พระวังหน้า ที่หลวงปู่บรมครูเทพโลกอุดรเสก ถ้าต้องการที่จะได้.....

ในห้อง 'งานบุญอื่นๆ' ตั้งกระทู้โดย sithiphong, 23 ธันวาคม 2005.

  1. :::เพชร:::

    :::เพชร::: เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    8,584
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +36,137
    อยากรู้เรื่อง"มณฑาทิพย์"....
     
  2. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    http://www.freewebs.com/bansadat/9woodmongkol.htm

    ใบเงิน/ใบทอง/ใบนาค
    <O:p</O:p
    ใบเงิน ใบทอง ใบนาค ฟังแค่ชื่อ ก็พอจะทราบบ้างแล้วว่า ไม้ชนิดนี้ต้องให้โชคลาภ ทางด้านทรัพย์สินเงินทองอย่างแน่นอน ต้นไม้ทั้งสามชนิดนี้ ถือได้ว่ามีความสำคัญมาก เพราะคนโบราณมักจะนำใบไม้ทั้งสามชนิด ประกอบพิธีสำคัญทางศาสนาอยู่เสมอ ไม่ว่าจะเป็นการทำน้ำพุทธมนต์หรือการขึ้นบ้านใหม่ ดังนั้นจึงมีความเชื่อสืบต่อกันมาว่า หากบ้านใดปลูก ใบเงิน ใบทอง ใบนาค เอาไว้ภายในบ้าน ก็จะช่วยให้ครอบครัวนั้น มีโชคลาภได้รับเงินทอง และทรัพย์สินต่างๆ อยู่เสมอ จนมีฐานะร่ำรวยขึ้น เพราะมีเงินทองมากเหมือนใบไม้นั่นเองและยังเชื่อกันอีกว่า การปลูกต้นใบเงิน ใบทอง ใบนาคนั้น จะช่วยปกป้องคุ้มครองผู้คนในบ้าน ให้มีแต่ความสุข เพราะต้นไม้เหล่านี้ เป็นต้นไม้ศักดิ์สิทธิ์ที่จะช่วยขับไล่สิ่งร้ายๆ ให้พ้นจากบ้านได้
    <O:p</O:p
    เคล็ดปฏิบัติ<O:p</O:p
    หากสามารถทำได้คุณควรปลูกใบเงิน ใบทอง และใบนาคเอาไว้ในบริเวณเดียวกัน หรือปลูกไว้ไกล้กัน ก็จะยิ่งเพิ่มพลังของต้นไม้ในการเสริมโชคลาภให้คุณได้อีกด้วย ปลูกต้นไม้ทั้งสามชนิดนี้ไว้ทางทิศตะวันออก หรือทิศใต้ของตัวบ้าน และลงมือปลูกในวันอังคาร เพราะคนโบราณเชื่อกันว่า ต้นไม้ที่ใบสวยงามมีเสน่ห์ดึงดูดใจนั้น ควรจะปลูกในวันอังคาร เพราะจะยิ่งเจริญงอกงาม และเสริมความเป็นสิริมงคลให้ครอบครัว
    <O:p</O:p
    ใบละบาท
    <O:p</O:p
    ไม้เลื้อยที่มีชื่อว่า ใบละบาทนั้น อาจจะไม่ค่อยคุ้นหูเท่าใดนัก แต่ถ้าบอกว่า มีใบคล้ายใบโพธิ์และออกสีชมพูคล้ายดอกผักบุ้ง ก็คงจะร้องอ๋อ! ไปตามๆ กัน ใบของต้นไม้ชนิดนี้ มีลักษณะพิเศษอยู่อย่างหนึ่ง คือ ใต้ใบจะมีสีเงินเคลือบอยู่ ซึ่งคล้องจองกันกับชื่อของต้นไม้อย่างมากคนโบร่ำโบราณเชื่อกันว่า หากบ้านใดปลูกต้นใบละบาทเอาไว้ภายในบริเวณบ้าน บ้านนั้นก็จะมีแต่ความร่ำรวยเงินทอง มีโชคลาภหลั่งไหลมาไม่ขาดสาย จนฐานะร่ำรวย มีเงินทองใช้อย่างเหลือเฟือ เชื่อกันอีกว่า การปลูกต้นใบละบาท ให้สมบูรณ์แข็งแรงนั้น เมื่อต้นไม้ผลิใบที่สวยงามออกมาหนึ่งใบ เงินก็จะเพิ่มขึ้น หนึ่งบาท ยิ่งต้นไม้แข็งแรงสมบูรณ์มากเท่าใด เงินทองก็ยิ่งเพิ่มพูนตามไปด้วย (บางแห่งเรียก
     
  3. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    http://www.freewebs.com/bansadat/9woodmongkol.htm

    เฟื่องฟ้า
    <O:p</O:p
    เฟื่องฟ้า เป็นต้นไม้ที่ได้รับความนิยมมากชนิดหนึ่ง เพราะไม่ว่าเราจะเดินทางไปไหน ก็มักจะพบเห็นต้นไม้ชนิดนี้อยู่เสมอ ตามอาคารบ้านเรือน หรือตามสถานที่ต่างๆ เฟื่องฟ้านั้นได้รับการขนาดนามให้เป็น
     
  4. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    http://www.freewebs.com/bansadat/9woodmongkol.htm

    วันและเวลาอันเป็นมงคล<O:p</O:p

    <O:p</O:p
    วันและเวลาอันเป็นมงคลในการปลูกไม้ดอกและไม้ประดับ <O:p</O:p
    วันอาทิตย์ (เวลาเย็น) ควรปลูกไม้ชนิดที่เอาหัว <O:p</O:p
    วันจันทร์ (เวลาสาย) ควรปลูกไม้ชนิดที่เอาลำต้น <O:p</O:p
    วันอังคาร (เวลาบ่ายแก่) ควรปลูกไม้ชนิดที่เอาใบ <O:p</O:p
    วันพุธ (เวลาเย็น) ควรปลูกไม้ชนิดที่เอาดอก <O:p</O:p
    วันพฤหัสบดี (เวลาสาย) ควรปลูกไม้ชนิดที่เอารวงเอาฝัก <O:p</O:p
    วันศุกร์ (เวลาเช้า) ควรปลูกไม้ชนิดที่เอาผล <O:p</O:p
    วันเสาร์ (เวลาเย็น) ควรปลูกไม้ชนิดที่เอาราก ( ถ้าเอาลูกให้ปลูกเช้า เอาใบให้ปลูกสาย )<O:p</O:p
    <O:p</O:p

    สำหรับผู้ที่เกิดวันอาทิตย์ <O:p</O:p
    นาม ครุฑสิทธิ การปลูกว่านควรปลูกว่าน "มหาลาภ" จะนำโชคลาภมาสู่ท่าน เลือกปลูกไว้หน้าบ้าน นิยมปลูกวันพระ ข้างขึ้น 6-15 ค่ำขึ้นไป คาถานำลาภ"มหาลาโภคะวันตุเม" 3 ครั้งจะเป็นศิริมงคลแก่ท่าน
    <O:p</O:p
    สำหรับผู้ที่เกิดวันจันทร์ <O:p</O:p
    นามพยัคฆ์เสือสิงห์ การปลูกว่านควรปลูกว่าน 4 ทิศ จะนำทางชีวิตดีขึ้น เลือกปลูกไว้ทางเข้าบ้าน นิยมปลูกวันพฤหัส ( วันครู ข้างขึ้น 9 - 15 ค่ำ ขึ้นไป ) คาถาอำนวยโชค 4 ทิศ "เห็นหน้าวาจาเอ็นดูด้วยนะโมพุทธายะ " 3 จบหรือ 9 จบจะเป็นศิริมงคลแก่ท่า
    <O:p</O:p
    สำหรับผู้เกิดวันอังคาร <O:p</O:p
    นามสีหราช การปลูกว่านควรปลูกว่าน "เศรษฐีเรือนนอก" จะนำความร่ำรวยมาให้ท่าน ควรเลือกปลูกหน้าบ้าน นิยมปลูกวันเกิดตนเองหรือวันพฤหัสข้างขึ้น 4-15 ค่ำขึ้นไป คาถาอำนวยโชค "นะโมพุทธายะ " คาถาแม่ธาตุ 3 จบ จะเป็นศิริมงคลแก่ท่าน
    <O:p</O:p
    สำหรับผู้เกิดวันพุธ <O:p</O:p
    นามสุนัขธาตุเถ้า การปลูกว่านควรปลูกว่าน "เสน่ห์จันทร์ขาว" จะนำมาซึ่งเมตตามหานิยม ควรเลือกปลูกวันพฤหัสบดีข้างขึ้น 3 - 15 ค่ำ คาถาอำนวยโชค " นะเมตตา นะโมพุทธายะ " 3 จบ จะเป็นศิริมงคลแก่ท่าน
    <O:p</O:p
    สำหรับผู้เกิดวันพฤหัสบดี <O:p</O:p
    นามหนู (ฤาษี ) การปลูกว่านควรปลูกว่าน " ธรณีสาร " ทำน้ำมนตร์ได้ ว่านจะนำมาซึ่งความโชคดีให้แก่ท่าน ควรเลือกปลูกวันพระข้างขึ้น 3 - 15 ค่ำขึ้นไป คาถาอำนวยโชค "พุทธัง ธัมมัง สังฆัง นำโชค" จะเป็นศิริมงคลแก่ท่าน หรือปลูกต้นไม้ดอกที่มีสีส้ม สีประจำวันจะนำมาซึ่งโชคดีเช่นกัน
    <O:p</O:p
    สำหรับผู้เกิดวันศุกร์ <O:p</O:p
    นามหนู การปลูกว่านควรปลูกว่าน "สี่ทิศ" อำนวยโชคมีโชคลาภทั้ง 4 ทิศ ควรเลือกปลูกวันพฤหัสข้างขึ้น 9-15 ค่ำ คาถานำโชค "เห็นหน้าวาจาเอ็นดูด้วย นะโมพุทธายะ 3 ครั้ง จะเป็นศิริมงคลแก่ท่าน
    <O:p</O:p
    สำหรับผู้เกิดวันเสาร์ <O:p</O:p
    นามนาคา การปลูกว่านควรเป็น " เศรษฐีเรือนใน" จะนำความร่ำรวยมาสู่ท่าน เลือกปลูกวันพฤหัสบดีข้างขึ้น 4 - 15 ค่ำขึ้นไป คาถานำโชค "นะโมพุทธายะ" 3 รอบจะเป็นศิริมงคลแก่ท่าน

    การเสริมสร้างบุญบารมีของตนเอง เกิดจากการตั้งจิตที่เป็นกุศลสำหรับการเสริมตนเอง สามารถเสริมได้หลายทาง โดยการประดับประดารูปต่าง ๆตามราศี เกิด และสีที่เป็นมงคลในการสวมใส่ รวมถึงการอัญเชิญพระเสริมดวงท่าน และทำบุญเสริมบุญบารมีต่าง ๆ เพื่อก่อให้เกิดการเป็นมงคลกับตนเอง
    <O:p</O:p
    สำหรับผู้ที่เกิดวันอาทิตย์ <O:p</O:p
    เทพยดาวันอาทิตย์ ทรงราชสีห์เป็นพาหนะ การเสริมบารมีท่าน ควรมีรูปปั้นหรือรูปราชสีห์ขลิบทอง ตั้งหรือประดับไว้ที่บ้านหรือที่ทำงานหัน หน้าไปทางทิศตะวันออก หรือทิศเหนือ จะทำให้อุปสรรคต่าง ๆ คลี่คลายได้ดี เนื่องจากมีความเชื่อ ว่า ราชสีห์เป็นสัตว์ที่มีอำนาจถ้าตั้งไว้จะทำให้มีอำนาจและเจริญรุ่งเรือง สีเสื้อผ้าที่ควรสวมใส่ ทำให้เกิดมงคลกับตนเอง ควรใช้สีแดง หรือ ชมพู และเขียวจะทำให้ท่านมี ราศีขึ้น พระที่บูชาและเป็นศิริมงคลแก่ท่านคือ ปางถวายเนตร,กรมหลวงชุมพร,พระแก้วมรกต อัญมณีเสริมดวงท่านคือ ทับทิม การทำบุญเสริมดวงท่านคือ นำกล้วย 1 หวี และ มะพร้าวอ่อน 1 ลูกไปบูชาพระประธานในโบสถ์ เชื่อว่า เรื่องที่ยากจะกลับกลายเป็นง่าย และความทุกข์จะถูกล้างด้วยมะพร้าวอ่อน เรื่องขื่นขมก็จะ หมดสิ้นไป ด้วยบารมีของการทำบุญครั้งนี้
    <O:p</O:p
    สำหรับผู้ที่เกิดวันจันทร์ <O:p</O:p
    เทพยดาวันจันทร์ ทรงม้าเป็นพาหนะ การเสริมบารมีท่าน ควรมีรูปปั้นหรือรูปม้า ตั้งหรือประดับไว้ที่บ้านหรือที่ทำงานหันหน้าไป ทางออกของบ้าน เชื่อว่าจะทำให้มีความก้าวหน้าในธุรกิจการงานที่ทำอยู่ ส่วนเสื้อผ้าที่ควรสวมใส่ทำให้เกิดมงคลกับตัวเอง ควรใช้สีขาวนวล ขาวเหลือง หรือเขียว จะทำ ให้ท่านมีราศีขึ้น พระบูชาและเสริมศิริมงคลแก่ท่านคือ พระปางห้ามญาติ,พระสิวลี,แก้วมรกต และหลวงปู่ทวด อัญมณีเสริมดวงคือ เพชร การทำบุญเสริมดวงท่านคือ ซื้อน้ำมันไปเติมตะเกียงที่วัด หรือสร้างอุปกรณ์ไฟฟ้าในวัด เชื่อว่า จะทำให้ท่านมีความเจริญรุ่งเรือง และประสบความสำเร็จในสิ่งที่ท่านทำอยู่
    <O:p</O:p
    สำหรับผู้ที่เกิดวันอังคาร <O:p</O:p
    เทพยดาวันอังคาร ทรงกระบือเป็นพาหนะ การเสริมบารมีท่าน ควรมีรูปปั้นหรือรูปกระบือพิธีแรกนาขวัญหรือเหรียญพิธีแรกนาขวัญเก็บไว้ ประดับที่บ้าน หรือที่ทำงาน เชื่อว่าจะทำให้ท่านมีความสมบูรณ์พูนสุข ส่วนเสื้อผ้าที่ควรสวมใส่ ควรใช้สีเหลือง, ม่วง และสีดา จะทำให้ท่านมีราศีขึ้น <O:p</O:p
    พระที่บูชาและเสริมศิริมงคลคือ พระปางไสยางค์,พระนอนวัดโพธิ์,ร.5,และนางกวัก อัญมณีเสริมดวงท่านคือ โกเมน การทำบุญเสริมดวงท่านคือ หาส้ม 8 ผลตามกำลังวันไปบูชาพระในโบสถ์หรือที่บ้านเสริมดวง ท่าน เชื่อว่า การถวายส้มตามกำลังวันของท่าน จะทำให้ท่านพบแต่ความสำเร็จ
    <O:p</O:p
    สำหรับผู้ที่เกิดวันพุธ <O:p</O:p
    เทพยดาวันพุธ ทรงคชสารเป็นพาหนะ การเสริมบารมีท่าน ควรมีรูปปั้นช้างแก้วขลิบทอง หรือรูปช้างประดับไว้ที่บ้านหรือที่ทำงาน หัน หน้าไปทางทิศตะวันออก หรือทิศเหนือ จะทำให้มีความร่มเย็น เป็นสุข เพราะเชื่อว่าช้างเป็นสัตว์คู่ บ้านคู่เมือง ที่สามารถนำโชคลาภมาให้บ้านเมืองได้ <O:p</O:p
    ส่วนเสื้อผ้าที่ควรสวมใส่ทำให้เกิดมงคลกับตนเอง ควรใช้สีเหลือง , เขียว และน้ำเงิน จะทำให้ชีวิต ท่านมีราศีขึ้น พระที่บูชาและเสริมศิริมงคลแก่ท่านคือ พระปางอุ้มบาตร,พระวัดอินทรวิหาร,หลวงพ่อปาน วัดบางนมโค, หลวงพ่อทวด อัญมณีเสริมดวงท่านคือ มรกต การทำบุญเสริมดวงคือ การปล่อยปลาลงน้ำ ให้ชีวิตสัตว์ เชื่อว่า จะทำความไม่ดีทั้งหลายในชีวิต ไปกับปลาที่ปล่อย
    <O:p</O:p
    สำหรับผู้ที่เกิดวันพฤหัสบดี <O:p</O:p
    เทพยดาวันพฤหัส ทรงกวางเป็นพาหนะ การเสริมบารมีท่าน ควรมีรูปปั้นหรือรูปกวางหรือรูปม้า ประดับไว้ที่บ้านหรือที่ทำงาน เชื่อว่า กวางเป็นสัตว์ที่เป็นตัวแทนด้านรักและความโชคดีมีประดับไว้ทำให้โชคดี เสื้อผ้าที่ควรสวมใส่ ทำให้เกิดมงคลกับตนเอง ควรใช้สีเหลือง ,ส้ม ,น้ำเงิน และขาว จะทำให้มีสง่า ราศีขึ้น พระที่บูชาเสริมศิริมงคลคือ พระปางสมาธิ, พระแก้วมรกต, หลวงพ่อโสธร, พระแม่อุมาเทวี , หลวงพ่อโต, หลวงพ่อทวด, ฤาษี ,พระพิฆเนตร และ ร. 5 อัญมณีเสริมดวงท่านคือ หยกและทอง การเสริมดวงท่านคือ ไปนมัสการขอพรไหว้เทพที่วัดเทพมนเฑียร ตรงข้ามวัดสุทัศน์ นำพวง มาลัยดอกดาวเรืองไปถวาย ไปวัน พฤหัสข้างขึ้น 9 - 15 ค่ำ จะเจริญขึ้น เชื่อว่า ผู้ที่เกิดวันพฤหัส (วันครู) ถ้าไปนมัสการเทพเทวดาแล้ว จะทำให้ชีวิต เจริญขึ้นเรื่อย ๆ อุปสรรคต่าง ๆ ก็หมดไป
    <O:p</O:p
    สำหรับผู้ที่เกิดวันศุกร์<O:p</O:p
    เทพยดาวันศุกร์ ทรงโคเป็นพาหนะ การเสริมบารมีท่าน ควรมีรูปปั้นหรือรูปโคหรือรูปปีเกิดท่านประดับไว้ที่ทำงานหรือบ้านท่าน เชื่อว่าจะทำให้เทพยดาราศี เจ้าคุ้มครอง ทำให้ชีวิตดีขึ้น เสื้อผ้าที่ควรสวมใส่ ทำให้เกิดมงคลกับตนเอง ควรใช้สีทอง, ขาว, ฟ้า จะทำให้มีราศีขึ้น พระที่บูชาและเสริมศิริมงคลแกท่านคือ ปางรำพึง, พระนอน, พระแก้วมรกต และบ้านเกิดท่าน อัญมณีเสริมดวงท่านคือ ทองหรือไข่มุก การทำบุญเสริมดวงคือ ทำสังฆทานอุทิศให้เจ้ากรรมนายเวรในอดีตและปัจจุบันชาติ เชื่อว่า กุศล การถวายสังฆทาน จะทำให้เจ้ากรรมนายเวรอโหสิกรรม และมาอนุโมทนาบุญด้วย ทำให้ชีวิตท่านดีขึ้น
    <O:p</O:p
    สำหรับผู้ที่เกิดวันเสาร์ <O:p</O:p
    เทพยดาวันเสาร์ ทรงเสือเป็นพาหนะ การเสริมบารมีท่าน ควรมีรูปปั้นหรือรูปภาพเสือ ตั้งโต๊ะทำงานหรือประดับไว้ที่บ้านท่าน เชื่อว่า จะทำให้ท่านมีพลังกายพลังใจในการต่อสู่ชีวิตมากขึ้น เสื้อผ้าที่ควรสวมใส่ เป็นมงคลกับตนเอง ควรใช้สี เขียว, ดำ และน้ำเงิน จะทำให้ท่านมีราศีขึ้นพระที่บูชาเสริมศิริมงคลท่านคือ ปางนาคปรก, ร.5, พระสังกัจจาย และพระนารายณ์ อัญมณีเสริมดวงท่าน นิลสีดำล้อมเพชร การทำบุญเสริมดวงคือ สร้างถนน , สะพาน ร่วมกับวัดหรือโรงเรียน เชื่อว่าจะทำให้ กิจการงานที่ ทำอยู่ราบรื่น และประสบความสำเร็จอย่างรวดเร็ว
    <O:p</O:p
    สำหรับผู้ที่เกิดวันพุธกลางคืน <O:p</O:p
    เทพยดาพระราหู ทรงครุฑเป็นพาหนะการเสริมบารมีท่าน ควรมีรูปปั้นหรือรูปครุฑประดับไว้ในบ้านหรือ ที่ทำงาน เชื่อว่า ครุฑเป็นของ สูงท่านมีไว้จะทำให้สิ่งไม่ดีทั้งหลาย แพ้พ่ายด้วยพญาครุฑ เสื้อผ้าที่ควรสวมใส่ ควรใช้มีส้ม , ขาว พระที่บูชาและเสริมศิริมงคลแก่ท่านคือ พระปางเลไลย์, พระพิฆเนตร , พระหลวงพ่อทวด , ร.5 อัญมณีเสริมดวงท่านคือ นิลและมรกต การทำบุญเสริมดวงคือ ไหว้พระราหูเสริมดวงหรือซื้อเทียนถวายวัด เชื่อว่า จะทำให้ เรื่องร้าย กลายเป็นดี ด้วยบารมีของพระราหู<O:p</O:p
    <O:p</O:p


    ++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++<O:p</O:p
     
  5. :::เพชร:::

    :::เพชร::: เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    8,584
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +36,137
    <CENTER> </CENTER><CENTER> </CENTER><CENTER> </CENTER><CENTER> </CENTER><CENTER>[​IMG]</CENTER>
    <CENTER>เครื่องสักการะบูชาพระรัตนตรัย </CENTER> ครื่องสักการะบูชาพระรัตนตรัยนั้น ชาวพุทธไทยเราทั้งหลาย นิยมนำมาบูชาเป็นประจำเสมอ ในการประกอบพิธีกรรม ในทางพระพุทธศาสนาทั้งงานมงคล และงานอวมงคลมี ๓ อย่างคือ :-
    ๑. ธูป
    ๒. เทียน และ
    ๓. ดอกไม้

    <CENTER><A name=_Toc89187362>ธูปสำหรับบูชาพระพุทธเจ้า </CENTER> ธูปนั้น สำหรับบูชาพระพุทธเจ้า นิยมจุดบูชาครั้งละ ๓ ดอก เป็นอย่างน้อย โดยมีความมุ่งหมายว่า พระพุทธเจ้านั้นพระองค์ทรงมีพระคุณเป็นอันมาก ยากที่จะพรรณนาให้สิ้นสุดได้ แต่เมื่อประมวลกล่าวเฉพราะพระคุณ ที่เป็นใหญ่เป็นประธานแห่งพระคุณทั้งปวง คงมี ๓ ประการ คือ:-

    ธูปนั้น สำหรับบูชาพระพุทธเจ้า นิยมจุดธูปบูชาครั้งละ ๓ ดอก เป็นอย่างน้อย โดยมีความมุ่งหมายว่า พระพุทธเจ้านั้น พระองค์ทรงมีพระคุณเป็นอันมาก ยากที่จะพรรณนาให้สิ้นสุดได้ แต่เมื่อประมวลกล่าวเฉพาะพระคุณ ที่เป็นใหญ่เป็นประธานแห่งพระคุณทั้งปวง คงมี ๓ ประการ คือ:-
    ๑. พระปัญญาธิคุณ [​IMG]
    ๒. พระบริสุทธิคุณ และ
    ๓. พระมหากรุณาธิคุณ
    ธูปทั้ง ๓ ดอกนั้น สำหรับจุดเพื่อบูชาพระพุทธคุณทั้ง ๓ ประการนี้ แต่บางท่านก็อธิบายความมุ่งหมายแตกต่างออกไปว่า ธูป ๓ ธูป ดอกนั้น เพื่อบูชาพระพุทธทั้ง ๓ ประเภท คือ:-
    ๑. อดีตสัมพุทธะ พระพุทธเจ้าทั้งหลายในอดีต
    ๒. อนาคตสัมมาพุทธะ พระพุทธเจ้าทั้งหลายในอนาคตและ
    ๓. ปัจจุปันนสัมพุทธะ พระพุทธเจ้าในปัจจุบัน
    ธูป สำหรับบูชาพระพุทธเจ้านั้น นิยมใช้ธูป มีกลิ่นหอม โดยมาความหมายว่า ธรรมดากลินธูปนี้เป็นกลิ่นหอมที่น่าอัศจรรย์ กว่ากลิ่นหอมต่าง ๆ ที่ชาวโลกนิยมใช้กัน
    กลิ่นหอมที่ชาวโลกนิยมใช้กันอยู่ทุกชนิด เมื่อบุคลได้สูดกลิ่นแล้วเป็นเหตุทำให้กิเลสฟูตัวขึ้น ทำให้จิตใจฟุ้งซ่าน ไม่สงบส่วนกลิ่นหอมของธูปนั้น เมื่อบุคคลได้สูดกลิ่นแล้วเป็นเหตุทำให้กิเลสยุบตัวลง ทำให้จิตใจสงบไม่ฟุ้งซ่าน
    อนึ่ง ธูปนั้นแม้จะถูกไฟไหม้หมดไปแล้ว แต่กลิ่นหอมของธูปนี้ก็ยังหอมอบอวลอยู่ในบริเวณนั้นได้เป็นเวลานานฉันใด พระคุณของพระพุทธเจ้า ก็เป็นที่ซาบซึ้งเข้าถึงจิตใจของชาวบุคคลทั้งหลาย โดยที่สุด แม้แต่มหาโจรใจเหี้ยม เช่น องคุลีมาลโจร เป็นต้น ย่อมทำให้ผู้นั้นมีจิตใจสงบระงับจากการทำความชั่ว หันหน้าเข้าสู่ความดี และแม้แต่พระพุทธเจ้าจะได้เสด็จดับขันธปรินิพพานไปนานถึง ๒ พันปีเศษแล้วก็ตาม แต่พระพุทธคุณก็ยังปรากฏซาบซึ้งตรึงอยู่กับจิตใจของชาวพุทธศาสนิกชนทั้งหลาย ตลอดมาจนกระทั่งทุกวันนี้ ฉันนั้น
    <CENTER><A name=_Toc89187363>เทียนสำหรับบูชาพระธรรม </CENTER> เทียนนั้น สำหรับบูชาพระธรรม นิยมจุดบูชาครั้งละ ๒ เล่ม เป็นอย่างน้อย โดยมาความมุ่งหมายว่า พระศาสนธรรมคำสั่งสอน ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้านั้น แยกออกได้เป็น ๒ อย่าง คือ:- [​IMG]
    ๑. พระวินัย สำหรับฝึกหัดกาย และวาจา ให้เป็นระเบียบเรียบร้อย และ
    ๒. พระธรรม สำหรับอบรมจิตใจ ให้สงบระงับจากความชั่ว ทุจริตทุกประการ และ เทียนที่นิยมจุดบูชาครั้งละ ๒ เล่ม ก็เพื่อบูชาพระวินัยเล่ม ๑ และบูชาพระธรรม อีกเล่ม ๑

    เทียน สำหรับบูชาพระธรรมนั้น นิมยมใช้เทียน ขนาดใหญ่พอสมควรแก่เชิงเทียน ความนิยมใช้เทียนจุดบูชาพระธรรมนั้น โดยมุ่งหมายว่า ธรรมดาเทียนนี้ บุคคลจุดขึ้น ณ สถานที่ใด ย่อมเกิดจำกัดความมืดในสถานที่นั้น ให้หายหมดไป ทำให้เกิดเเสงสว่างขึ้น ณ ที่แห่งนั้น ฉันใด
    พระศาสนธรรมคำสั่งสอน ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้านั้นบุคคลใดมาศึกษาอบรมเกิดความรู้ความเข้าใจขึ้นแล้ว ย่อมกำจัดความมืด คือ โมหะ ความโง่เขลาเบา ปัญญาในจิตใจของบุคคลนั้นให้หายหมดไป ทำให้เกิดแสงสว่าง คือ ปัญญาขึ้นภายใจจิตใจของตนฉันนั้น
    <CENTER><A name=_Toc89187364>ดอกไม้สำหรับบูชาพระสงฆ์ </CENTER> ดอกไม้สำหรับบูชาพระสงฆ์ โดยความมุ่งหมายว่า ธรรมดาดอกไม้นานาพันธุ์ เมื่อยังอยู่ ณ สถานที่เกิดของมันก็ย่อมมีความสวยงามตามสมควรแก่สภาพของพันธุ์ไม้นั้น ๆ ครั้นบุคคลเราเก็บดอกไม้นานาพันธุ์เหล่านั้นมากองรวมกับไว้โดยมิได้จัดสรร ย่อมหาความเป็นระเบียบมิได้ ย่อมไม่สวยงาม ไม่น่าดูไม่น่าชม ต่อเมื่อนายมาลาการ คือ ช่างดอกไม้ผู้ฉลาด มาจัดสรรดอกไม้เหล่านั้นโดยจัดใส่แจกันหรือจัดใส่พานประดับให้เข้าระเบียบแล้ว ย่อมเป็นระเบียบเรียบร้อยเกิดความสวยงามน่าดูน่าชม ฉันใด

    บรรดาพระสงฆ์สาวกของพระพุทธเจ้าทั้งหลาย สมัยเมื่อยังเป็นคฤหัสถ์อยู่บ้านเรือนของตน ๆ ย่อมมีกิริยามารยาททางกายทางวาจา และจิตใจ เรียบร้อยตามสมควรแก่ภูมิชั้นแห่งตระกูลของตน ๆ หยาบบ้าง ปานกลางบ้าง ละเอียดบ้าง ครั้งคฤหัสถ์เหล่านั้น ซึ่งต่างชาติกัน ต่างตระกูลกัน มีนิสัยอัธยาศัยต่าง ๆ กัน มีศรัทธาเลื่อมใสเข้ามาบวชอยู่ร่วมกัน ถ้าไม่มีระเบียบปฎิบัติเป็นแบบแผนเดียวกัน พระสงฆ์สาวกเหล่านั้นก็จะหาความเป็นระบียบมิได้ ย่อมไม่เป็นที่ตั้งแห่งศรัทธาเลื่อมใสของผู้ได้ประสบพบเห็น ครั้นเมื่อพระพุทธเจ้าผู้เปรียบเสมือนนายมาลาการผู้ฉลาดได้ทรงวางพระธรรมวินัย ไว้เป็นแบบแผนประพฤติปฎิบัติ จัดพระสงฆ์สาวกเหล่านั้น ให้ประพฤติปฎิบัติอยู่ในระเบียบเดียวกัน จึงเกิดความเป็นระเบียบเรียบร้อยน่าเคารพ น่าสักการะบูชา ฉันนั้น
    อนึ่ง ดอกไม้สำหรับให้บูชาพระสงฆ์ นิยมไช้ดอกไม้ที่เพรียบพร้อมด้วยลักษณะ ๓ ประการ คือ:- [​IMG] [​IMG] [​IMG] [​IMG] [​IMG]
    ๑. มีสีสวย
    ๒. มีกลิ่นหอม
    ๓. กำลังสดชื่น
    ดอกไม้ที่บูชาพระประจำวันนั้น นิยมจัดเปลี่ยนให้สดอยู่เสมอ อันนี้เป็นนิมิตหมายแห่งความสดชื่น ความรุ่งเรือง ไม่นิยมปล่อยให้เหี่ยวแห่ง เพราะความเหี่ยวแห้ง เป็นนิมิตหมายแห่งความหดหู่ใจ ความเสื่อมโทรม เป็นต้น
    บุคคลผู้บูชาด้วยดอกไม้ที่มีสีสวย แต่ไม่มีกลิ่นหอม เช่น บูชาพระด้วยดอกไม้พลาสติก หรือดอกไม้ประดิษฐ์เป็นต้น ต่อไปในภายหน้าบุคคลผู้นั้นจะได้อะไร ๆ ก็ล้วนแต่มีรูปร่างลักษณะดีมีรูปสวย แต่คุณภาพไม่ดี ดังคำพังเพยว่า “ สวยแต่รูป แต่จูบไม่หอม ”
    บุคคลผู้บูชาพระด้วยดอกไม้มีกลิ่นหอม แต่มีสีไม่สวย ต่อไปในภายหน้า บุคคลผู้นั้นจะได้อะไร ๆ ก็ล้วนแต่มีคุณภาพดีแต่รูปร่างลักษณะไม่สวย ไม่งดงาม ดังคำพังเพย “ ถึงรูปชั่วตัวดำแต่น้ำใจดี ”
    บุคคลผู้บูชาด้วยพระดอกไม้กำลังสดชื่น ต่อไปภายหน้า บุคคลผู้นั้นจะได้อะไร ๆ ก็ล้วนแต่เป็นของใหม่ ๆ ไม่ต้องใช้ของที่ขาใช้แล้ว เป็นมือหนึ่ง ไม่ต้องเป็นมือสองรองใคร ดังตัวอย่างเช่น ชูชกมีอายุคราวปู่ได้นางอมิตตดาซึ่งเป็นสาวแรกรุ่นคราวลูกคราวหลานเป็นภรรยา เพราะอานิสงส์ที่ชูชกได้เคยบูชาพระด้วยดอกบัวตูมที่กำลังสดชื่น ฉะนั้น บุคคลผู้บูชาพระด้วยดอกไม้ที่บอบช้ำเหี่ยวแห้ง ต่อไป ในภายหน้า บุคคลผู้นั้นจะได้อะไร ๆ ก็ล้วนแต่เป็น ของเก่า ๆ เหี่ยว ๆ แห้ง ๆ เป็นของที่ผ่านมือผู้อื่นมาแล้ว ตัวอย่างเช่น นางอมิตตดาได้ชูชกแก่คราวปู่เป็นสามี เพราะโทษที่ได้เคยบูชาพระด้วยดอกไม้ที่บอบช้ำเหี่ยว ๆ ฉะนั้น

    บางส่วนจาก http://www.larnbuddhism.net/buddha/sakgara/
     
  6. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    http://www.freewebs.com/bansadat/9woodmongkol.htm


    อานิสงส์การ สร้างพระพุทธรูปและฐานบัวประดิษฐาน

    <O:p</O:p

    พระพุทธรูปและฐานบัวประดิษฐาน หมายความว่าอย่างไร? หมายความว่าพระรูปของพระพุทธเจ้า การสร้างพระพุทธรูปและฐานบัวประดิษฐานจะมีอานิสงส์อย่างไรบ้าง? การสร้างพระพุทธรูปและฐานบัวประดิษฐานมีอานิสงส์มากมายหลายประการ เหลือที่จะนับจะประมาณได้ จะขอยกมาแสดงไว้ในที่นี้แต่พอเป็นตัวอย่าง หรือพอเป็นแนวทางเท่านั้นคือ<O:p</O:p
    <O:p</O:p

    ๑. ผู้สร้างพระพุทธรูปและฐานบัวประดิษฐาน ชื่อว่าได้บำเพ็ญบุญกิริยาวัตถุ ๑๐ ประการคือ<O:p</O:p
    <O:p</O:p

    ๑) ทานมัย บุญสำเร็จด้วยการให้ทาน หมายความว่า ผู้นั้นต้องเอาพระพุทธรูปและฐานบัวประดิษฐานไปถวายพระสงฆ์ไว้ในวัดใดวัดหนึ่ง เพื่อให้ภิกษุสามเณรหรืออุบาสกอุบาสิกาได้กราบไหว้สักการะบูชา และก่อนที่จะได้ถวายตัวเองก็ต้องบริจาคเงินสร้างหรือเช่ามาแล้วนี้เป็นทานมัยกุศลชั้นต้น ต่อมาก็มีการเฉลิมฉลองอีก ตัวเองก็บริจาคจตุปัจจัยไทยทานถวายพระทำบุญ นี้เป็นทานมัยกุศลชั้นที่ ๒ ถึงแม้ว่าจะสร้างไปไว้ที่บ้านเพื่อสักการะบูชา ก็ต้องปฏิบัติในทำนองเดียวกันนี้ ดังนั้นผู้สร้างพระพุทธรูปและฐานบัวประดิษฐานจึงชื่อวาได้บำเพ็ญทานมัยกุศลไปด้วย
    <O:p</O:p
    ๒) ศีลมัย บุญสำเร็จด้วยการรักษาศีล หมายความว่า ก่อนแต่จะทำการถวายทานหรือถวายพระพุทธรูปและฐานบัวประดิษฐาน เจ้าภาพก็ต้องสมาทานศีลเสียก่อน ศีลที่สมาทานคราวนี้เกิดขึ้นเพราะการสร้าพระพุทธรูปและฐานบัวประดิษฐานเป็นปัจจัย ดังนั้นผู้สร้างพระพุทธรูปและฐานบัวประดิษฐาน จึงชื่อว่าได้บำเพ็ญศีลมัยกุศลไปด้วย
    <O:p</O:p
    ๓) ภาวนามัย บุญสำเร็จด้วยการเจริญภาวนา คำว่าภาวนานั้นมีสองอย่างคือ สมถภาวนา ๑ วิปัสสนาภาวนา ๑ การได้เห็นพระพุทธรูปและฐานบัวประดิษฐานด้วยตาได้กราบได้ไหว้ด้วยกาย ได้เปล่งวาจาระลึกถึงพระพุทธคุณ ใจก็น้อมนึกไปตาม ว่าผู้นั้นได้เจริญพุทธานุสสติกรรมฐาน จัดเป็นสมถกรรมฐานเป็นมหากุศล ตายด้วยจิตดวงเดียว อย่างต่ำต้องมาเกิดเป็นมนุษย์ อย่างกลางสามารถไปเกิดในสวรรค์ อย่างสูงสามารถไปสู่พระนิพพานได้ ดังพระปิติมัลละเถระเป็นตัวอย่าง คือพระเถระนั้นได้กวาดลานวัดแต่เช้าตรู่ ได้เห็นพระพุทธรูปและฐานบัวประดิษฐานของพระพุทธเจ้า ซึ่งเทวดานฤมิตนั้นขึ้น พอท่านเห็นก็เกิดปีติแล้วยกปีติขึ้นพิจารณา เจริญวิปัสสนากรรมฐานได้บรรลุมรรคผลนิพพาน ดังนั้นผู้สร้างพระพุทธรูปและฐานบัวประดิษฐานจึงชื่อว่าได้บำเพ็ญภาวนากุศลไปด้วย
    <O:p</O:p
    ๔) อปจายนมัย บุญสำเร็จด้วยการประพฤติอ่อนน้อมถ่อมตนต่อท่านผู้เจริญโดยคุณ โดยวัย โดยชาติ การไหว้พระพุทธรูปและฐานบัวประดิษฐาน ไหว้พระสงฆ์ หรือไหว้ผู้แก่กว่า ชื่อว่าได้ประพฤติอ่อนน้อมถ่อมตนต่อท่านผู้เจริญ จัดเป็นบุญกิริยาวัตถุ ดังนั้นผู้สร้างพระพุทธรูปและฐานบัวประดิษฐานจึงชื่อว่าได้บำเพ็ญอปจายนมัยกุศลไปด้วย
    <O:p</O:p
    ๕) ไวยาวัจจมัย บุญสำเร็จด้วยการช่วยขวนขวายในกิจที่ชอบ หมายความว่า ในการสร้างพระพุทธรูปและฐานบัวประดิษฐานนั้น จะต้องอาศัยคนเป็นจำนวนมาก การวิ่งเต้นช่วยกันในงานหล่อพระในงานฉลองพระ เป็นต้น ถือว่าเป็นมหากุศลมีผลไม่น้อย เช่น พระเจ้าจันทปัชโชติ พระไวยาวัจจกเถระ เป็นตัวอย่างดังนี้คือ<O:p</O:p
    ก. พระเจ้าจันทปัชโชติ ได้ช่วยนายรับบาตรพระมาใส่อาหารและนำกลับไปถวายพระ ปรารถนาเป็นพระเจ้าแผ่นดิน และปรารถนาให้มียานพาหนะดี เดินทางได้วันละหลายๆ โยชน์ และปรารถนาให้ตนมีอำนาจวาสนามาก ครั้นตายแล้วก็ได้ไปเกิดเป็นพระเจ้าแผ่นดินมีนามว่า พระเจ้าจันทปัชโชติสมความปรารถนา<O:p</O:p
    ข. พระไวยาวัจจกเถระ ในศาสนาของพระพุทธเจ้าพระนามว่าพระวิปัสสี ท่านเป็นผู้ช่วยเหลือในกิจการของวัดและได้ช่วยเหลือในงานทำบุญต่างๆ ตายจากชาตินั้นได้ไปเกิดในสวรรค์ จุติมาเกิดเป็นพระราชาได้ออกบวชเจริญวิปัสสนากรรมฐานสำเร็จเป็นพระอรหันต์ แตกฉานในปฏิสัมภิพาทั้ง ๔ ได้วิโมกข์ ๘ และอภิญญา ๖ ดังนั้นผู้สร้างพระพุทธรูปและฐานบัวประดิษฐานจึงชื่อว่าได้บำเพ็ญไวยาวัจจมัยกุศลไปด้วย
    <O:p</O:p
    ๖) ปัตติทานมัย บุญสำเร็จด้วยการให้ส่วนบุญ หมายความว่า ผู้ที่ได้สร้างพระพุทธรูปและฐานบัวประดิษฐานจำเป็นอยู่เองที่จะบอกญาติสนิทมิตรสหายให้ทราบ เพื่อร่วมอนุโมทนาในการฉลองพระ การถวาย เป็นต้น นอกจากนั้นยังจะต้องอุทิศส่วนกุศลส่วนบุญให้แก่บิดามารดาปู่ย่าตายาย ท่านผู้มีพระคุณ เทพบุตร เทพธิดา เป็นต้นอีก ดังนั้นผู้สร้างพระพุทธรูปและฐานบัวประดิษฐานจึงชื่อว่าได้บำเพ็ญปัตติทานมัยกุศลไปด้วย
    <O:p</O:p
    ๗) ปัตตานุโมทนามัย บุญสำเร็จด้วยการอนุโมทนาส่วนบุญ หมายความว่า เมื่อผู้สร้างพระพุทธรูปและฐานบัวประดิษฐานได้บอกบุญแจ้งข่าวแก่ญาติมิตรแล้ว ญาติมิตรเหล่านั้นก็จะต้องพากันอนุโมทนาต้อนรับเป็นอย่างดี เมื่อผู้อื่นมาอนุโมทนาท่านเจ้าภาพก็พลอยปลื้มปีติอนุโมทนาสาธุการตอบอีก การปฏิบัติอย่างนี้ จัดเป็นมหากุศลด้วยกันทั้งสองฝ่าย ดังนั้นผู้สร้างพระพุทธรูปและฐานบัวประดิษฐานจึงชื่อว่าได้บำเพ็ญปัตตานุโมทนามัยกุศลไปด้วย
    <O:p</O:p
    ๘) ธัมมัสวนมัย บุญสำเร็จด้วยการฟังธรรม หมายความว่า ในการสร้างพระพุทธรูปและฐานบัวประดิษฐานนั้น เจ้าภาพบางคนก็ได้นิมนต์พระไปสวดชะยันโต เจริญพระพุทธมนต์ แสดงธรรม และเจ้าภาพบางคนได้พิมพ์หนังสือธรรมแจกเป็นธรรมทานในงานฉลองพระ เป็นต้น การปฏิบัติเช่นนี้ ชื่อว่าได้ให้ธรรมเป็นทานด้วย ตัวเองและผู้ได้มาร่วมงานก็ได้ฟังธรรมไปด้วย ดังนั้นผู้สร้างพระพุทธรูปและฐานบัวประดิษฐาน จึงชื่อว่าได้บำเพ็ญธัมมัสวนมัยกุศลไปด้วย
    <O:p</O:p
    ๙) ธัมมเทสนามัย บุญสำเร็จด้วยการแสดงธรรม หมายความว่า การที่พระสงฆ์ได้มาสวดมนต์สวดชะยันโต หรือแสดงธรรมนั้น ก็เพราะเจ้าภาพเป็นผู้อาราธนามา นี้ชื่อว่าเจ้าภาพได้บุญอันสำเร็จจากการแสดงธรรมแล้ว ดังนั้นผู้สร้างพระพุทธรูปและฐานบัวประดิษฐาน จึงชื่อว่าได้บำเพ็ญธัมมเทสนามัยกุศลไปด้วย
    <O:p</O:p
    ๑๐)ทิฏฐุชุกัมม์ การทำความเห็นให้ตรง หมายความว่า กุศลนั้นมีอยู่ ๔ ชั้นคือ<O:p</O:p
    ๑.กุศลชั้นกามาวจร ได้แก่ มหากุศลต่างๆ มีการสร้างพระพุทธรูปและฐานบัวประดิษฐาน ถวายทาน สร้างศาลา ฟังธรรม แสดงธรรม เป็นต้น<O:p</O:p
    ๒.กุศลชั้นรูปาวจร ได้แก่ การเจริญสมถกรรมฐาน เช่น พุทธานุสสติ เป็นต้น<O:p</O:p
    ๓.กุศลชั้นอรูปาวจร ได้แก่ การเจริญอรูปกรรมฐาน ๔ มีอากานัญจายตนะ เป็นต้น<O:p</O:p
    ๔.กุศลชั้นโลกุตตระ ได้แก่ การเจริญวิปัสสนากรรมฐาน
    <O:p</O:p
    การที่ผู้สร้างพระพุทธรูปและฐานบัวประดิษฐานได้เกิดศรัทธา จนถึงสละเงินออกมาสร้างพระพุทธรูปและฐานบัวประดิษฐานได้ และออกมาทำทานในงานฉลองพระพุทธรูปและฐานบัวประดิษฐานได้ ชื่อว่าเป็นผู้มีความเห็นตรงเห็นถูกแท้ เพราะเป็นบุญของตนเอง ไม่ใช่บุญของใครเลย<O:p</O:p
    <O:p</O:p

    ๑.ผู้สร้างพระพุทธรูปและฐานบัวประดิษฐาน ชื่อว่าเป็นผู้ไม่ประมาท<O:p</O:p
    ๒.ผู้สร้างพระพุทธรูปและฐานบัวประดิษฐาน ชื่อว่าเป็นผู้ได้เตรียมตัวก่อนตาย<O:p</O:p
     
  7. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
  8. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    อ้างอิง:
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=6 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=alt2 style="BORDER-RIGHT: 1px inset; BORDER-TOP: 1px inset; BORDER-LEFT: 1px inset; BORDER-BOTTOM: 1px inset">ข้อความดั้งเดิมโดยคุณ sithiphong [​IMG]
    http://www.freewebs.com/bansadat/9woodmongkol.htm

    การบรรจุมวลสารเถ้าอัฐถิในแท่นบัวประดิษฐานพระประจำวันเกิด พระประธานด้วยไม้มงคลประจำปีนักษัตร

    ปีหนู อยู่ไหนครับ ???

    <O:p</O:p
    <O:p</O:p

    เกิดปีฉลู<O:p</O:p

    มิ่งขวัญอยู่ที่ต้นตาล<O:p</O:p
    <O:p</O:p

    เกิดปีขาล<O:p</O:p

    มิ่งขวัญอยู่ที่ต้นขนุน และต้นรัง<O:p</O:p
    <O:p</O:p

    เกิดปีเถาะ<O:p</O:p

    มิ่งขวัญอยู่ที่ต้นมะพร้าว และต้นงิ้ว<O:p</O:p
    <O:p</O:p

    เกิดปีมะโรง<O:p</O:p

    มิ่งขวัญอยู่ที่ต้นไผ่,ต้นกัลปพฤกษ์,และต้นงิ้ว<O:p</O:p
    <O:p</O:p

    เกิดปีมะเส็ง<O:p</O:p

    มิ่งขวัญอยู่ที่ต้นไผ่ และต้นรัง<O:p</O:p
    <O:p</O:p

    เกิดปีมะเมีย<O:p</O:p

    มิ่งขวัญอยู่ที่ต้นกล้วย และต้นตะเคียน<O:p</O:p
    <O:p</O:p

    เกิดปีมะแม<O:p</O:p

    มิ่งขวัญอยู่ที่ต้นไผ่,ต้นปาริชาด,และต้นทองหลาง<O:p</O:p
    <O:p</O:p

    เกิดปีวอก<O:p</O:p

    มิ่งขวัญอยู่ที่ต้นขนุน<O:p</O:p
    <O:p</O:p

    เกิดปีระกา<O:p</O:p

    มิ่งขวัญอยู่ที่ต้นไผ่,ต้นยางและต้นฝ้าย<O:p</O:p
    <O:p</O:p

    เกิดปีจอ <O:p</O:p

    มิ่งขวัญอยู่ที่ต้นบัวบก และต้นสำโรง
    <O:p</O:p
    <O:p</O:p
    เกิดปีกุน<O:p</O:p

    มิ่งขวัญอยู่ทีกอบัวหลวง และต้นบัวบก<O:p</O:p

    </TD></TR></TBODY></TABLE>

    ปีหนูไม่มีครับ มีแต่ปีเกิด คิคิคิ

    ทางเว็บเขาไม่ได้ลง คงลืมลง แถมคนคัดลอกมาก็ไม่ทราบเหมือนกัน ไว้อ่านเป็นความรู้แค่นั้นพอครับ

    .
     
  9. ตั้งจิต

    ตั้งจิต เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กันยายน 2005
    โพสต์:
    1,574
    ค่าพลัง:
    +5,485
    อืม...น่าเห็นใจน้อง ใจ-pat

    พี่เอง
    ตั้งจิตสติปัญญา(one-eye)
     
  10. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    อ้างอิง:
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=6 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=alt2 style="BORDER-RIGHT: 1px inset; BORDER-TOP: 1px inset; BORDER-LEFT: 1px inset; BORDER-BOTTOM: 1px inset">ข้อความดั้งเดิมโดยคุณ :::เพชร::: [​IMG]
    อยากรู้เรื่อง"มณฑาทิพย์"....
    </TD></TR></TBODY></TABLE>

    มีท่านนึงแซวมาว่า เป็นคำถามนำอะไรสักเรื่องหรือเปล่า

    (one-eye)

    .
     
  11. chaipat

    chaipat เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    5 มกราคม 2007
    โพสต์:
    1,282
    ค่าพลัง:
    +11,099
    <TABLE class=tborder cellSpacing=1 cellPadding=6 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=thead>ขณะนี้มีคนกำลังดูกระทู้นี้อยู่ : 9 คน ( เป็นสมาชิก 4 คน และ บุคคลทั่วไป 5 คน ) </TD></TR><TR><TD class=alt1 width="100%" colSpan=2>chaipat, เชน, chai wong, ไตรสรณคมน์ </TD></TR></TBODY></TABLE>

    จ๊ะเอ๋ครับ

    นะพี่หนุ่ม พี่เพชร พี่น้องหนู ฯ

    สาธุครับ
     
  12. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    อ้างอิง:
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=6 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=alt2 style="BORDER-RIGHT: 1px inset; BORDER-TOP: 1px inset; BORDER-LEFT: 1px inset; BORDER-BOTTOM: 1px inset">ข้อความดั้งเดิมโดยคุณ sithiphong [​IMG]
    http://www.freewebs.com/bansadat/9woodmongkol.htm

    การบรรจุมวลสารเถ้าอัฐถิในแท่นบัวประดิษฐานพระประจำวันเกิด พระประธานด้วยไม้มงคลประจำปีนักษัตร

    ปีหนู อยู่ไหนครับ ???

    <O:p</O:p<O:p</O:pเกิดปีฉลู<O:p</O:p

    มิ่งขวัญอยู่ที่ต้นตาล<O:p</O:p
    <O:p</O:p
    เกิดปีขาล<O:p</O:p

    มิ่งขวัญอยู่ที่ต้นขนุน และต้นรัง<O:p</O:p
    <O:p</O:p
    เกิดปีเถาะ<O:p</O:p

    มิ่งขวัญอยู่ที่ต้นมะพร้าว และต้นงิ้ว<O:p</O:p
    <O:p</O:p
    เกิดปีมะโรง<O:p</O:p

    มิ่งขวัญอยู่ที่ต้นไผ่,ต้นกัลปพฤกษ์,และต้นงิ้ว<O:p</O:p
    <O:p</O:p
    เกิดปีมะเส็ง<O:p</O:p

    มิ่งขวัญอยู่ที่ต้นไผ่ และต้นรัง<O:p</O:p
    <O:p</O:p
    เกิดปีมะเมีย<O:p</O:p

    มิ่งขวัญอยู่ที่ต้นกล้วย และต้นตะเคียน<O:p</O:p
    <O:p</O:p
    เกิดปีมะแม<O:p</O:p

    มิ่งขวัญอยู่ที่ต้นไผ่,ต้นปาริชาด,และต้นทองหลาง<O:p</O:p
    <O:p</O:p
    เกิดปีวอก<O:p</O:p

    มิ่งขวัญอยู่ที่ต้นขนุน<O:p</O:p
    <O:p</O:p
    เกิดปีระกา<O:p</O:p

    มิ่งขวัญอยู่ที่ต้นไผ่,ต้นยางและต้นฝ้าย<O:p</O:p
    <O:p</O:p
    เกิดปีจอ <O:p</O:p

    มิ่งขวัญอยู่ที่ต้นบัวบก และต้นสำโรง
    <O:p</O:p<O:p</O:p
    เกิดปีกุน<O:p</O:p

    มิ่งขวัญอยู่ทีกอบัวหลวง และต้นบัวบก
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    อ้างอิง:
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=6 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=alt2 style="BORDER-RIGHT: 1px inset; BORDER-TOP: 1px inset; BORDER-LEFT: 1px inset; BORDER-BOTTOM: 1px inset">ข้อความดั้งเดิมโดยคุณ chaipat [​IMG]
    ปีหนู อยู่ไหนครับ ???
    สาธุครับ
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    อ้างอิง:
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=6 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=alt2 style="BORDER-RIGHT: 1px inset; BORDER-TOP: 1px inset; BORDER-LEFT: 1px inset; BORDER-BOTTOM: 1px inset">ข้อความดั้งเดิมโดยคุณ sithiphong [​IMG]
    อ้างอิง:

    ปีหนูไม่มีครับ มีแต่ปีเกิด คิคิคิ

    ทางเว็บเขาไม่ได้ลง คงลืมลง แถมคนคัดลอกมาก็ไม่ทราบเหมือนกัน ไว้อ่านเป็นความรู้แค่นั้นพอครับ

    .
    </TD></TR></TBODY></TABLE>

    อ้างอิง:
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=6 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=alt2 style="BORDER-RIGHT: 1px inset; BORDER-TOP: 1px inset; BORDER-LEFT: 1px inset; BORDER-BOTTOM: 1px inset">ข้อความดั้งเดิมโดยคุณ chaipat [​IMG]
    งั้นเข้าล็อกแล้ว

    ชวด ปีชวด (อดอีกแล้ว)

    สาธุครับ
    </TD></TR></TBODY></TABLE>

    อ้างอิง:
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=6 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=alt2 style="BORDER-RIGHT: 1px inset; BORDER-TOP: 1px inset; BORDER-LEFT: 1px inset; BORDER-BOTTOM: 1px inset">ข้อความดั้งเดิมโดยคุณ ตั้งจิต [​IMG]
    อืม...น่าเห็นใจน้อง ใจ-pat

    พี่เอง
    ตั้งจิตสติปัญญา
    (one-eye)
    </TD></TR></TBODY></TABLE>


    ไม่เสร็จพี่หรอก แต่พี่จะเสร็จคุณตั้งจิต จะบุกมาถึงฐานทัพเลย

    --------------------------------(})
     
  13. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    มาต่อกันเรื่องพระไตรปิฎกครับ

    http://84000.org/tipitaka/pitaka1/


    <CENTER>พระไตรปิฎก เล่มที่ ๑ พระวินัยปิฎก เล่มที่ ๑
    มหาวิภังค์ ภาค ๑
    </CENTER>
    ปาราชิกกัณฑ์
    ปฐมปาราชิกสิกขาบท<SMALL> [ว่าด้วย เมถุนธรรม]</SMALL>
    เรื่องพระสุทินน์
    สุทินน์กลันทบุตรออกบวช
    พระปฐมบัญญัติ
    พระอนุบัญญัติ ๑ เรื่องลิงตัวเมีย
    พระอนุบัญญัติ ๒ เรื่องภิกษุวัชชีบุตร
    สิกขาบทวิภังค์
    ลักษณะสิกขาที่ไม่เป็นอันบอกคืน [๑๖๐ บท]</SMALL>
    ลักษณะสิกขาที่เป็นอันบอกคืน [๗๘ บท]</SMALL>
    ไวพจน์แห่งพระพุทธเจ้าเป็นต้น ลักษณะสิกขาที่ไม่เป็นอันบอกคืน

    http://84000.org/tipitaka/pitaka1/v.php?B=01&A=316&Z=431

    <CENTER>พระไตรปิฎก เล่มที่ ๑ พระวินัยปิฎก เล่มที่ ๑
    มหาวิภังค์ ภาค ๑
    </CENTER>
    <CENTER>ปาราชิกกัณฑ์ ปฐมปาราชิกสิกขาบท
    </CENTER><CENTER>เรื่องพระสุทินน์
    </CENTER> [๑๐] ก็โดยสมัยนั้นแล ณ สถานที่ไม่ห่างจากพระนครเวสาลี มีบ้านตำบลหนึ่ง ชื่อ
    กลันทะ ในบ้านนั้นมีบุตรชาวบ้านกลันทะผู้หนึ่ง ชื่อ สุทินน์ เป็นเศรษฐีบุตร ครั้งนั้น สุทินน์
    กลันทบุตรได้เดินธุระบางอย่างในพระนครเวสาลีกับสหายหลายคน ขณะนั้นแล พระผู้มีพระภาค
    อันบริษัทหมู่ใหญ่แวดล้อมแล้วประทับนั่งแสดงธรรมอยู่ สุทินน์ กลันทบุตรได้แลเห็นพระผู้มี
    พระภาค อันบริษัทหมู่ใหญ่แวดล้อมประทับนั่งแสดงธรรมอยู่ เพราะได้เห็น ความตรึกนี้ ได้มี
    แก่เขาว่า ไฉนหนอเราจะพึงได้ฟังธรรมบ้าง แล้วเขาก็เดินผ่านเข้าไปทางบริษัทนั้น ครั้นถึงแล้ว
    นั่ง ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง ความรำพึงนี้ได้มีแก่เขาผู้นั่ง ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่งฉะนี้ว่า ด้วยวิธี
    อย่างไรๆ เราจึงจะรู้ทั่วถึงธรรมที่พระผู้มีพระภาคทรงแสดงแล้ว อันบุคคลที่ยังครองเรือนอยู่ จะ
    ประพฤติพรหมจรรย์นี้ให้บริบูรณ์โดยส่วนเดียว ให้บริสุทธิ์โดยส่วนเดียว ดุจสังข์ที่ขัดแล้ว ทำ
    ไม่ได้ง่าย ไฉนหนอ เราพึงปลงผมและหนวดครองผ้ากาสายะ ออกจากเรือนบวชเป็นบรรพชิต
    ครั้นบริษัทนั้น อันพระผู้มีพระภาคทรงแสดง ให้เห็นแจ้ง ให้สมาทาน อาจหาญ ร่าเริง ด้วย
    ธรรมีกถาแล้ว ลุกจากที่นั่ง ถวายบังคมพระผู้มีพระภาค ทำประทักษิณหลีกไปแล้ว หลังจากบริษัท
    ลุกไปแล้วไม่นานนัก เขาได้เดินเข้าไปใกล้ที่ประทับ ถวายบังคมแล้ว นั่งเฝ้าอยู่ ณ ที่ควรส่วน
    ข้างหนึ่ง.
    สุทินน์กลันทบุตรนั่งเฝ้าอยู่ ณ ที่นั้นแล ได้กราบทูลคำนี้แด่พระผู้มีพระภาคว่า พระพุทธ-
    *เจ้าข้า ด้วยวิธีอย่างไรๆ ข้าพระพุทธเจ้าจึงจะรู้ทั่วถึงธรรมที่พระองค์ทรงแสดงแล้ว อันบุคคลที่ยัง
    ครองเรือนอยู่ จะประพฤติพรหมจรรย์นี้ให้บริบูรณ์โดยส่วนเดียว ให้บริสุทธิ์โดยส่วนเดียว ดุจสังข์
    ที่ขัดแล้ว ทำไม่ได้ง่าย ข้าพระพุทธเจ้าปรารถนาจะปลงผมและหนวด ครองผ้ากาสายะ ออกจาก
    เรือนบวชเป็นบรรพชิต ขอพระองค์ทรงพระกรุณาโปรดให้ข้าพระพุทธเจ้าบวชเถิด พระพุทธเจ้าข้า.
    พระผู้มีพระภาคตรัสถามว่า ดูกรสุทินน์ ก็มารดาบิดาอนุญาตให้เธอออกจากเรือนบวช
    เป็นบรรพชิตแล้วหรือ?
    สุทินน์กลันทบุตรกราบทูลว่า ยังไม่ได้อนุญาต พระพุทธเจ้าข้า.
    ภ. ดูกรสุทินน์ พระตถาคตทั้งหลาย ย่อมไม่บวชบุตรที่มารดาบิดายังมิได้อนุญาต.
    สุ. ข้าพระพุทธเจ้าจักกระทำโดยวิธีที่มารดาบิดาจักอนุญาตให้ข้าพระพุทธเจ้าออกจากเรือน
    บวชเป็นบรรพชิต พระพุทธเจ้าข้า.

    <CENTER>ขออนุญาตออกบวช
    </CENTER> [๑๑] หลังจากนั้นแล สุทินน์กลันทบุตรเสร็จการเดินธุระที่ในพระนครเวสาลีนั้นแล้ว
    กลับสู่กลันทคามเข้าหามารดาบิดา แล้วได้กล่าวคำนี้กะมารดาบิดาว่า ข้าแต่มารดาบิดา ด้วยวิธี
    อย่างไรๆ ลูกจึงจะรู้ทั่วถึงธรรมที่พระผู้มีพระภาคทรงแสดงแล้ว อันบุคคลที่ยังครองเรือนอยู่ จะ
    ประพฤติพรหมจรรย์นี้ให้บริบูรณ์โดยส่วนเดียว ให้บริสุทธิ์โดยส่วนเดียว ดุจสังข์ที่ขัดแล้ว ทำ
    ไม่ได้ง่าย ลูกปรารถนาจะปลงผมและหนวด ครองผ้ากาสายะ ออกจากเรือนบวชเป็นบรรพชิต
    ขอมารดาบิดาจงอนุญาตให้ลูกออกจากเรือนบวชเป็นบรรพชิตเถิด.
    เมื่อสุทินน์กลันทบุตรกล่าวอย่างนี้แล้ว มารดาบิดาของเขาได้กล่าวคำนี้กะเขาว่า ลูกสุทินน์
    เจ้าเท่านั้นเป็นบุตรคนเดียว เป็นที่รัก เป็นที่พอใจของเรา เป็นผู้เจริญมาด้วยความสุข อันพี่เลี้ยง
    นางนมประคบประหงมมาด้วยความสุข เจ้าไม่รู้จักความทุกข์สักน้อย แม้เจ้าจะตายเราก็ไม่
    ปรารถนาจะจาก เหตุไฉนเราจักอนุญาตให้เจ้าผู้ยังมีชีวิตอยู่ออกจากเรือนบวชเป็นบรรพชิตได้เล่า.
    แม้ครั้งที่สอง สุทินน์กลันทบุตรก็ได้กล่าวคำนี้กะมารดาบิดาว่า ข้าแต่มารดาบิดา ด้วย
    วิธีอย่างไรๆ ลูกจึงจะรู้ทั่วถึงธรรมที่พระผู้มีพระภาคทรงแสดงแล้ว อันบุคคลที่ยังครองเรือนอยู่
    จะประพฤติพรหมจรรย์นี้ ให้บริบูรณ์โดยส่วนเดียว ให้บริสุทธิ์โดยส่วนเดียว ดุจสังข์ที่ขัดแล้ว
    ทำไม่ได้ง่าย ลูกปรารถนาจะปลงผมและหนวดครองผ้ากาสายะ ออกจากเรือนบวชเป็นบรรพชิต
    ขอมารดาบิดาจงอนุญาตให้ลูกออกจากเรือนบวชเป็นบรรพชิตเถิด.
    แม้ครั้งที่สอง มารดาบิดาของเขาก็ได้กล่าวคำนี้กะเขาว่า ลูกสุทินน์ เจ้าเท่านั้นเป็นบุตร
    คนเดียว เป็นที่รักเป็นที่พอใจของเรา เป็นผู้เจริญมาด้วยความสุข อันพี่เลี้ยงนางนมประคบประหงม
    มาด้วยความสุข เจ้าไม่รู้จักความทุกข์สักน้อย แม้เจ้าจะตายเราก็ไม่ปรารถนาจะจาก เหตุไฉน
    เราจักอนุญาตให้เจ้าผู้ยังมีชีวิตอยู่ออกจากเรือนบวชเป็นบรรพชิตได้เล่า.
    แม้ครั้งที่สาม สุทินน์กลันทบุตรก็ได้กล่าวคำนี้กะมารดาบิดาว่า ข้าแต่มารดาบิดา ด้วย
    วิธีอย่างไรๆ ลูกจึงจะรู้ทั่วถึงธรรมที่พระผู้มีพระภาคทรงแสดงแล้ว อันบุคคลที่ยังครองเรือนอยู่
    จะประพฤติพรหมจรรย์นี้ ให้บริบูรณ์โดยส่วนเดียว ให้บริสุทธิ์โดยส่วนเดียว ดุจสังข์ที่ขัดแล้ว
    ทำไม่ได้ง่าย ลูกปรารถนาจะปลงผมและหนวดครองผ้ากาสายะออกจากเรือนบวชเป็นบรรพชิต
    ขอมารดาบิดาจงอนุญาตให้ลูกออกจากเรือนบวชเป็นบรรพชิตเถิด.
    แม้ครั้งที่สาม มารดาบิดาของเขาก็ได้กล่าวคำนี้กะเขาว่า ลูกสุทินน์ เจ้าเท่านั้นเป็นบุตร
    คนเดียว เป็นที่รัก เป็นที่พอใจของเรา เป็นผู้เจริญมาด้วยความสุข อันพี่เลี้ยงนางนมประคบ
    ประหงมมาด้วยความสุข เจ้าไม่รู้จักความทุกข์สักน้อย แม้เจ้าจะตายเราก็ไม่ปรารถนาจะจาก
    เหตุไฉน เราจักอนุญาตให้เจ้าผู้ยังมีชีวิตอยู่ออกจากเรือนบวชเป็นบรรพชิตได้เล่า.
    ทันใดนั้นแล สุทินน์กลันทบุตรแน่ใจว่า มารดาบิดาไม่อนุญาตให้เราออกจากเรือนบวช
    เป็นบรรพชิต จึงนอนลงบนพื้นอันปราศจากเครื่องลาด ณ สถานที่นั้นเอง ด้วยตัดสินใจว่า การ
    ตายหรือการบวชจักมีแก่เราในสถานที่นี้แหละ และแล้วเขาไม่บริโภคอาหารแม้หนึ่งมื้อ ไม่บริโภค
    อาหารแม้สองมื้อ ไม่บริโภคอาหารแม้สามมื้อ ไม่บริโภคอาหารแม้สี่มื้อ ไม่บริโภคอาหารแม้ห้ามื้อ
    ไม่บริโภคอาหารแม้หกมื้อ ไม่บริโภคอาหารแม้เจ็ดมื้อ.
     
  14. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    <CENTER>มารดาบิดาไม่อนุญาต
    </CENTER> [๑๒] จะอย่างไรก็ตาม มารดาบิดาของเขาได้กล่าวคำนี้ว่า ลูกสุทินน์ เจ้าเท่านั้นเป็น
    บุตรคนเดียว เป็นที่รัก เป็นที่พอใจของเรา เป็นผู้เจริญมาด้วยความสุข อันพี่เลี้ยงนางนม
    ประคบประหงมมาด้วยความสุข เจ้าไม่รู้จักความทุกข์สักน้อย แม้เจ้าจะตายเราก็ไม่ปรารถนาจะ
    จาก เหตุไฉน เราจักอนุญาตให้เจ้าผู้ยังมีชีวิตอยู่ออกจากเรือนบวชเป็นบรรพชิตได้เล่า จงลุกขึ้น
    เถิด ลูกสุทินน์ จงกิน จงดื่ม และจงรื่นเริง จงสมัครใจกิน ดื่ม รื่นเริง บริโภคกาม ทำบุญ
    อยู่เถิด เราไม่อนุญาตให้เจ้าออกจากเรือนบวชเป็นบรรพชิต.
    เมื่อมารดาบิดากล่าวอย่างนี้แล้ว สุทินน์กลันทบุตรได้นิ่ง.
    แม้ครั้งที่สอง มารดาบิดาของเขาก็ได้กล่าวคำนี้กะเขาว่า ลูกสุทินน์ เจ้าเท่านั้นเป็นบุตร
    คนเดียว เป็นที่รักเป็นที่พอใจของเรา เป็นผู้เจริญมาด้วยความสุข อันพี่เลี้ยงนางนมประคบประหงม
    มาด้วยความสุข เจ้าไม่รู้จักความทุกข์สักน้อย แม้เจ้าจะตายเราก็ไม่ปรารถนาจะจาก เหตุไฉน
    เราจักอนุญาตให้เจ้าผู้ยังมีชีวิตอยู่ออกจากเรือนบวชเป็นบรรพชิตได้เล่า จงลุกขึ้นเถิดลูกสุทินน์
    จงกิน จงดื่ม และจงรื่นเริง จงสมัครใจกิน ดื่ม รื่นเริง บริโภคกาม ทำบุญอยู่เถิด เราไม่อนุญาต
    ให้เจ้าออกจากเรือนบวชเป็นบรรพชิต
    แม้ครั้งที่สอง สุทินน์กลันทบุตรก็ได้นิ่ง.
    แม้ครั้งที่สาม มารดาบิดาของเขาก็ได้กล่าวคำนี้กะเขาว่า ลูกสุทินน์ เจ้าเท่านั้นเป็นบุตร
    คนเดียว เป็นที่รัก เป็นที่พอใจของเรา เป็นผู้เจริญมาด้วยความสุข อันพี่เลี้ยงนางนมประคบ
    ประหงมมาด้วยความสุข เจ้าไม่รู้จักความทุกข์สักน้อย แม้เจ้าจะตายเราก็ไม่ปรารถนาจะจาก
    เหตุไฉน เราจักอนุญาตให้เจ้าผู้ยังมีชีวิตอยู่ออกจากเรือนบวชเป็นบรรพชิตได้เล่า จงลุกขึ้นเถิด
    ลูกสุทินน์ จงกิน จงดื่ม และจงรื่นเริง จงสมัครใจกิน ดื่มรื่นเริง บริโภคกาม ทำบุญอยู่เถิด
    เราไม่อนุญาตให้เจ้าออกจากเรือนบวชเป็นบรรพชิต.
    แม้ครั้งที่สาม สุทินน์กลันทบุตรก็ได้นิ่ง.

    <CENTER>พวกสหายช่วยเจรจา
    </CENTER> [๑๓] ยิ่งกว่านั้น พวกสหายของสุทินน์กลันทบุตร ก็ได้เข้าไปหาสุทินน์กลันทบุตร
    ครั้นถึงแล้วได้กล่าวคำนี้ว่า สุทินน์เพื่อนรัก เธอเท่านั้นเป็นบุตรคนเดียว เป็นที่รัก เป็นที่
    พอใจของมารดาบิดา บิดาเป็นผู้เจริญมาด้วยความสุข อันพี่เลี้ยงนางนมประคบประหงมมาด้วย
    ความสุข เธอไม่รู้จักความทุกข์สักน้อย แม้เธอจะตามมารดาบิดาก็ไม่ปรารถนาจะจาก เหตุไฉน
    ท่านทั้งสองจักอนุญาตให้เธอผู้ยังมีชีวิตอยู่ออกจากเรือนบวชเป็นบรรพชิตได้เล่า ลุกขึ้นเถิดสุทินน์
    เพื่อนรัก จงกิน จงดื่ม และจงรื่นเริง จงสมัครใจกิน ดื่ม รื่นเริง บริโภคกาม ทำบุญอยู่เถิด
    มารดาบิดาไม่อนุญาตให้เธอออกจากเรือนบวชเป็นบรรพชิต.
    เมื่อขอกล่าวอย่างนี้แล้ว สุทินน์กลันทบุตรได้นิ่ง.
    แม้ครั้งที่สอง พวกสหายของสุทินน์กลันทบุตรก็ได้กล่าวคำนี้กะเขาว่า สุทินน์เพื่อนรัก
    เธอเท่านั้นเป็นบุตรคนเดียว เป็นที่รักเป็นที่พอใจของมารดาบิดา เป็นผู้เจริญมาด้วยความสุข
    อันพี่เลี้ยงนางนมประคบประหงมมาด้วยความสุข เธอไม่รู้จักความทุกข์สักน้อย แม้เธอจะตาย
    มารดาบิดา ก็ไม่ปรารถนาจะจาก เหตุไฉนท่านทั้งสองจักอนุญาตให้เธอผู้ยังมีชีวิตอยู่ ออกจาก
    เรือนบวชเป็นบรรพชิตได้เล่า ลุกขึ้นเถิดสุทินน์เพื่อนรัก จงกิน จงดื่ม และจงรื่นเริง
    จงสมัครใจกิน ดื่ม รื่นเริง บริโภคกาม ทำบุญอยู่เถิด มารดาบิดาไม่อนุญาตให้เธอออกจากเรือน
    บวชเป็นบรรพชิต.
    แม้ครั้งที่สอง สุทินน์กลันทบุตรก็ได้นิ่ง.
    แม้ครั้งที่สาม พวกสหายของสุทินน์กลันทบุตร ก็ได้กล่าวคำนี้กะเขาว่า สุทินน์เพื่อนรัก
    เธอเท่านั้นเป็นบุตรคนเดียว เป็นที่รัก เป็นที่พอใจของมารดาบิดา เป็นผู้เจริญมาด้วยความสุข
    อันพี่เลี้ยงนางนมประคบประหงมมาด้วยความสุข เธอไม่รู้จักความทุกข์สักน้อย แม้เธอจะตาย
    มารดาบิดาก็ไม่ปรารถนาจะจาก เหตุไฉนท่านทั้งสองจักอนุญาตให้เธอผู้ยังมีชีวิตอยู่ ออกจาก
    เรือนบวชเป็นบรรพชิตได้เล่า ลุกขึ้นเถิดสุทินน์เพื่อนรัก จงกิน จงดื่ม และจงรื่นเริง จง
    สมัครใจกิน ดื่ม รื่นเริง บริโภคกาม ทำบุญอยู่เถิด มารดาบิดาไม่อนุญาตให้เธอออกจากเรือน
    บวชเป็นบรรพชิต.
    แม้ครั้งที่สาม สุทินน์กลันทบุตรก็ได้นิ่ง.
    เมื่อไม่สำเร็จ พวกสหายของสุทินน์กลันทบุตร จึงเข้าไปหามารดาบิดาของสุทินน์
    กลันทบุตร ครั้นถึงแล้วได้กล่าวคำนี้ว่า ข้าแต่มารดาบิดา สุทินน์นั่นนอนลงบนพื้นอันปราศจาก
    เครื่องลาด ด้วยตัดสินใจว่าการตายหรือการบวชจักมีแก่เรา ณ ที่นี้แหละ ถ้ามารดาบิดาไม่
    อนุญาตให้สุทินน์ออกจากเรือนบวชเป็นบรรพชิต ความตายจักมาถึง ณ ที่นั้นเอง ถ้าอนุญาต
    ให้สุทินน์ออกจากเรือนบวชเป็นบรรพชิตก็จักได้เห็นเขาแม้ผู้บวชแล้ว ถ้าสุทินน์จักไม่ยินดีใน
    การออกจากเรือนบวชเป็นบรรพชิต เขาจักมีทางดำเนินอื่นอะไรเล่า เขาจักกลับมา ณ ที่นี้แหละ
    ขอมารดาบิดาจงอนุญาตให้สุทินน์ออกจากเรือนบวชเป็นบรรพชิตเถิด.
    อนุญาตจ้ะ ให้ลูกสุทินน์ออกจากเรือนบวชเป็นบรรพชิต มารดาบิดากล่าวยินยอม

    เนื้อความพระไตรปิฎก เล่มที่ ๑ บรรทัดที่ ๓๑๖ - ๔๓๑. หน้าที่ ๑๔ - ๑๘.
    http://84000.org/tipitaka/pitaka1/v.php?B=1&A=316&Z=431&pagebreak=0
    สารบัญพระไตรปิฎกเล่มที่ ๑
    http://84000.org/tipitaka/read/?สารบัญพระไตรปิฎกเล่มที่_๑</U>
    http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/mean_reverse.php?text=1&Aindex=%CA%D2%C3%BA%D1%AD</U>
    http://84000.org/tipitaka/read/?index_1

    บันทึก ๒๗ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๔๖
    การแสดงผลนี้อ้างอิงข้อมูลจาก พระไตรปิฎก ฉบับสยามรัฐ.
    หากพบข้อผิดพลาด กรุณาแจ้งได้ที่ DhammaPerfect@yahoo.com

    http://84000.org/tipitaka/pitaka1/v.php?B=01&A=316&Z=431
    .
     
  15. :::เพชร:::

    :::เพชร::: เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    8,584
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +36,137
    หึ..หึ...ถามนำอะไรหรือ เพียงถามตรงใจท่านที่อยากทราบความเป็นมาเท่านั้น หากปูมความรู้นี้จะเปิดเผยกันในค่ำคืนนี้ ก็น่าสนใจ และเป็นวาสนาที่จะได้รับทราบกัน มิใช่หรือ..พบกันในช่องพิเศษ คืนนี้.....จบข่าว

    .............................................................................

    หากเกิดใจร้อน ขาดการเรียบเรียงในสิ่งที่จะนำเสนอ ขาดความรู้ความเข้าใจ ขาดความเป็นเอกภาพ นำไปสู่การขาดการยอมรับ แบบนี้ไม่เกิดประโยชน์แบบกระทู้นี้..
    http://palungjit.org/showthread.php?t=108180

    การไขว่คว้าหาความรู้เป็นสิ่งดี แต่หากกระโดดไปกระโดดมาคนนี้ที..คนนั้นที..เป็นสิ่งที่น่ากังวล เรียกว่าไม่มีจุดยืน ดูเหมือน work hard แต่ไม่ smart ทำนองนั้น ยังไงผมก็ขอเอาใจช่วย ตามวิธีของใครของมัน
     
  16. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    เรื่องแรก เรื่องของคำถามนำ คงต้องไปคุยกันในช่องพิเศษ น่าจะดีกว่า เชิญทั้งคุณnongnooo ,น้องchaipat ,น้องเอ ,คุณตั้งจิต และท่านอื่นๆที่จะเข้าไปคุยกันครับ

    ส่วนเรื่องที่สอง บางสิ่ง บางเรื่อง คงต้องรู้กันภายในกลุ่มเท่านั้น มีบางสิ่ง บางเรื่อง ที่ทางคณะผมได้เรียนรู้และตกตลึงในความพิเศษ ความมหัศจรรย์ ถึงภูมิปัญญาคนสมัยโบราณว่า เก่งมากๆ คนในสมัยนี้ มีความเจริญในเรื่องของวัตถุ แต่ในทางจิตใจนั้น สู้คนโบราณไม่ได้เลยแม้แต่นิดเดียว

    อีกประเด็นก็คือ การกระทำของคนโบราณ เป็นการกระทำที่ออกมาจากจิตใจ ทุ่มเท และมุ่งมั่นอย่างที่สุด เมื่อเปรียบเทียบกับตัวผมแล้ว ผมยังไม่ได้เศษเสี้ยวของคนโบราณ ที่เป็นบรรพบุรุธของเราได้เลยครับ

    อีกประเด็นก็คือ องค์ความรู้ของคนโบราณ เรื่องของพระพิมพ์และวัตถุมงคล ไม่ว่าจะเป็นการสร้าง(รวมทั้งการคัดเลือกมวลสาร) ,การนำเข้าพิธีพุทธาภิเษก ,องค์ผู้อธิษฐานจิต ฯลฯ มีความรู้อันยอดเยี่ยมมากๆๆๆๆๆ

    ส่วนประเด็นอื่นๆ คงไม่แจ้งให้ทราบนะครับ เพราะว่ายังมีอีกมากมายครับ

    ผมมาแยกประเด็นให้กับท่านที่เข้ามาอ่าน จะได้ไม่งงงงงงงเหมือนน้องchaipat ครับ

    โมทนาสาธุครับ

    .
     
  17. :::เพชร:::

    :::เพชร::: เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    8,584
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +36,137
    นำความรู้เรื่อง"ฤกษ์" จากคุณมหาแซม จากเวบมหาหมอดูดอทคอมมาให้อ่านกัน

    <TABLE style="BORDER-LEFT-WIDTH: 0px; BORDER-RIGHT-WIDTH: 0px" height=1 cellSpacing=0 cellPadding=0 width=746 align=center bgColor=#ffffff border=0><TBODY><TR><TD width=757 colSpan=2 height=13><HR color=#cecece noShade></TD></TR><TR><TD width=757 colSpan=2 height=13>[​IMG]</TD></TR><TR><TD width=757 colSpan=2 height=13>ฤกษ์หมายถึง คราวหรือเวลา ความปลอดภัยหรือความสำเร็จสมประสงค์ อำนวยความเป็นศิริมงคลแก่ผู้ประกอบการนั้น ๆ
    ฤกษ์ แบ่งเป็น 2 ชนิด คือ ฤกษ์บนและฤกษ์ล่าง
    </TD></TR><TR><TD width=757 colSpan=2 height=13>
    ฤกษ์บน เป็นชัยมงคลเบื้องสูง โดยถือตำแหน่งของพระจันทร์และดาวพระเคราะห์ต่าง ๆ เป็นหลัก คือ กำหนดโดยจันทร์ พระจันทร์ต้องดีไม่เป็นอริ มรณะ และวินาศแก่ผู้ประกอบการ พระจันทร์โคจรให้คุณเช่นจันทร์ครุสุริยา ทางโหราศาสตร์ใด้กำหนดฤกษ์ไว้ 9 ฤกษ์ ได้แก่
    </TD></TR><TR><TD width=757 colSpan=2 height=13><TABLE style="BORDER-TOP-WIDTH: 0px; BORDER-LEFT-WIDTH: 0px; BORDER-BOTTOM-WIDTH: 0px; BORDER-COLLAPSE: collapse; BORDER-RIGHT-WIDTH: 0px" borderColor=#111111 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=1><TBODY><TR><TD style="BORDER-RIGHT: medium none; BORDER-TOP: medium none; BORDER-LEFT: medium none; BORDER-BOTTOM: medium none" width="26%"></TD><TD style="BORDER-RIGHT: medium none; BORDER-TOP: medium none; BORDER-LEFT: medium none; BORDER-BOTTOM: medium none" width="17%">ทลิทโทฤกษ์</TD><TD style="BORDER-RIGHT: medium none; BORDER-TOP: medium none; BORDER-LEFT: medium none; BORDER-BOTTOM: medium none" width="16%">มหัทธโณฤกษ์</TD><TD style="BORDER-RIGHT: medium none; BORDER-TOP: medium none; BORDER-LEFT: medium none; BORDER-BOTTOM: medium none" width="41%">โจโรฤกษ์</TD></TR><TR><TD style="BORDER-RIGHT: medium none; BORDER-TOP: medium none; BORDER-LEFT: medium none; BORDER-BOTTOM: medium none" width="26%"></TD><TD style="BORDER-RIGHT: medium none; BORDER-TOP: medium none; BORDER-LEFT: medium none; BORDER-BOTTOM: medium none" width="17%">ภูมิปาโลฤกษ์</TD><TD style="BORDER-RIGHT: medium none; BORDER-TOP: medium none; BORDER-LEFT: medium none; BORDER-BOTTOM: medium none" width="16%">เทศาตรีฤกษ์</TD><TD style="BORDER-RIGHT: medium none; BORDER-TOP: medium none; BORDER-LEFT: medium none; BORDER-BOTTOM: medium none" width="41%">เทวีฤกษ์</TD></TR><TR><TD style="BORDER-RIGHT: medium none; BORDER-TOP: medium none; BORDER-LEFT: medium none; BORDER-BOTTOM: medium none" width="26%"></TD><TD style="BORDER-RIGHT: medium none; BORDER-TOP: medium none; BORDER-LEFT: medium none; BORDER-BOTTOM: medium none" width="17%">เพชฌฆาตฤกษ์</TD><TD style="BORDER-RIGHT: medium none; BORDER-TOP: medium none; BORDER-LEFT: medium none; BORDER-BOTTOM: medium none" width="16%">ราชาฤกษ์</TD><TD style="BORDER-RIGHT: medium none; BORDER-TOP: medium none; BORDER-LEFT: medium none; BORDER-BOTTOM: medium none" width="41%">สมโณฤกษ์</TD></TR><TR><TD style="BORDER-RIGHT: medium none; BORDER-TOP: medium none; BORDER-LEFT: medium none; BORDER-BOTTOM: medium none" width="100%" colSpan=4>* ความหมายหรือวิธีการใช้แต่ละฤกษ์ดูด้านล่างนะครับ เพราะแต่ละฤกษ์มีการนำไปใช้เฉพาะเรื่อง
    เช่น การขอแต่งงาน หมั้นสาว ทวงหนี้ กู้ยืม ร้องทุกข์ ฯลฯ ให้ใช้ ทลิทโทฤกษ์
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD width=757 colSpan=2 height=13>
    ฤกษ์ล่าง ซึ่งเหมาะเป็นชัยมงคลทางเบื้องใต้ฟ้า หรือเบื้องต่ำบนพื้นดิน โดยมนุษย์เป็นผู้กำหนดขึ้น โดยให้วันทั้ง 7 ประกอบด้วยดิถี ขึ้น แรม และเดือน ปี เป็นหลักในการคำนวณนับ เช่น วันธงชัย วันอธิบดี วันอุบาทว์ และวันโลกาวินาศ และมีดิถี คือ ขึ้น แรม ดิถีธงชัย ดิถีพิฆาต อีกทั้งวันจม วันฟู วันลอย กทิงวัน อัคนิโรธ ทักทิน ยมขันธ์ จัดเป็นฤกษ์ย่อยต่าง ๆ รวมเรียกว่า "ฤกษ์ล่าง" หรือ (ภูมิดล)
    </TD></TR><TR><TD width=757 colSpan=2 height=13>
    หมายเหตุ : ฤกษ์ที่ให้ไว้ด้านบน (ฤกษ์มงคลต่างๆ ในเดือนมกราคม) นั้นคำนวณจากหลักฤกษ์บนและฤกษ์ล่างประกอบกัน
    </TD></TR><TR><TD width=757 colSpan=2 height=13>
    ความหมายและการนำฤกษ์ทั้ง 9 ไปใช้
    </TD></TR><TR><TD width=757 colSpan=2 height=13><TABLE style="BORDER-TOP-WIDTH: 0px; BORDER-LEFT-WIDTH: 0px; BORDER-BOTTOM-WIDTH: 0px; BORDER-COLLAPSE: collapse; BORDER-RIGHT-WIDTH: 0px" borderColor=#111111 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=1><TBODY><TR><TD style="BORDER-RIGHT: medium none; BORDER-TOP: medium none; BORDER-LEFT: medium none; BORDER-BOTTOM: medium none" width="4%"></TD><TD style="BORDER-RIGHT: medium none; BORDER-TOP: medium none; BORDER-LEFT: medium none; BORDER-BOTTOM: medium none" width="96%">1. ทลิทโทฤกษ์
    ได้แก่ฤกษ์ที่ 1 , 10 และ 19 เรียกว่า ทลิทโทฤกษ์ แปลว่า ผู้มักน้อย ผู้เข็ญใจ ผู้ขอ ผู้ต้องเหน็ดเหนื่อย ผู้อดทน ผู้ที่ต้องรับผิดชอบสูง

    ฤกษ์นี้เป็นฤกษ์ของ "ชูชก" มีพระอาทิตย์เป็นผู้รักษาฤกษ์ บาทฤกษ์ทั้ง 4 อยู่ในราศีเดียวกันเป็น "บูรณะฤกษ์" คือฤกษ์ที่เต็มโดยสมบูรณ์ คือฤกษ์ที่ไม่ขาดแยกแตกบาทฤกษ์ไปอยู่คนละราศี และเรียกว่า จัตตุรฤกษ์ หรือ ขันธฤกษ์

    เป็นฤกษ์ที่เหมาะสำหรับ การขอสิ่งต่างๆ เพราะถือว่าเป็นฤกษ์ของชูชก จะทำการขอสิ่งใดก็ง่าย เช่น การขอหมั้น ขอแต่งงาน ทวงหนี้ กู้ยืม ร้องทุกข์ การทำการใดๆ เพื่อให้ผู้อื่นสงสารกรุณา เปิดร้านขายของชำ ของเก่าชำรุด สมัครงาน ทำการใดๆ ที่ริเริ่มใหม่

    สรุปการใช้ฤกษนี้
    ฤกษ์นี้ใช้สำหรับ ขอผัดผ่อนหนี้ ขอหมั้น ขอแต่งงาน ขอทำงาน ขอสมัครงาน ขอร้อง สู่ขอ ขอคืนดี ขอรี่ไร ขอส่วนแบ่ง ขอกู้เงิน ยืมเงิน ขอผ่อนผัน ขอให้อุปการะ ขอให้ค้ำประกัน ขอซ่อม ขอร้อง ร้องขอ ขอความเป็นธรรม ขอร้องทุกข์ ขอความช่วยเหลือ สรุปคือบรรดาการขอ (ขอร้อง) ทุกอย่างให้ใช้ฤกษ์นี้

    </TD></TR><TR><TD style="BORDER-RIGHT: medium none; BORDER-TOP: medium none; BORDER-LEFT: medium none; BORDER-BOTTOM: medium none" width="4%"></TD><TD style="BORDER-RIGHT: medium none; BORDER-TOP: medium none; BORDER-LEFT: medium none; BORDER-BOTTOM: medium none" width="96%">2. มหัทธโนฤกษ์
    ได้แก่ฤกษ์ที่ 2 , 11 และ 20 เรียกว่า มหัทธโนฤกษ์ แปลว่า คนมั่งมี ผู้รุ่งเรือง เศรษฐี มีพระจันทร์เป็นผู้รักษาฤกษ์ บาทฤกษ์ทั้ง 4 อยู่ในราศีเดียวกันเป็น "บูรณะฤกษ์"

    เป็นฤกษ์ที่เหมาะสำหรับ การมงคลต่างๆ เช่น ขึ้นบ้านใหม่ แต่งงาน ปลูกสร้างอาคาร ธุรกิจการเงิน การค้าอุตสาหกรรม เปิดห้างร้าน ลาสิกขาบท สะเดาะเคราะห์ และ สารพัดงานมงคล

    สรุปการใช้ฤกษนี้
    เป็นการกระทำมั่นคงถาวร เช่น สร้างบ้านให้อยู่นานๆ เปิดร้าน เปิดบริษัท เอารถออกจากอู่ ถอยรถใหม่ เปลี่ยนชื่อ อุปสมบท ลาสิกขา และงานมงคลทั้งปวง

    </TD></TR><TR><TD style="BORDER-RIGHT: medium none; BORDER-TOP: medium none; BORDER-LEFT: medium none; BORDER-BOTTOM: medium none" width="4%"></TD><TD style="BORDER-RIGHT: medium none; BORDER-TOP: medium none; BORDER-LEFT: medium none; BORDER-BOTTOM: medium none" width="96%">3. โจโรฤกษ์
    ได้แก่ฤกษ์ที่ 3 , 12 และ 21 เรียกว่า โจโรฤกษ์ แปลว่า โจร ผู้ปล้น ผู้ลักขโมย นักเลง ผู้ใช้กำลัง ผู้ทำลายล้าง ผู้กล้าหาญมีอำนาจ ผู้ว่องไว มีพระอังคารเป็นผู้รักษาฤกษ์ ฤกษ์บาททั้ง 4 ไม่รวมอยู่ในราศีเดียวกัน คาบเกี่ยวอยู่ 2 ราศีเป็น "ฉินทฤกษ์" คือ ฤกษ์ขาดแตก โดยเฉพาะบาทแรกของต้นราศีนั้น เป็นฤกษ์บาทที่ร้ายแรงมากกว่าบาทอื่น เป็นนวางค์ที่ร้ายแรงมาก ไม่ควรให้ฤกษ์มงคล

    เป็นฤกษ์ที่เหมาะสำหรับ คนโบราณใช้ในการปล้นค่าย จู่โจมโดยฉับพลัน ข่มขวัญ บีบบังคับ ทำการปราบปราม การแข่งขันช่วงชิง การแย่งอำนาจและผลประโยชน์ งานเสี่ยงๆ ในระยะสั้นๆ การปฏิวัติ งานของบุคคลในเครื่องแบบแบใช้กำลัง

    สรุปการใช้ฤกษนี้
    โจรจะไปปล้นบ้านใครให้ถือเอาฤกษ์นี้ ฤกษ์แหกคุก ฤกษ์หนีการจับกุม การเอาเปรียบคนอื่น จะไปจับผิดใครให้ใช้ฤกษ์นี้ การปรับทุจริต เป็นฤกษ์ฉกฉวย หรือเป็นการข่มคนอื่น ไปต่อสู้คดี ขึ้นโรงขึ้นศาล คือการทำเพื่อให้ชนะคนอื่น หรือแม้กระทั่งการเอาเปรียบคนอื่น ฤกษ์นี้ยังหมายถึง การท่องเที่ยว การผจญภัย การสอบชิงทุน การแข่งขัน การแข่งกีฬา การข่มขวัญศัตรู การปรับปรุงแก้ไข การปฏิวัติ รวมทั้งเอารถออกจากอู่ (จากการซ่อม) หรือออกจากโชว์รูม (ถอยรถใหม่) ฤกษ์นี้ไม่เหมาะในการลงทุน อาจทำให้ผิดหวังและถูกเบียดเบียนจากคนในเครื่องแบบ

    </TD></TR><TR><TD style="BORDER-RIGHT: medium none; BORDER-TOP: medium none; BORDER-LEFT: medium none; BORDER-BOTTOM: medium none" width="4%"></TD><TD style="BORDER-RIGHT: medium none; BORDER-TOP: medium none; BORDER-LEFT: medium none; BORDER-BOTTOM: medium none" width="96%">4. ภูมิปาโลฤกษ์
    ได้แก่ฤกษ์ที่ 4 , 13 และ 22 เรียกว่า ภูมิปาโลฤกษ์ แปลว่า ผู้รักษาแผ่นดิน มีพระพุธเป็นผู้รักษาฤกษ์ บาทฤกษ์ทั้ง 4 อยู่ในราศีเดียวกันเป็น บูรณะฤกษ์

    เป็นฤกษ์ที่เหมาะสำหรับ การมงคลต่างๆ งานที่ต้องการความมั่นคงถาวร งานเกี่ยวกับที่ดิน การเกษตร การเช่าซื้อ ก่อสร้าง ปลูกเรือน ยกศาลพระภูมิ แต่งงาน ขึ้นบ้านใหม่ ลาสิกขาบท เปิดอาคารห้างร้าน และ สารพัดงานมงคลทั้งปวง

    สรุปการใช้ฤกษนี้
    ฤกษ์นี้ที่ใช้ในการทำให้มั่นคงระยะยาว ไม่ใช่ฤกษ์หวังผลในระยะสั้นๆ เช่น สร้างหอพัก สร้างบ้านจัดสรร เพื่อกินกำไรในระยะยาว ให้ความสมบูรณ์พูนสุข ความเจริญรุ่งเรืองที่ไม่หวังผลรวดเร็ว แต่หวังผลในระยะยาวคือนานๆ (มั่งคงถาวร) ฤกษ์นี้เหมาะสำหรับ ลงเสาเข็ม ตั้งศาลพระภูมิ ก่อสร้างวัตถุที่ถาวร หอพัก การพัฒนาการเกษตร เปิดร้าน เปิดโรงงานอุตสาหกรรม สัญญาซื้อขายที่หวังผลระยะยาว อะไรที่เจราที่หวังผลสำเร็จในระยะยาวและมั่นคงถาวร (ไม่ฉาบฉวย) ให้ใช้ฤกษ์นี้ และงานมงคลทั้งปวง

    </TD></TR><TR><TD style="BORDER-RIGHT: medium none; BORDER-TOP: medium none; BORDER-LEFT: medium none; BORDER-BOTTOM: medium none" width="4%"></TD><TD style="BORDER-RIGHT: medium none; BORDER-TOP: medium none; BORDER-LEFT: medium none; BORDER-BOTTOM: medium none" width="96%">5. เทศาตรีฤกษ์
    ได้แก่ฤกษ์ที่ 5 , 14 และ 23 เรียกว่า เทศาตรีฤกษ์ แปลว่า ข้ามท้องถิ่น หญิงแพศยา ผู้ท่องเที่ยว บางคราเรียกว่า "เวสิโยฤกษ์" หมายถึงฤกษ์พ่อค้า-แม่ค้า มีพระเสาร์เป็นผู้รักษาฤกษ์ บาทฤกษ์ทั้ง 4 อยู่ปลายราศีหนึ่ง และ ต้นราศีหนึ่ง แห่งละ 2 บาทฤกษ์ คือคาบเกี่ยวอยู่ราศีละครึ่ง คือในราศี พฤษภกับเมถุน , กันย์กับตุลย์ และ มกรกับกุมภ์ เป็นฤกษ์อกแตก หรือ พินทุฤกษ์ หรือ ตินฤกษ์

    เป็นฤกษ์ที่เหมาะสำหรับ งานการติดต่อการค้าระหว่างถิ่น เกี่ยวกับความสนุกสนานชักชวนคนเข้าออกมาก เปิดโรงมหรสพ สถานเริงรมย์ ซ่องโสเภณี โรงแรม โรงหนัง ตลาดและศูนย์การค้า การประกอบอาชีพนอกสถานที่ อาชีพเร่ร่อน อาชีพที่ต้องย้ายที่อยู่เสมอ

    สรุปการใช้ฤกษนี้
    เป็นฤกษ์ที่ชอบคนเยอะๆ เช่น คนมาเที่ยว รื่นเริง บันเทิง สนุกสนาน เช่น เปิดโรงแรม เปิดสรรพสินค้า เปิดอาบ อบ นวด เปิดสถานบันเทิง เงินแสดงคอนเสิร์ตของนักดนตรี เปิดบู๊ตแสดงสินค้า หรือกิจการที่ต้องการให้คนต่างประเทศมาเที่ยว รวมทั้งการทำอะไรที่สนุกสนาน รื่นเริง ฟุ่มเฟือย (บาร์ ไนต์คลับ โรงภาพยนตร์ ภัตตาคาร โรงแรม ตลาดสด ช๊อปปิ้งเซ็นเตอร์)

    </TD></TR><TR><TD style="BORDER-RIGHT: medium none; BORDER-TOP: medium none; BORDER-LEFT: medium none; BORDER-BOTTOM: medium none" width="4%"></TD><TD style="BORDER-RIGHT: medium none; BORDER-TOP: medium none; BORDER-LEFT: medium none; BORDER-BOTTOM: medium none" width="96%">6. เทวีฤกษ์
    ได้แก่ฤกษ์ที่ 6 , 15 และ 24 เรียกว่า เทวีฤกษ์ แปลว่า นางพญา ความงามหรูหรา ความมีเสน่ห์ โชคลาภ และ การสมความปรารถนา มีพระพฤหัสฯ เป็นผู้รักษาฤกษ์ บาทฤกษ์ทั้ง 4 อยู่ในราศีเดียวกันเป็น บูรณะฤกษ์ เป็นฤกษ์ที่มุ่งให้เกิดโชคลาภ

    เป็นฤกษ์ที่เหมาะสำหรับ การเข้าหาผู้หลักผู้ใหญ่ การหมั้นหมายและสมรส การส่งตัวเจ้าสาวและเข้าห้องหอ การทำกิจการที่ต้องการชื่อเสียงและมีเสน่ห์ งานมีเกียรติ งานเชิงศิลปะตกแต่งชั้นสูง เปิดร้านค้าอัญมณีเครื่องประดับ ร้านเสริมสวย ตัดเย็บเสื้อผ้า การประชาสัมพันธ์ ลาสิกขาบท ขึ้นบ้านใหม่ ขอความรัก งานเพื่อความสงบเรียบร้อย และ สารพัดงานมงคลทั้งปวง

    สรุปการใช้ฤกษนี้
    ฤกษ์สู่ขอ หมั้น แต่งงาน ขอความช่วยเหลือจากสตรี (ผู้หญิง) ฤกษ์ที่ใช้ความโอ่อ่า หรูหรา สง่า งาม สวย รวมทั้งศิปละ ออกแบบ ตกแต่ง สวย หรู เช่น โชว์อัญมณี เครื่องประดับ ให้ใช้ฤกษ์นี้

    </TD></TR><TR><TD style="BORDER-RIGHT: medium none; BORDER-TOP: medium none; BORDER-LEFT: medium none; BORDER-BOTTOM: medium none" width="4%"></TD><TD style="BORDER-RIGHT: medium none; BORDER-TOP: medium none; BORDER-LEFT: medium none; BORDER-BOTTOM: medium none" width="96%">7. เพชฌฆาตฤกษ์
    ได้แก่ฤกษ์ที่ 7 , 16 และ 25 เรียกว่า เพชฌฆาตฤกษ์ แปลว่า ผู้ทำหน้าที่ฆ่า มีพระราหูเป็นผู้รักษาฤกษ์ ฤกษ์บาททั้ง 4 แตกขาดกัน และ ตรงข้ามกับ โจโรฤกษ์ เรียกว่า "ตรินิเอก" คืออยู่ปลายราศี 3 ฤกษ์บาท และ ต้นราศี 1 ฤกษ์บาท ไม่ควรให้ฤกษ์ในการมงคลเลย เป็น ฉันทฤกษ์ (ฤกษ์แตกขาด)

    เป็นฤกษ์ที่เหมาะสำหรับ การฟันผ่าอันตรายและอุปสรรค ต่อสู้เสี่ยงภัยต่างๆ อาสางานใหญ่ ทำกิจปราบปรามศัตรู ตัดสินคดีความ งานที่ใช้การตัดสินใจอย่างเด็ดขาด ประกอบพิธีไสยศาสตร์ ปลุกเสกเครื่องรางของขลัง ลงเลขยันต์ สร้างวัตถุมงคลแบบคงกระพันชาตรี สร้างสิ่งสาธารณะกุศลสงเคราะห์ เปิดโรงพยาบาล การรักษาโรคเรื้อรังที่หายยากๆ การยาตราทัพ เจิมอาวุธยุทธภัณฑ์ สร้างโบสถ์วิหารการเปรียญ คล้ายกับโจโรฤกษ์ แต่ฤกษ์นี้จะแรงกว่า

    สรุปการใช้ฤกษนี้
    ฤกษ์แห่งความเด็ดขาด เผด็ดการ งานปราบปราม กำจัดศัตรู ทำพิธี ไสยศาสตร์ ฤกษ์ที่ต้องการใช้ความเด็ดขาด กล้าหาญ การตัดสินใจที่เด็ดขาด จะเลิกกับแฟนให้ใช้ฤกษ์นี้ได้ หรือสามีภรรยาจะหย่ากันให้ใช้ฤกษ์นี้ การผ่าตัด การปลูกเศกของขลัง ใช้ฤกษ์นี้ได้ ฤกษ์นี้สามารถใช้ในการเปลี่ยนชื่อได้ เพราะต้องการความมั่งคง หนักแน่น ไม่ต้องต้องเปลี่ยนแล้วเปลี่ยนอีก

    </TD></TR><TR><TD style="BORDER-RIGHT: medium none; BORDER-TOP: medium none; BORDER-LEFT: medium none; BORDER-BOTTOM: medium none" width="4%"></TD><TD style="BORDER-RIGHT: medium none; BORDER-TOP: medium none; BORDER-LEFT: medium none; BORDER-BOTTOM: medium none" width="96%">8. ราชาฤกษ์
    ได้แก่ฤกษ์ที่ 8 , 17 และ 26 เรียกว่า ราชาฤกษ์ แปลว่าผู้ยิ่งใหญ่ ผู้มีอำนาจวาสนา พระเจ้าแผ่นดิน มีพระศุกร์เป็นผู้รักษาฤกษ์ บาทฤกษ์ทั้ง 4 อยู่ในราศีเดียวกัน เรียกว่า บูรณะฤกษ์ เป็นฤกษ์เฉพาะกิจการของผู้หลักผู้ใหญ่ ผู้นำกิจการขึ้นไปจนถึงพระราชา
    เป็นฤกษ์ที่เหมาะสำหรับ งานราชพิธี งานราชการงานเมือง สร้างที่ประทับ งานที่ต้องการชักจูงให้ผู้อื่นดำเนินตาม การเข้ารับตำแหน่งงาน การแสวงหาชื่อเสียงเกียรติยศ การเข้าหาผู้หลักผู้ใหญ่ งานมงคลสมรสที่หรูหรามีเกียรติ ลาสิกขาบท การขึ้นบ้านใหม่(สามัญชนควรเว้น ถ้าหาฤกษ์ไม่ได้ก็พออนุโลมใช้ได้ เพื่อดวงชะตาและความเหมาะสม) และ งานมงคลทั้งปวง

    สรุปการใช้ฤกษนี้
    ฤกษ์สูง ฤกษ์ใหญ่โต เป็นฤกษ์ของบุคคลชั้นสูง มีเกียรติ หรือว่างานนั้นมีผู้ใหญ่ เจ้านายมาร่วมทำพิธีด้วย ฤกษ์นี้ใช้ได้กับงานมงคลทั้งปวง

    </TD></TR><TR><TD style="BORDER-RIGHT: medium none; BORDER-TOP: medium none; BORDER-LEFT: medium none; BORDER-BOTTOM: medium none" width="4%"></TD><TD style="BORDER-RIGHT: medium none; BORDER-TOP: medium none; BORDER-LEFT: medium none; BORDER-BOTTOM: medium none" width="96%">9. สมโณฤกษ์
    ได้แก่ฤกษ์ที่ 9 , 18 และ 27 เรียกว่า สมโณฤกษ์ แปลว่า (สงบเรียบร้อย นักบวช นักสอนศาสนา มีพระเกตุเป็นผู้รักษาฤกษ์ ฤกษ์บาททั้ง 4 อยู่ปลายราศีเดียวกัน แต่บาทฤกษ์สุดท้ายนี้เป็นนวางค์ขาดสุดราศีพอดี เรียกว่า "จัตตุรฤกษ์ หรือ ขันธฤกษ์" จึงเป็นจุดที่มีผลเสียให้เกิดอันตรายต่างๆ ในการแข่งขัน ใช้ได้เฉพาะกิจเกี่ยวกับความสงบความสุจริต

    เป็นฤกษ์ที่เหมาะสำหรับ ทำพิธีกรรมทางศาสนา และ ทางนักบวช เช่น การทำขวัญนาค การอุปสมบท หล่อพระและสิ่งศักดิ์สิทธิ์ เข้ารับการศึกษา และ การกระทำทุกอย่างเพื่อความสงบร่มเย็นเป็นสุข สงเคราะห์ในฤกษ์นี้ได้ เช่น ทำบุญขึ้นบ้านใหม่ ทำบุญต่ออายุ

    สรุปการใช้ฤกษนี้
    ฤกษ์สงบ บวชพระ สึกพระ งานเกี่ยวกับศาสนา งานที่ไม่หวังผลรวดเร็ว ไม่มีการแข่งขัน ไม่มีการช่วงชิงกับผู้อื่น งานการกุศลทั้งปวง เช่น สร้างศาลาการเปรียญ หรือถาวรวัตถุ งานพุทธาภิเษก หล่อพระ ปฏิบัติธรรม เรียนธรรมะ เปิดสำนักโหรดูดวง เปิดห้องสมุด เปิดสถานที่สาธารณะ ทำบุญต่ออายุ ต่อชะตา ขึ้นบ้านใหม่ เปิดมูลนิธิ เผยแพร่ศาสนา งานการกุศลทั้งหลาย
    </TD></TR><TR><TD style="BORDER-RIGHT: medium none; BORDER-TOP: medium none; BORDER-LEFT: medium none; BORDER-BOTTOM: medium none" width="4%"></TD><TD style="BORDER-RIGHT: medium none; BORDER-TOP: medium none; BORDER-LEFT: medium none; BORDER-BOTTOM: medium none" width="96%"></TD></TR><TR><TD style="BORDER-RIGHT: medium none; BORDER-TOP: medium none; BORDER-LEFT: medium none; BORDER-BOTTOM: medium none" width="4%"></TD><TD style="BORDER-RIGHT: medium none; BORDER-TOP: medium none; BORDER-LEFT: medium none; BORDER-BOTTOM: medium none" width="96%">
    ด้วยความปรารถนาดีจาก

    มหาแซม
    เว็บมาสเตอร์ มหาหมอดูดอทคอม

    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD width=757 colSpan=2 height=13><HR color=#cecece noShade SIZE=1></TD></TR></TBODY></TABLE>
    http://www.mahamodo.com/tamnai/good_time.asp
     
  18. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    เพิ่มเติมอีกสักเล็กน้อย

    เรื่องของการเขียนหนังสือ เวลาที่อ่านควรใช้การพิจารณากันให้ดี ให้ถ่องแท้ ว่าผู้ที่เขียนนั้น จุดประสงค์ที่เขียนขึ้นมาเพื่ออะไร เหตุใดจึงต้องเขียนขึ้น มีการแอบแฝงทางการค้าหรือไม่ หรือเพื่อให้ความรู้กับผู้อ่าน แล้วความรุ้ที่มีอยู่ในหนังสือนั้น เป็นความรู้ที่ถูกต้องหรือไม่ อย่างไร

    มีปัญหาที่จะถามต่อว่า แล้วจะรู้ได้อย่างไรว่า ความรู้ที่มีอยู่ในหนังสือนั้น ถูกต้องหรือไม่ ปัญหานี้คงจะตอบได้ค่อนข้างยาก เนื่องจากว่า ผู้ที่อ่านหนังสือ มักจะเป็นผู้ที่เสพความรู้ โดยไม่มีการปรึกษาผู้ที่รู้จริงๆ และไม่รู้ว่า จะไปหาผู้ที่รู้จริงๆนั้น ได้จากที่ไหน

    ตอบแบบกำปั้นทุบดินว่า ให้ค้นคว้าจากหนังสือ หรือตำราที่เชื่อถือได้เป็นหลักก่อน และมีการอธิบายถึงความเป็นมาว่า เป็นมาอย่างไร ทำขึ้นหรือสร้างขึ้นมาอย่างไร ใช้อะไรเป็นสิ่งที่สร้างขึ้น สร้างขึ้นเพื่ออะไร ฯลฯ

    ตอบแบบง่ายๆ แต่ถ้าจะให้รู้จริงๆ ต้องปฎิบัติ ต้องทำเอง แล้วจะรู้ว่า สิ่งที่เขียนในหนังสือนั้น เป็นจริงหรือไม่

    ความรู้ที่จะเผยแพร่นั้น ต้องเป็นองค์ความรู้ที่ควรจะถูกต้อง เนื่องจากผู้ที่อ่าน จะได้ปัญญาที่ถูกต้อง และเป็นกรรมกับตนเอง ทั้งกรรมดีและกรรมชั่วครับ

    โมทนาสาธุครับ

    .
     
  19. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    http://palungjit.org/showthread.php?t=79499&page=3

    <TABLE class=tborder id=post573176 cellSpacing=0 cellPadding=6 width="100%" align=center border=0><TBODY><TR><TD class=thead style="BORDER-RIGHT: #ffffff 0px solid; BORDER-TOP: #ffffff 1px solid; FONT-WEIGHT: normal; BORDER-LEFT: #ffffff 1px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 1px solid">15-05-2007, 10:15 AM <!-- / status icon and date --></TD><TD class=thead style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid; BORDER-TOP: #ffffff 1px solid; FONT-WEIGHT: normal; BORDER-LEFT: #ffffff 0px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 1px solid" align=right> #43 </TD></TR><TR vAlign=top><TD class=alt2 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid; BORDER-TOP: #ffffff 0px solid; BORDER-LEFT: #ffffff 1px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 0px solid" width=175>:::เพชร:::<SCRIPT type=text/javascript> vbmenu_register("postmenu_573176", true); </SCRIPT>
    สมาชิก

    [​IMG]

    เข้ามาครั้งสุดท้ายเมื่อ: วันนี้ 03:23 PM
    วันที่สมัคร: Jul 2006
    อายุ: 42 ปี
    ข้อความ: 2,466 <!-- Start Post Thank You Hack -->
    ได้ให้อนุโมทนา 15,837 ครั้ง
    ได้รับอนุโมทนา 24,617 ครั้ง ใน 2,527 โพส <!-- End Post Thank You Hack -->
    พลังการให้คะแนน: 2722 [​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG]


    </TD><TD class=alt1 id=td_post_573176 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid"><!-- message -->อ้างอิง:
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=6 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=alt2 style="BORDER-RIGHT: 1px inset; BORDER-TOP: 1px inset; BORDER-LEFT: 1px inset; BORDER-BOTTOM: 1px inset">ข้อความดั้งเดิมโดยคุณ sithiphong [​IMG]
    ผมขอค้านในเรื่องราคาค่างวด พระพิมพ์ไม่ว่าจะเป็นลูกศิษย์ของวัดเป็นผู้สร้าง และองค์หลวงพ่อฤาษีท่านอธิษฐานจิตนั้น จะนำไปตั้งราคาไม่ได้ ความศรัทธาจะวัดค่าออกมาเป็นตัวเงินนั้นทำไม่ได้แน่นอน ผมเองถึงแม้ว่าจะนับถือหลวงปู่บรมครูเทพโลกอุดรเป็นที่สุดแล้ว แต่พระอริยสงฆ์ทุกๆพระองค์ ผมก็เคารพครับ เพราะว่าพระอริยสงฆ์ท่านเป็นผู้ที่เผยแพร่พระธรรมคำสั่งสอนขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ให้พวกเราทุกๆคนได้มีปัญญา แต่จะมีมากหรือน้อยนั้นก็เป็นอีกเรื่องหนึ่ง หลวงพ่อฤาษีท่านเองก็ไม่ธรรมดาอย่างที่คุณเพชรทราบดีครับ

    หากที่ผมนำเสนอไป ทำให้คุณเพชรขัดข้องหมองใจ ผมขออภัยไว้ ณ ที่นี้ครับ

    .
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    ขอบคุณครับ คุณหนุ่ม เพื่อนๆอาจจะงงครับ คืออย่างนี้ ผมกับคุณหนุ่มมีที่มาต่างกัน คุณหนุ่มนับถือหลวงปู่บรมครูเทพโลกอุดรมาก่อน และผมก็ได้รับข้อมูลที่ถูกต้องจากคุณหนุ่มตั้งแต่เข้ามาในกระทู้พระวังหน้า...

    ซึ่งก่อนปี 2535 ผมเองเป็นศิษย์หลายอาจารย์รวมทั้งหลวงปู่เทพโลกอุดรด้วย แต่ไม่ทราบข้อมูลอะไรมากไปกว่าเพื่อนๆก่อนที่คุณจะ post กระทู้นี้ เพราะไม่มีหนังสือ หรือข้อมูลที่ถูกต้องให้ค้นคว้า ประกอบกับประสบการณ์ชีวิตยังน้อยอยู่...

    ช่วงตั้งแต่ ปี 2535 เป็นต้นมา ผมได้พบหลวงพ่อฤาษีฯครั้งแรกในวันเสาร์ที่ 4 กรกฎาคม พ.ศ. 2535 (เป็นเสาร์ ขึ้น 5 ค่ำ เดือน 8) เป่ายันต์เกราะเพชรครั้งที่ 18 ไม่มีผู้ใดจะทราบว่าจะเป็นการเป่ายันต์เกราะเพชรเป็นครั้งสุดท้ายของท่าน) ตั้งแต่นั้นมา ผมปักหลักเพียงอาจารย์เดียวมาตลอด

    ผมเชื่อว่าคนทุกคน จะมีพระในดวงใจของเราทุกคน เวลาเราคับขัน จิตเรานึกถึงผู้ใดหรือ? เวลาผมอารธนาจนเข้าไปในจิตทุกขณะคือ... ขออารธนาพระพุทธเจ้าทุกๆพระองค์ พระปัจเจกพุทธเจ้าทุกๆพระองค์ พระธรรม พระอริยสงฆ์ พรหม เทพ เทพยดา อาจารย์ทั้งหลายสืบๆกันมา โดยมีหลวงปู่บรมครูเทพโลกอุดร หลวงปู่ทวด หลวงปู่โต หลวงปู่ปาน หลวงพ่อฤาษีลิงดำ วัดท่าซุงเป็นที่สุด...ตามแบบฉบับของวัดท่าซุง เพียงแต่เพิ่มหลวงปู่บรมครูเทพโลกอุดร หลวงปู่ทวด หลวงปู่โต หลวงพ่อฤาษีลิงดำ วัดท่าซุง เข้าไปเท่านั้น เวลาหลวงพ่อท่านนำอารธนาหลวงพ่อพ่อท่านจะเอ่ยเฉพาะหลวงปู่ปานเท่านั้น ท่านไม่เคยยกตัวให้ลูกศิษย์เคารพท่าน แต่ลูกศิษย์ต่างหากที่ควรต้องมีกตัญญูทิตาระลึกถึงท่านพร้อมกันในการอารธนาตามท่าน การเรียงลำดับนั้น ผมเรียงตามพรรษาก่อนหลัง หลวงปู่บรมครูเทพโลกอุดรเป็นพระคณะธรรมฑูตสมัยปี พ.ศ. 235 หลวงปู่ทวดเป็นพระสมัยอยุธยา หลวงปู่โต เป็นพระสมัยรัตนโกสินทร์ หลวงปู่ปานแน่นอนท่านเป็นพระอาจารย์ ส่วนองค์อื่นๆผมก็นับถือ เช่นเจ้าคุณนรรัตน์ฯ วัดเทพศิรินทร์ ฯลฯ ผมก็จะใช้วิธีเห็นเป็นภาพแทนการเอ่ยชื่อ เพราะเร็วกว่ามาก ตามหลักการของคำว่า"จิตเป็นนาย กายเป็นบ่าว" วิชาที่เราเผลอใช้บ่อยๆคือวิชามโนมยิทธิที่ครูเตือนใจ ภรรยาคุณหมอนพพร ที่แม่สอดฝึกสอนให้

    ดังนั้นผมก็ไม่ได้โกรธเคืองอะไรใคร ผมให้เกียรติกับคนทุกคนเท่าๆกับที่ให้เกียรติตัวผมเอง ผมเชื่อในคุณงามความดีของคนที่มีธรรมะประจำใจ เราไม่ต้องไปซ้ำเติมอะไรใครให้เกิดความทุกข์เพิ่มหรอก ยังไงเขาก็มีทุกข์ของเขาอยู่แล้ว เราก็มีทุกข์ของเรา ผมเชื่อว่าคราใดที่ผมเกิดอุปสรรค ก็สามารถผ่านไปได้เพราะอานิสงค์ผลบุญที่สั่งสมมาดีแล้วนั่นเอง เพื่อนๆทุกคนแม้จะต่างที่มา แต่ที่หมายที่เดียวกันครับ...

    ขอโมทนา...
    <!-- / message --><!-- sig --></TD></TR></TBODY></TABLE>

    <TABLE class=tborder id=post573226 cellSpacing=0 cellPadding=6 width="100%" align=center border=0><TBODY><TR><TD class=thead style="BORDER-RIGHT: #ffffff 0px solid; BORDER-TOP: #ffffff 1px solid; FONT-WEIGHT: normal; BORDER-LEFT: #ffffff 1px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 1px solid">15-05-2007, 11:06 AM <!-- / status icon and date --></TD><TD class=thead style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid; BORDER-TOP: #ffffff 1px solid; FONT-WEIGHT: normal; BORDER-LEFT: #ffffff 0px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 1px solid" align=right> #45 </TD></TR><TR vAlign=top><TD class=alt2 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid; BORDER-TOP: #ffffff 0px solid; BORDER-LEFT: #ffffff 1px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 0px solid" width=175>sithiphong<SCRIPT type=text/javascript> vbmenu_register("postmenu_573226", true); </SCRIPT>
    สมาชิก ยอดนิยม
    สมาชิกยอดฮิต

    [​IMG]

    เข้ามาครั้งสุดท้ายเมื่อ: วันนี้ 03:21 PM
    วันที่สมัคร: Dec 2005
    ข้อความ: 18,695 <!-- Start Post Thank You Hack -->
    ได้ให้อนุโมทนา 23,873 ครั้ง
    ได้รับอนุโมทนา 107,028 ครั้ง ใน 14,696 โพส <!-- End Post Thank You Hack -->
    พลังการให้คะแนน: 12601 [​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG]


    </TD><TD class=alt1 id=td_post_573226 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid"><!-- message -->อ้างอิง:
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=6 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=alt2 style="BORDER-RIGHT: 1px inset; BORDER-TOP: 1px inset; BORDER-LEFT: 1px inset; BORDER-BOTTOM: 1px inset">ข้อความดั้งเดิมโดยคุณ :::เพชร::: [​IMG]
    ขอบคุณครับ คุณหนุ่ม เพื่อนๆอาจจะงงครับ คืออย่างนี้ ผมกับคุณหนุ่มมีที่มาต่างกัน คุณหนุ่มนับถือหลวงปู่บรมครูเทพโลกอุดรมาก่อน และผมก็ได้รับข้อมูลที่ถูกต้องจากคุณหนุ่มตั้งแต่เข้ามาในกระทู้พระวังหน้า...

    ซึ่งก่อนปี 2535 ผมเองเป็นศิษย์หลายอาจารย์รวมทั้งหลวงปู่เทพโลกอุดรด้วย แต่ไม่ทราบข้อมูลอะไรมากไปกว่าเพื่อนๆก่อนที่คุณจะ post กระทู้นี้ เพราะไม่มีหนังสือ หรือข้อมูลที่ถูกต้องให้ค้นคว้า ประกอบกับประสบการณ์ชีวิตยังน้อยอยู่...

    ช่วงตั้งแต่ ปี 2535 เป็นต้นมา ผมได้พบหลวงพ่อฤาษีฯครั้งแรกในวันเสาร์ที่ 4 กรกฎาคม พ.ศ. 2535 (เป็นเสาร์ ขึ้น 5 ค่ำ เดือน 8) เป่ายันต์เกราะเพชรครั้งที่ 18 ไม่มีผู้ใดจะทราบว่าจะเป็นการเป่ายันต์เกราะเพชรเป็นครั้งสุดท้ายของท่าน) ตั้งแต่นั้นมา ผมปักหลักเพียงอาจารย์เดียวมาตลอด

    ผมเชื่อว่าคนทุกคน จะมีพระในดวงใจของเราทุกคน เวลาเราคับขัน จิตเรานึกถึงผู้ใดหรือ? เวลาผมอารธนาจนเข้าไปในจิตทุกขณะคือ... ขออารธนาพระพุทธเจ้าทุกๆพระองค์ พระปัจเจกพุทธเจ้าทุกๆพระองค์ พระธรรม พระอริยสงฆ์ พรหม เทพ เทพยดา อาจารย์ทั้งหลายสืบๆกันมา โดยมีหลวงปู่บรมครูเทพโลกอุดร หลวงปู่ทวด หลวงปู่โต หลวงปู่ปาน หลวงพ่อฤาษีลิงดำ วัดท่าซุงเป็นที่สุด...ตามแบบฉบับของวัดท่าซุง เพียงแต่เพิ่มหลวงปู่บรมครูเทพโลกอุดร หลวงปู่ทวด หลวงปู่โต หลวงพ่อฤาษีลิงดำ วัดท่าซุง เข้าไปเท่านั้น เวลาหลวงพ่อท่านนำอารธนาหลวงพ่อพ่อท่านจะเอ่ยเฉพาะหลวงปู่ปานเท่านั้น ท่านไม่เคยยกตัวให้ลูกศิษย์เคารพท่าน แต่ลูกศิษย์ต่างหากที่ควรต้องมีกตัญญูทิตาระลึกถึงท่านพร้อมกันในการอารธนาตามท่าน การเรียงลำดับนั้น ผมเรียงตามพรรษาก่อนหลัง หลวงปู่บรมครูเทพโลกอุดรเป็นพระคณะธรรมฑูตสมัยปี พ.ศ. 235 หลวงปู่ทวดเป็นพระสมัยอยุธยา หลวงปู่โต เป็นพระสมัยรัตนโกสินทร์ หลวงปู่ปานแน่นอนท่านเป็นพระอาจารย์ ส่วนองค์อื่นๆผมก็นับถือ เช่นเจ้าคุณนรรัตน์ฯ วัดเทพศิรินทร์ ฯลฯ ผมก็จะใช้วิธีเห็นเป็นภาพแทนการเอ่ยชื่อ เพราะเร็วกว่ามาก ตามหลักการของคำว่า"จิตเป็นนาย กายเป็นบ่าว" วิชาที่เราเผลอใช้บ่อยๆคือวิชามโนมยิทธิที่ครูเตือนใจ ภรรยาคุณหมอนพพร ที่แม่สอดฝึกสอนให้

    ดังนั้นผมก็ไม่ได้โกรธเคืองอะไรใคร ผมให้เกียรติกับคนทุกคนเท่าๆกับที่ให้เกียรติตัวผมเอง ผมเชื่อในคุณงามความดีของคนที่มีธรรมะประจำใจ เราไม่ต้องไปซ้ำเติมอะไรใครให้เกิดความทุกข์เพิ่มหรอก ยังไงเขาก็มีทุกข์ของเขาอยู่แล้ว เราก็มีทุกข์ของเรา ผมเชื่อว่าคราใดที่ผมเกิดอุปสรรค ก็สามารถผ่านไปได้เพราะอานิสงค์ผลบุญที่สั่งสมมาดีแล้วนั่นเอง เพื่อนๆทุกคนแม้จะต่างที่มา แต่ที่หมายที่เดียวกันครับ...

    ขอโมทนา...
    </TD></TR></TBODY></TABLE>

    จุดสูงสุดที่เหมือนกันทุกๆท่านก็คือ คำสั่งสอน(พระธรรม)ขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ที่พระองค์ท่านยอมเหน็ดเหนื่อยตรากตรำกว่าจะค้นพบสิ่งที่เป็นจริงในธรรมชาติและนำมาสอนกับเราทุกๆคน

    โมทนาสาธุในทุกๆบุญกับทุกๆท่านครับ

    .
    <!-- / message --><!-- sig --></TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  20. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    http://palungjit.org/showthread.php?t=79499&page=5

    <TABLE class=tborder id=post602767 cellSpacing=0 cellPadding=6 width="100%" align=center border=0><TBODY><TR><TD class=thead style="BORDER-RIGHT: #ffffff 0px solid; BORDER-TOP: #ffffff 1px solid; FONT-WEIGHT: normal; BORDER-LEFT: #ffffff 1px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 1px solid">21-06-2007, 08:55 PM <!-- / status icon and date --></TD><TD class=thead style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid; BORDER-TOP: #ffffff 1px solid; FONT-WEIGHT: normal; BORDER-LEFT: #ffffff 0px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 1px solid" align=right> #98 </TD></TR><TR vAlign=top><TD class=alt2 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid; BORDER-TOP: #ffffff 0px solid; BORDER-LEFT: #ffffff 1px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 0px solid" width=175>sithiphong<SCRIPT type=text/javascript> vbmenu_register("postmenu_602767", true); </SCRIPT>
    สมาชิก ยอดนิยม
    สมาชิกยอดฮิต

    [​IMG]

    เข้ามาครั้งสุดท้ายเมื่อ: วันนี้ 03:28 PM
    วันที่สมัคร: Dec 2005
    ข้อความ: 18,696 <!-- Start Post Thank You Hack -->
    ได้ให้อนุโมทนา 23,874 ครั้ง
    ได้รับอนุโมทนา 107,028 ครั้ง ใน 14,696 โพส <!-- End Post Thank You Hack -->
    พลังการให้คะแนน: 12601 [​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG]


    </TD><TD class=alt1 id=td_post_602767 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid"><!-- message -->อ้างอิง:
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=6 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=alt2 style="BORDER-RIGHT: 1px inset; BORDER-TOP: 1px inset; BORDER-LEFT: 1px inset; BORDER-BOTTOM: 1px inset">ข้อความดั้งเดิมโดยคุณ :::เพชร::: [​IMG]
    องค์ต่อไปนี้ ให้ทายกันครับว่าด้านหน้าเป็นรูปพระพุทธเจ้า "ด้านหลังเป็นรูปของผู้ใด กับผู้ใด"

    เงื่อนไขคือ

    หากมีผู้ที่ตอบถูกทั้งหมด ผมจะมอบ"พระสมเด็จองค์ปฐม(ด้านหน้า) พระพุทธเจ้าปางพระนิพพาน(พระวิสุทธิเทพ)(ด้านหลัง)" ให้ท่านละ 2 องค์

    หากมีผู้ที่ตอบถูกเพียงข้อเดียว ผมจะมอบ"พระสมเด็จองค์ปฐม(ด้านหน้า) พระพุทธเจ้าปางพระนิพพาน(พระวิสุทธิเทพ)(ด้านหลัง)" ให้ท่านละ 1 องค์

    แต่จำกัดเวลาเพียงเวลา 12.00 น. วันพรุ่งนี้ครับ เพื่อให้เพื่อนๆที่เล่น net ช่วงเช้า และช่วงค่ำได้ร่วมสนุก และมีสิทธิเท่าเทียมกันครับ จำกัดมอบให้เพื่อนๆที่ตอบถูกทั้ง 2 กรณีรวมกันเพียง 10 องค์ครับ

    พระรุ่นนี้เป็นการนำมวลสารของสมเด็จองค์ปฐมทั่วประเทศเพียงเท่าที่รวบรวมไว้ ณ เดือน ตุลาคม 2549 และมวลสารอื่นๆอีกมากมายครับ

    พร้อมแล้วร่วมสนุกกันได้เลยนะครับ หากสะกดชื่อยศตำแหน่งผิดไม่นับครับ
    </TD></TR></TBODY></TABLE>

    มีข้อมูลมาเพิ่มเติม

    เชิญทัศนาครับ

    ************************************************

    ภาพปริศนา ? "พระสงฆ์สอนหนังสือเด็ก" ความเข้าใจผิดอันคลาดเคลื่อน
    [​IMG]

    ใครก็ตามที่ผ่านสายตาไปยังหนังสือซึ่งรวบรวมเรียบเรียงเรื่องราวของสมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พฺรหฺมรํสี) แห่งวัดระฆังโฆสิตาราม มาบ้างแล้ว อย่างน้อยต้องพบภาพพระสงฆ์สอนหนังสือเด็ก

    ภาพที่เข้าใจกันว่าเป็นภาพพระบรมฉายาลักษณ์พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พฺรหฺมรํสี)

    อันเป็นภาพที่ปรากฏบนหน้าหนังสือเกี่ยวกับอัตโนประวัติสมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พฺรหฺมรํสี) อยู่บ่อยๆ จนมีบางท่านเข้าใจคลาดเคลื่อนตลอดมา แท้จริงภาพนี้มีการเข้าใจผิดมาอย่างเนิ่นนาน

    ในนิตยสาร "ชุมนุมจุฬาฯ" ปีที่ 14 เล่มที่ 3 ฉบับ 23 ตุลาคม พ.ศ.2503 ปรากฏการตีพิมพ์ภาพนี้ทั้งบรรยายว่า

    "พระบรมฉายาลักษณ์ของสมเด็จพระปิยมหาราช เมื่อทรงพระเยาว์กำลังทรงพระอักษรกับสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (โต) วัดระฆังโฆสิตาราม

    ภาพโดยความเอื้อเฟื้อของ พล.ร.ต.หลวงสุวิชาแพทย์"

    หากสังเกตจะพบว่าสมณศักดิ์ของท่านนั้นผิด สมณศักดิ์ของท่านซึ่งได้รับพระราชทานจากพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงแต่งตั้งเป็นพระราชาคณะที่ "พระธรรมกิติ" ในปี พ.ศ.2395 ขณะนั้นท่านมีอายุได้ 64 ปีแล้ว

    ในปี พ.ศ.2397 ทรงแต่งตั้งเป็นพระราชาคณะที่ "พระเทพกวี" จนกระทั่งปี พ.ศ.2407 ทรงสถาปนาเป็น "สมเด็จพระพุฒาจารย์"

    ขณะเดียวกัน ในคำแถลงจากสาราณียกรของหนังสือ "ชุมนุมจุฬาฯ" ดังกล่าว ก็ว่า "พระบรมฉายาลักษณ์ขององค์สมเด็จพระปิยมหาราชในสมัยยังทรงพระเยาว์อันเป็นพระบรมฉายาลักษณ์ที่หาดูได้ยาก อัญเชิญมาประดับเป็นศรีแก่เล่ม เนื่องในวาระสำคัญนี้ด้วย" ยิ่งเสริมความเชื่อเป็นอันมากว่า คือ พระบรมฉายาลักษณ์ ร.5 ครั้งทรงพระเยาว์

    แท้จริงภาพนี้มีที่มาในนิตยสาร "ศิลปวัฒนธรรม" ปีที่ 2 ฉบับที่ 7 เดือนพฤษภาคม พ.ศ.2524 หน้า 33 ปรากฏการตีพิมพ์ภาพใบนี้ พร้อมคำอธิบายจาก "นิวัติ กองเพียร" ว่า รูปนี้ไม่ใช่รัชกาลที่ 5 กับสมเด็จพระพุฒาจารย์ เหตุผลประกอบดังนี้

    1. รูปนี้ได้มาจากหนังสือฝรั่งชื่อ "SIAM"

    2. พัดรองที่วางพิงผนังอยู่นั้น เป็นพัดที่นิยมทำก่อนสมัยรัชกาลที่ 5 ต่อมาไม่มีความนิยมในการทำพัดรองอีกเลย

    3. ถ้ารูปนั้นเป็นสมเด็จพระพุฒาจารย์จริง ท่านต้องห่มดองและรัดประคดอก มิใช่อย่างที่เห็นในรูป แม้แต่พระรุ่นเก่าที่วัดระฆังโฆสิตาราม ที่เคยเห็นสมเด็จพระพุฒาจารย์ก็ยืนยันว่ามิใช่สมเด็จแน่

    4. เจ้านายหลายพระองค์ ที่เป็นพระธิดาหรือพระโอรสก็ยืนยันว่า มิใช่พระราชบิดาแน่นอน

    หนังสือฝรั่ง "SIAM" ที่ว่า ก็คือ หนังสือชื่อยาวเฟื้อยว่า "TWENTIETH CENTURY IMPRESSION OF SIAM : ITS HISTORY, PEOPLE COMMERCE, INDUSTRIES, AND RESOURCES WITH WHICH IS INCORPORATED AN ABRIDGED EDITION OF TWENTIETH CENTURY IMPRESSIONS OF BRITISH MALAYA"

    แปลชื่อเป็นไทยว่า "เรื่องน่ารู้ของสยามในศตวรรษที่ 20 ว่าด้วยประวัติศาสตร์ พลเมือง พาณิชยกรรม อุตสาหกรรม และทรัพยากร รวมเรื่องน่ารู้ของบริติชมลายาในศตวรรษที่ 20 โดยสังเขป" อันเป็นหนังสือที่ตีพิมพ์จากลอนดอน ประเทศอังกฤษ ในปี พ.ศ.2452 อันเป็นช่วงปลายรัชกาลที่ 5 ทั้งยังให้คำอธิบายรูปนี้ไว้ว่า "Buddhist Priest and Disciple"



    นอกจากนี้ ในการจัดทำหนังสือเล่มดังกล่าว สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ ทรงพระกรุณาประทานภาพส่วนพระองค์ อันเกี่ยวเนื่องกับประเทศสยามให้กับผู้จัดทำหนังสือเล่มนี้ด้วย

    อย่างไรก็ตามแต่ ในหนังสือที่ระลึกงานสงกรานต์ชลบุรี ประจำปี พ.ศ.2507 ในเรื่อง "สมเด็จพระพุทธเจ้าหลวง สมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต)" อันเขียนโดย อธึก สวัสดิมงคล ยืนยันได้เป็นอย่างดีว่า ภาพพระสงฆ์สอนหนังสือเป็นภาพที่เข้าใจผิดและคลาดเคลื่อน ดังในหน้า 11 ที่ให้ข้อมูลความเป็นมาของภาพใบนี้จากลายพระหัตถ์หม่อมเจ้าหญิงพูนพิศมัย ดิศกุล พระธิดาสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ ทรงตอบคำถามของ อธึก สวัสดิมงคล ว่า

    "สมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต) นั้นไม่ช้าจะเป็นอะไรๆ สักร้อยอย่างเป็นเรื่องหากินทั้งนั้น เดี๋ยวนี้ใครอยากรู้อะไร ก็นั่งวิปัสสนาเอาได้ ไม่ช้าคงต้องร้อนถึงทางการเข้าเล่นด้วยเป็นแน่ มีผู้เอาภาพพระแก่กับเด็กลูกศิษย์สอนหนังสือกัน ฉันจำได้ว่า "โรเบิร์ต เลนส์" ขอประทานให้เสด็จพ่อทรงช่วยทำโปสการ์ดเผยแพร่เมืองไทย และท่านได้ถ่ายรูปฉันแต่งลาวน่าน หญิงเหลือส่องกระจก พร้อมกับทำรูปนี้ด้วย แต่บัดนี้กลายเป็นรูปสมเด็จโตสอนหนังสือพระพุทธเจ้าหลวง แย่จริงๆ น่ากลัวพงศาวดารจะเลอะเทอะกันใหญ่เสียแล้ว"

    สำหรับ โรเบิร์ต เลนส์ เป็นช่างภาพชาวเยอรมัน เจ้าของห้องถ่ายรูปโรเบิร์ต เลสน์ ดำเนินธุรกิจถ่ายรูป เมื่อ พ.ศ.2437 ได้รับพระบรมราชานุญาตให้เป็นช่างภาพราชสำนักรัชกาลที่ 5

    นอกจากนี้ ยังมีผู้กล่าวว่า พระภิกษุในภาพคือ พระครูวิมลคุณากร (ศุข เกสโร) วัดปากคลองมะขามเฒ่า จังหวัดชัยนาท ซึ่งภาพดังกล่าวอาจจะไม่ได้ถ่ายที่ชัยนาท ถ้าหากเป็นหลวงปู่ศุขจริง อาจจะถ่าย ณ ตำหนักเหลืองในวังพลเรือเอกสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์ ก็เป็นไปได้

    ทั้งนี้ เพราะหลวงปู่ศุข จะมาพำนักที่ตำหนักเหลืองเป็นประจำทุกปี เพื่อมาร่วมงานในพิธีไหว้ครูประจำปีของพลเรือเอกพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์ ซึ่งทรงเป็นศิษย์หลวงปู่ศุข

    อย่างไรก็ตาม ไม่อาจสรุปได้ว่าเป็นภาพของหลวงปู่ศุข ทั้งนี้ หม่อมเจ้าหญิงพูนพิศมัย ดิสกุล เมื่อครั้งทรงตอบคำถามของ อธึก สวัสดิมงคล ก็มิได้เอ่ยถึงว่าเป็นพระภิกษุรูปใด

    .......บทความคัดลอกจาก มติชนสุดสัปดาห์ วันที่ 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2548 ปีที่ 25 ฉบับที่ 1302
    <!-- / message --><!-- attachments -->
    <!-- / message --><!-- sig -->
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
     

แชร์หน้านี้

Loading...