พระวังหน้า ที่หลวงปู่บรมครูเทพโลกอุดรเสก ถ้าต้องการที่จะได้.....

ในห้อง 'งานบุญอื่นๆ' ตั้งกระทู้โดย sithiphong, 23 ธันวาคม 2005.

  1. narongwate

    narongwate เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    15 มิถุนายน 2007
    โพสต์:
    885
    ค่าพลัง:
    +3,840
    อานิสงส์การสร้างพระพุทธรูป






    [​IMG]
    คำสอนของพระเดชพระคุณหลวงพ่อฤาษีลิงดำ(พระราชพรหมยาน) วัดท่าซุง อ.เมือง จ.อุทัยธานี เกี่ยวกับอานิสงส์การสร้างพระพุทธรูป​
    การสร้างพระพุทธรูปจัดว่าเป็น พุทธบูชา ถ้าในกรรมฐานจัดว่าเป็นพุทธานุสสติกรรมฐาน (การระลึกถึงคุณของพระพุทธเจ้าเป็นอารมณ์) ​
    ถ้าตายจากคนไปเกิดเป็นเทวดา มีรัศมีกายสว่างไสวมากการสร้างพระถวายด้วยอำนาจพุทธบูชาทำให้มีรัศมีกายมากเป็นคนสวย ​
    ตามที่พระพุทธเจ้าตรัสว่า "พุทธะปูชา มะหาเตชะวันโต" แปลว่า "การบูชาพระพุทธเจ้ามีเดชอำนาจมาก"​
    การสร้างพระพุทธรูปนี่เป็นพุทธบูชาเป็นพุทธานุสสติในกรรมฐาน ๔๐ กอง ท่านบอกว่ากำลังของพุทธานุสสติ​
    เป็นเหตุให้เข้าถึงนิพพานได้ง่ายที่สุด ง่ายกว่ากองอื่นก็เห็นจะจริง เพราะว่าพระพุทธเจ้าท่านอยู่ที่นิพพานนี่​
    และท่านก็เป็นต้นตระกูลของพระนิพพาน ทีนี้เมื่อเราต้องการสร้างพระพุทธรูปให้สวยตามที่เราชอบเห็นแล้วก็ทำให้จิตใจสดชื่น ​
    จิตมันก็นึกถึงพระอยู่เสมอ ถ้าจิตนึกถึงพระพุทธรูปองค์นั้นอยู่เสมอก็จัดเป็นพุทธานุสสติกรรมฐาน ถ้าใจเราเกาะพระพุทธเจ้าเป็นปกติ ​
    ตายแล้วลงนรกไม่เป็น ฉะนั้นถ้าเราชอบพระแบบไหนปางไหน ก็ให้สร้างอย่างที่เราชอบจิตจะได้เกิดศรัทธา​
    หลวงพ่อปานวัดบางนมโคแนะนำว่าควรหันหน้าพระบูชาไปทางทิศตะวันออกหรือทิศเหนือ ไม่ควรหันหน้าพระบูชาไปทางทิศตะวันตก ​
    หรือทิศใต้ เพราะจะทำให้สตางค์ไม่เหลือใช้ส่วนอานิสงส์การสร้างแท่นพระนั้น ก็มีอานิสงส์เหมือนกับการสร้างพระพุทธรูป​
    คือแท่นพระพุทธรูปเขาบกพร่องอยู่ เราทำให้เต็ม อย่างที่นางวิสาขาหรือพระสิวลีได้เคยทำมาในอดีตชาติ อานิสงส์ไม่ใช่เล็กน้อยนะ ​
    อานิสงส์ใหญ่มาก จะเกื้อหนุนให้รวย วาสนาบารมีสูง การสร้างแท่นพระหนุนพระพุทธรูป ซึ่งเป็นตัวแทนของพระพุทธเจ้าให้สูงน่ะ ​
    จะทำให้ฐานะของเราดีขึ้นครั้งหนึ่งมีญาติโยมถามหลวงพ่อฤาษีลิงดำเรื่องการชำระหนี้สงฆ์ว่าถ้าหากนับรวมหลาย ๆ ชาติ​
    เราไม่รู้ว่าเคยล่วงเกินของสงฆ์มามากน้อยเท่าไหร่ จะทำอย่างไรจึงจะชำระหนี้สงฆ์ได้หมด หลวงพ่อท่านกำหนดสมาธิจิตถามพระพุทธเจ้า​
    ก็ปรากฏนิมิตเป็นพระพุทธเจ้าลอยมาตอบคำถามท่านว่า ​
    "ถ้าจะชำระให้ครบถ้วนเป็นเงินเท่าไหร่ก็ไม่พอ ให้สร้างพระพุทธรูปหน้าตัก ๔ ศอก"
    พระหน้าตัก ๔ ศอก ถือว่าเป็นพระประธานมาตรฐาน ท่านบอกว่า "พระพุทธรูปนี่ไม่มีใครตีราคาได้ ใช้ในการชำระหนี้สงฆ์ หนี้สงฆ์ที่แล้ว ๆ มา ถือเป็นการหมดกันไป"
    เมื่อถามว่าการสร้างพระองค์หนึ่งชำระหนี้สงฆ์ได้คนเดียวหรือกี่คน ท่านก็บอกว่า "ถ้าไม่ปิดทองได้คนเดียว ถ้าปิดทองครบถ้วนได้ทั้งคณะ" คำว่า "คณะ" หมายความว่าบุคคลหลายคนก็ได้ ​
    ตัดบาปเก่าชำระหนี้สงฆ์เก่า ๆ ได้หมด แต่ถ้าสร้างหนี้ใหม่ต่อก็เป็นหนี้ใหม่เหมือนกันนะเวลาถวายสังฆทานเพื่ออุทิศให้แก่ผู้ตาย​
    อย่างน้อยควรมีพระพุทธรูปหน้าตักกว้าง ๕ นิ้วขึ้นไป ผู้ที่อนุโมทนารับบุญรับกุศลจะมีรัศมีกายสว่างมาก ​
    เพราะเทวดาหรือพรหมเขาแบ่งฐานะกันตามความสว่างของร่างกาย ไม่ได้ดูที่เครื่องแต่งตัว ถ้ามีผ้าจีวรด้วย ​
    ผู้อนุโมทนาจะมีเครื่องประดับสวยงามกว่าเดิม ถ้ามีอาหารด้วย ความเป็นทิพย์ของร่างกายจะดีกว่าเก่า​
    [​IMG]
    อานิสงส์การสร้างพระพุทธรูป นำมาจากหนังสือ "หลวงพ่อตอบปัญหาธรรม ฉบับพิเศษ เล่ม ๑" โดยพระราชพรหมยาน วัดจันทาราม (ท่าซุง) อ.เมือง จ.อุทัยธานี จัดทำโดย เจ้าหน้าที่ธัมมวิโมกข์​
    [​IMG]
    [​IMG]







    ที่มา[​IMG]


    โมทนาบุญกับทุกท่านครับ
    น้องโอ๊ต
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 8 กุมภาพันธ์ 2008
  2. ตั้งจิต

    ตั้งจิต เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กันยายน 2005
    โพสต์:
    1,574
    ค่าพลัง:
    +5,485
    ศีลคือข้อห้ามทั้งหลายรวมลงแล้ว มีที่มาเกิดจาก ใจ 1 วาจา 1 กาย(การกระทำ) 1 ดังนั้นหากควบคุม กาย วาจา ใจ (111)ได้ ก็ครบศีล

    โมทนาสาธุครับ
     
  3. chaipat

    chaipat เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    5 มกราคม 2007
    โพสต์:
    1,282
    ค่าพลัง:
    +11,099
    1. พระพุทธ
    1. พระธรรม
    1. พระสงฆ์

    รวมเป็นพระรัตนตรัยครับ

    สาธุครับ
     
  4. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
  5. nongnooo

    nongnooo เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 พฤศจิกายน 2006
    โพสต์:
    4,139
    ค่าพลัง:
    +9,446
    คราวนี้ไม่รู้สึกแว๊บกับคำถามครับ เพราะฉะนั้นงานนี้ขอผ่านครับ
    มีอีกเรื่องคิดอยู่ หนึ่งคืนว่าจะบอกกล่าวดีหรือเปล่าครับ บางทีเรื่องจริงนี่แปลกกว่านิทานมากครับ ผมจะบอกว่าเมื่อวานหลังจากได้รับหนังสือจากคุณเพชรผมก็ลองอ่านแบบผ่านๆดู ผมกลับมาสะดุดที่หน้า 102รายพระนามบวรราชสกุล "บรรยงกะเสนา" (กรมขุนธิเบศร์บวร)ไม่น่าเชื่อว่าเป็นนามสกุลของเพื่อนที่สนิทของผมมา10กว่าปี ทำไมถึงบังเอิญขนาดนั้นครับ นิทานหรือเรื่องจริงแน่ะ
     
  6. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    อ้างอิง:
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=6 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=alt2 style="BORDER-RIGHT: 1px inset; BORDER-TOP: 1px inset; BORDER-LEFT: 1px inset; BORDER-BOTTOM: 1px inset">ข้อความดั้งเดิมโดยคุณ Dej Amarin [​IMG]
    ผมขอฝากพระของหลวงพ่อ สิริ สิริวัฒโน เพื่อร่วมไปแจกในงานบุญผ้าป่าที่จังหวัดชัยภูมิ ด้วย จำนวน 227 องค์ เพื่อแจกกับผู้ร่วมไปทำบุญในงานนี้มวลสารพระสมเด็จชุดนี้เป็นมวลสารเดียวกับ หลวงปู่ทวด สิริ ทองดีแต่เพิ่มด้วยผงของหลวงปู่ทิมวัดระหารไร่ครับพร้อมกับ สร้างจำนวน 90,000 องค์
    ขอให้ผู้ได้รับพระองค์ที่นำไปแจกจงเก็บรักษาไว้ให้ดีบอกได้เลยว่าเหมือนท่านมีสมเด็จดีมาก ๆ 1 องค์แล้วต่อไปจะหาค่ามิได้ จึงขออนุโมทนาไปกับคุณหนุ่มด้วย ส่วนพระเหลือก็มอบให้กับวัดไปเลยเพราะผมจะให้ไปต่างหากในนามของผมอีจำนวน 111 องค์ ( 111 ตอบได้เช่นไรมีรางวัลไว้เป็นพระกริ่งเนื้อผงปวเรศ 1 องค์ ) สำหรับผู้ตอบปัญหา 111 ได้ถูกต้องครับ ( เกี่ยวกับตัวเราครับ ) บอกใบ้ สาธุ นะ โม พุท ทัส สะ
    </TD></TR></TBODY></TABLE>

    มาตอบแล้ว ไม่รอรูปแล้ว แว๊บมาเอง

    111 หมายถึง

    กาย 1
    วาจา 1
    ใจ(หรือจิต) 1

    รวมแล้ว 111 ครับ

    โมทนาสาธุครับ

    .
     
  7. :::เพชร:::

    :::เพชร::: เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    8,584
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +36,137
    เรื่องจริง มีวาระ
     
  8. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    อ้างอิง:
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=6 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=alt2 style="BORDER-RIGHT: 1px inset; BORDER-TOP: 1px inset; BORDER-LEFT: 1px inset; BORDER-BOTTOM: 1px inset">ข้อความดั้งเดิมโดยคุณ Dej Amarin [​IMG]
    ผมขอฝากพระของหลวงพ่อ สิริ สิริวัฒโน เพื่อร่วมไปแจกในงานบุญผ้าป่าที่จังหวัดชัยภูมิ ด้วย จำนวน 227 องค์ เพื่อแจกกับผู้ร่วมไปทำบุญในงานนี้มวลสารพระสมเด็จชุดนี้เป็นมวลสารเดียวกับ หลวงปู่ทวด สิริ ทองดีแต่เพิ่มด้วยผงของหลวงปู่ทิมวัดระหารไร่ครับพร้อมกับ สร้างจำนวน 90,000 องค์
    ขอให้ผู้ได้รับพระองค์ที่นำไปแจกจงเก็บรักษาไว้ให้ดีบอกได้เลยว่าเหมือนท่านมีสมเด็จดีมาก ๆ 1 องค์แล้วต่อไปจะหาค่ามิได้ จึงขออนุโมทนาไปกับคุณหนุ่มด้วย ส่วนพระเหลือก็มอบให้กับวัดไปเลยเพราะผมจะให้ไปต่างหากในนามของผมอีจำนวน 111 องค์ ( 111 ตอบได้เช่นไรมีรางวัลไว้เป็นพระกริ่งเนื้อผงปวเรศ 1 องค์ ) สำหรับผู้ตอบปัญหา 111 ได้ถูกต้องครับ ( เกี่ยวกับตัวเราครับ ) บอกใบ้ สาธุ นะ โม พุท ทัส สะ
    </TD></TR></TBODY></TABLE>

    ผมตอบเหมือนคุณตั้งจิตเลยครับ

    .
     
  9. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
  10. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    http://palungjit.org/showthread.php?p=952534&posted=1#post952534

    <TABLE class=tborder id=post952534 cellSpacing=0 cellPadding=6 width="100%" align=center border=0><TBODY><TR><TD class=thead id=currentPost style="BORDER-RIGHT: #ffffff 0px solid; BORDER-TOP: #ffffff 1px solid; FONT-WEIGHT: normal; BORDER-LEFT: #ffffff 1px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 1px solid">1-2-2551, 09:54 AM <!-- / status icon and date --></TD><TD class=thead style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid; BORDER-TOP: #ffffff 1px solid; FONT-WEIGHT: normal; BORDER-LEFT: #ffffff 0px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 1px solid" align=right>#14368 </TD></TR></TBODY></TABLE>

    [​IMG]



    ขอเชิญร่วมมหากุศลเป็นเจ้าภาพผ้าป่าสามัคคี
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 8 กุมภาพันธ์ 2008
  11. ตั้งจิต

    ตั้งจิต เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กันยายน 2005
    โพสต์:
    1,574
    ค่าพลัง:
    +5,485
    คิคิ ดีใจจังท่านปาธานตอบเหมือนผม งั้นเอารูปผมไปดูก่อนแล้วกัน แต่ขอปิดหน้าหน่อยนะครับ กลัวคนรู้จักน่ะ
    [​IMG]
     
  12. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    <TABLE class=tborder id=post966047 cellSpacing=0 cellPadding=6 width="100%" align=center border=0><TBODY><TR><TD class=thead style="BORDER-RIGHT: #ffffff 0px solid; BORDER-TOP: #ffffff 1px solid; FONT-WEIGHT: normal; BORDER-LEFT: #ffffff 1px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 1px solid">7/2/2551 10:13 PM <!-- / status icon and date --></TD><TD class=thead style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid; BORDER-TOP: #ffffff 1px solid; FONT-WEIGHT: normal; BORDER-LEFT: #ffffff 0px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 1px solid" align=right>#14670 </TD></TR><TR vAlign=top><TD class=alt2 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid; BORDER-TOP: #ffffff 0px solid; BORDER-LEFT: #ffffff 1px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 0px solid" width=175>Dej Amarin<SCRIPT type=text/javascript> vbmenu_register("postmenu_966047", true); </SCRIPT>
    สมาชิก

    เข้ามาครั้งสุดท้ายเมื่อ: เมื่อวานนี้ 10:21 PM
    วันที่สมัคร: Feb 2007
    ข้อความ: 74 <!-- Start Post Thank You Hack -->
    ได้ให้อนุโมทนา 41 ครั้ง
    ได้รับอนุโมทนา 624 ครั้ง ใน 76 โพส <!-- End Post Thank You Hack -->
    พลังการให้คะแนน: 82 [​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG]



    </TD><TD class=alt1 id=td_post_966047 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid"><!-- icon and title -->ขอร่วมอนุโมทนาด้วยครับ
    <HR style="COLOR: #ffffff" SIZE=1><!-- / icon and title --><!-- message -->ผมขอฝากพระของหลวงพ่อ สิริ สิริวัฒโน เพื่อร่วมไปแจกในงานบุญผ้าป่าที่จังหวัดชัยภูมิ ด้วย จำนวน 227 องค์ เพื่อแจกกับผู้ร่วมไปทำบุญในงานนี้มวลสารพระสมเด็จชุดนี้เป็นมวลสารเดียวกับ หลวงปู่ทวด สิริ ทองดีแต่เพิ่มด้วยผงของหลวงปู่ทิมวัดระหารไร่ครับพร้อมกับ สร้างจำนวน 90,000 องค์
    ขอให้ผู้ได้รับพระองค์ที่นำไปแจกจงเก็บรักษาไว้ให้ดีบอกได้เลยว่าเหมือนท่านมีสมเด็จดีมาก ๆ 1 องค์แล้วต่อไปจะหาค่ามิได้ จึงขออนุโมทนาไปกับคุณหนุ่มด้วย ส่วนพระเหลือก็มอบให้กับวัดไปเลยเพราะผมจะให้ไปต่างหากในนามของผมอีจำนวน 111 องค์ ( 111 ตอบได้เช่นไรมีรางวัลไว้เป็นพระกริ่งเนื้อผงปวเรศ 1 องค์ ) สำหรับผู้ตอบปัญหา 111 ได้ถูกต้องครับ ( เกี่ยวกับตัวเราครับ ) บอกใบ้ สาธุ นะ โม พุท ทัส สะ

    </TD></TR></TBODY></TABLE>

    *************************************************

    ผมมาสรุปคำตอบสำหรับคำถามครับ

    1.คุณตั้งจิต #14674
    ศีลคือข้อห้ามทั้งหลายรวมลงแล้ว มีที่มาเกิดจาก ใจ 1 วาจา 1 กาย(การกระทำ) 1 ดังนั้นหากควบคุม กาย วาจา ใจ (111)ได้ ก็ครบศีล

    2.คุณchaipat #14675
    1. พระพุทธ
    1. พระธรรม
    1. พระสงฆ์
    รวมเป็นพระรัตนตรัยครับ

    3.คุณsithiphong #14678
    กาย 1
    วาจา 1
    ใจ(หรือจิต) 1
    รวมแล้ว 111 ครับ


    .
     
  13. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    อ้างอิง:
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=6 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=alt2 style="BORDER-RIGHT: 1px inset; BORDER-TOP: 1px inset; BORDER-LEFT: 1px inset; BORDER-BOTTOM: 1px inset">ข้อความดั้งเดิมโดยคุณ sithiphong [​IMG]
    อ้างอิง:

    ขอรูปด้วยนะครับ วัยรุ่นใจร้อนอะ


    ผมตอบเหมือนคุณตั้งจิตเลยครับ

    .
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    อ่า หน้ากากเสือมาแย้ว

    รุ่นคุณเพชร ,คุณnongnooo ,คุณตั้งจิต ทันหน้ากากเสือนิ เรื่องหน้ากากเสือหนุกไม๊คับ

    ส่วนน้องหนุ่ม ไม่ทันอ่ะ หุหุหุ
    .
     
  14. ตั้งจิต

    ตั้งจิต เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กันยายน 2005
    โพสต์:
    1,574
    ค่าพลัง:
    +5,485
    นั่งเฝ้าหน้าจอ(บ้านคนอื่น)(ping) ทุกวันเลยครับ น่าสงสารน้องหนุ่มนะไม่ทัน ไว้ว่างพี่จะเล่าให้ฟัง
     
  15. :::เพชร:::

    :::เพชร::: เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    8,584
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +36,137
    หึ..หึ..เช้านี้ขอลองปัญญาบารมีหน่อยครับ

    วิเคราะห์คำแปล " สาธุ นะโมพุทธัสสะ"

    ค้น : สาธุ
    คำ : สาธุ
    เสียง : สา-ทุ
    คำตั้ง : สาธุ
    ชนิด : ว.
    ที่ใช้ :
    ที่มา : (ป., ส.)
    นิยาม : ดีแล้ว, ชอบแล้ว, (เป็นคำที่พระสงฆ์เปล่งวาจา เพื่อยืนยันหรือรับรองพิธีทางศาสนาที่กระทำไป).
    ภาพ :
    อ้างอิง :
    ปรับปรุง : 98/4/2



    คำ"นะโมพุทธัสสะ" น่าจะเขียนสะกดแบบนี้ เช่นการเขียนคำว่าพุทโธ และพุธโท ก็อ่านแบบเดียวกัน ผมขอยกบทสวด"ยอดพระกัณฑ์ไตรปิฎก"มากล่าวอ้าง

    ยอดพระกัณฑ์ไตรปิฎก (ฉบับเดิม)

    ๑.อิติปิ โส ภะคะวา อะระหัง วัจจะโส ภะคะวา.
    อิติปิโส ภะคะวา สัมมาสัมพุทโธ วัจจะโส ภะคะวา.
    อิติปิ โส ภะคะวา วิชชาจะระณะ สัมปันโนวัจจะโส ภะคะวา.
    อิติปิ โส ภะคะวา สุคะโต วัจจะโส ภะคะวา.
    อิติปิ โส ภะคะวาโลกะวิทู วัจจะโส ภะคะวา.

    <O:p
    ๒.อะระหังตัง สะระณัง คัจฉามิ.
    อะระหันตังสิระสา นะมามิ.
    สัมมาสัมพุทธัง สะระณัง คัจฉามิ.
    สัมมาสัมพุทธัง สิระสานะมามิ.
    วิชชาจะระณะสัมปันนัง สะระณัง คัจฉามิ.
    วิชชาจะระณะสัมปันนัง สิระสานะมามิ.
    สุคะตัง สะระณัง คัจฉามิ.
    สุคะตัง สิระสา นะมามิ.
    โลกะวิทังสะระณัง คัจฉามิ.

    โลกะวิทัง สิระสา นะมามิ.<O:p

    ๓.อิติปิ โส ภะคะวา อะนุตตะโร วัจจะโสภะคะวา.
    อิติปิ โส ภะคะวา ปุริสะธัมมะสาระถิ วัจจะโส ภะคะวา.
    อิติปิ โสภะคะวา สัตถา เทวะมะนุสสานัง วัจจะโส ภะคะวา.

    อิติปิ โส ภะคะวา พุทโธ วัจจะโสภะคะวา.<O:p

    ๔.อะนุตตะรัง สะระณัง คัจฉามิ.
    อะนุตตะรังสิระสา นะมามิ.
    ปุริสะธัมมะสาระถิ สะระณัง คัจฉามิ.
    ปุริสะธัมมะสาระถิ สิระสานะมามิ.
    สัตถา เทวะมะนุสสานัง สะระณัง คัจฉามิ.
    สัตถา เทวะมะนุสสานัง สิระสานะมามิ.
    พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ.
    พุทธัง สิระสา นะมามิ.

    อิติปิ โสภะคะวาฯ<O:p

    ๕.อิติปิ โส ภะคะวา รูปะขันโธอะนิจจะลักขะณะปาระมี จะ สัมปันโน.
    อิติปิ โส ภะคะวา อิติปิ โส ภะคะวาเวทะนาขันโธ อะนิจจะลักขะณะปาระมี จะ สัมปันโน.
    อิติปิ โส ภะคะวา อิติปิ โสภะคะวา สัญญาขันโธ อะนิจจะลักขะณะปาระมี จะ สัมปันโน.
    อิติปิ โส ภะคะวา อิติปิโส ภะคะวา สังขาระขันโธ อะนิจจะลักขะณะปาระมี จะ สัมปันโน.

    อิติปิ โส ภะคะวาอิติปิ โส ภะคะวา วิญญาณะขันโธ อะนิจจะลักขะณะปาระมี จะ สัมปันโน อิติปิ โส ภะคะวา

    <O:p
    ๖.อิติปิ โส ภะคะวา ปะถะวี จักกะวาฬะจาตุมะหาราชิกา ตาวะติงสา ธาตุ สัมมาทิยานะ สัมปันโน.
    อิติปิ โส ภะคะวา เตโชจักกะวาฬะ จาตุมะหาราชิกา ตาวะติงสา ธาตุ สัมมาทิยานะ สัมปันโน.
    อิติปิ โสภะคะวา วาโย จักกะวาฬะ จาตุมะหาราชิกา ตาวะติงสา ธาตุ สัมมาทิยานะสัมปันโน.
    อิติปิ โส ภะคะวา อาโป จักกะวาฬะ จาตุมะหาราชิกา ตาวะติงสา ธาตุสัมมาทิยานะ สัมปันโน.

    อิติปิ โส ภะคะวา อากาสะ จักกะวาฬะ จาตุมะหาราชิกาตาวะติงสา ธาตุ สัมมาทิยานะ สัมปันโน.<O:p

    ๗.อิติปิ โส ภะคะวา ยามา ธาตุ สัมมาทิยานะสัมปันโน.
    อิติปิ โส ภะคะวา ตุสิตา ธาตุ สัมมาทิยานะ สัมปันโน.
    อิติปิ โสภะคะวา นิมมานะระติ ธาตุ สัมมาทิยานะ สัมปันโน.
    อิติปิ โส ภะคะวา กามาวะจะระธาตุ สัมมาทิยานะ สัมปันโน.
    อิติปิ โส ภะคะวา รูปาวะจะระ ธาตุ สัมมาทิยานะสัมปันโน.<O:p

    ๘.อิติปิ โส ภะคะวา ปะถะมะฌานะ ธาตุ สัมมาทิยานะสัมปันโน.
    อิติปิ โส ภะคะวา ทุติยะฌานะ ธาตุ สัมมาทิยานะ สัมปันโน.
    อิติปิ โสภะคะวา ตะติยะฌานะ ธาตุ สัมมาทิยานะ สัมปันโน.
    อิติปิ โส ภะคะวา จะตุถะฌานะ ธาตุสัมมาทิยานะ สัมปันโน.
    อิติปิ โส ภะคะวา ปัญจะมะฌานะ ธาตุ สัมมาทิยานะ สัมปันโน.<O:p

    ๙.อิติปิ โส ภะคะวา อากาสานัญจา ยะตะนะเนวะสัญญา นาสัญญา ยะตะนะ อะรูปาวะจะระ ธาตุ สัมมาทิยานะ สัมปันโน.
    อิติปิ โสภะคะวา วิญญาณัจจา ยะตะนะ เนวะสัญญา นาสัญญา ยะตะนะ อะรูปาวะจะระ ธาตุ สัมมาทิยานะสัมปันโน.
    อิติปิ โส ภะคะวา อากิญจัญญา ยะตะนะ เนวะสัญญา นาสัญญา ยะตะนะอะรูปาวะจะระ ธาตุ สัมมาทิยานะ สัมปันโน.<O:p

    ๑๐.อิติปิ โส ภะคะวา โสตาปะฏิ มัคคะธาตุสัมมาทิยานะ สัมปันโน.
    อิติปิ โส ภะคะวา สะกิทาคาปะฏิ มัคคะธาตุ สัมมาทิยานะสัมปันโน.
    อิติปิ โส ภะคะวา อะนาคาปะฏิ มัคคะธาตุ สัมมาทิยานะสัมปันโน.
    อิติปิ โส ภะคะวา อะระหัตตะปะฏิ มัคคะธาตุ สัมมาทิยานะสัมปันโน.
    <O:p
    ๑๑.อิติปิ โส ภะคะวา โสตาอะระหัตตะปะฏิผะละ ธาตุสัมมาทิยานะ สัมปันโน.
    อิติปิ โส ภะคะวา สะกิทาคาอะระหัตตะปะฏิผะละ ธาตุสัมมาทิยานะ สัมปันโน.
    อิติปิ โส ภะคะวา อะนะคามิอะระหัตตะปะฏิผะละ ธาตุสัมมาทิยานะ สัมปันโน.<O:p

    ๑๒.กุสะลา ธัมมา อิติปิ โส ภะคะวา อะอายาวะชีวัง พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ ชัมภูทิปัญจะ อิสสะโร กุสะลา ธัมมา นะโม พุทธายะนะโม ธัมมายะ นะโม สังฆายะ ปัญจะพุทธา นะมามิหัง อาปามะ จุปะ ทีมะสังอังขุสังวิธาปุกะยะปะ อุปะสะชะสุเห ปาสายะโสโส สะสะ อะอะอะอะนิ เตชะ สุเนมะภูจะนาวิเวอะสังวิสุโลปุสะพุภะ อิสะวาสุ สุสะวาอิ กุสะลาธัมมา จิตติ วิอัตถิ.<O:p

    ๑๓.อิติปิ โส ภะคะวา อะระหัง อะอา ยาวะชีวังพุทธัง สะระณัง คัจฉามิ สาโพธิปัญจะ อิสสะโร ธัมมา.
    <O:p
    ๑๔.กุสะลาธัมมา นันทะวิวังโก อิติ สัมมาสัมพุทโธสุคะลาโน ยาวะชีวัง พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ.
    จาตุมะหาราชิกา อิสสะโร กุสะลาธัมมาอิติ วิชชา จะระณะ สัมปันโน อุอุ ยาวะ ตาวะติงสาอิสสะโร กุสะลา ธัมมา นันทะปัญจะสุคะโต โลกะวิทู มะหาเอโอ ยาวะชีวัง พุทธัง สะระณังคัจฉามิ.

    ยามา อิสสะโร กุสะลา ธัมมา พรหมาสัทธะ ปัญจะสัตตะ สัตตา ปาระมีอุนุตตะโร ยะมะกะยะ ยาวะชีวัง พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ.<O:p

    ๑๕.ตุสิตา อิสสะโร กุสะลา ธัมมา ปุยะปะกะปุริสะธัมมะสาระถิ ยาวะชีวัง พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ.<O:p

    ๑๖.นิมมานะระติ อิสสะโร กุสะลา ธัมมา เหตุโปวะสัตถา เทวะมะนุสสานัง ตะถา ยาวะชีวัง พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ.<O:p

    ๑๗.ปาระนิมิตตะ อิสสะโร กุสะลา ธัมมาสังขาระขันโธ ทุกขัง อะนิจจัง อะนัตตา รูปะขันโธ พุทธะปะผะ ยาวะชีวัง พุทธังสะระณัง คัจฉามิ.<O:p

    ๑๘.พรหมมา อิสสะโร กุสะลาธัมมา นัจถิ ปัจจะยาวินะปัญจะ ภะคะวะตา ยาวะนิพพานัง สะระณัง คัจฉามิ นะโม พุทธัสสะ นะโม ธัมมัสสะ นะโมสังฆัสสะ พุทธิลา โลกะลา กะระ กะนา เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหนตุ หุลู หุลู หุลูสะวาหายะ.<O:p

    ๑๙.นะโม พุทธัสสะ นะโม ธัมมัสสะ นะโม สังฆัสสะวิตติ วิตติ วิตติ มิตติ มิตติ จิตติ จิตติ วิตติ วัตติ วัตติฯมะยะสุ สุวัตถิ โหนตุ หุลูหุลู หุลู สะวาหายะ.<O:p

    ๒๐.อินทะสาวัง มะหาอินทะสาวัง พรหมมะสาวังมะหาพรหมมะ สาวัง จักกะวัตติสาวัง มะหาจักกะวัตติสาวัง เทวาสาวัง มะหา เทวาสาวังอิสิสาวัง มะหาอิสิสาวัง มุนีสาวัง มะหามุนีสาวัง สัปปุริสะสาวังมะหาสัปปุริสะสาวัง พุทธะสาวัง ปัจเจกะ พุทธะสาวัง อะระหัตตะสาวัง สัพพะ สิทธิวิชาธะรานังสาวัง สัพพะโลกา อิริยานังสาวัง เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิโหนตุ.<O:p

    ๒๑.สาวัง คุณณัง วะชะ พะลัง เตชัง วิริยัง สิทธิกัมมัง นิพพานนัง โมกขัง คุยหะกัง ถานัง สีลัง ปัญญานิกขัง ปุญญัง ภาคะยัง ยะสังตัปปัง สุขัง สิริ รูปัง จะตุวิสะติเสนัง เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหนตุ หุลู หุลูหุลู สะวาหายะ.<O:p

    ๒๒.นะโม พุทธัสสะ ทุกขัง อะนิจจัง อะนัตตารูปะขันโธ เวทะนาขันโธ สัญญาขันโธ สังขาระขันโธ วิญญาณะขันโธ นะโม อิติปิ โสภะคะวา.<O:p

    ๒๓.นะโม พุทธัสสะ ทุกขัง อะนิจจัง อะนัตตารูปะขันโธ เวทะนาขันโธ สัญญาขันโธ สังขาระขันโธ วิญญาณะขันโธ นะโม สวากขาโตภะคะวะตา ธัมโม.<O:p

    ๒๔.นะโม ธัมมัสสะ ทุกขัง อะนิจจัง อะนัตตารูปะขันโธ เวทะนาขันโธ สัญญาขันโธ สังขาระขันโธ วิญญาณะขันโธ นะโม สวากขาโตภะคะวะตา ธัมโม.<O:p

    ๒๕.นะโม ธัมมัสสะ ทุกขัง อะนิจจัง อะนัตตารูปะขันโธ เวทะนาขันโธ สัญญาขันโธ สังขาระขันโธ วิญญาณะขันโธ นะโม สุปะฏิปันโนภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ.<O:p

    ๒๖.นะโม สังฆัสสะ ทุกขัง อะนิจจัง อะนัตตารูปะขันโธ เวทะนาขันโธ สัญญาขันโธ สังขาระขันโธ วิญญาณะขันโธ นะโม สุปะฏิปันโนภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ วาหะปะริตตัง.<O:p

    ๒๗.นะโมพุทธายะ มะอะอุ ทุกขัง อะนิจจัง อะนัตตายาวะตัสสะ หาโย โมนะ อุอะมะทุกขัง อะนิจจัง อะนัตตา อุอะมะ อาวันทา นะโม พุทธายะนะอะ กะติ นิสะระนะ อาระปะขุธัง มะอะอุ ทุกขัง อะนิจจัง อะนัตตาฯ<O:p</O:p</O:p</O:p</O:p</O:p</O:p</O:p</O:p</O:p</O:p</O:p</O:p</O:p</O:p</O:p</O:p</O:p</O:p</O:p</O:p</O:p</O:p</O:p</O:p</O:p</O:p</O:p


    พระคาถายอดพระกัณฑ์ไตรปิฎก (แปล)

    ๑. พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น เป็นผู้ไกลจากกิเลส

    พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น เป็นผู้ตรัสรู้เองโดยชอบ

    พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น ทรงถึงพร้อมด้วยความรู้และความประพฤติ

    พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น เป็นผู้เสด็จไปดีแล้ว

    พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น เป็นผู้รู้แจ้งโลก

    ๒. ข้าพเจ้าขอถึงพระองค์ผู้เป็นพระอรหันต์ว่า เป็นที่พึ่งกำจัดภัยได้จริง ข้าพเจ้าขอนอบน้อมพระองค์ผู้เป็นพระอรหันต์ ด้วยเศียรเกล้า

    ข้าพเจ้าขอถึงพระองค์ผู้ทรงตรัสรู้เองโดยชอบว่า เป็นที่พึ่งกำจัดภัยได้จริง ข้าพเจ้าขอนอบน้อมพระองค์ผู้ทรงตรัสรู้เอง ด้วยเศียรเกล้า

    ข้าพเจ้าขอถึงพระองค์ผู้ถึงพร้อมด้วยความรู้และความป ระพฤติ ว่าเป็นที่พึ่งกำจัดภัยได้จริง ข้าพเจ้าขอนอบน้อมพระองค์ผู้ถึงพร้อมด้วยความรู้และค วามประพฤติ ด้วยเศียรเกล้า

    ข้าพเจ้าขอถึงพระองค์ผู้เสด็จไปดีแล้ว ว่าเป็นที่พึ่งกำจัดภัยได้จริง ข้าพเจ้าขอนอบน้อมพระองค์ผู้เสด็จไปดีแล้ว ด้วยเศียรเกล้า

    ข้าพเจ้าขอถึงพระองค์ผู้รู้แจ้งโลก ว่าเป็นที่พึ่งกำจัดภัยได้จริง ข้าพเจ้าขอนอบน้อมพระองค์ผู้รู้แจ้งโลก ด้วยเศียรเกล้า

    ๓. พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น เป็นอนุตตะโร คือ ยอดเยี่ยม

    พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น เป็นนายสารถีผู้ฝึกบุรุษ

    พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น เป็นศาสดาของเทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย

    พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น เป็นผู้ตื่นจากกิเลส

    ๔. ข้าพเจ้าขอถึงพระองค์ผู้ยอดเยี่ยม ว่าเป็นที่พึ่งกำจัดภัยได้จริง ข้าพเจ้าขอนอบน้อมพระองค์ผู้ยอดเยี่ยม ด้วยเศียรเกล้า

    ข้าพเจ้าขอถึงพระองค์ผู้เป็นนายสารถีผู้ฝึกบุรุษ ว่าเป็นที่พึ่งกำจัดภัยได้จริง ข้าพเจ้าขอนอบน้อมพระองค์ผู้เป็นนายสารถีผู้ฝึกบุรุษ

    ด้วยเศียรเกล้า

    ข้าพเจ้าขอถึงพระองค์ผู้เป็นศาสดาของเทวดาและมนุษย์ท ั้งหลาย ว่าเป็นที่พึ่งกำจัดภัยได้จริง ข้าพเจ้าขอนอบน้อมพระองค์ผู้เป็น

    ศาสดาของเทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย ด้วยเศียรเกล้า

    ข้าพเจ้าขอถึงพระองค์ผู้ตื่นจากกิเลส ว่าเป็นที่พึ่งกำจัดภัยได้จริง ข้าพเจ้าขอนอบน้อมพระองค์ผู้ตื่นจากกิเลส ด้วยเศียรเกล้า

    ๕. พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น รูปขันธ์ เป็นอนิจจลักษณะ แต่พระบารมีถึงพร้อมแล้ว

    พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น เวทนาขันธ์ เป็นอนิจจลักษณะ แต่พระบารมีถึงพร้อมแล้ว

    พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น สัญญาขันธ์ เป็นอนิจจลักษณะ แต่พระบารมีถึงพร้อมแล้ว

    พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น สังขารขันธ์ เป็นอนิจจลักษณะ แต่พระบารมีถึงพร้อมแล้ว

    พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น วิญญาณขันธ์ เป็นอนิจจลักษณะ แต่พระบารมีถึงพร้อมแล้ว

    ๖. พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น ทรงถึงพร้อมด้วยธรรมที่เป็นธาตุ คือ ดินจักรวาล เทวโลกชั้นจาตุมหาราชิกาและชั้นดาวดึงส์

    พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น ทรงถึงพร้อมด้วยธรรมที่เป็นธาตุ คือ ไฟจักรวาล เทวโลกชั้นจาตุมหาราชิกาและชั้นดาวดึงส์

    พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น ทรงถึงพร้อมด้วยธรรมที่เป็นธาตุ คือ ลมจักรวาล เทวโลกชั้นจาตุมหาราชิกาและชั้นดาวดึงส์

    พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น ทรงถึงพร้อมด้วยธรรมที่เป็นธาตุ คือ น้ำจักรวาล เทวโลกชั้นจาตุมหาราชิกาและชั้นดาวดึงส์

    พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น ทรงถึงพร้อมด้วยธรรมที่เป็นธาตุ คือ อากาศจักรวาล เทวโลกชั้นจาตุมหาราชิกาและชั้นดาวดึงส์

    ๗. พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น ทรงถึงพร้อมด้วยธรรมที่เป็นธาตุ คือ สวรรค์ชั้นยามา

    พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น ทรงถึงพร้อมด้วยธรรมที่เป็นธาตุ คือ สวรรค์ชั้นดุสิต

    พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น ทรงถึงพร้อมด้วยธรรมที่เป็นธาตุ คือ สวรรค์ชั้นนิมมานรดี

    พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น ทรงถึงพร้อมด้วยธรรมที่เป็นธาตุ อันเป็นไปในกามาวจรภูมิ

    พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น ทรงถึงพร้อมด้วยธรรมที่เป็นธาตุ อันเป็นไปในรูปาวจรภูมิ

    ๘. พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น ทรงถึงพร้อมด้วยธรรมที่เป็นธาตุ คือ ปฐมญาน

    พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น ทรงถึงพร้อมด้วยธรรมที่เป็นธาตุ คือ ทุติยญาน

    พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น ทรงถึงพร้อมด้วยธรรมที่เป็นธาตุ คือ ตติยญาน

    พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น ทรงถึงพร้อมด้วยธรรมที่เป็นธาตุ คือ จตุตถญาน

    พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น ทรงถึงพร้อมด้วยธรรมที่เป็นธาตุ คือ ปัญจมญาน

    ๙. พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น ทรงถึงพร้อมด้วยธรรมที่เป็นธาตุ อันเป็นไปในอรูปาวจรภูมิ คือ อากาสานัญจายตนะและเนวสัญญานาสัญญายตนะ

    พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น ทรงถึงพร้อมด้วยธรรมที่เป็นธาตุ อันเป็นไปในอรูปาวจรภูมิ คือ วิญญาณัญจายตนะและเนวสัญญานาสัญญายตนะ

    พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น ทรงถึงพร้อมด้วยธรรมที่เป็นธาตุ อันเป็นไปในอรูปาวจรภูมิ คือ อากิญจัญญายตนะและเนวสัญญานาสัญญายตนะ

    ๑๐. พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น ทรงถึงพร้อมด้วยธรรมที่เป็นธาตุ คือ พระโสดาปัตติมรรค

    พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น ทรงถึงพร้อมด้วยธรรมที่เป็นธาตุ คือ พระสกิทาคามิมรรค

    พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น ทรงถึงพร้อมด้วยธรรมที่เป็นธาตุ คือ พระอนาคามิมรรค

    พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น ทรงถึงพร้อมด้วยธรรมที่เป็นธาตุ คือ พระอรหัตตมรรค

    ๑๑. พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น ทรงถึงพร้อมด้วยธรรมที่เป็นธาตุ คือ พระโสดาปัตติผล และ พระอรหัตตผล

    พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น ทรงถึงพร้อมด้วยธรรมที่เป็นธาตุ คือ พระสกิทาคามิผล และ พระอรหัตตผล

    พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น ทรงถึงพร้อมด้วยธรรมที่เป็นธาตุ คือ พระอนาคามิผล และ พระอรหัตตผล

    ๑๒. ธรรมะฝ่ายกุศล พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น ข้าพเจ้าขอถึงพระพุทธเจ้า ว่าเป็นที่พึ่งตลอดชีวิต พระผู้มีพระภาคเจ้า ผู้เป็นอิสสระแห่งชมภูทวีป

    ธรรมะฝ่ายกุศล ขอนอบน้อมแด่พระพุทธเจ้า ขอนอบน้อมแด่พระธรรมเจ้า ขอนอบน้อมแด่พระสังฆเจ้า

    ข้าพเจ้าขอนอบน้อมแด่พระพุทธเจ้าห้าพระองค์ ด้วยหัวใจพระวินัยปิฎก ด้วยหัวใจพระสุตตันตปิฎก ด้วยหัวใจพระอภิธรรมปิฎก

    ด้วยมนต์คาถา ด้วยหัวใจมรรคสี่ ผลสี่ และ นิพพานหนึ่ง ด้วยหัวใจพระเจ้าสิบชาติทรงแสดงการบำเพ็ญบารมีสิบ

    ด้วยหัวใจพระพุทธคุณเก้า ด้วยหัวใจพระไตรรัตนคุณ ธรรมะฝ่ายกุศล มีนัยอันวิจิตรพิสดาร

    ๑๓. พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น เป็นผู้ไกลจากกิเลส ข้าพเจ้าขอถึงพระพุทธเจ้า ว่าเป็นที่พึ่งตลอดชีวิต

    ๑๔. ธรรมะฝ่ายกุศล ของผู้มีพระภาคเจ้า เป็นผู้ตรัสรู้เองโดยชอบ ข้าพเจ้าขอถึงพระพุทธเจ้า ว่าเป็นที่พึ่งตลอดชีวิต เป็นอิสสระถึงเทวโลกชั้นจาตุมหาราชิกา

    ธรรมะฝ่ายกุศล พระผู้มีพระภาคเจ้า เป็นผู้ถึงพร้อมด้วยความรู้และความประพฤติ ข้าพเจ้าขอถึงพระพุทธเจ้า ว่าเป็นที่พึ่งตลอดชีวิต เป็นอิสสระถึงสวรรค์ชั้นดาวดึงส์

    ธรรมะฝ่ายกุศล พระพุทธเจ้าเป็นผู้เสด็จไปดีแล้ว เป็นผู้รู้แจ้งโลก ข้าพเจ้าขอถึงพระพุทธเจ้า ว่าเป็นที่พึ่งตลอดชีวิต เป็นอิสสระถึงสวรรค์ชั้นยามา

    ธรรมะฝ่ายกุศล ด้วยความศรัทธาต่อพระพรหม ด้วยพระบารมีอันยอดเยี่ยมของพระโพธิสัตว์ทั้งห้า ข้าพเจ้าขอถึงพระพุทธเจ้า ว่าเป็นที่พึ่งตลอดชีวิต

    ๑๕. ธรรมะฝ่ายกุศล พระผู้มีพระภาคเจ้า ผู้เป็นนายสารถีผู้ฝึกบุรุษ ข้าพเจ้าขอถึงพระพุทธเจ้า ว่าเป็นที่พึ่งตลอดชีวิต เป็นอิสสระถึงสวรรค์ชั้นดุสิต

    ๑๖. ธรรมะฝ่ายกุศล พระผู้มีพระภาคเจ้า พระองค์ผู้เป็นศาสดาของเทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย ข้าพเจ้าขอถึงพระพุทธเจ้า ว่าเป็นที่พึ่งตลอดชีวิต เป็นอิสสระถึงสวรรค์ชั้นนิมมานรดี

    ๑๗. ธรรมฝ่ายกุศล พระผู้มีพระภาคเจ้า เป็นผู้รู้แจ้ง สังขารขันธ์ รูปขันธ์ เป็นของไม่เที่ยง เป็นความทุกข์ มิใช่เป็นตัวตนของเราจริง ข้าพเจ้าขอถึงพระพุทธเจ้า ว่าเป็นที่พึ่งตลอดชีวิต เป็นอิสสระถึงสวรรค์ชั้นปรนิมมิตตวสวัสดี

    ๑๘. ธรรมะฝ่ายกุศล ข้าพเจ้าขอถึงพระพุทธเจ้า ว่าเป็นที่พึ่งตลอดชีวิต เป็นอิสสระถึงสวรรค์ชั้นพรหมโลก ข้าพเจ้าขอนอบน้อมแด่พระพุทธเจ้า ขอนอบน้อมแด่พระธรรมเจ้า ขอนอบน้อมแด่พระสังฆเจ้า ด้วยคำสัตย์ปฏิญาณนี้ ขอความสุขสวัสดี จงมีแก่ข้าพเจ้าด้วยเถิด ข้าพเจ้าขอถึงพระพุทธเจ้าว่าเป็นที่พึ่งตราบเข้าสู่พ ระนิพพาน

    ๑๙. ข้าพเจ้าขอนอบน้อมแด่พระพุทธเจ้า ขอนอบน้อมแด่พระธรรมเจ้า ขอนอบน้อมแด่พระสังฆเจ้า ด้วยการสวดมนต์พระคาถานี้ ขอความสุขสวัสดีจงมีแก่ข้าพเจ้าด้วยเถิด

    ๒๐. ด้วยการสวดพระคาถามหาทิพมนต์นี้ และด้วยการกล่าวคำสัตย์ปฏิญาณนี้ ขอความสุขสวัสดีจงมีแก่ข้าพเจ้าด้วยเถิด

    ๒๑. ด้วยการสวดพระคาถามหาทิพมนต์นี้ และด้วยการกล่าวคำสัตย์ปฏิญาณนี้ ขอความสุขสวัสดีจงมีแก่ข้าพเจ้าด้วยเถิด

    ๒๒. ข้าพเจ้าขอนอบน้อมแด่พระพุทธเจ้า ผู้เข้าถึงรูปขันธ์ เวทนาขันธ์ สัญญาขันธ์ สังขารขันธ์ วิญญาณขันธ์ เป็นทุกข์ ไม่เที่ยง มิใช่ตัวตนของเราจริง ข้าพเจ้าขอนอบน้อมพระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น

    ๒๓. ข้าพเจ้าขอนอบน้อมแด่พระพุทธเจ้า ผู้เข้าถึงรูปขันธ์ เวทนาขันธ์ สัญญาขันธ์ สังขารขันธ์ วิญญาณขันธ์ เป็นทุกข์ ไม่เที่ยง มิใช่ตัวตนของเราจริง ข้าพเจ้าขอนอบน้อมพระธรรม ที่พระพุทธเจ้าตรัสไว้ดีแล้ว

    ๒๔. ข้าพเจ้าขอนอบน้อมแด่พระธรรมเจ้า รูปขันธ์ เวทนาขันธ์ สัญญาขันธ์ สังขารขันธ์ วิญญาณขันธ์ เป็นทุกข์ ไม่เที่ยง มิใช่ตัวตนของเราจริง ข้าพเจ้าขอนอบน้อมพระธรรมที่พระพุทธเจ้าตรัสไว้ดีแล้ ว

    ๒๕. ข้าพเจ้าขอนอบน้อมแด่พระธรรมเจ้า รูปขันธ์ เวทนาขันธ์ สัญญาขันธ์ สังขารขันธ์ วิญญาณขันธ์ เป็นทุกข์ ไม่เที่ยง มิใช่ตัวตนของเราจริง ข้าพเจ้าขอนอบน้อมพระสงฆ์ สาวกของพระพุทธเจ้า ผู้ปฏิบัติดีแล้ว

    ๒๖. ข้าพเจ้าขอนอบน้อมแด่พระสังฆเจ้า รูปขันธ์ เวทนาขันธ์ สัญญาขันธ์ สังขารขันธ์ วิญญาณขันธ์ เป็นทุกข์ ไม่เที่ยง มิใช่ตัวตนของเราจริง ข้าพเจ้าขอนอบน้อมพระสงฆ์ สาวกของพระพุทธเจ้า ผู้ปฏิบัติดีแล้ว

    ๒๗. ข้าพเจ้าขอนอบน้อมแด่พระพุทธเจ้า ด้วยคำสอนของ พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ ความไม่เที่ยง เป็นทุกข์ มิใช่ตัวตนของเราจริง ข้าพเจ้าขอกราบไหว้พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ ข้าพเจ้าขอนอบน้อมแด่พระพุทธเจ้า ด้วยพระธรรมคำสั่งสอน ความไม่เที่ยง เป็นทุกข์ มิใช่ตัวตนของเราจริง

    เมื่อรวมความกันแล้ว จะได้ว่า..
    ดีแล้ว, ชอบแล้ว, (เป็นคำที่พระสงฆ์เปล่งวาจา เพื่อยืนยันหรือรับรองพิธีทางศาสนาที่กระทำไป)

    การที่เราจู่ๆเอ่ยคำว่า "สาธุ" ออกมานั้น เป็นการละไว้ในฐานที่เข้าใจกันว่าหมายถึง "คิดดีแล้ว คิดชอบแล้ว ทำดีแล้ว ทำชอบแล้ว พูดดีแล้ว พูดชอบแล้ว" ลำดับขั้นจึงควรเรียงว่า คิดก่อน แล้วพูด จากนั้นจึงลงมือกระทำ

    <!-- / message -->"นะโมพุทธัสสะ" จึงแปลว่า ข้าพเจ้าขอนอบน้อมแด่พระพุทธเจ้า

    รวมความว่า ข้าพเจ้าขอนอบน้อมแด่พระพุทธเจ้า ด้วยการคิดดีแล้ว คิดชอบแล้ว ทำดีแล้ว ทำชอบแล้ว พูดดีแล้ว พูดชอบแล้ว
     
  16. :::เพชร:::

    :::เพชร::: เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    8,584
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +36,137
    ให้ออกอากาศจะเกิดปัญหาครับ ลองค้นเหตุการณ์ประวัติศาสตร์ช่วงที่รัชกาลที่ ๕ ยกเลิกตำแหน่งมหาอุปราชวังหน้า แล้ววิเคราะห์ต่อกลับไปถึงช่วงที่มหาอุปราชวังหน้าองค์ที่ ๑ ท่านลั่นวาจาไว้ว่าอย่างไรที่เกี่ยวข้องกับการสืบราชสมบัติ...ตรงนี้สำคัญมากครับ ไม่เช่นนั้นป่านนี้เพื่อนคนนี้ของคุณน้องนู๋ก็อาจจะได้เป็น.......
     
  17. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    http://www.dhammahome.com/front/webboard/show.php?id=3777
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" align=center border=0><TBODY><TR><TD><TABLE cellSpacing=2 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR><TD><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" align=center><TBODY><TR><TD bgColor=#ffe082>คำว่าสาธุกับอนุโมทนา</TD></TR><TR><TD bgColor=#cccccc height=1></TD></TR><TR><TD>โดย : Chersada</TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE cellSpacing=2 cellPadding=2 width="94%" align=center><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle></TD></TR><TR><TD vAlign=top>๑. คำว่าสาธุกับอนุโมทนาความหมายเหมือนกันรึปล่าวคับ?

    ๒. แล้วควรแยกใช้กับแต่ล่ะบุคคลหรือปล่าวคับ

    .......ขออนุโมทนาล่วงหน้า.......
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD bgColor=#cccccc height=1></TD></TR><TR><TD bgColor=#eeeeee height=22><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="96%" align=center><TBODY><TR><TD align=left width="55%"></TD><TD align=right>อ่าน : 154 วันที่ : 22-05-2550 </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>

    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" align=center><TBODY><TR><TD align=left bgColor=#eeeeee height=22>ความคิดเห็นที่ 3 โดย : อารายเนี่ย </TD><TD align=right bgColor=#eeeeee height=22><INPUT class=nostyle type=checkbox align=absMiddle value=3 name=c_sel[3]>[​IMG] </TD></TR><TR><TD bgColor=#cccccc colSpan=2 height=1></TD></TR><TR><TD colSpan=2><TABLE cellSpacing=2 cellPadding=4 width="94%" align=center><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle></TD></TR><TR><TD vAlign=top>สาธุ นี้ มีหลายความหมาย ดังนี้
    1. วอนขอ

    2. รับ

    3. ปลอบใจ

    4. ดี
    อนุโมทนา หมายถึง ยินดีในกุศลที่ผู้อื่นกระทำ
    ดังนั้น สาธุกับอนุโมทนา บางนัยมีความหมายเหมือนกัน บางนัยมีความหมายต่างกันครับ
    สาธุ กับ อนุโมทนามีความหมายเหมือนกัน ในความหมายของสาธุ ที่แปลว่า รับ คือ รับด้วย

    ความยินดีในสิ่งนั้น(กุศล) รับว่าดีแล้วนั่นเอง


    พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย พุทธวงศ์ เล่ม ๙ ภาค ๒ - หน้าที่ 132
    สาธุ ใช้ในอรรถ รับ ได้ในประโยคเป็นต้นว่าสาธุ
    ภนฺเตติ โข โส ภิกฺขุ ภควโต ภาสิตํ อภินนฺทิตฺวา อนุโมทิตฺวา
    ภิกษุรูปนั้นยินดีอนุโมทนาภาษิตของพระผู้มีพระภาคเจ้าว่า ดีแล้วพระเจ้าข้า.
    แล้วควรแยกใช้กับแต่ล่ะบุคคลหรือปล่าวครับ
    ใครใช้ก็ได้ แม้พระพุทธเจ้าก็ใช้คำว่า สาธุ แม้พระสาวกก็ใช้คำว่า สาธุและอนุโมทนาครับ

    หรือแม้เทวดา มนุษย์ก็ใช้คำว่า สาธุ หรือ อนุโมทนา

    จึงไม่แยกใช้ว่า สาธุใช้กับคนนี้อนุโมทนาใช้กับคนนี้ครับ

    ขอนอบน้อมแด่พระรัตนตรัย

    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD bgColor=#cccccc colSpan=2 height=1></TD></TR><TR bgColor=#eeeeee height=22><TD align=left width="55%"> </TD><TD align=right>วันที่ : 23-05-2550 </TD></TR></TBODY></TABLE>



    .
     
  18. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    http://www.dhammahome.com/front/webboard/show.php?gid=1&id=932

    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" align=center border=0><TBODY><TR><TD><TABLE cellSpacing=2 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR><TD><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" align=center><TBODY><TR><TD bgColor=#ffe082>กุศลขั้นทาน ต่างกับกุศลที่เป็นการอนุโมทนาอย่างไร</TD></TR><TR><TD bgColor=#cccccc height=1></TD></TR><TR><TD>โดย : dhamma_s</TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE cellSpacing=2 cellPadding=2 width="94%" align=center><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle></TD></TR><TR><TD vAlign=top>กุศลขั้นทาน ถ้าคิดในใจอย่างเดียว จะครบกรรมบถ คือนำปฏิสนธิไหม ถ้าไม่ แล้วกุศลขั้นการ

    อนุโมทนาหละครับ อนุโมทนาในใจอย่างเดียวครบกรรมบถนำเกิดไหมครับ แล้วถ้าในใจนำ​

    เกิดได้ กุศลขั้นทานคิดในใจอย่างเดียว นำเกิดได้หรือไม่ได้ ถ้าไม่ได้เพราะเหตุใด แล้วกุศล​

    ขั้นอนุโมทนาทำไมถึงได้ แค่ทางใจเหมือนทาน อธิบายโดยละเอียดและความแตกต่าง ของ​

    กุศลทั้งสองด้วยในเรื่องครบกรรมบถ​



    </TD></TR></TBODY></TABLE>​
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD bgColor=#cccccc height=1></TD></TR><TR><TD bgColor=#eeeeee height=22><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="96%" align=center><TBODY><TR><TD align=left width="55%"></TD><TD align=right>อ่าน : 131 วันที่ : 17-03-2549 </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>

    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" align=center><TBODY><TR><TD align=left bgColor=#fff9e6 height=22>ความคิดเห็นที่ 1 โดย : ม.ศ.พ. </TD><TD align=right bgColor=#fff9e6 height=22><INPUT class=nostyle type=checkbox align=absMiddle value=1 name=c_sel[1]>[​IMG] </TD></TR><TR><TD bgColor=#cccccc colSpan=2 height=1></TD></TR><TR><TD colSpan=2><TABLE cellSpacing=2 cellPadding=4 width="94%" align=center><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle></TD></TR><TR><TD vAlign=top>กุศลขั้นทานจะครบเป็นทานต่อเมื่อ มีผู้ให้ ๑ มีสิ่งของที่จะให้ ๑ มีผู้รับของนั้น ๑

    ต้องครบองค์ทั้ง ๓ นี้จึงเรียกว่า การให้ทาน คือ ถ้าเป็นเพียงคิดอยู่ในใจอย่างเดียว

    ไม่สามารถให้ผลนำปฏิสนธิได้ ต่างจากกุศลขั้นอนุโมทนา เพราะการอนุโมทนาเมื่อ

    ผู้อื่นมีการทำกุศลนั้นสำเร็จแล้ว

    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD bgColor=#cccccc colSpan=2 height=1></TD></TR><TR bgColor=#fff9e6 height=22><TD align=left width="55%"></TD><TD align=right>วันที่ : 20-03-2549 </TD></TR><TR><TD bgColor=#cccccc colSpan=2 height=1></TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE borderColor=#eeeeee cellSpacing=1 cellPadding=2 width=595 align=center bgColor=#eeeeee border=1><TBODY><TR borderColor=#999999 bgColor=#ffffff><TD vAlign=top width="100%"><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" align=center><TBODY><TR><TD bgColor=#cccccc colSpan=2 height=1></TD></TR><TR><TD align=left bgColor=#eeeeee height=22>ความคิดเห็นที่ 2 โดย : dhamma_s </TD><TD align=right bgColor=#eeeeee height=22><INPUT class=nostyle type=checkbox align=absMiddle value=2 name=c_sel[2]>[​IMG] </TD></TR><TR><TD bgColor=#cccccc colSpan=2 height=1></TD></TR><TR><TD colSpan=2><TABLE cellSpacing=2 cellPadding=4 width="94%" align=center><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle></TD></TR><TR><TD vAlign=top>ยังสงสัยอยู่ การอนุโมทนา ก็เป็นเพียงทางมโนทวารเท่านั้น วึ่งเหมือนกับการคิดที่จะให้แต่ยัง

    ไม่ได้ให้ก็เป็นทางมโนทวารเหมือนกัน ทำไมถึงครบกรรมบถสำหรับการอนุโมทนาแต่การคิด

    ในใจไม่ครบ ทั้งๆ ที่มโนทวารเหมือนกัน ถึงแม้การอนุโมทนาจะเป็นการอนุโมทนาที่บุคคลอื่น

    ทำกุศลสำเร็จแล้ว นั่นเป็นการทำครบกรรมบถของบุคคลอื่น เป็นกุศลของคนอื่น (เป็นเพียง

    อารมณ์ของผู้อนุโมทนา) ส่วนบุคคลผู้อนุโมทนาก็เป็นทางมโนทวารเหมือนกันกับการคิดที่จะ

    ให้ ดังนั้นกรุณาอธิบายให้ละเอียดอีกครั้งครับ

    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD bgColor=#cccccc colSpan=2 height=1></TD></TR><TR bgColor=#eeeeee height=22><TD align=left width="55%"></TD><TD align=right>วันที่ : 20-03-2549 </TD></TR><TR><TD bgColor=#cccccc colSpan=2 height=1></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE borderColor=#eeeeee cellSpacing=1 cellPadding=2 width=595 align=center bgColor=#eeeeee border=1><TBODY><TR borderColor=#999999 bgColor=#ffffff><TD vAlign=top width="100%"><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" align=center><TBODY><TR><TD bgColor=#cccccc colSpan=2 height=1></TD></TR><TR><TD align=left bgColor=#fff9e6 height=22>ความคิดเห็นที่ 3 โดย : ม.ศ.พ. </TD><TD align=right bgColor=#fff9e6 height=22><INPUT class=nostyle type=checkbox align=absMiddle value=3 name=c_sel[3]>[​IMG] </TD></TR><TR><TD bgColor=#cccccc colSpan=2 height=1></TD></TR><TR><TD colSpan=2><TABLE cellSpacing=2 cellPadding=4 width="94%" align=center><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle></TD></TR><TR><TD vAlign=top>โดยทั่วไปเวลาเราอนุโมทนาบุญของผู้อื่น เราไม่เพียงอยู่ในใจเท่านั้น คือ มือก็ยกเหนือหัว

    ปากก็กล่าวว่าสาธุ หรือพูดว่าขออนุโมทนาด้วย ฉะนั้น เวลาท่านอธิบายเป็นที่เข้าใจกันว่า

    บุญสำเร็จด้วยการอนุโมทนา ก็ไม่ใช่เพียงอยู่ในใจเท่านั้น สำหรับเรื่องการให้ทานจะสำเร็จ

    เมื่อครบองค์จึงเรียกว่า ทาน ถ้าเพียงคิดในใจก่อนให้เป็นเพียงบุพเจตนาเท่านั้น เหมือนกับ

    อกุศลกรรมบถข้อที่ ๑ ถ้าเพียงคิดจะฆ่ายังสำเร็จเป็นกรรมบถ เป็นเพียงบุพเจตนาเท่านั้น
    จะสำเร็จองค์กรรมบถเมื่อมีการฆ่าและสัตว์นั้นตาย ฯ

    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD bgColor=#cccccc colSpan=2 height=1></TD></TR><TR bgColor=#fff9e6 height=22><TD align=left width="55%"></TD><TD align=right>วันที่ : 21-03-2549 </TD></TR><TR><TD bgColor=#cccccc colSpan=2 height=1></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE borderColor=#eeeeee cellSpacing=1 cellPadding=2 width=595 align=center bgColor=#eeeeee border=1><TBODY><TR borderColor=#999999 bgColor=#ffffff><TD vAlign=top width="100%"><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" align=center><TBODY><TR><TD bgColor=#cccccc colSpan=2 height=1></TD></TR><TR><TD align=left bgColor=#eeeeee height=22>ความคิดเห็นที่ 4 โดย : natnicha </TD><TD align=right bgColor=#eeeeee height=22><INPUT class=nostyle type=checkbox align=absMiddle value=4 name=c_sel[4]>[​IMG] </TD></TR><TR><TD bgColor=#cccccc colSpan=2 height=1></TD></TR><TR><TD colSpan=2><TABLE cellSpacing=2 cellPadding=4 width="94%" align=center><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle></TD></TR><TR><TD vAlign=top>แล้วการอนุโมทนาที่มีใจยินดีในกุศลของบุคคลอื่น แต่ไม่ได้ยกมือเหนือหัว และกล่าวว่า

    สาธุ ล่ะคะ? ซึ่งตัวเองนั้นมักจะรู้สึกยินดีเมื่อเพื่อนหรือพบเห็นใครที่ทำกุศลอยู่ แต่ก็ไม่

    เคยกล่าวอนุโมทนา หรือยกมือไหว้เลย



    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD bgColor=#cccccc colSpan=2 height=1></TD></TR><TR bgColor=#eeeeee height=22><TD align=left width="55%"></TD><TD align=right>วันที่ : 21-03-2549 </TD></TR><TR><TD bgColor=#cccccc colSpan=2 height=1></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE borderColor=#eeeeee cellSpacing=1 cellPadding=2 width=595 align=center bgColor=#eeeeee border=1><TBODY><TR borderColor=#999999 bgColor=#ffffff><TD vAlign=top width="100%"><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" align=center><TBODY><TR><TD bgColor=#cccccc colSpan=2 height=1></TD></TR><TR><TD align=left bgColor=#fff9e6 height=22>ความคิดเห็นที่ 5 โดย : ม.ศ.พ. </TD><TD align=right bgColor=#fff9e6 height=22><INPUT class=nostyle type=checkbox align=absMiddle value=5 name=c_sel[5]>[​IMG] </TD></TR><TR><TD bgColor=#cccccc colSpan=2 height=1></TD></TR><TR><TD colSpan=2><TABLE cellSpacing=2 cellPadding=4 width="94%" align=center><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle></TD></TR><TR><TD vAlign=top>การอนุโมทนาในกุศลของผู้อื่นเกิดได้ทั้ง ๓ ทวาร คือ กาย วาจา ใจ

    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD bgColor=#cccccc colSpan=2 height=1></TD></TR><TR bgColor=#fff9e6 height=22><TD align=left width="55%"></TD><TD align=right>วันที่ : 22-03-2549 </TD></TR><TR><TD bgColor=#cccccc colSpan=2 height=1></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE borderColor=#eeeeee cellSpacing=1 cellPadding=2 width=595 align=center bgColor=#eeeeee border=1><TBODY><TR borderColor=#999999 bgColor=#ffffff><TD vAlign=top width="100%"><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" align=center><TBODY><TR><TD bgColor=#cccccc colSpan=2 height=1></TD></TR><TR><TD align=left bgColor=#eeeeee height=22>ความคิดเห็นที่ 6 โดย : dhamma_s </TD><TD align=right bgColor=#eeeeee height=22><INPUT class=nostyle type=checkbox align=absMiddle value=6 name=c_sel[6]>[​IMG] </TD></TR><TR><TD bgColor=#cccccc colSpan=2 height=1></TD></TR><TR><TD colSpan=2><TABLE cellSpacing=2 cellPadding=4 width="94%" align=center><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle></TD></TR><TR><TD vAlign=top>แสดงว่าการอนุโมทนาทางใจ ไม่ออกมาทางกาย วาจา ก็ไม่ครบกรรมบถ ใช่ไหมครับ

    ต้องออกมาทางกายวาจาเท่านั้น ถึงจะครบกรรมบถ เหมือนกับทานหรือครับ

    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD bgColor=#cccccc colSpan=2 height=1></TD></TR><TR bgColor=#eeeeee height=22><TD align=left width="55%"></TD><TD align=right>วันที่ : 22-03-2549 </TD></TR><TR><TD bgColor=#cccccc colSpan=2 height=1></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE borderColor=#eeeeee cellSpacing=1 cellPadding=2 width=595 align=center bgColor=#eeeeee border=1><TBODY><TR borderColor=#999999 bgColor=#ffffff><TD vAlign=top width="100%"><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" align=center><TBODY><TR><TD bgColor=#cccccc colSpan=2 height=1></TD></TR><TR><TD align=left bgColor=#eeeeee height=22>ความคิดเห็นที่ 7 โดย : prakaimuk.k </TD><TD align=right bgColor=#eeeeee height=22><INPUT class=nostyle type=checkbox align=absMiddle value=7 name=c_sel[7]>[​IMG] </TD></TR><TR><TD bgColor=#cccccc colSpan=2 height=1></TD></TR><TR><TD colSpan=2><TABLE cellSpacing=2 cellPadding=4 width="94%" align=center><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle></TD></TR><TR><TD vAlign=top>ขอร่วมสนทนากับคุณ dhammahouse นะคะ กระทู้น่าสนใจค่ะ
    การอนุโมทนาทางใจในกุศลของคนอื่น (ซึ่งเป็นเพียงอารมณ์ของผู้อนุโมทนา) เราคิดอย่างนี้

    ได้ไหมคะว่า กุศล(ของคนอื่น) อันนั้นได้สำเร็จเป็นกุศลกรรมบถแล้ว และเราอนุโมทนา

    กุศลกรรมบถที่สำเร็จแล้ว ดังนั้น การอนุโมทนานี้จึงถีอเป็นกุศลกรรมบถเช่นกัน เป็นกุศล

    กรรมบถทางมโนทวารค่ะ


    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD bgColor=#cccccc colSpan=2 height=1></TD></TR><TR bgColor=#eeeeee height=22><TD align=left width="55%"></TD><TD align=right>วันที่ : 23-03-2549 </TD></TR><TR><TD bgColor=#cccccc colSpan=2 height=1></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE borderColor=#eeeeee cellSpacing=1 cellPadding=2 width=595 align=center bgColor=#eeeeee border=1><TBODY><TR borderColor=#999999 bgColor=#ffffff><TD vAlign=top width="100%"><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" align=center><TBODY><TR><TD bgColor=#cccccc colSpan=2 height=1></TD></TR><TR><TD align=left bgColor=#fff9e6 height=22>ความคิดเห็นที่ 8 โดย : ม.ศ.พ. </TD><TD align=right bgColor=#fff9e6 height=22><INPUT class=nostyle type=checkbox align=absMiddle value=8 name=c_sel[8]>[​IMG] </TD></TR><TR><TD bgColor=#cccccc colSpan=2 height=1></TD></TR><TR><TD colSpan=2><TABLE cellSpacing=2 cellPadding=4 width="94%" align=center><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle></TD></TR><TR><TD vAlign=top>อนุโมทนา

    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD bgColor=#cccccc colSpan=2 height=1></TD></TR><TR bgColor=#fff9e6 height=22><TD align=left width="55%"></TD><TD align=right>วันที่ : 23-03-2549 </TD></TR><TR><TD bgColor=#cccccc colSpan=2 height=1></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE borderColor=#eeeeee cellSpacing=1 cellPadding=2 width=595 align=center bgColor=#eeeeee border=1><TBODY><TR borderColor=#999999 bgColor=#ffffff><TD vAlign=top width="100%"><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" align=center><TBODY><TR><TD bgColor=#cccccc colSpan=2 height=1></TD></TR><TR><TD align=left bgColor=#eeeeee height=22>ความคิดเห็นที่ 9 โดย : dhamma_s </TD><TD align=right bgColor=#eeeeee height=22><INPUT class=nostyle type=checkbox align=absMiddle value=9 name=c_sel[9]>[​IMG] </TD></TR><TR><TD bgColor=#cccccc colSpan=2 height=1></TD></TR><TR><TD colSpan=2><TABLE cellSpacing=2 cellPadding=4 width="94%" align=center><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle></TD></TR><TR><TD vAlign=top>ถ้าอย่างนั้นแสดงว่า การอนุโมทนา ก็มีทั้งครบกรรมบถและไม่ครบกรรมบถขึ้นอยู่กับอารมณ์ที่

    อนุโมทนาด้วย ถ้าอนุโมทนาในอารมณ์ที่ทำครบกรรมบถแล้ว การอนุโมทนาก็ครบกรรมบถ ใน

    นัยตรงกันข้าม ถ้าอนุโมทนาในอารมณ์ที่ทำไม่ครบกรรมบถแล้ว การอนุโมทนาก็ไม่ครบ

    กรรมบถ ถ้าเป็นอย่างนั้น คือ ขึ้นอยู่กับอารมณ์ว่าครบกรรมบถหรือไม่ การที่เรายินดีในการ

    ฆ่าบุคคลอื่น การยินดีนั้นเป็นทางมโนทวาร และมีอารมณ์ที่ครบกรรมบถ การยินดีนั้น ที่ไม่

    ออกมาทางกาย วาจา ก็ครบกรรมบถใช่ไหมครับ เพราะยึดเอาอารม์ที่ครบกกรมบถแล้วเป็น

    เกณฑ์ ดังนั้น การอนุโมทนาจะครบกรรมบถไม่ครบกรรมบถขึ้นอยู่กับอารมณ์ที่ครบกรรมบถ

    หรือครับ

    ช่วยแสดงข้อมูลในพระไตรปิฎกด้วยครับ ถ้ามี ขอบคุณครับ


    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD bgColor=#cccccc colSpan=2 height=1></TD></TR><TR bgColor=#eeeeee height=22><TD align=left width="55%"></TD><TD align=right>วันที่ : 23-03-2549 </TD></TR><TR><TD bgColor=#cccccc colSpan=2 height=1></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE borderColor=#eeeeee cellSpacing=1 cellPadding=2 width=595 align=center bgColor=#eeeeee border=1><TBODY><TR borderColor=#999999 bgColor=#ffffff><TD vAlign=top width="100%"><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" align=center><TBODY><TR><TD bgColor=#cccccc colSpan=2 height=1></TD></TR><TR><TD align=left bgColor=#fff9e6 height=22>ความคิดเห็นที่ 10 โดย : ม.ศ.พ. </TD><TD align=right bgColor=#fff9e6 height=22><INPUT class=nostyle type=checkbox align=absMiddle value=10 name=c_sel[10]>[​IMG] </TD></TR><TR><TD bgColor=#cccccc colSpan=2 height=1></TD></TR><TR><TD colSpan=2><TABLE cellSpacing=2 cellPadding=4 width="94%" align=center><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle></TD></TR><TR><TD vAlign=top>ข้อมูลในพระไตรปิฎก ที่กล่าวถึงรายละเอียดในเรื่องอนุโมทนายังไม่พบ แต่ถ้าเป็นองค์ของ

    อกุศลกรรมบถแต่ละข้อมีกล่าวไว้ชัดเจน ซึ่งผู้ตอบได้อธิบายตามหลักองค์อกุศลกรรมบถ มี

    ทั้งครบองค์และไม่ครบองค์ มีข้อที่น่าพิจารณาว่า ถ้าเราตั้งใจให้ทาน แต่ไม่มีผู้รับทาน

    การให้ทานก็ไม่สำเร็จ แต่มีผู้อนุโมทนาในการกระทำทานนั้น บุญที่เกิดจากการอนุโมทนาจะ

    สำเร็จเป็นกรรมบถหรือ ในเมื่อตัวผู้ให้เองยังไม่สำเร็จเป็นทาน สำหรับการยินดีทางใจเมื่อ

    ผู้อื่นทำอกุศลกรรมบถ กล่าวโดยนัยของอกุศลกรรมบถ ๑๐ ประการ ไม่ครบองค์

    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD bgColor=#cccccc colSpan=2 height=1></TD></TR><TR bgColor=#fff9e6 height=22><TD align=left width="55%"></TD><TD align=right>วันที่ : 24-03-2549 </TD></TR><TR><TD bgColor=#cccccc colSpan=2 height=1></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE borderColor=#eeeeee cellSpacing=1 cellPadding=2 width=595 align=center bgColor=#eeeeee border=1><TBODY><TR borderColor=#999999 bgColor=#ffffff><TD vAlign=top width="100%"><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" align=center><TBODY><TR><TD bgColor=#cccccc colSpan=2 height=1></TD></TR><TR><TD align=left bgColor=#eeeeee height=22>ความคิดเห็นที่ 11 โดย : win </TD><TD align=right bgColor=#eeeeee height=22><INPUT class=nostyle type=checkbox align=absMiddle value=11 name=c_sel[11]>[​IMG] </TD></TR><TR><TD bgColor=#cccccc colSpan=2 height=1></TD></TR><TR><TD colSpan=2><TABLE cellSpacing=2 cellPadding=4 width="94%" align=center><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle></TD></TR><TR><TD vAlign=top>ตอนที่พระโพธิสัตว์ เคยเกิดในอดีตชาติ เป็นลูกชาวประมง เห็นเขาจับปลาได้เป็นจำนวนมาก

    แล้วพลอยยินดีกับเขาด้วย อย่างนี้เป็นการครบองค์กรรมบถหรือไม่ ? อย่างไรครับ ? ทำไม

    จึงเป็นวิบาก ที่ติดตามมาถึงภพชาติสุดท้ายของพระพุทธองค์ ?



    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD bgColor=#cccccc colSpan=2 height=1></TD></TR><TR bgColor=#eeeeee height=22><TD align=left width="55%"></TD><TD align=right>วันที่ : 24-03-2549 </TD></TR><TR><TD bgColor=#cccccc colSpan=2 height=1></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>

    <TABLE borderColor=#eeeeee cellSpacing=1 cellPadding=2 width=595 align=center bgColor=#eeeeee border=1><TBODY><TR borderColor=#999999 bgColor=#ffffff><TD vAlign=top width="100%"><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" align=center><TBODY><TR><TD bgColor=#cccccc colSpan=2 height=1></TD></TR><TR><TD align=left bgColor=#fff9e6 height=22>ความคิดเห็นที่ 12 โดย : ม.ศ.พ. </TD><TD align=right bgColor=#fff9e6 height=22><INPUT class=nostyle type=checkbox align=absMiddle value=12 name=c_sel[12]>[​IMG] </TD></TR><TR><TD bgColor=#cccccc colSpan=2 height=1></TD></TR><TR><TD colSpan=2><TABLE cellSpacing=2 cellPadding=4 width="94%" align=center><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle></TD></TR><TR><TD vAlign=top>ข้อความโดยตรงมีดังนี้




    อาพาธที่ศีรษะ คือเวทนาที่ศีรษะ ชื่อว่า สีสทุกขะ ทุกข์ที่ศีรษะ.​


    ได้ยินว่า ในอดีตกาล พระโพธิสัตว์บังเกิดเป็นชาวประมง ในหมู่บ้าน​


    ชาวประมง. วันหนึ่ง พระโพธิสัตว์นั้นกับพวกบุรุษชาวประมง ไปยัง​


    ที่ที่ฆ่าปลา เห็นปลาทั้งหลายตาย ได้ทำโสมนัสให้เกิดขึ้นในข้อที่ปลาตาย ​


    นั้น แม้บุรุษชาวประมงที่ไปด้วยกัน ก็ทำความโสมนัสให้เกิดขึ้นอย่างนั้น​


    เหมือนกัน. ด้วยอกุศลกรรมนั้น พระโพธิสัตว์ได้เสวยทุกข์ในอบายทั้ง ๔​


    ในอัตภาพหลังสุดนี้ ได้บังเกิดขึ้นตระกูลศากยราช พร้อมกับบุรุษเหล่านั้น​


    แม้จะได้บรรลุความเป็นพระพุทธเจ้าโดยลำดับแล้ว ก็ยังได้เสวยความ​


    เจ็บป่วยที่ศีรษะด้วยตนเอง และเจ้าศากยะเหล่านั้น ถึงความพินาศกันหมด​


    ในสงความของเจ้าวิฑูฑภะ โดยนัยดังกล่าวไว้ในอรรถกถาธรรมบท​


    จากข้อความดังกล่าว มีโดยย่อว่า ได้ไปสถานที่ที่ฆ่าปลา ได้ทำโสมนัส​


    ให้เกิดขึ้นทำให้พระโพธิสัตว์เกิดในอบายภูมิ และชาติสุดท้ายทำให้ปวด​

    ศีรษะ กรรมนั้นนำเกิดในอบายได้ก็หมายถึงล่วงกรรมบถ ​

    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD bgColor=#cccccc colSpan=2 height=1></TD></TR><TR bgColor=#fff9e6 height=22><TD align=left width="55%"></TD><TD align=right>วันที่ : 26-03-2549 </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  19. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    <TABLE class=tborder cellSpacing=1 cellPadding=6 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=thead>ขณะนี้มีคนกำลังดูกระทู้นี้อยู่ : 20 คน ( เป็นสมาชิก 4 คน และ บุคคลทั่วไป 16 คน ) </TD><TD class=thead width="14%"></TD></TR><TR><TD class=alt1 width="100%" colSpan=2>sithiphong, 108man, :::เพชร:::+, chaipat+ </TD></TR></TBODY></TABLE>

    บุคคลทั่วไปเยอะจริงๆครับ

    .
     
  20. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    http://www.dhammahome.com/front/webboard/show.php?gid=1&id=966

    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" align=center border=0><TBODY><TR><TD><TABLE cellSpacing=2 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR><TD><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" align=center><TBODY><TR><TD bgColor=#ffe082>การอนุโมทนาส่วนกุศลของเปรต</TD></TR><TR><TD bgColor=#cccccc height=1></TD></TR><TR><TD>โดย : rock</TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE cellSpacing=2 cellPadding=2 width="94%" align=center><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle></TD></TR><TR><TD vAlign=top>อยากทราบว่าหมู่สัตว์ที่ปฏิสนธิในหมู่เปรตที่สามารถอนุโมทนาส่วนกุศล
    ที่ญาติๆอุทิศไปให้รวมถึงเปรตทุกประเภทใช่หรือไม่
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD bgColor=#cccccc height=1></TD></TR><TR><TD bgColor=#eeeeee height=22><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="96%" align=center><TBODY><TR><TD align=left width="55%"></TD><TD align=right>อ่าน : 90 วันที่ : 26-03-2549 </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD bgColor=#cccccc height=1></TD></TR><TR><TD bgColor=#996600 height=3></TD></TR></TBODY></TABLE>

    <TABLE width=600 align=center><TBODY><TR><TD></TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE borderColor=#eeeeee cellSpacing=1 cellPadding=2 width=595 align=center bgColor=#eeeeee border=1><TBODY><TR borderColor=#999999 bgColor=#ffffff><TD vAlign=top width="100%"><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" align=center><TBODY><TR><TD bgColor=#cccccc colSpan=2 height=1></TD></TR><TR><TD align=left bgColor=#fff9e6 height=22> ความคิดเห็นที่ 1 โดย : ม.ศ.พ. </TD><TD align=right bgColor=#fff9e6 height=22><INPUT class=nostyle type=checkbox align=absMiddle value=1 name=c_sel[1]>[​IMG] </TD></TR><TR><TD bgColor=#cccccc colSpan=2 height=1></TD></TR><TR><TD colSpan=2><TABLE cellSpacing=2 cellPadding=4 width="94%" align=center><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle></TD></TR><TR><TD vAlign=top>เปรตที่อยู่ในฐานะที่อนุโมทนาส่วนกุศลมีหลายประเภท
    โปรดอ่านข้อความโดยตรง

    พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย ขุททกปาฐะ เล่ม ๑ ภาค ๑ - หน้าที่ 299

    ทักษิณาที่สำเร็จผลในทันทีทันใด แม้ในที่นี้ ก็ตรัสว่า สำเร็จผลโดยฐานะ

    ฉันนั้น. ฐานะใด ตรัสไว้ว่า ดูก่อนพราหมณ์ ทานนั้น ย่อมสำเร็จผลแก่

    สัตว์ผู้ตั้งอยู่ในปิตติวิสัยใด ปิตติวิสัยนั้นแล เป็นฐานะดังนี้. ทักษิณาที่สำเร็จ

    ผลในฐานะนั้น อันต่างโดยประเภทมีขุปปิปาสิกเปรต วันตาสาเปรต ปรทัตตูป-

    ชีวีเปรตและนิชฌามตัณหิกเปรตเป็นต้น ก็ตรัสว่า ย่อมสำเร็จผลโดยฐานะ

    เหมือนผู้ให้กหาปณะ ในโลกเขาก็เรียกกันว่า ผู้นั้น ให้กหาปณะ ฉะนั้น. แต่

    ในอรรถวิกัปนี้ บทว่า อุปกปฺปติ ได้แก่ ปรากฏผล ท่านอธิบายว่าบังเกิดผล.
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD bgColor=#cccccc colSpan=2 height=1></TD></TR><TR bgColor=#fff9e6 height=22><TD align=left width="55%"> </TD><TD align=right>วันที่ : 27-03-2549 </TD></TR><TR><TD bgColor=#cccccc colSpan=2 height=1></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE borderColor=#eeeeee cellSpacing=1 cellPadding=2 width=595 align=center bgColor=#eeeeee border=1><TBODY><TR borderColor=#999999 bgColor=#ffffff><TD vAlign=top width="100%"><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" align=center><TBODY><TR><TD bgColor=#cccccc colSpan=2 height=1></TD></TR><TR><TD align=left bgColor=#f3fef4 height=22> ความคิดเห็นที่ 2 โดย : บ้านธัมมะ </TD><TD align=right bgColor=#f3fef4 height=22><INPUT class=nostyle type=checkbox align=absMiddle value=2 name=c_sel[2]>[​IMG] </TD></TR><TR><TD bgColor=#cccccc colSpan=2 height=1></TD></TR><TR><TD colSpan=2><TABLE cellSpacing=2 cellPadding=4 width="94%" align=center><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle></TD></TR><TR><TD vAlign=top>
    ขอเชิญรับฟังเรื่องของเปรต
    dhamma03241 นันทาเปตวัตถุ

    dhamma03242 ธนปาลเสฏฐิเปตวัตถุ

    dhamma03243 สานุวาสีเถรเปตวัตถุ

    dhamma03244 จูลเสฏฐีเปตวัตถุ

    dhamma03424 เปรตวัตถุ
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD bgColor=#cccccc colSpan=2 height=1></TD></TR><TR bgColor=#f3fef4 height=22><TD align=left width="55%"> </TD><TD align=right>วันที่ : 27-03-2549 </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>
     

แชร์หน้านี้

Loading...