เหตุการณ์ใน-นอกโลก VS ภัยธรรมชาติ และupdate พายุสุริยะ

ในห้อง 'ภัยพิบัติและการเตรียมการ' ตั้งกระทู้โดย Falkman, 10 มกราคม 2011.

  1. kiatp123

    kiatp123 โมฆะแมน

    วันที่สมัครสมาชิก:
    5 พฤษภาคม 2010
    โพสต์:
    3,493
    ค่าพลัง:
    +19,616
    [​IMG]

    พักหลังนี้นานๆจะเห็นครั้งแดงๆแบบนี้
    มิน่าอากาศแปรปรวน แผ่นดินสั่นสะเทือน
    จะเกี่ยวกันหรือเปล่าหนอ
     
  2. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,791
    [​IMG]
     
  3. Jingjoknayork

    Jingjoknayork เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    9 มิถุนายน 2011
    โพสต์:
    700
    ค่าพลัง:
    +3,726
    จากเฟซ อ.ก้องภพ อยู่เย็น ครับ

    วันที่ 11 กุมภาพันธ์ เวลา 23:23 UT เกิดปฏิกริยาที่ดวงอาทิตย์ เป็นมุมกว้าง โดยทิศทางหลักออกไปทางทิศตะวันตกไม่ตรงกับโลก แต่ในแนวเดียวกับโลกพบการขยายตัวของปริมาณจุดดับอย่างฉับพลันและมีขนาดใหญ่ และ ในวันที่ 12 กุมภาพันธ์ เวลา 4:25 UT ดวงอาทิตย์ที่ส่งรังสี X-ray ระดับ M3 ทิศทางตรงกับโลก พลังงาน X-ray ใช้เวลาเดินทางมาถึงโลกภายใน 8 นาที่ จากโมเดลพลาสม่าพบว่าคลื่นพลังงานจะเดินทางมาถึงโลกในวันที่ 14 กุมภาพันธ์ เวลา 23 UTC +/- 7 ชั่วโมง

    หลักการเฝ้าระวังภัยธรรมชาติบนโลก คือการสังเกตการเปลี่ยนแปลงบนโลกภายใน 36 ชั่วโมงแรก และ ช่วงที่คลื่นพลังงานเข้ามาหลังจากมีเหตุการณ์ที่ดวงอาทิตย์ภายใน 3-5 วัน

    สำหรับช่วง 36 ชั่วโมงแรกนั้นมีเหตุการณ์บนโลกเกิดขึ้นแล้วได้แก่ แผ่นดินไหวขนาด 6.9 ริตเตอร์ วันที่ 12 กุมภาพันธ์ เวลา 9:19 UT ที่ประเทศจีน Earthquake - Magnitude 6.9 - SOUTHERN XINJIANG, CHINA - 2014 February 12, 09:19:49 UTC
    และคลื่นซึนามีที่ประเทศบลาซิล RSOE EDIS - Tsunami in Brazil on Wednesday, 12 February, 2014 at 04:37 (04:37 AM) UTC. EDIS CODE: TS-20140212-42656-BRA

    ท่านที่สนใจโปรดติดตามการเปลี่ยนแปลงบนโลกอย่างใกล้ชิดจนถึงวันที่ 15 กุมภาพันธ์ครับ

    ข้อมูลเพิ่มเติมมีดังนี้
    - ภาพถ่ายที่ผิวดวงอาทิตย์เห็นถึงการขยายตัวของจุดดับ http://spaceweather.com/images2014/12feb14/ar1974_anim.gif?PHPSESSID=eafne6f133rkslonpc4dvq1ru3
    - ภาพถ่ายมุมกว้างที่ดวงอาทิตย์ มุมมองจากโลก CACTUS CME Details
    - ภาพถ่ายมุมกว้างที่ดวงอาทิตย์ โดยโลกอยู่ทางด้านซ้ายมือของภาพ http://stereo.gsfc.nasa.gov/browse/2014/02/12/ahead_20140212_cor2_512.mpg
    - โมเดลจำลองการแพร่กระจายของคลื่นพลังงานจากดวงอาทิตย์ http://iswa.ccmc.gsfc.nasa.gov:8080/IswaSystemWebApp/StreamByDataIdServlet?allDataId=627270648
     
  4. hiflyer

    hiflyer เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 พฤษภาคม 2012
    โพสต์:
    3,321
    ค่าพลัง:
    +15,681
    ดีนะที่ AR 1967 ได้หลบไปอยู่ด้านหลังดวงอาทิตย์ตั้งแต่วันที่ 11 กพ. ไม่งั้นก็คงมีเรื่องตื่นเต้นแน่

    [​IMG]


    ส่วน AR 1974 ที่ได้ขยายตัวและเริ่มเกิด Solar flare ตั้งแต่ 9 กพ. เป็นต้นมา จนถึงวันนี้ M3.7 เมื่อวันที่ 12 กพ. ยังคงเป็นครั้งที่รุนแรงสุด

    [​IMG]


    [​IMG]

    .
     
  5. maxttdcv

    maxttdcv เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    29 กันยายน 2011
    โพสต์:
    220
    ค่าพลัง:
    +760
    ภาพนี้มีท่านไหนดูเข้าใจบ้างครับ ช่วยสรุปให้ฟังหน่อย ขอบคุณครับ

    [​IMG]
     
  6. Jingjoknayork

    Jingjoknayork เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    9 มิถุนายน 2011
    โพสต์:
    700
    ค่าพลัง:
    +3,726
    จากเฟซ อ.ก้องภพ อยู่เย็น ครับ

    วันที่ 14 กุมภาพันธ์ เวลา 11:45 UT เกิดปฏฺิกริยาดวงอาทิตย์ เป็นมุมกว้างรอบทิศทาง โดยทางทิศหลักออกไปทางทิศตะวันตก ตรงข้ามกับโลก ในขณะที่ปริมาณจุดดับมีการเปลี่ยนแปลงเพิ่มสูงขึ้น จากการคำนวณพบว่าคลื่นพลังงานจะเดินทางมาถึงในแนววงโคจรของโลกในวันที่ 17 กุมภาพันธ์ เวลา 6 UT +/- 10 ชั่วโมง ผู้ทีสนใจโปรดติดตามการเปลี่ยนแปลงบนโลกที่จะสัมพันธ์กันได้ตั้งแต่วันนี้ถึงวันที่ 18 กุมภาพันธ์ครับ

    ข้อมูลเพิ่มเติมมีดังนี้
    - ภาพถ่ายมุมกว้างและที่ผิวดวงอาทิตย์ มุมมองจากโลก http://www.solarham.net/pictures/archive/feb14_2014_ahead.jpg
    - วิดิโอภาพถ่ายมุมกว้างที่ดวงอาทิตย์ มุมมองจากโลก CACTUS CME Details
    - ปริมาณจุดดับที่ดวงอาทิตย์ ESA Daily Sun Spot Number
    - ภาพถ่ายจุดดับที่ผิวดวงอาทิตย์ http://spaceweather.com/images2014/15feb14/ar1974_anim.gif?PHPSESSID=365ufe2loo0eujshndb3k5ptq4
     
  7. hiflyer

    hiflyer เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 พฤษภาคม 2012
    โพสต์:
    3,321
    ค่าพลัง:
    +15,681

    เท่าที่รู้นะครับ ภาพทั้ง 2 เป็นกราฟที่ได้จาก ยานอวกาศ ACE ( อยู่ระหว่างโลกกับดวงอาทิตย์ ห่างจากโลก 1.5 ล้าน กม. ใช้มอนิเตอรื Solar wind โดยจะรู้ล่วงหน้าก่อนที่จะมีผลต่อโลกเรา 1 ชั่วโมง

    ภาพซ้ายมือ :

    เส้นแดง(Bz) ขาว(Btotal) ฟ้า(Phi) เกี่ยวกับ Interplanetary Magnetic Field (IMF) หรือ สนามแม่เหล็กจากดวงอาทิตย์ที่พุ่งมายังโลกโดยมีลมสุริยะพามา
    ถ้า Bz เป็น - ( southward ) หมายถึง ขั้วสนามแม่เหล็กสวนทางกับสนามแม่เหล็กของโลก สามารถทำให้สนามแม่เหล็กโลกแปรปรวนได้ ยิ่งติดลบมากๆ ยิ่งแปรปรวนมาก
    เส้นส้ม / เหลือง / เขียว คือ ความหนาแน่นของโปรตอน / ความเร็ว และ อุณหภูมิ ของลมสุริยะ

    ภาพขวามือ :

    เป็น Proton Flux Unit ( p.f.u. ) หรือ กระแสของอนุภาคโปรตอนที่ไหลต่อ ตารางเซ็นติเมตร ต่อวินาที ต่อตารางเรเดียน
    อนุภาคโปรตอนมีหลายระดับพลังงาน เริ่มจากพลังงานต่ำสุด สีแดง ไปถึงสูงสุด สีเขียว

    จากกราฟที่มีแนวโน้มสูงขึ้น เพราะมีสาเหตุมาจากเหตุการณ์ที่ CME เดินทางมาถึงโลกเมื่อวานนี้ ( 15 กพ. )

    .
     
  8. Jingjoknayork

    Jingjoknayork เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    9 มิถุนายน 2011
    โพสต์:
    700
    ค่าพลัง:
    +3,726
    จากเฟซ อ.ก้องภพ อยู่เย็น ครับ

    วันที่ 18 กุมภาพันธ์ เวลา 7:32 UT เกิดปฏิกริยาดวงอาทิตย์ เป็นมุมกว้างรอบทิศทาง โดยมีทิศทางหลัก-ตรงกับโลก- โดยพบว่ามีเปลวพลังงานขนาดใหญ่ออกมาทางทิศตะวันออกที่ผิวดวงอาทิตย์ โดยความเข้มปริมาณรังสี X-ray มากที่สุดช่วงนี้อยู่ในระดับ C4 จากการคำนวณโมเดลพลาสม่าพบว่าคลื่นพลังงานนี้จะเดินทางมาถึงโลกในวันที่ 21 กุมภาพันธ์ เวลา 3 UT +/- 7 ชั่วโมง

    ในช่วง 36 ชั่วโมงหลังเกิดเหตุ พบแผ่นดินไหวบนโลกที่มากกว่าปกติสองเหตุการณ์ได้แก่ในทะเลใกล้กับประเทศเวเนซูเอล่าขนาด 6.5 ริตเตอร์ และ ที่ประเทศเปรูขนาด 6.0 ริตเตอร์
    - Earthquake - Magnitude 6.0 - NEAR COAST OF CENTRAL PERU - 2014 February 18, 23:35:58 UTC
    - Earthquake - Magnitude 6.5 - EAST OF MARTINIQUE, WINDWARD IS. - 2014 February 18, 09:27:13 UTC
    ซึ่งมีเหตุปัจจัย-บางส่วน-จากปฏิกริยาดวงอาทิตย์ในวันที่ 14 กุมภาพันธ์ที่ผ่านมา

    ผู้ที่สนใจการเปลี่ยนแปลงทางธรรมชาติบนโลกที่จะสัมพันธ์กับเหตุการณ์ที่ดวงอาทิตย์ในครั้งนี้โปรดติดตามสถานการณ์อย่างใกล้ชิด ถึงวันที่ 22 กุมภาพันธ์ครับ

    ข้อมูลเพิมเติมมีดังนี้
    - ภาพถ่ายมุมกว้างที่ดวงอาทิตย์โดยโลกอยู่ทางด้านขวามือของภาพ http://stereo.gsfc.nasa.gov/browse/2014/02/18/behind_20140218_cor2_512.mpg
    - ภาพถ่ายมุมกว้างที่ดวงอาทิตย์โดยโลกอยู่ทางด้านซ้ายมือของภาพ http://stereo.gsfc.nasa.gov/browse/2014/02/18/ahead_20140218_cor2_512.mpg
    - วิดิโอถ่ายที่ผิวดวงอาทิตย์
    Filament Eruption (2/18/2014) - YouTube
    - โมเดลจำลองการแพร่กระจายของพลังงานจากดวงอาทิตย์สู่โลก SOLARHAM.com - CME Tracker
    http://iswa.ccmc.gsfc.nasa.gov:8080/IswaSystemWebApp/StreamByDataIdServlet?allDataId=629337316
     
  9. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,791
    [​IMG]
     
  10. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,791
    [​IMG]
     
  11. Jingjoknayork

    Jingjoknayork เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    9 มิถุนายน 2011
    โพสต์:
    700
    ค่าพลัง:
    +3,726
    จากเฟซ อ.ก้องภพ อยู่เย็นครับ

    วันที่ 20 กุมภาพันธ์ เวลา 9:12 UT เกิดปฏิกริยาดวงอาทิตย์ เป็นมุมกว้างรอบด้าน โดยทิศทางหลักออกไปทางทิศตะวันตก แต่มีเปลวพลังงานสองส่วนที่มีทิศทางตรงกับโลก เหตุการณ์นี้มีการตรวจจับปริมาณรังสี X-ray นอกโลกได้ในระดับ M3 จากโมเดลพบว่าคลื่นพลังงานพลาสม่าจะเดินทางมาถึงโลกในวันที่ 22 กุมภาพันธ์ เวลา 11:26 UT+/- 6 ชั่วโมง ท่านที่สนใจการเปลี่ยนแปลงทางธรรมชาติบนโลกที่จะสัมพันธ์กับเหตุการณ์ครั้งนี้โปรดติดตามสถานการณ์อย่างใกล้ชิดจนถึงวันที่ 23 กุมภาพันธ์ ครับ

    หลักการสังเกตนั้นให้เน้นสังเกตการณ์เปลี่ยนแปลงภายใน 36 ชั่วโมงจากเหตุการณ์นี้ และ ในช่วงที่มีการคำนวณว่าพลังงานจะเดินทางมาถึงโลกต่อไปอีกหนึ่งวันครับ ซึ่งช่วงนี้เองจะมีพลังงานเข้ามาจากเหตุการณ์ที่ดวงอาทิตย์จากการรายงานคราวที่แล้วมาเพิ่มเติม (จากวันที่ 18-19 กุมภาพันธ์)
    ที่โลกในวันที่ 20 กุมภาพันธ์ ในขณะนี้ตรวจพบแผ่นดินไหวที่ผิดปกติบริเวณขั้วโลกเหนือขนาด 5.0 ริตเตอร์ Latest Earthquakes in the world และเกิดการแกว่งตัวของสนามแม่เหล็กขึ้นที่โลกในแนวขนานกับโลกในระดับ 6 3-day Estimated Planetary Kp-index Monitor

    ข้อมูลรายละเอียดของเหตุการณ์ที่ดวงอาทิตย์มีดังนี้
    - ภาพถ่ายมุมกว้างและที่ผิวดวงอาทิตย์
    http://www.solarham.net/pictures/archive/feb20_2014_m3.0.jpg
    - วิดิโอถ่ายมุมกว้างที่ดวงอาทิตย์ มุมมองจากโลกวันที่ 19-20 กุมภาพันธ์
    CACTUS CME Details
    CACTUS CME Details
    - โมเดลจำลองการแพร่กระจายของพลังงงานจากดวงอาทิตย์ http://iswa.ccmc.gsfc.nasa.gov:8080/IswaSystemWebApp/StreamByDataIdServlet?allDataId=629661662
    - ปริมาณรังสี X-ray 3-day GOES X-ray Flux Monitor
    - ปริมาณจุดดับที่ดวงอาทิตย์ ESA Daily Sun Spot Number
     
  12. BlueRock

    BlueRock เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 กรกฎาคม 2012
    โพสต์:
    49
    ค่าพลัง:
    +198
    มีท่านใดเข้าใจกราฟนี้บ้างคับ คืออะไร และมีผลอย่างไร ขอบคุณคับ


    [​IMG]

    .
     
  13. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,791
    [​IMG]
     
  14. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,791
    [​IMG]

    [​IMG]
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    แก้ไขครั้งล่าสุด: 25 กุมภาพันธ์ 2014
  15. หมึกย่าง

    หมึกย่าง เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กรกฎาคม 2012
    โพสต์:
    57
    ค่าพลัง:
    +155
    ทิศทางตรงโลกมั้ยครับ
     
  16. kiatp123

    kiatp123 โมฆะแมน

    วันที่สมัครสมาชิก:
    5 พฤษภาคม 2010
    โพสต์:
    3,493
    ค่าพลัง:
    +19,616

    Updated 02/25/2014 @ 12:00 UTC
    Major X4.9 Solar Flare
    A major solar flare measuring X4.9 was just observed around returning sunspot 1967 (newly numbered 1990) at 00:49 UTC. Despite appearing to be in an advanced state of decay, the active region remains magnetically potent. This just proves that you cannot judge a book by its cover. A 10cm radio bust measuring 3700 sfu and lasting 85 minutes was associated with the event. The sunspot is not yet in a good geoeffective position for Earth directed eruptions. The flare is the 3rd largest X-Ray event of the current solar cycle. More updates to follow regarding a possible CME.

    SOLARHAM.com | Solar Cycle 24 | Space Weather and Amateur Radio Website
     
  17. Jingjoknayork

    Jingjoknayork เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    9 มิถุนายน 2011
    โพสต์:
    700
    ค่าพลัง:
    +3,726
    จากเฟส อ.ก้องภพ อยู่เย็น ครับ

    วันที่ 25 กุมภาพันธ์ เวลา 0:50 UT ดวงอาทิตย์ได้ปล่อยแสงรังสี X-ray ระดับ X5 ทางทิศตะวันออก เป็นมุมกว้าง ซึ่งพลังงาน X-ray สูงสุดตั้งแต่ปี 2012 และปริมาณจุดดับกำลังขึนสู่ระดับสูงสุดในรอบสองสัปดาห์ จากโมเดลพบว่าคลื่นพลังงานบางส่วนจะเดินทางมาถึงโลกในวันที่ 28 กุมภาพันธ์ เวลา 0 UT +/- 7 ชั่วโมง

    ในช่วง 36 ชม ที่มีเหตุการณ์นี้ได้พบแผ่นดินไหวที่ผิดปกติบนโลก ในระดับ 5.6 ริตเตอร์ บริเวณมหาสมุทรอินเดีย Earthquake - Magnitude 5.6 - CARLSBERG RIDGE - 2014 February 24, 23:26:57 UTC

    ผู้ที่สนใจโปรดติดตามเหตุการณ์ทางธรรมชาติบนโลกที่จะสัมพันธ์กันได้ตั้งแต่วันนี้ถึงวันที่ 29 กุมภาพันธ์ครับ

    ข้อมูลเพิ่มเติมมีดังนี้
    - ภาพถ่ายมุมกว้างที่ดวงอาทิตย์ มุมมองจากโลก http://www.solarham.net/data/02252014_cme.wmv
    - ภาพถ่ายมุมกว้างที่ดวงอาทิตย์ โดยโลกอยู่ทางด้านซ้ายมือ http://stereo.gsfc.nasa.gov/browse/2014/02/24/ahead_20140224_cor2_512.mpg
    - โมเดลจำลองการแพร่กระจายของคลื่นพลังงานจากดวงอาทิตย์ http://iswa.ccmc.gsfc.nasa.gov:8080/IswaSystemWebApp/StreamByDataIdServlet?allDataId=631201241
    - ปริมาณจุดดับที่ดวงอาทิตย์ ESA Daily Sun Spot Number
     
  18. hiflyer

    hiflyer เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 พฤษภาคม 2012
    โพสต์:
    3,321
    ค่าพลัง:
    +15,681
    วันนี้จุดดับเยอะดี นับได้ 11 กลุ่ม


    [​IMG]

    .
     
  19. iamprateep

    iamprateep เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    11 ธันวาคม 2011
    โพสต์:
    448
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +2,685
    ท่าน Hiflyer ครับ
    ทำไมจุดดับมันอยู่แถวช่วงกลางๆครับ เห็นมันกระจายตัวแถวนั้น ปกติเป็นแบบนี้หรือเปล่าครับ?
    ขอความรู้ครับผม ...
     
  20. hiflyer

    hiflyer เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 พฤษภาคม 2012
    โพสต์:
    3,321
    ค่าพลัง:
    +15,681

    คำตอบที่ท่าน iamprateep ถาม มีอยู่ในกราฟ Butterfly Diagram ครับ

    ช่วง Solar Maximum จุดดับจะเกาะกลุ่มกันแถวๆละติจูดต่ำ แต่ถ้าเป็นช่วง Solar Minimum จะอยู่แถวละติจูดสูงกว่าครับ

    [​IMG]

    [​IMG]

    .
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 27 กุมภาพันธ์ 2014

แชร์หน้านี้

Loading...