้ ดวงจันทร์จะ over exposure ส่วน 1998 QE2 จะ under exposure ( ประมาณ เหรียญบาท กับ ผ้าสักหลาดสีดำ ) ส่วนเรื่องความเร็วของดวงจันทร์ที่โคจรรอบ เป็นแค่ส่วนเสริม ซึ่งทางคนที่เขียนเขาได้อธิบายไว้ว่า มันช้าเป็นอย่างมาก (น่าจะช้ากว่าปกติที่เขาเคยเห็น ) เลยทำให้มันสว่างเพิ่มขึ้นอีกประมาณนี้ครับ

    2. ภาพนี้ เป็น 1994 KW4 กับดวงจันทร์
    ช่วงคลื่นที่มนุษย์เราสามารถมองเห็นได้ เรียกว่า แสง ดังนั้นแสงก็เป็นคลื่นด้วยครับ
    Radar Telescope มีความสามารถมากกว่าสายตาคนเราเยอะครับ และดวงจันทร์ไม่จำเป็นว่าต้องมีผิวมันวาว เรียบ ลื่น ก็สามารถได้ภาพที่เป็นสีขาวได้นะ

    .
     
  8. hiflyer

    hiflyer เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 พฤษภาคม 2012
    โพสต์:
    3,321
    ค่าพลัง:
    +15,681
    ช่วงนี้ไม่ค่อยได้ติดตาม ผมคงตกข่าว รูปไหนเหรอครับที่ ISON มีวัตถุโคจรรอบๆ

    .
     
  9. hiflyer

    hiflyer เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 พฤษภาคม 2012
    โพสต์:
    3,321
    ค่าพลัง:
    +15,681
    Asteroid 2013 UB ขนาด 8 -26 เมตร เพิ่งค้นพบเมื่อ 16 ตค. 2013 จะโคจรผ่านโลกในระยะ 1.61 LD ในวันที่ 19 ตค. 2013 เวลา 09:51 UTC ( 16:51 น. เวลาไทย )

    .
     
  10. Spammer

    Spammer เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 ธันวาคม 2009
    โพสต์:
    976
    ค่าพลัง:
    +3,498
    คิดแบบนอกกรอบ...

    ถ้าวัตถุดังทั้งสองทำมุมกัน 120 องศา หากมีวัตถุที่สามทำมุมเช่นเดียวกันก็ครบ 360 อาศาพอดี

    ว่าแต่มันมีเหตุผลอะไรที่ต้องทำมุม 120 องศาแทนที่จะเป็นแบบอยู่ตรงข้ามกัน 180 องศา หากมีวัตถุเพียงสองเท่านั้น

    หรือมันมีไว้ควบคุมทิศทางดาวหางเพื่อไม่ให้ไปชนดาวดวงอื่น..!!
     
  11. hiflyer

    hiflyer เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 พฤษภาคม 2012
    โพสต์:
    3,321
    ค่าพลัง:
    +15,681
  12. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,791
    When is the next meteor shower?

    [​IMG]
    Next up on the meteor agenda: the Orionid meteor shower, peaking on the morning of October 21.

    The Draconid meteor shower, also sometimes called the Giacobinids, peaked on the nights of October 7 and 8, 2013. EarthSky friends on Facebook and Twitter also reported seeing meteors on the nights before and after that. As always, some people reported no meteors, while others reported a good display. Now it’s time to prepare for October’s second major meteor shower, the wonderful, classic Orionid meteor shower. It has already begun, with Earth entering the Orionids’ meteor stream in space in early October. This shower will peak on the morning of October 21, 2013. Unfortunately, the peak will be largely drowned in bright moonlight this year. Follow the links below to learn more about the Orionids in 2013.

    When should I watch for Orionid meteor shower in 2013?

    Where is the radiant point of the Orionid meteor shower?

    What is the origin of the Orionid meteor shower?

    Visit EarthSky Tonight – night sky news updated daily

    EarthSky’s meteor shower guide for 2013.

    [​IMG]
    View larger. | Beautiful panorama from EarthSky Facebook friend Sean Parker Photography in Tucson. It shows the bright star Vega, and, nearby, the head of Draco the Dragon, radiant point of the Draconid meteor shower. Photo is from the 2013 shower, taken at Saguaro National Park in Arizona. Visit Sean Parker on Facebook.

    [​IMG]

    View larger. | Beautiful panorama from EarthSky Facebook friend Sean Parker Photography in Tucson. It shows the bright star Vega, and, nearby, the constellation Draco the Dragon, radiant point of the Draconid meteor shower. Photo is from the 2013 shower, taken at Saguaro National Park in Arizona. Visit Sean Parker on Facebook.
    View larger. | Tommy Eliassen Photography in Lovund, Nordland, Norway captured this photo. Visit Tommy Eliassen Photography on Facebook.
    View larger. | Tommy Eliassen Photography in Lovund, Nordland, Norway captured this photo. Visit Tommy Eliassen Photography on Facebook.
    When should I watch for Orionid meteor shower in 2013? This year, the Orionid peak on the morning of October 21, 2013, but they will be nearly drowned in the light of a bright moon, during the peak viewing hours. Still, if you’re outside – under a country sky – on the nights around the Orionids’ peak, you might see meteors streaking along in moonlight on the morning of the peak.

    What about prior to the peak or after it? For the Orionids in 2013, that’s a good question, since the moon will interfere with the peak itself. It takes Earth several weeks to ford a meteor stream in space. We are crossing the Orionid meteor stream from about October 2 to about November 7 each year. That’s why we typically hear reports of meteors in dark skies beginning about a week before the shower’s peak, and we continue to hear from people who see meteors in the nights afterwards.

    You could start looking for Orionid meteors as of now.

    What are you looking for, exactly? You’re looking for meteors whose paths, traced backwards, can be seen to radiate from the famous constellation Orion.

    On a dark, moonless night, the Orionids exhibit a maximum of about 20 meteors per hour. These fast-moving meteors occasionally leave persistent trains and bright fireballs. You’ll see far fewer Orionids this year, because of the moon, but you might see some!

    Everything you need to know: Orionid meteor shower

    The Orionids radiate from a point near the upraised Club of the constellation Orion the Hunter. The bright star near the radiant point is Betelgeuse.
    The Orionids radiate from a point near the upraised Club of the constellation Orion the Hunter. The bright star near the radiant point is Betelgeuse. In 2013, the Orionids are drowned in bright moonlight, but you still might see a few meteors.

    [​IMG]
    Where is the radiant point of the Orionid meteor shower? If you trace these meteors backward, they seem to come from the Club of the famous constellation Orion the Hunter. You might know Orion’s bright, ruddy star Betelgeuse. The radiant is north of Betelgeuse.

    What is the origin of the Orionid meteor shower? Meteor showers in annual showers, like the Orionids, happen when debris from comets enters our atmosphere and vaporizes. The Orionids meteors originated in Comet Halley – the most famous of all comets. It last visited Earth in 1986. As the comet moved through near-Earth space, it left behind debris in its wake – bits of ice, dust and rubble – that strike Earth’s atmosphere most fully around October 20-22.

    Bottom line: The Draconid (or Giacobinid) meteor shower in early October 2013 was lots of fun. Although we didn’t find an exact meteor count anywhere, many people reported seeing good displays of meteors. Next up on the meteor agenda: the Orionids. 2013 is not optimal for watching the Orionid meteor shower because a bright waning gibbous moon will be in the sky during the peak hours between midnight and dawn. But you might see some meteors even in bright moonlight. The best viewing for the Orionids in 2013 will probably be before dawn on October 21. Try the days before and after that, too, sticking to the midnight-to-dawn hours. You’ll be watching for those brightest Orionids that can overcome the moon’s glare. This post contains info and charts for the Orionid meteor shower in 2013.

    EarthSky’s meteor guide for 2013
     
  13. hiflyer

    hiflyer เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 พฤษภาคม 2012
    โพสต์:
    3,321
    ค่าพลัง:
    +15,681
    ไม่น่าจะฟิกซ์นะครับ ไม่ว่าจะเป็น Size, Mass, ขนาดวงโคจร (Orbit Size) ไม่เท่ากัน ดังนั้น เวลาในการโคจรรอบ Asteroid ก็น่าจะต่างกัน

    .
     
  14. hiflyer

    hiflyer เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 พฤษภาคม 2012
    โพสต์:
    3,321
    ค่าพลัง:
    +15,681
    [​IMG]

    ภาพดาวหาง ISON กับ ดาวอังคาร เมื่อวันที่ 16 ตค. 2013 ถ่ายด้วยกล้องโทรทรรศน์ขนาด 11 นิ้ว โดยการนำ 80 ภาพมาทำ stacking ซึ่งแต่ละภาพเปิดหน้ากล้องนาน 15 วินาที

    ----------------------------------------------------------------------------------------------

    [​IMG]

    ลิงค์ SpaceWeather.com -- News and information about meteor showers, solar flares, auroras, and near-Earth asteroids

    .
     
  15. hiflyer

    hiflyer เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 พฤษภาคม 2012
    โพสต์:
    3,321
    ค่าพลัง:
    +15,681
    JOURNEY OF ISON : THE LONG AND WINDY ROUTE

    ในช่วง 2 ปีที่ผ่านมา นาซ่าได้อัพเดทการคำนวณวงโคจรของ ISON มาหลายครั้งมาก และ 3 เดือนล่าสุด ได้อัพเดท รายเดือนกันเลยทีเดียว แล้วอะไรเป็นสาเหตุทำให้ ยาน ISON เกิดการส่ายหรือแกว่ง จนเส้นทางเปลี่ยน จะเหมือนเครื่องบินมั๊ย อาจตกหลุมอวกาศ ? หลุมดำ ? หรือปะทะ Solar wind อย่างจัง ? หรือว่าพลังมืดYoutube กำลังฉุดกระชากลาก ISON ให้เข้ามาชนโลกให้ได้

    [​IMG]

    [​IMG]

    [​IMG]

    มาดูกันครับว่ามีอะไรเปลี่ยนไป ขนาดไหน จากการอัพเดท Orbital Elements ของ ISON 2 ครั้งหลัง (ล่าสุดเมื่อวันที่ 15 ตค. 201 ที่ผ่านมา )

    1. Earth MOID ระยะห่างที่ใกล้สุดที่เส้นวงโคจรของโลกกับ ISON จะตัดกัน ในรูปคือ A จากการอัพเดทวงโคจรของ ISON 2 ครั้งหลัง ระยะทางของ A ใกล้ขึ้น 1,481 + 10,562 = 12,043 กม. ถึงอย่างไรก็ยังห่าง 3,463,045 กม. (ประมาณ วันที่ 1-2 พย.2013) โลกยังอยู่ห่างจาก ISON = 1.21 AU (182,000,000 กม. )

    2. ระยะห่างระหว่างโลกกับ ISON ในการมาเยือนครั้งนี้ ใกล้มากขึ้น 2,471 กม. คือที่ระยะ 64,205,135 กม.

    3. เข้าใกล้ดวงอาทิตย์มากขึ้น ประมาณ 2,547 กม.

    4. เข้าใกล้ดวงอาทิตย์เร็วขึ้น ประมาณ 20 นาที

    เฝ้าดูกันต่อไปครับ เริ่มต้นบอกว่า ขนาด 5 กม. แต่ตอนนี้เหลือแค่ 2 กม. จะไปถึงดวงดาวรึปล่าว จะแตกเป็นก้อนเล็กก้อนน้อย หรือจะโดนดวงอาทิตย์จับทำดาวหางย่างเกลือ

    .
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 20 ตุลาคม 2013
  16. iamprateep

    iamprateep เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    11 ธันวาคม 2011
    โพสต์:
    448
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +2,685
    เป็นดาวแถมมีหาง(เครื่อง)ก็ต้องออกทีวีด้วยครับ เดาว่าคงยังไม่สลายหมดหากยังไม่ออกทีวี
    ต้องถ่ายรูปออกข่าวในทีวีก่อนน่ะ ... 555 ...
     
  17. AmpeerA

    AmpeerA เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    7 กรกฎาคม 2008
    โพสต์:
    1,248
    ค่าพลัง:
    +900
    ภาพหลุดอ้ายศร ตัวจริงเสียงจริง
    ฝรั่งมันว่า มาจากโครงการลับ..ตู๊ดๆ
    นัยว่าเจ๋งกว่าฮับเบิลเสียอีก

    น่าสังเกตุว่า คลิปถูกปล่อยมาร่วมเดือน
    ยังชัดได้ขนาดนี้ และถ้าเป็นของจริง
    แสดงว่าตอนนี้ชาวโลก
    กำลังถูกฝรั่งอมข้อมูลที่สำคัญ เก็บไว้เอง

    <iframe width="640" height="360" src="//www.youtube.com/embed/uK_G9xW_9wA?feature=player_detailpage" frameborder="0" allowfullscreen></iframe>

    ปล เห็นข้างบนว่า อยากเจอตอนออกทีวี ก็เลยเอามาให้ชม
    เอ่อ ถ้ามันถ่ายใกล้เกินกว่าที่ตัวเองคิดเอาไว้
    คิดเสียว่าเป็นCG ก๊วนฝรั่งโลกแตรกก็ได้นะครับ 555
     
  18. AmpeerA

    AmpeerA เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    7 กรกฎาคม 2008
    โพสต์:
    1,248
    ค่าพลัง:
    +900
    ขอบคุณครับ
    ดักเค้าไปทั่วเชียวนะ พ่อตาหวาน
    แต่ไม่ค่อยเห็นด้วยเท่าไรนะครับ
    ระบบ radar transaction ถูกพัฒนาไปไกลกว่าข้อมูลที่มีอยู่ในวิกกี้
    ที่ชอบอ้าง เยอะแล้วหละ

    คิดแบบชาวบ้านนะครับ
    -nasaคงไม่ลงทุนสร้างสถานีภาคพื้น(ถ้าอยู่ในอวกาศก็ว่าไปอย่าง)
    โดยรู้ว่าคลื่นที่ถูกส่งออกไปในอวกาศ
    จะถูก absorb ไปมากถึง94% ไมรู้จะเปลืองค่าไฟไปทำHOIอะไร
    ทั้งๆที่มี lab ของตัวเอง แถมจ้างวิจัย contractor อีกเป็นร้อย
    และถ้ายังดันทุรัง คงถูกไล่ออกกลับไปนั่งเล่นเน็ตที่บ้านนานแล้ว

    -ระบบradar มีข้อเสียเรื่องการตรวจจับวัตถุความเร็วต่ำจริงๆครับ
    แต่มันถูกแก้ไขไปตั้งแต่พระเจ้าเหาเสด็จมา
    เอ้อไม่ใช่ สมัย FFT ,DSP ,DDT ลงมาเกิดแล้วครับ

    -ภาพหินโสโครกทีเห็นรายละเอียดอยู่ซีกเดียว
    ไม่ได้เกิดจากการที่มันดูดกลืนคลื่น อย่างที่คุณว่าเลยนะครับ
    ส่วนที่ดำมืดเป็นเพราะ มันสะท้อนคลื่นออกไปในทิศทางอื่น
    มีเพียงซีกเดียว ที่สามารถสะท้อนคลื่นกลับมายังโลกได้
    คือด้านที่หันมายังโลก ก็เลยได้ภาพซีกเดียวอย่างที่เห็น
    ไม่มีอะไรซับซ้อน ซ่อนเงี่ยนใดๆ

    -และที่ผมเดาว่า วัตถุที่โคจรกลายเป็นสีขาว
    หรือ over exposure ที่ว่านะ
    ก็ไม่ใช่เพราะมันวิ่งช้าอย่างที่คุณจำเค้ามา
    แต่อาจเป็นเพราะมันสะท้อนคลื่นกลับมามาก
    จน over refect (ไม่ใช่ reflect)
    ของคลื่นที่ถูก mod ออกไป
    (แต่ก็มีวิธีแก้ไข อยู่ดี)

    -radarในงานอวกาศ มักใช้กับวัตถุแสงน้อย ตรวจจับยาก
    เมื่อไปเจอวัตถุที่มีค่าการสะท้อนสูงๆ ก็เลยเว่อร์
    เหมือน night vision ทำนองนั้น

    ปล ทั้งหมดนี้ผมนั่เทียนเอานะครับ ไม่มีข้อมูลอ้างอิงให้ถามหา
    ด้วยความปราถนาดีนะ...พ่อตาหวาน

    ไปละ พรุ่งนี้ต้องรีบลงข้าวโพดด้วยดิ
     
  19. hiflyer

    hiflyer เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 พฤษภาคม 2012
    โพสต์:
    3,321
    ค่าพลัง:
    +15,681

    อันนี้มัน Fake ตั้งแต่ สิงหา แล้วนิครับ
    ดาวหางนะ ไม่ใช่ ม้าน้ำ จะเคลื่อนที่เปลี่ยนตำแหน่ง ได้รวดเร็วทันใจ

    <iframe width="640" height="390" src="//www.youtube.com/embed/stypGLcW7fs" frameborder="0" allowfullscreen></iframe>

    .
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 21 ตุลาคม 2013
  20. hiflyer

    hiflyer เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 พฤษภาคม 2012
    โพสต์:
    3,321
    ค่าพลัง:
    +15,681
    อันนี้เพิ่งส่งมาจากเพื่อนชาว Bajoran ใช้ iPhone 6z ถ่ายจากยาน UFO คงขับยานซิ่งไปหน่อย ภาพที่ได้เลยส่ายไปมา รีบอัพให้ดูกันทันทีเลยครับ

    <iframe width="640" height="390" src="//www.youtube.com/embed/z1XmlNYsADg" frameborder="0" allowfullscreen></iframe>

    คลายเครียดกับ เช้าวันจันทร์ อันแสนยุ่งเหยิง ^^

    .
     

แชร์หน้านี้

Loading...