เรื่องเล่า พ่อท่านบ้านเรา อริยสงฆ์เมืองใต้

ในห้อง 'ประสบการณ์ เรื่องเล่า' ตั้งกระทู้โดย wichu, 5 พฤษภาคม 2015.

  1. wichu

    wichu เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    17 ตุลาคม 2007
    โพสต์:
    897
    ค่าพลัง:
    +4,698
    [FONT=&quot]พ่อท่านเจียม อติเมโธ วัดคีรีวงศ์ (น้ำตก) อายุ ๑๐๕ ปี กับตำนานแห่งวิชาสายวัดในเขา[/FONT]

    [FONT=&quot]พ่อท่านเจียม เป็นพระอีก ๑ รูป ที่ ร่วมอธิษฐานจิต เหรียญรุ่นบารมีหลวงพ่อทวด อันโด่งดัง[/FONT]
    [FONT=&quot]ในวันที่ ๑๑ สิงหาคม ๒๕๕๖ เป็นครั้งแรกที่ผมได้พบกับพ่อท่านเจียม[/FONT]
    [FONT=&quot]ท่านอายุ ๑๐๕ ปีแล้ว รูปร่างค่อนข้างท้วม สูงใหญ่ ผิวขาว ใจดี มีเมตตามาก[/FONT]
    [FONT=&quot]เนื่องจากอายุที่มาก และความชรา ทำให้ท่านนั่งนานๆไม่ได้ และต้องนอนตะแคง[/FONT]

    [FONT=&quot]พ่อท่านเจียมพักอยู่บนเตียงไม้เก่าๆ ภายในอุโบสถที่สร้างด้วยรูปแบบง่ายๆ แปลกตา[/FONT]
    [FONT=&quot]เมื่อไปกราบท่าน ท่านจะใช้แขนขวาจับราวเก้าอี้ ยกตัวขึ้นมานั่ง[/FONT]
    [FONT=&quot]ผมถวายของเครื่องไทยธรรมแล้ว ท่านก็สวดให้พร[/FONT]
    [FONT=&quot]ด้วยความเมตตา และอ่อนโยน ท่านพูดเบาๆว่า “ขอโทษที อาตมานั่งนานไม่ได้ ขอนอนเอนนะ”[/FONT]

    [​IMG]

    รูปพระประธานในโบสถ์ พ่อท่านเจียม และอุโบสถวัดคีรีวงศ์ที่สร้างแบบเรียบง่าย อยู่ท่ามกลางป่าเขา
    [FONT=&quot]
    [/FONT]

    [FONT=&quot]ในวันนั้น ผมได้เอ่ยข้อผ้าจีวรเก่าที่พ่อท่านเคยใช้ เพื่อนำมาติดในแผ่นยันต์สำหรับแจกเจ้าหน้าที่และชาวพุทธในสามจังหวัดชายแดน[/FONT]
    [FONT=&quot]จะด้วยเป็นครั้งแรกที่ได้พบและไม่รู้จักกันมาก่อนก็ไม่ทราบ[/FONT]
    [FONT=&quot]ลูกศิษย์ที่ดูแลท่านได้บอกว่า “มีคนมาขอกันมากแล้ว ตอนนี้เหลือผืนเดียว ถ้าจะเอาให้นำผืนใหม่มาเปลี่ยนแล้วกัน”[/FONT]
    [FONT=&quot]ผมได้รับปากว่าจะนำผ้าจีวรมาถวาย เพื่อขอผ้าผืนเก่าที่ท่านได้เคยใช้[/FONT]

    [FONT=&quot]แต่แล้วในวันถัดมา[/FONT]
    [FONT=&quot]เมื่อผมกลับไปอีกครั้ง ทันทีที่พบหน้า ลูกศิษย์ท่านก็รีบนำผ้าจีวรผืนเก่าของพ่อท่านมาให้ในทันที[/FONT]
    [FONT=&quot]ผมคิดเอาเองว่า พ่อท่านเจียมเองท่านรู้ถึงจิตเจตนาที่ดีของเรา จึงได้สั่งกับลูกศิษย์ให้นำมามอบให้โดยไม่ต้องรอให้ผมถวายผ้าจีวรผืนใหม่ ทั้งๆที่วันนั้น ผมไม่ได้นำผ้าจีวรผืนใหม่ไปถวาย[/FONT]

    [FONT=&quot]ภายในโบสถ์ พ่อท่านเจียมพักอยู่ โดยไม่ต้องกางมุ้งแต่อย่างใด ทั้งๆที่ประตู หน้าต่างก็ไม่มีมุ้งลวด[/FONT]
    [FONT=&quot]ศิษย์ท่านบอกว่า “เมื่อก่อนท่านกินสมุนไพรมาก โดยเฉพาะ “บอระเพ็ด” ซึ่งถือว่ามีรสขมมาก[/FONT]
    [FONT=&quot] ท่านเคี้ยวกินสดๆเลยที่เดียว ทำให้แม้เดี๋ยวนี้ ยุงก็ไม่กัดพ่อท่านเลย[/FONT]

    [FONT=&quot]ด้วยความชราภาพ อายุมากถึง ๑๐๕ ปี ทำให้ดวงตาของพ่อท่านมืดบอด[/FONT]
    [FONT=&quot]ท่านนอนเอนบนเตียงไม้ติดผนังโบสถ์ ดูเหมือนท่านหลับอยู่[/FONT]
    [FONT=&quot]แต่จิตของท่านกลับอยู่กับการภาวนา อยู่ในฌานสมาธิ[/FONT]
    [FONT=&quot]ได้รับการบอกเล่าจากสามเณรที่วัดว่า แม้ท่านนอนอยู่ก็เข้าเอามือแตะขาแล้วเรียกท่านเบาๆได้เลย[/FONT]
    [FONT=&quot]ท่านจะรู้สึกตัว และตอบรับในทันที...[/FONT]
    [FONT=&quot]ท่านนอนอยู่ในฌานสมาธิตลอดเวลา ไม่ได้นอนหลับแบบคนทั่วไป [/FONT]
    [FONT=&quot]นี่เองที่ทำให้จิตท่านมีกำลัง และฌานสมาธิของท่าน แข็งแกร่ง ไม่เป็นสองรองใคร...[/FONT]
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • j101.jpg
      j101.jpg
      ขนาดไฟล์:
      123.2 KB
      เปิดดู:
      4,213
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 24 กรกฎาคม 2015
  2. wichu

    wichu เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    17 ตุลาคม 2007
    โพสต์:
    897
    ค่าพลัง:
    +4,698
    [FONT=&quot] “พ่อท่านเจียม อติเมโธ”[/FONT][FONT=&quot] ผู้สืบทอดวิชาพุทธาคมสายวัดในเขา[/FONT]
    [FONT=&quot]
    [/FONT]

    [FONT=&quot]พ่อท่าานอยู่ “วัดคีรีวงก์ (น้ำตก)” ตำบลบางมะพร้าว อำเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร[/FONT]

    [FONT=&quot]วัดน้ำตกตั้งอยู่ภายในวงล้อมของหกขุนเขา[/FONT][FONT=&quot] เป็นวัดเล็กๆ ที่อยู่ท่ามกลางป่าเขา อย่างความสงบ[/FONT]
    [FONT=&quot]ในปี ๒๕๑๒ ชาวบ้าน[/FONT][FONT=&quot] “บ้านน้ำตก” ได้พร้อมใจกันบริจาคปัจจัยและเสียสละที่ดิน[/FONT]
    [FONT=&quot]เพื่อสร้างเป็นวัด[/FONT][FONT=&quot] และได้นิมนต์ “พระเจียม อติเมโธ” วัย ๖๒ ปี ๑๔ พรรษา จากวัดบรรพตวิสัย (วัดในเขา) มาอยู่รักษาการเจ้าอาวาสในปี ๒๕๑๕ [/FONT]
    [FONT=&quot]ต่อมาวันที่ ๑๓ กุมภาพันธ์ ๒๕๒๒ก็ได้ตั้งเป็นวัด[/FONT]
    [FONT=&quot]พ่อท่านเจียม ได้นำวิชาความรู้คาถาอาคมที่ร่ำเรียนมาใช้สงเคราะห์แก่ชาวบ้านในพื้นที่[/FONT]
    [FONT=&quot]นอกจากนี้ พ่อท่านยังสอนศีลธรรมให้กับชาวบ้านในชุมชนอยู่เสมอโดยเฉพาะธรรมขั้นพื้นฐาน คือ “ศีล” อันเป็นจุดเริ่มต้นที่นำไปสู่ บทแห่ง สมาธิ และ ปัญญาต่อไป[/FONT]


    [FONT=&quot]ส่วนอาจารย์ของพ่อท่านเจียม หรือ[/FONT][FONT=&quot] “ปู่ใหญ่” (คำเรียกท้องถิ่น-ใช้เรียกพ่อท่านพัน) [/FONT]
    [FONT=&quot]รูปหล่อของท่านประดิษฐานอยู่ด้านหลังศาลาสูงขึ้นไป [/FONT]
    [FONT=&quot]ในมณฑปบนเนินเขาด้านหลังของศาลา [/FONT]
    [FONT=&quot]เป็นที่ประดิษฐานรูปหล่อของพ่อท่านพัน ปรมาจารย์สายวัดในเขา [/FONT]
    [FONT=&quot]และเป็นอาจารย์ผู้ถ่ายทอดวิชาให้พ่อท่านเจียม[/FONT]
    [FONT=&quot]ด้านบนหน้าจั่วของมณฑป มี อักขระยันต์ตัวใหญ่ๆ คือ[/FONT][FONT=&quot] “นะปฐมกัลป์” [/FONT]
    [FONT=&quot]อันถือเป็น[/FONT][FONT=&quot] “ยันต์ครู” หรือ “ยันต์หลัก” ที่พ่อท่านเจียมใช้ในการสักยันต์ ลบผง ลงตะกรุด เขียนผ้ายันต์ ฯลฯ ซึ่งท่านก็มอบให้เฉพาะสำหรับผู้ที่มาขอเท่านั้น[/FONT]

    [​IMG]
    รูปแบบยันต์หน้ามณฑป พ่อท่านพัน ซึ่งมีรูปหล่อของพ่อท่านพันประดิษฐานอยู่


    [FONT=&quot]อุโบสถของวัด รายรอบด้วยลูกนิมิตที่ตั้งอยู่บนฐานและมีซุ้มเสมายอดเจดีย์เล็กๆ [/FONT]
    [FONT=&quot]ภายในวางพระพุทธรูปตั้งซ้อนอยู่ข้างบน[/FONT]
    [FONT=&quot]พ่อท่านเจียมเป็นผู้คิดทำลูกนิมิตมากำหนดเขตไว้บนพื้นดิน[/FONT]
    [FONT=&quot]และนำพระพุทธรูปขนาดเล็กตั้งไว้ในซุ้มเสมายอดเจดีย์เป็นสัญลักษณ์ ด้วยตัวท่านเอง [/FONT]
    [FONT=&quot]รูปแบบลูกนิมิตรที่แสดงถึงความพอเพียง สมถะ ตามธรรมชาติและชุมขนในพื้นที่ชนบทแห่งบ้านน้ำตกนี้[/FONT]

    [​IMG]
    รูปอุโบสถวัดคีรีวงศ์ และด้านขวาเป็นรูปลูกนิมิตที่มีซุ้มและมีพระพุทธรูปประดิษฐาน รูปแบบสวยงามเข้มขลัง

    [FONT=&quot]ภายในอุโบสถหลังเล็กของวัดที่ถูกก่อสร้างให้ออกมาเหมือนอุโบสถของวัดบรรพตวิสัย (ในเขา) [/FONT]
    [FONT=&quot]ที่หลวงพ่อพันได้สร้างไว้[/FONT]
    [FONT=&quot] เมื่อมองจากภายนอกเข้าไปภายใน บริเวณกลางอุโบสถซ้ายมือของพระประธาน [/FONT]
    [FONT=&quot]ได้วางเตียงที่เก่าและขนาดไม่ใหญ่มากนัก [/FONT]
    [FONT=&quot]เป็นที่พักและจำวัดของพ่อท่านเจียม[/FONT]

    [FONT=&quot]แม้พ่อท่านเจียมจะไม่สามารถนั่งได้นานๆ เนื่องจากความชราภาพ ด้วยอายุที่ย่าง ๑๐๕ ปี แล้ว[/FONT]
    [FONT=&quot]ท่านมักนอนตะแคงบนเตียง นิ่งๆ [/FONT]

    [FONT=&quot]พ่อท่านเจียมเป็นลูกศิษย์ของ[/FONT][FONT=&quot] “หลวงพ่อพัน จันทสิริ” อดีตเจ้าอาวาส “วัดบรรพตวิสัย (ในเขา)” ที่ตั้งอยู่อีกด้านหนึ่งของภูเขาลูกนี้[/FONT]
    [FONT=&quot]หลวงพ่อพันเป็นพระที่ชาวอำเภอหลังสวน ให้ความเคารพศรัทธาอย่างสูง[/FONT]
    [FONT=&quot]ด้วยความศักดิ์สิทธิ์และปฏิหารย์ของท่าน [/FONT]

    [FONT=&quot]ในปี พ.ศ. ๒๕๕๖ นั้น ถือได้ว่า [/FONT][FONT=&quot] “หลวงปู่เจียม อติเมโธ” เป็นลูกศิษย์ที่เหลือเพียงองค์เดียวของ“หลวงพ่อพัน” [/FONT]
    [FONT=&quot]ด้วยตำนานในยุคสมัยต่อมา ที่พูดกันว่า พ่อท่านเจียมท่านโบกมือไล่สัตว์ป่าที่ดุร้ายได้ [/FONT]
    [FONT=&quot]รวมไปถึงเรื่องคาถาอาคมและวัตถุมงคลของท่านที่มากประสบการณ์ [/FONT]
    [FONT=&quot]ท่านเสกได้ทั้งแบบเมตตาและแบบคงกระพันได้ไม่เป็นสองรองใคร[/FONT]

    [FONT=&quot]แต่ในที่สุด พ่อท่านเจียมกลับเน้นสอนในเรื่องคุณธรรมเป็นหลักใหญ่[/FONT]
    [FONT=&quot]โดยเน้นที่ศีล ซึ่งเป็นบทเริ่มต้นของธรรมมะ เพื่อพัฒนาไปถึงลำดับที่สูงขึ้น[/FONT]
    [FONT=&quot]พ่อท่านเองมักจะพูดกับทุกคนที่เข้ามานมัสการกราบไหว้เสมอๆ คือ[/FONT]
    [FONT=&quot]“อยู่มาร้อยกว่าปีไม่มีอะไรดีเลย นอกจากศีล”[/FONT]
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • j103.jpg
      j103.jpg
      ขนาดไฟล์:
      117.6 KB
      เปิดดู:
      4,553
    • j102.jpg
      j102.jpg
      ขนาดไฟล์:
      127 KB
      เปิดดู:
      3,938
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 24 กรกฎาคม 2015
  3. wichu

    wichu เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    17 ตุลาคม 2007
    โพสต์:
    897
    ค่าพลัง:
    +4,698
    [FONT=&quot]พ่อท่านพัน จันทศิริ ปรมาจารย์ในสายวัดในเขา กับตำนานความเข้มขลัง[/FONT]


    [FONT=&quot]ในช่วงก่อนปี ๒๔๙๗ พ่อท่านพัน ได้ชื่อว่าเป็นพระเถราจารย์ผู้ทรงอิทธิคุณแห่งแม่น้ำหลังสวน เล่ากันว่าบารมีและอภินิหารของหลวงพ่อพันมีมากมายหลายเรื่องทั้งในขณะที่ท่านยังมีชีวิต [/FONT]
    [FONT=&quot]เช่นการที่ท่านสามารถสะกดจระเข้ที่มีอยู่ในแม่น้ำริมวัดให้อยู่ในอาณัติของท่านได้[/FONT]

    [FONT=&quot] หลังจากที่ท่านได้มรณภาพไป ด้วยบารมีความศักดิ์สิทธิ์ของพ่อท่านพัน ท่านยังช่วยเหลือชาวบ้านในเขาและชาวหลังสวนได้อีกด้วย[/FONT]
    [FONT=&quot]
    [/FONT]

    [FONT=&quot]เช่นการปรากฏกายขึ้นเหนือยอดเขาลิ้นต่างเมื่อครั้งที่พายุไต้ฝุ่นเกย์เคลื่อนเข้าถล่มจังหวัดชุมพร ในวันที่ ๔ พฤศจิกายน ๒๕๓๒ หรือ ๓๕ ปีหลังจากท่านมรณภาพ[/FONT]
    [FONT=&quot]ในเรื่องที่บอกเล่าต่อๆกันมาว่าท่ามกลางความมืดมิด[/FONT]
    [FONT=&quot]ที่เกิดจากเมฆดำและลมพายุได้กำบังแสงของดวงจันทร์ให้จางหายไปกับความมืด[/FONT]

    [FONT=&quot]ในขณะที่ชาวบ้านในเขาพากันเร่งรีบขับรถกลับบ้าน ร้านค้าต่างพากันปิดร้านปิดประตู [/FONT]
    [FONT=&quot]ระหว่างนั้นมีเสียงตะโกนบอกถึงความอัศจรรย์ใจทำให้ชาวบ้านต่างจับจ้องไปที่ยอดเขาลิ้นต่าง[/FONT]
    [FONT=&quot]ภาพที่พวกเขาเห็นคือ “ภาพหลวงพ่อพันในลักษณะเรืองแสงและมีขนาดที่ใหญ่ลอยออกมาจากมณฑปที่ตั้งสังขารของท่าน” [/FONT]

    [FONT=&quot]ร่างของท่านยืนลอยเด่นอยู่เหนือยอดเขาพร้อมกับยื่นมือโบกปัดลมพายุที่กำลังตรงเข้าถล่มอำเภอหลังสวนให้ลอยข้ามไปยังทิศทางอื่น[/FONT]

    [FONT=&quot]หลังจากที่ผ่านวิกฤติวาตภัยไปแบบอัศจรรย์ใจ [/FONT]
    [FONT=&quot]รุ่งขึ้นตอนเช้าชาวบ้านต่างพากันเดินทางขึ้นไปยังมณฑปที่เก็บศพของหลวงพ่อพันบนยอดเขาลิ้นต่าง[/FONT]

    [FONT=&quot]ภาพที่พวกเขาเห็นคือสังขารของท่านที่ไม่เน่าเปื่อยแข็งเป็นหินยังคงอยู่ในสภาพเดิม [/FONT][FONT=&quot]จะมีที่น่าแปลกใจคือจีวรที่ห่อหุ้มสังขารนั้นบางส่วนมีริ้วรอยขาดวิ่น[/FONT]
    [FONT=&quot]ซึ่งเรื่องของหลวงพ่อพันกับการออกมาโบกปัดลมพายุให้ลอยผ่านข้ามอำเภอหลังสวนนี้ได้ถูกบันทึกอยู่ในความทรงจำของชาวชุมพรมาจนถึงทุกวันนี้[/FONT]

    [​IMG]

    [FONT=&quot]
    [/FONT]

    [FONT=&quot]พ่อท่านพันเป็นพระเกจิอาจารย์ในยุคเดียวกับ พ่อท่านจอน วัดดอนรวบ พ่อท่านทอง วัดดอนสะท้อน ฯลฯ [/FONT]

    [FONT=&quot]ท่านถือกำเนิด ณ บางมะพร้าว ในแผ่นดินของพระพุทธเจ้าหลวง (ร.๕) [/FONT]
    [FONT=&quot]ได้รับการยกย่องจากผู้คนทั่วไปว่าเป็นพระวิปัสสนากรรมฐานที่ศักดิ์สิทธิ์และเป็นพระเกจิอาจารย์ที่มีอาคมกล้าแข็ง[/FONT]

    [FONT=&quot]ก่อนที่ท่านจะมาสร้างวัดบรรพตวิสัย (ในเขา) ท่านได้เดินธุดงค์ไปตามป่าเขา[/FONT]
    [FONT=&quot]ข้ามเข้าไปยังประเทศพม่า และเดินทางกลับมาปักกลดปฏิบัติธรรมอยู่หน้าถ้ำเขาลิ้นต่าง[/FONT]
    [FONT=&quot] เมื่อชาวบ้านทราบข่าวว่าท่านมาปักกลดจึงพากันมาช่วยสร้างกุฏิ[/FONT]
    [FONT=&quot]และถวายที่ดินเพื่อให้ท่านสร้างวัด ซึ่งก็คือ[/FONT][FONT=&quot] “วัดบรรพตวิสัย (ในเขา)” [/FONT]

    [​IMG]

    รูปหล่อยันต์ยุ่ง ของพ่อท่านพัน ที่สร้างขึ้นในปี ๒๕๕๕ อธิษฐานจิตโดยพ่อท่านเจียม

    [FONT=&quot]
    [/FONT]

    [FONT=&quot]พ่อท่านเจียมได้เล่าถึงพ่อท่านพัน อาจารย์ของท่านว่า ท่านเป็นพระที่มีเมตตาและใจดี [/FONT]
    [FONT=&quot]แต่ในยามที่ท่านแสดงธรรมหรือสอนวิชา ท่านจะมุ่งมั่นและเอาใจใส่มาก [/FONT]
    [FONT=&quot]ความแกร่งกล้าในคาถาอาคมดูได้จากหนวดเคราของท่านที่แข็งเป็นเหล็กไม่สามารถโกนออกได้[/FONT]
    [FONT=&quot]ในช่วงที่พ่อท่านพันยังอยู่นั้น ด้วยปฏิปทาและความเชี่ยวชาญในคาถาอาคม[/FONT]
    [FONT=&quot]ทำให้มีบรรดาพระเกจิอาจารย์ทั้งในพื้นที่และนอกพื้นที่เดินทางมาขอเรียนขอต่อวิชาจากท่านหลายองค์ [/FONT]
    [FONT=&quot]โดยเฉพาะพ่อท่านรุ่ง (เคราเหล็ก) วัดบางแหวน ที่พ่อท่านพันได้ทดสอบวิชาก่อนจะสอน[/FONT]
    [FONT=&quot]โดยท่านได้โยนกรรไกรตัดหมากให้ [/FONT]

    [FONT=&quot]ท่านเล่าว่า พ่อท่านรุ่ง (เคราเหล็ก)ได้เสกกรรไกรให้ปีนขึ้นต้นหมากและตัดหมาก[/FONT]
    [FONT=&quot] ในขณะที่กรรไกรกำลังไต่ลงจากต้นหมาก หลวงพ่อพันได้เพ่งไปที่กรรไกร[/FONT]
    [FONT=&quot]ส่งผลให้การเคลื่อนไหวของตัวกรรไกรนั้นหยุดลงคาอยู่กลางลำต้น[/FONT]
    [FONT=&quot]เรื่องนี้ เป็นเหตุการณ์ ที่พ่อท่านเจียมได้เห็นกับตา และเป็นบ่อเกิดในความตั้งใจที่จะศึกษาวิชาอาคมกับพ่อท่านพัน[/FONT]

    [FONT=&quot]อย่างไรก็ตามถึงหลวงพ่อพันท่านจะเป็นพระที่เก่งในคาถาอาคม [/FONT]
    [FONT=&quot]แต่โดยเนื้อแท้แล้วในระหว่างที่เรียนวิชาพ่อท่านพันมักจะสอนเสมอๆ ว่า[/FONT]
    [FONT=&quot]“คาถาอาคมถึงจะมีจริงแต่เราไม่ควรยึดถือ ยึดมั่น ให้มากเกินไป โดยเฉพาะการเข้ามาอยู่ในเพศบรรพชิตต้องพร้อมและยึดในเรื่องของการกล่อมเกลากิเลสเป็นสำคัญ”[/FONT]

    [FONT=&quot]ซึ่งพ่อท่านพันได้เน้นย้ำว่า “การบวชคือการฝึกฝนหัดชำระจิตใจให้บริสุทธิ์ เพื่อให้หลุดพ้นจากความทุกข์” [/FONT]
    [FONT=&quot] การบวชเพียงแค่ต้องการเรียนคาถาอาคมเพียงอย่างเดียวนั้นเป็นความคิดที่ประเมินคุณค่าของพระพุทธศาสนาน้อยเกินไป [/FONT]
    [FONT=&quot]ต้องบวชเพื่อให้จิตหลุดพ้นจึงจะถูกต้อง[/FONT]

    [FONT=&quot]หลวงพ่อพันมรณภาพเมื่อวันพฤหัสบดี เดือนกุมภาพันธ์ ๒๔๙๗ รวมสิริอายุได้ ๘๓ ปี พรรษา ๖๓ [/FONT]
    [FONT=&quot]เมื่อหลวงพ่อพันได้ละสังขารลง บรรดาศิษย์ได้นำสรีระของท่านบรรจุในหีบไม้รูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า[/FONT]
    [FONT=&quot]ในลักษณะท่านั่ง กำหนดให้มีงานรวมสามคืน [/FONT]

    [FONT=&quot]ครั้นเมื่อถึงคืนที่สามของงาน บรรดาพุทธศาสนิกชนที่มาร่วมงานก็ได้พบกับบารมีและอภินิหารในองค์หลวงพ่อพัน[/FONT]
    [FONT=&quot]กล่าวคือ ในขณะที่พระกำลังสวดพระอภิธรรมนั้น [/FONT]
    [FONT=&quot]ภาพกายทิพย์ของหลวงพ่อพันในอิริยาบถนั่งขัดสมาธิได้มาปรากฏบนหีบไม้ทั้งสี่ด้าน[/FONT][FONT=&quot] ให้ทุกคนที่อยู่ในสถานที่นั้นได้เห็นประจักษ์แก่สายตา [/FONT]
    [FONT=&quot]โดยภาพดังกล่าวได้ปรากฏอยู่ตลอดคืน และได้จางหายไปในเวลาประมาณ ๐๘.๐๐ น. ของวันรุ่งขึ้น [/FONT]
    [FONT=&quot]การปรากฏกายให้คนทั่วไปได้เห็นด้วยตาเนื้อในครั้งนี้ ถือเป็นเพียงอภินิหารบางส่วนของ [/FONT][FONT=&quot]“หลวงพ่อพัน” พระผู้ซึ่งได้รับการยกย่องให้เป็น “อริยสงฆ์แห่งลุ่มน้ำหลังสวน” เท่านั้น[/FONT]
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • j104.jpg
      j104.jpg
      ขนาดไฟล์:
      124.9 KB
      เปิดดู:
      3,855
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 24 กรกฎาคม 2015
  4. wichu

    wichu เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    17 ตุลาคม 2007
    โพสต์:
    897
    ค่าพลัง:
    +4,698
    [FONT=&quot]พ่อท่านเจียม อติเมโธ อริยะสงฆ์ ๑๐๕ ปี แห่งเมืองหลังสวน[/FONT]

    [FONT=&quot]พ่อท่านเจียม อติเมโธ[/FONT][FONT=&quot] เกิดที่บ้านน้ำตก เมื่อประมาณปี ๒๔๕๓ (ปลายสมัยรัชกาลที่ ๕ ต้นรัชสมัยของ รัชกาลที่ ๖)
    เป็นบุตรของ นายพรหม-นางซิ่น นาคมุสิก อาชีพเกษตรกรรม [/FONT]

    [FONT=&quot]
    ท่านอาศัยเรียนหนังสือกับพระในวัดบรรพตวิสัย (ในเขา) จนสามารถอ่านออกเขียนได้ (เทียบเคียงประมาณ ป.๕) จึงได้ออกมาช่วยบิดามารดาทำเกษตรกรรม [/FONT]

    [FONT=&quot]ท่านได้บรรพชาเป็นสามเณร ณ วัดบรรพตวิสัย (ในเขา) เมื่ออายุ ๑๘ ปี [/FONT]
    [FONT=&quot]หลังจากบรรพชาแล้วท่านได้อยู่ปรนนิบัติดูแลและเรียนวิชากับพ่อท่านพันเป็นเวลาหลายปี[/FONT]

    [FONT=&quot]ต่อมาสามเณรเจียม ก็ต้องสึกออกมาเพื่อทำหน้าที่ทางโลก ดูแลบิดามารดา[/FONT]
    [FONT=&quot]ซึ่งท่านก็ได้ดำเนินชีวิตอย่างไม่ประมาทด้วยการสร้างฐานะครอบครัว[/FONT]
    [FONT=&quot]และดำรงชีวิตอย่างมีคุณธรรม [/FONT]
    [FONT=&quot]ในยามว่างท่านได้ใช้วิชาอาคมที่ร่ำเรียนมาเพื่อสงเคราะห์คนตามความเหมาะสม[/FONT]

    [​IMG]

    [FONT=&quot]
    [/FONT]

    [FONT=&quot]ท่านได้รับการยกย่องจากชาวบ้านว่าเป็นฆราวาสเรืองอาคม เป็นที่พึ่งของชาวบ้านในท้องถิ่น โดยเฉพาะเรื่องของการช่วยเหลือผู้ตกทุกข์ได้ยากหรือเจอเหตุการณ์ร้ายๆ [/FONT]
    [FONT=&quot]ท่านก็จะยื่นมือเข้าช่วยอย่างไม่เคยเกรงกลัวอันตรายใดๆ[/FONT]

    [FONT=&quot]
    ศิษย์ที่ดูแลท่าน ได้เคยเล่าเกี่ยวกับวิชาของท่านว่า[/FONT]

    [FONT=&quot]เคยมีเพื่อนบ้านที่เดินออกหาของป่าด้วยกัน โดนช้างป่าไล่ทำร้าย[/FONT]
    [FONT=&quot]จึงวิ่งหนีขึ้นไปบนต้นไม้[/FONT]
    [FONT=&quot]
    นายเจียมเมื่อเห็นเหตุการณ์จึงกระโดดเข้าขวางและโบกมือไล่ [/FONT]

    [FONT=&quot]ไม่รู้ว่าจะเป็นด้วยคาถาอาคมหรือตบะของท่าน
    ช้างป่าตัวนั้นตกใจและหันหลังวิ่งหนีเข้าป่าไปทันที[/FONT]


    [FONT=&quot]ส่วนอีกครั้งหนึ่งคือในระหว่างที่นายเจียมกำลังหาของป่าอยู่กับเพื่อนๆ[/FONT]
    [FONT=&quot] ระหว่างที่ทุกคนแยกย้ายกันไปหาของที่ต้องการอยู่นั้น [/FONT]
    [FONT=&quot]
    ปรากฏว่าเพื่อนคนหนึ่งในกลุ่มได้เผชิญหน้ากับหมีป่า[/FONT]

    [FONT=&quot]นายเจียมได้กระโดดเข้าขวางและตวาดจนหมีป่าตัวนั้นต้องลดมือที่จ้องตะปบลง[/FONT]
    [FONT=&quot]...และหันหลังเดินจากไปในทันที...[/FONT]

    [FONT=&quot]ต่อมาเมื่อครอบครัวมีฐานะที่พอจะมั่นคงแล้ว[/FONT]
    [FONT=&quot] นายเจียมในวัย ๔๘ ปี จึงได้ตัดสินใจอุปสมบท
    ณ วัดวาลุการาม (วัดแหลมทราย) อำเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร ในวันที่ ๑ มิถุนายน ๒๕๐๑ [/FONT]

    [FONT=&quot]
    โดยมีพระครูวิเชียร ธรรมประยุต เป็นพระอุปัชฌาย์ [/FONT]

    [FONT=&quot]พระพริ้ง หิริโก เป็นพระกรรมวาจาจารย์ และเข้าจำพรรษา ณ วัดบรรพตวิสัย (วัดในเขา)[/FONT]
    [FONT=&quot]
    [/FONT]

    [FONT=&quot][​IMG] [/FONT]
    [FONT=&quot]
    [/FONT]

    [FONT=&quot]ในการบวชครั้งนี้ ท่านศึกษาทบทวนและต่อวิชากับพระอาจารย์แดง วัดในเขา
    ซึ่งเป็นศิษย์รุ่นพี่จนแตกฉานในสายวิชาของวัดในเขาอีกด้วย[/FONT]


    [FONT=&quot]ต่อมาเมื่อศึกษาจนพอใจแล้ว ท่านจึงได้ออกเดินธุดงค์แสวงหาประสบการณ์และพิจารณาข้อธรรมที่ได้ศึกษา[/FONT]

    [FONT=&quot]ท่านเองได้พูดให้กลุ่มศิษย์ที่ศรัทธาได้ฟังอยู่เสมอว่า...[/FONT]
    [FONT=&quot]“ศีล สมาธิและปัญญานี่แหละเป็นสิ่งที่ทำให้มนุษย์มีความประเสริฐมากยิ่งขึ้น”[/FONT]
    [FONT=&quot]
    มีผู้ถามว่าในวันที่หลวงปู่ได้ละสังขารไปแล้ว แนวทางคำสอนและการปฏิบัติที่หลวงปู่ได้วางไว้จะเป็นอย่างไร[/FONT]
    [FONT=&quot]?[/FONT]

    [FONT=&quot]พ่อท่านเจียมตอบ [/FONT][FONT=&quot]“ไม่เห็นจะลำบากอะไร”[/FONT]
    [FONT=&quot] “เราสร้างพระไตรปิฏกในใจของทุกคนไว้นานแล้ว ไม่ต้องอธิบายให้มากความ
    พระไตรปิฏกคือคำสอนของพระพุทธเจ้า รวมย่อลงเป็นสามประการง่ายๆ
    คือ ทำแต่ความดี ไม่ทำชั่วและรักษาจิตใจให้บริสุทธิ์ คนที่เขาได้ฟังก็บอกต่อๆ กันไป”[/FONT]

    [FONT=&quot]
    ถามว่า แล้วพวกที่ได้รับไปแล้วจะรักษาไว้ได้อย่างไร[/FONT]
    [FONT=&quot]?[/FONT]

    [FONT=&quot]พ่อท่านเจียมว่า[/FONT][FONT=&quot] “ก็ต้องมีวินัย พระวินัยของชาวบ้านก็คือศีลห้าข้อ ต้องถามตัวเองว่าเรารักษามันไว้ได้สมบูรณ์กันดีหรือยัง”[/FONT]
    [FONT=&quot]
    ท่านย้ำคำสอนเดิมๆ ที่พูดมาตลอดชีวิตของท่านคือ[/FONT]

    [FONT=&quot]“จงใช้ชีวิตอย่างมีศีลธรรม รู้จักควบคุมจิตใจตนเองและชำระจิตใจให้บริสุทธิ์ด้วยปัญญา”[/FONT]
    [FONT=&quot]
    “หัวใจสำคัญที่สุดของการรักษาศีลคืออะไร?”[/FONT]

    [FONT=&quot]เป็นคำถามของท่าน ที่มาพร้อมกับรอยยิ้มและคำเฉลย[/FONT]
    [FONT=&quot]“สิ่งสำคัญที่สุด คือ การปฏิบัติ เพราะต้องปฏิบัติไปเรื่อยๆ”[/FONT]

    [​IMG]

    งานพิธีศพของพ่อท่านเจียม จัดที่วัดในเขาและเก็บสังขารท่านไว้ที่นี่

    [FONT=&quot]
    [/FONT]

    [FONT=&quot]ปัจจุบันหลวงปู่เจียม อติเมโธ ได้ละสังขารด้วยอาการสงบเมื่อวันที่ ๑๖ ตุลาคม ๒๕๕๖ เวลา ๑๑.๑๕ น. สิริอายุ ๑๐๕ ปี พรรษา ๕๙ [/FONT]
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • j101.jpg
      j101.jpg
      ขนาดไฟล์:
      123.2 KB
      เปิดดู:
      3,556
    • j102.jpg
      j102.jpg
      ขนาดไฟล์:
      127 KB
      เปิดดู:
      3,589
    • j105.jpg
      j105.jpg
      ขนาดไฟล์:
      148 KB
      เปิดดู:
      3,537
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 24 กรกฎาคม 2015
  5. tongsongcat

    tongsongcat เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 กรกฎาคม 2014
    โพสต์:
    127
    ค่าพลัง:
    +997
    เข้ามาติดตามด้วยคนครับ เขียนต่อเรื่อยๆนะครับพ่อท่านบ้านเราทีาเก่งๆน่าจะมีอีกเยอะหลายรูปครับ เมื่อเดือนที่แล้วผมไปกราบศพพ่อท่านวงศ์และจะบูชาวัตถุมงคลบ้างปรากฏว่ายังไม่มีการจําหน่ายวัตถุมงคลผมก็แห้วตามระเบียบ ยังดีที่ขอแบ่งเหรียญหลวงปู่โลกอุดรจากชาวบ้านได้เหรียญหนึ่ง จากนั้นก็ไปวัดสระแก้ว(หนา)เจ้าอาวาสบอกว่าของหมดตั้งแต่สงกรานต์แล้วมีคนมาเหมาหมด แห้วอีกแล้วครับ
     
  6. wichu

    wichu เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    17 ตุลาคม 2007
    โพสต์:
    897
    ค่าพลัง:
    +4,698
    ขอบคุณที่ติดตามอ่านครับ

    เหรียญหลวงปู่โลกอุดร ของพ่อท่านวงศ์นี่ สุดยอดครับ
    เพราะพ่อท่านวงศ์ ได้รับการถ่ายทอดวิชา จากท่านที่ในถ้ำหลวงปู่ทีเดียว
    สร้างมา20กว่าปีแล้ว
    ผมเองหาหลายๆรอบมาก ในกุฏิพ่อท่านวงศ์ แต่ไมเห็นเลย พึ่งได้ก่อนท่านมรณภาพ

    ส่วนวัตถุมงคลพ่อท่านดำ วัดสระแก้วหนา พุทธคุณครบทุกอย่างดีมาก
    แถมราคาถูก เหรียญทองแดงรมดำก็แค่ 100 บาท
    สมเป็นพระหลักร้อย พุทธคุณหลักล้านครับ เลยมีคนตาดีเหมาหมด

    หลังจากนี้ อาจได้เล่าถึง พระอริยะสงฆ์ ที่ยังอยู่บ้างครับ
    เพื่อใครสะดวก จะได้เข้าไปกราบทำบุญกับท่านครับ

     
  7. phattharaphong

    phattharaphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 พฤศจิกายน 2010
    โพสต์:
    758
    ค่าพลัง:
    +11,460
    มาปูเสือนอนรอครับ
     
  8. wichu

    wichu เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    17 ตุลาคม 2007
    โพสต์:
    897
    ค่าพลัง:
    +4,698
    ขอบคุณที่เข้ามาติดตามครับ...
     
  9. wichu

    wichu เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    17 ตุลาคม 2007
    โพสต์:
    897
    ค่าพลัง:
    +4,698
    เรื่องเล่า ความเชื่อเรื่องรัตประคต


    [​IMG]

    เรื่องราวความเชื่อแห่งรัตประคต(รัตประคตหลวงปู่พุ่ม อายุ 113 ปี)
    คุณตาเล่าให้ฟังว่ารัตประคตแห่งพระเกจิอาจารย์ มีสรรพคุณมากมาย แต่หนึ่งในนั้น ที่ได้รับการยืนยัน
    คือ เมื่อเราโดนคุณไสย หรือเราโดนผีสิงไม่ว่าไปในป่าหรือที่ใด ถ้าเรามีเคราะห์จริงๆ
    สิ่งเหล่านั้นจะเข้าตัวเราแค่ครึ่งเดียว ไม่อาจเข้าสู่ตัวเราได้หมด
    โดยเฉพาะผีสิง ถ้าเข้าทางด้านล่างก็จะติดสะเอว สิงทางบนก็อยู่เพียงสะเอว และจะเป็นเช่นนี่ไม่ได้ถ้าเราไม่มีเคราะห์
    ปล.นี่คือความเชื่อแห่งทวดของพวกเรา โปรดใช้วิจารณญาณ ในการอ่าน ขอรับ


    เรื่องเล่าโดย ท่าน อธิวโร ภิกขุ
    จากเฟส เกียรติคุณแห่งอริยสงฆ์ฝั่งขุนเขาทิศตะวันตกและพ่อท่านสังข์ กตปุญโญ
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

  10. wichu

    wichu เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    17 ตุลาคม 2007
    โพสต์:
    897
    ค่าพลัง:
    +4,698
    [FONT=&quot]พระครูสุคนธธรรม หรือหลวงพ่อคลาย คนฺธสุธมฺโม วัดจันทราวาส อายุ ๘๔ ปี[/FONT]

    [FONT=&quot]ในวันที่ ๑๙ เมษายน ๒๕๕๗ ในพิธี ปลุกเสกวัตถุมงคลพระอาจารย์อุทัย วัดวิหารสูง และวัตถุมงคลพ่อท่านลาภ วัดเขากอบ[/FONT]
    [FONT=&quot]เพื่อนๆที่ไปร่วมพิธี ได้พูดถึงพระผู้ทรงคุณ พลังจิตและวิชาอาคมกล้าแข็ง ที่ได้ร่วมเสกในพิธี[/FONT]
    [FONT=&quot]ได้ข้อมูลแค่ รู้ว่า ชื่อ พ่อท่านคลาย อยู่วัดจันทราวาส จังหวัดสุราษฎร์ธานี[/FONT]


    [​IMG]


    [FONT=&quot]วันที่ ๒๔ เมษายน ๒๕๕๗ ผมก็ได้มีโอกาสไปกราบทำบุญ กับพ่อท่าน[/FONT]
    [FONT=&quot]พ่อท่านคลาย ท่านอารมณ์ดี เวลาพูดอะไรด้วย ท่านก็มักจะยิ้มๆ[/FONT]
    [FONT=&quot]แม้พ่อท่านเป็นพระเจ้าอาวาส แต่ท่านทำตัวเหมือนๆ กับพระลูกวัดธรรมดาๆ[/FONT]
    [FONT=&quot]ในตอนเย็น ท่านจะกวาดลานวัดด้วยตัวเอง พร้อมๆกับพระเณรอื่นๆที่วัด[/FONT]

    [FONT=&quot]แต่ในเรื่องความขลัง ความศักดิ์สิทธิ์ ของพ่อท่านเป็นที่นับถือของชาวบ้านในถิ่นอย่างสูง และตอนนี้ เริ่มกระจายไปสู่ภายนอก และในจังหวัดทางภาคใต้แล้ว[/FONT]
    [FONT=&quot]พ่อท่านเอง สืบสายวิชาอาคมจากพระเกจิแห่งสายสุราษฎร์ธานี[/FONT]

    [​IMG]



    รูปเหมือน พ่อท่านคลาย และ ครูอาจารย์ของพ่อท่าน ประดิษฐานในมณฑป หอบูรพาจารย์

    [FONT=&quot]
    [/FONT]
    [FONT=&quot]ลูกอมชานหมากพ่อท่านคลาย[/FONT]
    [FONT=&quot]ลุงที่ดูแลวัตถุมงคลของวัดเล่าว่า[/FONT]
    [FONT=&quot]พ่อท่านคลายท่านฉันหมาก แล้วอมยาเส้น ตามปกติของผู้สูงอายุในปักษ์ใต้[/FONT]
    [FONT=&quot]แล้วท่านนำชานหมาก และยาเส้นที่อมแล้ว มาปั้นเป็นเม็ดกลมๆ ไว้แจกเด็กๆ ใกล้วัด[/FONT]
    [FONT=&quot]คนแถวๆ วัด ทั้งเด็ก ทั้งผู้ใหญ่ ใครไปใครมา พ่อท่านคลายก็แจกลูกอมชานหมากนี้ให้ไป[/FONT]


    [​IMG]

    รูป ลูกอมชานหมากพ่อท่านคลาย และผ้ายันต์รอยมือ ของพ่อท่านครับ


    [FONT=&quot]แล้ว...จนวันนึง ก็เป็นเรื่องขึ้น...[/FONT]
    [FONT=&quot]เมื่อ ชาวบ้านแถววัด นำลูกอมชานหมากผสมยาเส้น ของพ่อท่านคลายไปเลี่ยมพลาสติกให้เด็กๆ ลูกหลาน ห้อยคอ[/FONT]
    [FONT=&quot]มีเด็กนักเรียน คนนึง ห้อยลูกอมพ่อท่านคลาย แล้วไปโดนหมากัด[/FONT]
    [FONT=&quot]ลุงเล่าว่า... หมาที่กัดเป็นหมาพันธ์ ฝรั่ง ตัวใหญ่มาก[/FONT]
    [FONT=&quot]หมาใหญ่ ฟัดเด็กซะเสื้อผ้าขาดวิ่นทั้งตัว...[/FONT]
    [FONT=&quot]ตอนที่พาเด็กไปส่งโรงพยาบาล คนที่พาไปก็คิดว่า คงไม่รอด ถึงรอดก็คงอาการสาหัส[/FONT]
    [FONT=&quot]เมื่อทางพยาบาลดูอาการเด็ก ถอดเสื้อผ้าที่ฉีกขาดเป็นริ้วๆ ออก ก็ตลึง...[/FONT]
    [FONT=&quot]คมเขี้ยวหมาพันธ์ฝรั่งตัวโตๆ ทำได้แค่ให้เด็กเป็นรอยขีดข่วน [/FONT]
    [FONT=&quot]เนื้อตัวของเด็กไม่มีแผลที่เลือดออกเลย [/FONT]
    [FONT=&quot]หลังจากนั้น ลูกอมพ่อท่านคลายก็ถูกเล่าขานกันไปทั่วอำเภอ [/FONT]

    [FONT=&quot]วัตถุมงคลของพ่อท่านคลาย นอกจากลูกอมแล้ว[/FONT]
    [FONT=&quot]ผ้ายันต์ ตะกรุด และเหรียญของพ่อท่าน ก็มีประสบการณ์ มากมาย[/FONT]
    [FONT=&quot]ที่เห็นชัดๆ ก็เรื่องแคล้วคลาด ปลอดภัย มหาอุดกันปืน[/FONT]

    [FONT=&quot]เพราะตอนผมไปเลือกบูชาวัตถุมงคลนั้น มีศิษย์ที่ศรัทธาพ่อท่านสร้างผ้ายันต์รอยมือรอยเท้าถวายพ่อท่าน[/FONT]
    [FONT=&quot]ลุงเล่าว่า คนที่สร้างผ้ายันต์ถวายพ่อท่าน โดนถล่มยิงมาเช่นกัน[/FONT]
    [FONT=&quot]แน่นอน... ว่าแม้รถจะมีแผลจากกระสุนที่โดนยิงฝากไว้ แต่คนในรถ..ปลอดภัย ครับ[/FONT]
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    แก้ไขครั้งล่าสุด: 8 สิงหาคม 2015
  11. wichu

    wichu เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    17 ตุลาคม 2007
    โพสต์:
    897
    ค่าพลัง:
    +4,698
    [FONT=&quot]พ่อคลาย คนฺธสุธมฺโม วัดจันทราวาส อายุ ๘๔ ปี ประวัติ[/FONT]

    [​IMG]

    [FONT=&quot]
    [/FONT]

    [FONT=&quot]พระครูสุคนธธรรม หรือหลวงพ่อคลาย คนฺธสุธมฺโม วัดจันทราวาส [/FONT]
    [FONT=&quot]นามเดิมของท่านชื่อ นายคลาย ชูชำนาญ [/FONT]
    [FONT=&quot]ท่านเกิดวันจันทร์ที่ [/FONT][FONT=&quot]12 กันยายน พ.ศ. 2474 (ขึ้น 13 ค่ำเดือน 10 ปีวอก)[/FONT]
    [FONT=&quot]ที่บ้านเลขที่ [/FONT][FONT=&quot]3 หมู่ 3 ตำบลท่าทอง อ.กาญจนดิษฐ์ จ.สุราษฎร์ธานี [/FONT]
    [FONT=&quot]ท่านเป็นลูกคนเดียว ครอบครัวมีอาชีพทำนา [/FONT]
    [FONT=&quot]เมื่อท่านเรียนจบประถม [/FONT][FONT=&quot]4 ก็ได้เข้าบรรพชาเป็นสามเณร[/FONT]
    [FONT=&quot]และได้อุปสมบทโดยหลวงพ่อเริ่ม เป็นพระอุปัชฌาย์ หลวงพ่อขาว วัดประสพ เป็นพระอนุสาวนาจารย์ และได้ให้ฉายาว่า พระคลาย คนฺธสุธมฺโม [/FONT]

    [FONT=&quot]พ่อท่านคลายได้ศึกษาวิชาอาคมจากพระอุปัฌชาย์เริ่ม เมธนีโย วัดดอนยางผู้เป็นอุปัฌชาย์ และ พระครูประจักษ์วรคุณ( หลวงพ่อขาว นีลวณโณ ) วัดประสพ ต.ท่าทอง [/FONT]
    [FONT=&quot]ในปี[/FONT][FONT=&quot]2513 ท่านได้รับนิมนต์มารักษาการแทนเจ้าอาวาสวัดจันทราวาส [/FONT]
    [FONT=&quot]และได้รับแต่งตั้งเป็น เจ้าอาวาสเมื่อ [/FONT][FONT=&quot]15 เมษายน 2515 [/FONT]

    [​IMG]

    รูปด้านซ้ายคือตะกรุดสาริกา เหรียญเจริญพร และด้านขวาเป็นตะกรุดของพ่อท่านคลาย

    [FONT=&quot]ด้วยวิชาความรู้ที่พ่อท่านคลายได้เรียนมาจาก ครูบาอาจารย์ ทำให้ท่านได้นำมาช่วยเหลือชาวบ้านในพื้นที่ [/FONT]
    [FONT=&quot]วัตถุมงคลของท่านที่โด่งดังคือ ชานหมาก โดยท่านจะปั้นเป็นลูกอมชานหมากให้ และเมื่อนำไปใช้ก็ได้ผลดีทำให้ผู้คนหลั่งไหลกันมาขอชานหมากท่านกันไม่ขาดสาย และเครื่องรางที่ท่านมืชื่อเสียง คือ ทิดหมอน และตะกรุดสาริกา ท่านจะลงอักขระเลขยันต์ตามตำราที่ได้ร่ำเรียนมาด้วยตนเองทุกดอก ในวันอังคาร พฤหัส และเสาร์ และก่อนที่จะนำไปบูชา ท่านก็จะว่าคาถาอาคมกำกับซ้ำให้แก่ศิษย์อีกครั้ง[/FONT]

    [FONT=&quot]หากท่านใดผ่านไปอำเภอกาญจนดิษฐ์ จังหวัดสุราษฎร์ธานีก็ลองแวะไปกราบท่านเพื่อความเป็นสิริมงคลแก่ตัวเอง ท่านเป็นพระที่มีเมตตามากเป็นพระดีที่น่าบูชากราบไหว้อีกองค์หนึ่งของเมืองคนดี[/FONT]

    [FONT=&quot]*** ขณะนี้ทางวัดจันทราวาสกำลังกำลังก่อสร้างอุโบสถหลังใหม่ ยังขาดปัจจัยอีกมากมาย ท่านที่มีจิตศรัทธาสามารถติดต่อทำบุญได้โดยตรงที่วัด
    หรือจะบูฃาวัตถุมงคลที่วัดก็ได้ครับ เงินทั้งหมดจะนำไปสมทบทุนในการสร้างอุโบสถหลังใหม่ครับ
    [/FONT]
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    แก้ไขครั้งล่าสุด: 8 สิงหาคม 2015
  12. wichu

    wichu เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    17 ตุลาคม 2007
    โพสต์:
    897
    ค่าพลัง:
    +4,698
    <!--[if gte mso 9]><xml> <w:WordDocument> <w:View>Normal</w:View> <w:Zoom>0</w:Zoom> <w:TrackMoves/> <w:TrackFormatting/> <w:punctuationKerning/> <w:ValidateAgainstSchemas/> <w:SaveIfXMLInvalid>false</w:SaveIfXMLInvalid> <w:IgnoreMixedContent>false</w:IgnoreMixedContent> <w:AlwaysShowPlaceholderText>false</w:AlwaysShowPlaceholderText> <w:DoNotPromoteQF/> <w:LidThemeOther>EN-US</w:LidThemeOther> <w:LidThemeAsian>X-NONE</w:LidThemeAsian> <w:LidThemeComplexScript>TH</w:LidThemeComplexScript> <w:Compatibility> <w:BreakWrappedTables/> <w:SnapToGridInCell/> <w:ApplyBreakingRules/> <w:WrapTextWithPunct/> <w:UseAsianBreakRules/> <w:DontGrowAutofit/> <w:SplitPgBreakAndParaMark/> <w:EnableOpenTypeKerning/> <w:DontFlipMirrorIndents/> <w:OverrideTableStyleHps/> </w:Compatibility> <m:mathPr> <m:mathFont m:val="Cambria Math"/> <m:brkBin m:val="before"/> <m:brkBinSub m:val="--"/> <m:smallFrac m:val="off"/> <m:dispDef/> <m:lMargin m:val="0"/> <m:rMargin m:val="0"/> <m:defJc m:val="centerGroup"/> <m:wrapIndent m:val="1440"/> <m:intLim m:val="subSup"/> <m:naryLim m:val="undOvr"/> </m:mathPr></w:WordDocument> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml> <w:LatentStyles DefLockedState="false" DefUnhideWhenUsed="true" DefSemiHidden="true" DefQFormat="false" DefPriority="99" LatentStyleCount="267"> <w:LsdException Locked="false" Priority="0" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Normal"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="heading 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 7"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 8"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 9"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 7"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 8"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 9"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="35" QFormat="true" Name="caption"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="10" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Title"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="1" Name="Default Paragraph Font"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="11" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Subtitle"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="22" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Strong"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="20" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Emphasis"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="59" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Table Grid"/> <w:LsdException Locked="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Placeholder Text"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="1" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="No Spacing"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="60" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Shading"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="61" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light List"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="62" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Grid"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="63" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="64" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="65" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="66" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="67" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="68" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="69" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="70" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Dark List"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="71" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Shading"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="72" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful List"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="73" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Grid"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="60" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Shading Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="61" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light List Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="62" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Grid Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="63" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 1 Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="64" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 2 Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="65" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 1 Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Revision"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="34" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="List Paragraph"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="29" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Quote"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="30" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Intense Quote"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="66" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 2 Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="67" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 1 Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="68" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 2 Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="69" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 3 Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="70" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Dark List Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="71" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Shading Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="72" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful List Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="73" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Grid Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="60" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Shading Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="61" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light List Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="62" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Grid Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="63" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 1 Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="64" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 2 Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="65" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 1 Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="66" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 2 Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="67" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 1 Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="68" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 2 Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="69" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 3 Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="70" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Dark List Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="71" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Shading Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="72" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful List Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="73" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Grid Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="60" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Shading Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="61" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light List Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="62" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Grid Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="63" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 1 Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="64" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 2 Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="65" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 1 Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="66" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 2 Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="67" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 1 Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="68" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 2 Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="69" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 3 Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="70" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Dark List Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="71" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Shading Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="72" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful List Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="73" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Grid Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="60" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Shading Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="61" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light List Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="62" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Grid Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="63" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 1 Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="64" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 2 Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="65" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 1 Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="66" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 2 Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="67" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 1 Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="68" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 2 Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="69" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 3 Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="70" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Dark List Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="71" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Shading Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="72" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful List Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="73" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Grid Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="60" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Shading Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="61" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light List Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="62" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Grid Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="63" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 1 Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="64" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 2 Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="65" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 1 Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="66" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 2 Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="67" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 1 Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="68" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 2 Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="69" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 3 Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="70" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Dark List Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="71" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Shading Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="72" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful List Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="73" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Grid Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="60" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Shading Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="61" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light List Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="62" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Grid Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="63" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 1 Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="64" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 2 Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="65" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 1 Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="66" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 2 Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="67" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 1 Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="68" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 2 Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="69" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 3 Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="70" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Dark List Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="71" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Shading Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="72" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful List Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="73" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Grid Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="19" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Subtle Emphasis"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="21" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Intense Emphasis"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="31" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Subtle Reference"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="32" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Intense Reference"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="33" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Book Title"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="37" Name="Bibliography"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" QFormat="true" Name="TOC Heading"/> </w:LatentStyles> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 10]> <style> /* Style Definitions */ table.MsoNormalTable {mso-style-name:ตารางปกติ; mso-tstyle-rowband-size:0; mso-tstyle-colband-size:0; mso-style-noshow:yes; mso-style-priority:99; mso-style-parent:""; mso-padding-alt:0cm 5.4pt 0cm 5.4pt; mso-para-margin-top:0cm; mso-para-margin-right:0cm; mso-para-margin-bottom:10.0pt; mso-para-margin-left:0cm; line-height:115%; mso-pagination:widow-orphan; font-size:11.0pt; mso-bidi-font-size:14.0pt; font-family:"Calibri","sans-serif"; mso-ascii-font-family:Calibri; mso-ascii-theme-font:minor-latin; mso-hansi-font-family:Calibri; mso-hansi-theme-font:minor-latin; mso-bidi-font-family:"Cordia New"; mso-bidi-theme-font:minor-bidi;} </style> <![endif]--> [FONT=&quot]วันที่ ๓๐ กรกฎาคม ๒๕๕๘[/FONT][FONT=&quot][/FONT]
    [FONT=&quot] ณ.วัดจันทาวาส พ่อท่านคลาย แจกพระชัยวัฒน์ ให้กับชาวบ้านและพี่น้องที่ไปวัด [/FONT][FONT=&quot][/FONT]
    [FONT=&quot]ผู้ได้รับพระชัยวัฒน์จากมือพ่อท่านคลายสุคนธธรรม ต่างชื่นชมยิ้มแย้มกันทั่วหน้า ครับ
    [/FONT]



    [​IMG]



    ภาพจาก เฟส ศรัทธาบารมี พ่อท่านคลาย วัดจันทราวาส
    [FONT=&quot][/FONT][FONT=&quot][/FONT]
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

  13. wichu

    wichu เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    17 ตุลาคม 2007
    โพสต์:
    897
    ค่าพลัง:
    +4,698
    [FONT=&quot]พระอุโบสถหลังใหม่วัดจันทาวาส ที่กำลังก่อสร้าง และยังขาดทุนทรัพย์อีกมาก เรียนเชิญร่วมบุญใหญ่กันได้ครับ ที่วัดจันทาวาส
    .....กราบขอพร พ่อท่านคลาย[/FONT]

    [FONT=&quot]อย่าลังเลที่จะสร้างบุญบารมี ร่วมกันครับ[/FONT]


    [FONT=&quot]พ่อท่านคลาย ท่านเป็นพระที่เคร่งอยู่ในข้อศีล พระวินัย[/FONT]
    [FONT=&quot]อยู่แบบสมถะ เรียบง่าย ใจดี[/FONT]
    [FONT=&quot]เป็นพระ ที่เหมือนพระในอดีต ปฏิบัติกิจของสงฆ์โดยครบถ้วน
    [/FONT]



    [​IMG]




    หรือ แวะเวียนไปบูชา วัตถุมงคลของพ่อท่านคลาย รายได้จากค่าบูชาวัตถุมงคลทั้งหมด จะนำไปสมทบทุนสร้าง อุโบสถวัดจันทราวาส ครับ


    [​IMG]
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

  14. wichu

    wichu เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    17 ตุลาคม 2007
    โพสต์:
    897
    ค่าพลัง:
    +4,698
    วัดควนซาง กับโบสถ์ ที่พ่อท่านเสือเล็ก หวังไว้ให้สร้างได้เสร็จ



    แม้ พ่อท่านเสือเล็ก ได้ละสังขารแล้ว
    แต่ภารกิจ งานสร้างอุโบสถ วัดควนซาง ก็ได้รับการสืบทอดต่อ โดยคณะศิษย์ผู้ศรัทธา และ ปราถานาให้ปณิธาน ของอาจารย์ได้สำเร็จ

    เพื่อให้การก่อสร้างได้มีทุนทรัพย์ดำเนินการได้ต่อเนื่อง
    ทางคณะศิษย์จึงได้จัดสร้างวัตถุมงคล เหรียญหลวงพ่อทวดด้านหลังพ่อท่านเสือเล็ก ชื่อ รุ่นเลื่อนยศ ปลดหนี้ ขึ้น เพื่อหาทุนสร้้างอุโบสถ

    [​IMG]

    ซึ่งในพิธีพุทธภิเษก เหรียญรุ่นนี้ ได้รับความเมตตาจาก พ่อท่านจวน วัดยางแดง จังหวัดปัตตานี เมตตาเสกเดี่ยวให้ในกุฏิ พ่อท่านเสือเล็กถึง ๓ วัน ๓ คืน

    และในวาระที่ ๒ ได้ครูอาจารย์มาร่วมพุทธาภิเษกอีกครั้ง ในวันที่ ๑๙ กรกฎาคม ๒๕๕๘

    และพระชุดนี้ จะออกให้บูชาได้ ในวันที่ ๒๕ สิงหาคม ๒๕๕๘

    ด้วยความตั้งใจอย่างแรงกล้า ศิษย์ที่ดูแลงานก่อสร้างถึงกับบอกกับผมว่า...
    มาบูชาเหรียญ จะให้เงินก็ได้ หรือ จะซื้อปูนซื้อทรายมาให้ก็ได้ แล้วแต่สะดวก แล้วรับเหรียญไป...
    ด้วยความหวังอยากให้ โบสถ์วัดควนซางสร้างเสร็จตามที่พ่อท่านเสือเล็ก ตั้งใจไว้...
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    แก้ไขครั้งล่าสุด: 11 สิงหาคม 2015
  15. wichu

    wichu เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    17 ตุลาคม 2007
    โพสต์:
    897
    ค่าพลัง:
    +4,698
    พ่อท่านจวน วัดยางแดง
    พระที่พ่อท่านเสือเล็กบอก "ท่านองค์นี้เสกพระได้เหมือนเราเสก"


    ผมได้พบพ่อท่านจวน วัดยางแดง ในครั้งแรก ที่วัดพระมหาธาตุ นครศรีธรรมราช
    ในวันที่ ๓๐ ธันวาคม ๒๕๕๖ ในพิธีพุทธภิเษกใหญ่
    พ่อท่านจวน เดินทางจากปัตตานี มาถึงแต่เช้า พักผ่อนอยู่ในโบสถ์ด้านหลังพระประธาน
    ผมและเพื่อนๆ ได้ทำบุญถวายพระพุทธรูป ดอกไม้ และปัจจัยกับพ่อท่าน

    [​IMG]

    ผมเองก็ไม่รู้จัก และไม่ทราบประวัติ พ่อท่านมากก่อน
    นั่งคุยๆ กัน ก็มาถึงเรื่องของพ่อท่าน กับเรื่อง "ทรายเสกอันโด่งดังสารพัดดี" ของพ่อท่าน

    ซึ่งพ่อท่านก็ได้เล่าเรื่องราวที่มาในเรื่องทรายเสก ดังนี้ครับ


    ในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนใต้เกิดเหตุร้ายขึ้นอยู่ตลอดเวลา
    และวัดยางแดง ก็เป็นเป้าหมายหนึ่งของโจรใต้
    มีชาวบ้านมาแจ้งข่าวกับท่านว่าได้ข่าวกลุ่มโจรจะมาลอบวางเพลิงเผาศาลาวัดยาง แดง
    หลังจากที่ได้ฟังท่านก็ครุ่นคิดที่จะหาวิธีป้องกัน
    พ่อท่านจวนได้หวนระลึกถึงตำรับตำราวิชาอาถรรพณ์โบราณที่ได้ศึกษาเรียนมา
    ท่านจึงนำทรายกลางลานวัดนำมาบริกรรมคาถาอาคมตามที่ครูบาอาจารย์ได้ถ่ายทอดให้
    แล้วจึงนำไปหว่านโรยรอบอาณาบริเวณวัด

    และแล้วในเช้าวันหนึ่งเจ้าหน้าที่ ตำรวจ ทหารจำนวนมาก พากันเดินทางมาหาท่าน แจ้งข่าวให้ท่านได้ทราบว่า
    เมื่อช่วงกลางคืนที่ผ่านมาได้ควบคุมตัวผู้ต้องสงสัยได้ที่บริเวณฐานปฏิบัติ การหน้าวัด
    เนื่องมาจากผู้ต้องสงสัยเข้าไปถามเจ้าหน้าที่ว่าวัดยางแดงอยู่ตรงไหน ผมหาไม่เจอทั้งๆที่ผมมาดูทำเลที่ตั้งทางเข้าออกวัดไว้หลายวันแล้ว
    ผู้ต้องสงสัยก็ได้กล่าวยอมรับว่ามาดูลู่ทางไว้หลายวันแล้วเพื่อที่จะมาก่อ เหตุเผาศาลาวัดยางแดง เพื่อนำผลงานไปขอเงินสนับสนุนจากกลุ่มต่อไป

    ในทุกวันนี้มีผู้คนที่เดินทางไปกราบขอทรายเสกของท่านมาบูชาเพื่อค้าขายและคุ้มครอง ป้องกันบ้านเรือน
    โดยท่านจะนำทรายกลางลานวัดมาอธิษฐานจิตภาวนาก่อนที่จะตั้งไว้ที่หน้าหิ้งบูชาพระ
    ใครต้องการจะนำไปบูชาก็สามารถตักใส่ถุงไปได้เลย
    ก่อนที่ท่านจะมอบให้ท่านจะ สอบถามว่าต้องการนำไปบูชาทางด้านใด
    ซึ่งท่านก็จะเมตตาแนะนำวิธีการใช้ซึ่งแตกต่างกันไปในด้าน
    ทั้งในเรื่องค้าขายเรียกคน เมตตามหานิยมหรือป้องกันภยันอันตราย
    โดยที่ท่านไม่เคยเรียกร้องปัจจัยใดๆทั้งสิ้น
    หากใครจะร่วมทำบุญกับท่านก็ใส่ลงในตู้บริจาค เพื่อบำรุงวัดได้ตามศรัทธา
    ซึ่งปัจจัยเหล่านั้นท่านก็จะนำไปบูรณะปฏิสังขรณ์เสนาสนะต่างๆของวัดสืบต่อไป

    ทุกวันนี้ทรายเสกพ่อท่าน มีชื่อเสียงโด่งดังไปทั่วก่อเกิดประสบการณ์ต่างๆมากมาย
    ทรายเสกเป็นอีกสิ่งที่ทุกคนต้องนำกลับไปบูชา นอกจากพุทธศาสนิกชนชาวพุทธแล้ว
    พี่น้องต่างศาสนาในสามจังหวัดชายแดนใต้ ยังต้องแวะเวียนมากันอยู่เป็นประจำเพื่อขอรับทรายเสก
    ซึ่งเป็นที่เลื่องลือในหมู่พ่อค้า แม้ค้า ว่าใครมีทรายเสกของท่านจะซื้อง่ายขายคล่อง
    และทุกคนที่มาแม้จะต่างศาสนาแต่ทุกคนจะได้รับความเมตตาจากท่านเท่าเทียมกัน ไม่มีชั้นวรรณะใดมากีดกั้นซึ่งความรักและศรัทธาที่ทุกคนมีต่อท่าน
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    แก้ไขครั้งล่าสุด: 10 สิงหาคม 2015
  16. wichu

    wichu เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    17 ตุลาคม 2007
    โพสต์:
    897
    ค่าพลัง:
    +4,698
    เหรียญหลวงพ่อทวดด้านหลังพ่อท่านเสือเล็ก
    กับการอธิษฐานจิตโดย พ่อท่านจวน วัดยางแดง


    ในพิธีพุทธาภิเษก ที่วัดพะโค๊ะ ซึ่ง พ่อท่านเสือเล็ก ได้ร่วมปลุกเสกด้วย
    หลังเสร็จพิธี พ่อท่านเสือเล็ก ได้บอกกับลูกศิษย์ที่ติดตามไปว่า...
    " พ่อท่านองค์นั่น เสกพระได้เหมือนเราเสก"
    ครับ ไม่ใช่ใครอื่น พระที่พ่อท่านเสือเล็กพูดถึงก็คือ พ่อท่านจวน อภิวฑฺฒโน
    สมภารแห่ง วัดยางแดง ดินแดนปัตตานี พื้นที่อันตรายแห่งชายแดนใต้นั่นเอง

    [​IMG]

    รูปพ่อท่านจวน ปลุกเสกเดี่ยว ในกุฏิพ่อท่านเสือเล็ก ๓ วัน ๓ คืน เสกเต็มกำลัง ตั้งธาตุ หนุนธาตุ เรียกรูปเรียกนาม และวิชาสายหลวงพ่อทวดแบบต้นตำรับที่ได้เล่าเรียนมาจาก พระอาจารย์ทิม วัดช้างให้

    พ่อท่านจวน ได้อธิฐานจิตปลุกเสกเดี่ยว
    ในกุฎิพ่อท่านเสือเล็ก วัตถุมงคล รุ่น เลื่อนยศ ปลดหนี้
    ซึ่งปลุกเสก วาระที่1 ปลุก 3 วัน 3 คืน ในกุฏิพ่อท่านเสือเล็ก เริ่มตั้งแต่ วันที่ ๑๗ กรกฎาคม ๒๕๕๘

    [​IMG]

    และในวาระที่ ๒ วันที่ ๑๙ กรกฏาคม ๒๕๕๘
    โดยมีพระเกจิ ในพิธีดังนี้
    ๑.พระครูสถิตนิคมธรรม พ่อท่านจวน วัดนิคมสถิต (ยางเเดง) ปัตตานี จุดเทียนชัย
    ๒.พระครูสถิตธิรธรรม เจ้าคณะตำบลยะหา วัดยะหาประชาธรรม ยะลา
    ๓.พระครูไพศาลขันตยาทร วัดมัชฌิมาวาส อ.ยะหยิ่ง ปัตตานี
    ๔.พระมหาภูษิต ฐิตสิริ วัดพรุตู อ.เทพา จ. สงขลา(ศิษย์พ่อท่านเขียว วัดห้วยเงาะ)
    ๕.พระครูพิศาล เขตคณารักษ์ อดีตเจ้าคณะอำเภอทุ่งใหญ่ วัดขนาน (ศิษย์สายพ่อท่านเเดง วัดภูเขาหลัก )
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    แก้ไขครั้งล่าสุด: 11 สิงหาคม 2015
  17. wichu

    wichu เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    17 ตุลาคม 2007
    โพสต์:
    897
    ค่าพลัง:
    +4,698
    พ่อท่านจวน อภิวฑฺฒโน
    'พระผู้เป็นตำนานทรายเสกสุดขลัง ชายแดนใต้

    พ่อท่านจวน อภิวฑฺฒโน เดิมชื่อ “จวน มุสิกวรรณ”
    เกิดเมื่อวันที่ ๕ มกราคม ๒๔๗๒ ที่บ้าน ต.บ้านกล้วย อ.โคกโพธิ์ จ.ปัตตานี (ปัจจุบันเปลี่ยนเป็น ต.นาประดู่)
    พ่อท่านจวนมีโอกาสได้เรียนหนังสือเพียงแค่ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔
    แล้วก็ออกมาช่วยบิดามารดาทำไร่ไถนา
    เมื่ออายุครบ ๑๙ ปี ได้บรรพชาเป็นสามเณร
    อายุครบ ๒o ปี จึงได้รับการอุปสมบทเป็นพระภิกษุ เมื่อวันที่ ๘ มิถุนายน ๒๔๙๒
    ณ พัทธสีมาวัดยางแดง โดยมี พระอธิการเซี่ยง เป็นพระอุปัชฌาย์
    พระอธิการทิม (พระครูวิสัยโสภณ) วัดช้างให้ เป็นพระกรรมวาจาจารย์
    และพระสมุห์สถิต เป็นพระอนุสาวนาจารย์ ได้รับฉายาว่า “อภิวฑฺฒโน"

    หลังจากอุปสมบทแล้ว พ่อท่านจวน อยู่จำพรรษา ณ วัดยางแดง
    และได้ไปมาหาสู่กับพระอาจารย์ทิม วัดช้างให้ เพื่อร่ำเรียนศึกษาวิชาอาคมจากพระอาจารย์ทิม
    วิชาหนึ่งที่พ่อท่านจวนได้ศึกษาจากพระอาจารย์ทิม
    และได้นำมาใช้อยู่เป็นประจำ คือ วิชา “เสกทราย” เพื่อใช้ปัดเป่าทุกข์แก่ชาวบ้านที่ได้รับความเดือดร้อน ทั้งด้านการค้าขาย และใช้ติดตัวไว้ป้องกันภัย
    พ่อท่านได้หมั่นศึกษาเล่าเรียนประพฤติปฏิบัติตามแนวทางของพระธรรมวินัยอย่างเคร่งครัด
    และยังได้ศึกษาจากตำราและเวทมนต์คาถาต่างๆ ของสมัยโบราณที่ตกทอดกันมาจากอดีตเจ้าอาวาสวัดยางแดง

    พ่อท่านจวนมีโอกาสได้เรียนรู้วิชาอาคมจาก “พ่อท่านเกื้อ” ซึ่งได้มาอยู่ที่วัดยางแดง
    และพ่อท่านเกื้อท่านเป็นศิษย์ผู้สืบทอดวิชาจาก “หลวงพ่อพัฒน์ นารโท” วัดพัฒนาราม ผู้เป็นพระเกจิองค์สำคัญ และอยู่อันดับต้นๆ ของจังหวัดสุราษฎร์ธานี


    ในครั้งที่พระอาจารย์ทิม วัดช้างให้ ได้จัดสร้างพระหลวงพ่อทวด เนื้อว่าน รุ่นแรก
    เมื่อปี ๒๔๙๗ “พ่อท่านจวน” ก็ได้ร่วมในการประกอบพิธีเจริญพระพุทธมนต์
    อธิษฐานจิตเจริญภาวนาในวัตถุมงคลหลวงพ่อทวด ปี ๒๔๙๗ อีกด้วย
    และตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา ทุกครั้งที่มีการปลุกเสกพระหลวงพ่อทวดของวัดช้างให้
    พ่อท่านจวนจะร่วมอยู่ในพิธีทุกครั้ง รวมทั้งพระหลวงพ่อทวด ที่สร้างจากวัดทรายขาวอีกด้วย



    พ่อท่านจวนมีความโดดเด่นมากทางด้านวิชาอาคม “เสกทราย”
    สำหรับการค้าขาย ร้านค้าที่ทำการค้าไม่ค่อยคล่องนัก มักจะมาขอให้ท่าน “เสกทราย” ให้
    เพื่อนำไปหว่านหน้าร้าน ทำให้ค้าขายดีขึ้น ส่วนใหญ่ต่างเห็นผลมาแล้ว
    หรือนำไปหว่านรอบบ้านเพื่อป้องกันภัยจากสิ่งไม่ดีทั้งหลาย จนเป็นที่เลื่องลือกันมาก
    ชาวบ้านต่างขนานนามท่านว่า “พระผู้เสกทรายสร้างวัด” ชื่อเสียงของท่านโด่งดังไปถึงประเทศเพื่อนบ้าน เช่น ชาวจีนใน สิงคโปร์ และมาเลเซีย

    ขณะเดียวกันช่วงที่มีเหตุการณ์ความไม่สงบใน ๓ จังหวัดชายแดนใต้
    ชาวบ้านในพื้นที่มาขอ “ทรายเสก” จากท่านเพื่อไว้ใช้ติดตัวป้องกันภัยอันตรายต่างๆ เป็นประจำ
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 11 สิงหาคม 2015
  18. wichu

    wichu เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    17 ตุลาคม 2007
    โพสต์:
    897
    ค่าพลัง:
    +4,698
    พ่อท่านสงวน อธิจิตโต แห่งสำนักสงฆ์ลานเสือ จังหวัดสตูล
    ผู้มาสืบสานความตั้งใจสร้างโบสถ์ ให้กับพ่อท่านเสือเล็ก ที่วัดควนซาง


    [​IMG]

    วัดควนซางในวันที่ขาดศูนย์รวมจิตใจ ขาดพ่อท่านเสือเล็ก หิรัญโญ
    แน่นอนวัดควนซางเงียบเหงาไปตามธรรมดา...

    แต่ด้วยความตั้งใจของศิษย์ที่เคารพ ศรัทธา พ่อท่านเสือเล็ก
    และอยากสืบทอดเจตนารมณ์ของพ่อท่านเสือเล็กในการสร้างโบสถ์ให้เสร็จ...

    จึงได้นิมนต์ พ่อท่านสงวน อธิจิตโต แห่งสำนักสงฆ์ลานเสือ แห่งจังหวัดสตูล มาอยู่เป็นศูนย์รวมจิตใจให้กับศิษยานุศิษย์ ได้พึ่งพิง ทั้งทางจิตใจ ทางพุทธาคมไสยเวท

    [​IMG]

    พ่อท่านสงวน ท่านเป็นศิษย์สายวัดเขาอ้อ
    สืบทอดวิชามาจาก พระอาจารย์ปาล ปาลธัมโม โดยตรง

    ที่แดนแห่งชุมชนอิสลาม จังหวัดสตูล
    พ่อท่านสงวนเป็นที่พึ่งทั้งของชาวพุทธ อิสลาม
    ทุกๆคนเข้ามาขอพึ่งบารมีพ่อท่าน ทั้งเรื่องรักษาโรค รักษาคุณไสยมนต์ดำ
    การตรวจดวงชะตา และแก้เคราะห์แก้ดวงชะตาตกต่ำ ตามหลักแห่งสายวิชาเขาอ้อ
    อีกทั้ง วัตถุมงคลเข้มขลัง ตะกรุดแต่ละดอกที่ร้อยเรียงในสายตะกรุด๙ดอกคาดเอว กันมีด กันปืน กันสิ่งต่างๆ ในแต่ละดอก แต่ละชนิด แบบเข้มขลัง

    เมื่อมาอยู่ที่วัดควนซาง พ่อท่านสงวนก็เมตตาเป็นที่พึ่งของทุกคนที่เข้าไปขอพึ่งบารมีท่าน

    เมื่อมาถึง ท่านก็เมตตา อธิษฐานจิต เสกเดี่ยว วัตถุมงคล รุ่นเลื่อนยศปลดหนี้ เพื่อช่วยสร้างโบสถ์

    [​IMG]

    และยังมอบเงินให้ศิษย์ รวมกับเงินที่หลายท่านร่วมทำบุญ ซื้อปูนซิเมนต์ให้กับวัดเพื่อร่วมสร้างโบสถ์

    [​IMG]

    ตอนนี้ พ่อท่านมาอยู่วัดควนซาง คณะศิษย์และผู้ที่นิยมของขลัง ต่างเข้ามาพึ่งพึงท่านไม่ขาดสาย
    ไม่ว่าจะหาวัตถุมงคลเข้มขลัง ทั้งเรื่องค้าขาย โชคลาภ กันมีด กันปืน แคล้วคลาคปลอดภัย มหาอุด
    หรือมาดูดวง สะเดาะห์เคราะห์ แก้ไขดวงชะตา

    เป็นความหวังที่โบสถ์วัดควนซางจะได้สร้างเสร็จในเวลารวดเร็วนี้
    ใครสะดวก ก็เชิญเดินทางไปวัดควนซางนะครับ ได้ทั้งบุญ ได้ทั้งความสบายใจ และวัตถุมงคลสุดเข้มขลัง
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    แก้ไขครั้งล่าสุด: 11 สิงหาคม 2015
  19. wichu

    wichu เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    17 ตุลาคม 2007
    โพสต์:
    897
    ค่าพลัง:
    +4,698
    พ่อท่านสงวน อธิจิตโต แห่งสำนักสงฆ์ลานเสือ จังหวัดสตูล

    “พ่อท่านสงวน อธิจิตโต” เป็นพระเกจิอาจารย์สายเขาอ้อ
    ด้วยเรื่องประสบการณ์ในวัตถุมงคลของท่าน
    ทำให้พ่อท่านสงวนเริ่มมีชื่อเสียงขึ้นมาอย่างเงียบๆ ในพื้นที่และค่อยๆ ขยายวงออกสู่ภายนอก
    ในยามที่พ่อท่านอยู่ สำนักสงฆ์ลานเสือ จังหวัดสตูล
    วัตถุมงคลของท่านจำพวก ตะกรุด/สังวาล มีประสบการณ์ ถ้าเป็นตำรวจ-ทหาร ก็มักจะมากราบขอของดี
    ส่วนชาวบ้านต่างศาสนา ทั้งคริสต์ อิสลาม ก็มาขอของดี หรือมาให้ท่านรักษาโรค

    ในช่วงที่พ่อท่านอยู่สำนักสงฆ์ลานเสือ จังหวัดสตูล
    ท่านก็จัดหายาสมุนไพรให้กับชาวบ้านทั้งชาวพุทธ อิสลาม และชาวคริสต์ในพื้นที่ เพื่อมอบนำไปใช้รักษาโรคอาการเจ็บป่วยต่างๆ
    โดยท่านจะมีรากไม้กิ่งไม้สารพัดชนิดที่ท่านต้องออกหาในป่าด้วยตัวเอง
    เมื่อจัดยาให้ ท่านก็จะอธิบายสรรพคุณและวิธีการใช้เพื่อได้นำไปรักษาได้ถูกต้อง

    ปัจจุบันท่านได้รับนิมนต์ให้มาช่วยเป็นศูนย์รวมใจให้กับคณะศิษย์ของพ่อท่านเสือเล็กเพื่อช่วยพัฒนางานก่อสร้างโบสถ์วัดควนซางให้แล้วเสร็จ
    และมาเป็นที่พึ่งทางจิตใจ ให้เหล่าศิษย์ที่รู้ข่าวได้เข้าไปขอเมตตาจากท่านเช่นเดิม

    พ่อท่านเกิดวันอาทิตย์ เดือนสิบสอง(พฤศจิกายน) พ.ศ. ๒๔๗๘
    ที่บ้านคอกวัว ตำบลชัยบุรี อำเภอเมือง จังหวัดพัทลุง

    ผมได้กราบทำบุญกับพ่อท่านครั้งแรก ที่ วัดควนซางจังหวัดตรัง
    ท่านเมตตาเล่าถึงชีวิตในวัยเด็ก ซึ่งก็อยู่ในอาณาเขตที่ไม่ไกลนักกับวัดเขาอ้อ
    ท่านว่า อายุ ๖ ปี สมัยนั้นยังไม่ได้นุ่งผ้า เค้าก็ชวนไปกินเหนียว แช่ว่าน ที่เขาอ้อแล้ว
    ในตอนนั้น ตรงกับยุคที่ประอาจารย์ปาล ปาลธัมโม เป็นสมภารแห่งเขาอ้อ

    ในช่วงวัยเด็ก ท่านก็คลุกคลีอยู่กับคาถาอาคม จะกินก็ต้องเสก จะนอนก็ต้องเสก
    จนเมื่ออายุได้ ๑๕ ปี ท่านจึงได้เรียนวิชาอาคมกับคุณตาของท่าน
    คือ “พ่อเฒ่าหมวก” ฆราวาสจอมอาคมศิษย์เขาอ้อ ซึ่งได้รับวิชาอาคมมาจากพระอาจารย์ปาลอีกที

    ซึ่งสมัยนั้น “พ่อเฒ่าหมวก” ถือเป็นอาจารย์ฆราวาสที่มีชื่อเสียงของบ้านคอกวัว
    ไม่ว่าผีจะเข้า เจ้าจะสิง ลมเพลมพัด เขียนยันต์ จารตะกรุด รักษาโรค ฯลฯ
    ต่างต้องมาขอรักษาที่บ้านของพ่อเฒ่าหมวกทั้งนั้น

    ช่วงนั้นพ่อเฒ่าหมวกได้สอนและให้ท่านช่วยเป็นลูกมือ
    ทำให้ท่านสามารถได้เรียนและฝึกใช้วิชาอาคมต่างๆ ได้อย่างชำนาญ
    ทั้งเรื่องการเสก การเป่า ร่วมไปถึงการศึกษาในเรื่องเรื่องของว่ายาแผนโบราณ

    พ่อท่านเคยพูดถึงเรื่องการเรียนอาคมไว้กับศิษย์ที่ถามว่า
    “คาถาอาคมก็เหมือนปลูกต้นไม้ แรกๆ ก็ทำอย่างงูๆ ปลาๆ
    พอได้มาศึกษาอย่างจริงๆ จังๆ ถึงได้รู้ว่ามันมีขั้นตอน
    ต้องหาเกสร ต้องหัดพยายามเพาะเมล็ด
    ถ้าเราเพาะได้เท่ากับเราขยายพันธุ์ได้ “

    พ่อท่านสงวน อุปสมบทเมื่ออายุได้ ๒๒ ปี ณ วัดคอกวัว
    โดยมี พระครูพิพัฒน์สิริธร (พ่อท่านคง สิริมโต) เจ้าอาวาสวัดบ้านสวน เป็นพระอุปัชฌาย์
    พระสมุห์เหลือ วัดคอกวัว เป็นพระกรรมวาจาจารย์
    และ พระครูธรรมคุณาธร (พ่อท่านระแบบ สิริปุณโณ) วัดป่าบอนต่ำ เป็นพระอนุสาวนาจารย์
    โดยท่านได้จำพรรษา ณ วัดคอกวัว

    เมื่อบวชแล้ว ท่านได้เข้าอุปฐากและเรียนวิชากับพระสมุห์เหลือ
    และเมื่อมีเวลาว่างท่านก็จะเดินทางไปเรียนวิชาเพิ่มเติมจากบรรดาศิษย์สายเขาอ้อ
    เช่น พ่อท่านคง วัดบ้านสวน พ่อท่านระแบบ วัดป่าบอนต่ำ
    ซึ่งทำให้ท่านสามารถสืบต่อวิชาหลักในสายเขาอ้อประเภท กินเหนียว กินมัน แช่ว่าน

    พ่อท่านสงวนตื่นตอนตีสี่ สวดมนต์ไหว้พระทำวัตรเช้า นั่งสมาธิ หกโมงก็ออกเดินบาตร

    ท่านเคยพูดเรื่องวิชาอาคมที่ได้เรียนมาว่า
    “ทุกวันนี้เอาหมดแหละ สะเดาะเคราะห์ ดูดวง รักษาโรค จารตะกรุด เขียนผ้ายันต์ คือของพวกนี้มันเรียนมาแล้ว มันต้องใช้ ถ้าไม่ใช้เขาเรียกว่ามันเป็นหมัน”

    “ถึงแม้ไม่ใช้กิจของพระ แต่มันเป็นเรื่องที่ถูกใจ ถูกอัธยาศัยของทุกคน
    มันมาอยู่ตรงจุดนี้มันต้องทำ ต้องสงเคราะห์กันไป อย่าลืมว่าเขามาหาเรา
    เพราะเขาเห็นว่าเราพอจะเป็นที่พึ่งของเขาได้”

    นอกจากกิจของสงฆ์ที่ต้องปฏิบัติแล้ว พ่อท่านสงวนยังคงเดินออกหาว่าน
    หาสมุนไพรไปในป่าในเขา เพื่อนำมาทำยารักษาโรค
    และมีคนจำนวนมากที่มาขอให้ท่าน ดูดวง ตรวจชะตาชีวิต
    ยามว่างก็นั่งทำตะกรุด ที่เกิดจากการเขียนการถักด้วยตัวของท่านเอง
     
  20. wichu

    wichu เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    17 ตุลาคม 2007
    โพสต์:
    897
    ค่าพลัง:
    +4,698
    พ่อท่านสงวน อธิจิตโต ที่วัดควนซาง

    ผมเองอยากได้กราบพ่อท่านสงวนมานานแล้ว
    เมื่อได้ข่าวว่าพ่อท่านสงวนมาอยู่จำพรรษาที่วัดควรซางเพื่อช่วยงานสร้างโบสถ์
    จึงได้รีบไปกราบทำบุญกับท่าน

    แม้จะมาอยู่วัดควนซาง แต่พ่อท่านสงวนก็มีกิจที่ต้องทำให้กับบรรดาศิษย์ที่ศรัทธาไม่ขาด
    ในแต่ละวันท่านต้องนั่งจารตะกรุด ลงยันต์ ทำสายเชือกคาดเอวตะกรุด๙ดอก

    นอกจากนั้น ก็มีวัตถุมงคลบางส่วนที่ศิษย์ได้สร้างถวายตั้งแต่ตอนอยู่ที่สลูล

    พระขุนแผนแสนฤทธิ์ ที่มีประการณ์มากมาย ก็พอมีเหลืออยู่บ้างแม้ไม่มาก

    [​IMG]

    เหรียญหล่อหน้าเสือ ซึ่งพ่อท่านบอกว่า แขวนแล้วมีตบะ เดชะ คนเกรงขาม

    [​IMG]

    สายคาดเอวตะกรุด๙ดอก ที่มีคนมาจองคิดขอบูชาอยู่มากมาย จนท่านทำแทบไม่ทัน
    ลูกศิษย์ที่เป็นทหารตำรวจ ฯลฯ ต่างมีประสบการณ์บอกเล่าต่อกันมาจนเป็นที่ต้องการตลอดต่อเนื่อง


    [​IMG]

    ตะกรุดทุกดอก เชือกทุกเส้น ท่านจารเอง ถักเอง เสกเอง
    ในวันแรกที่คาดตะกรุด ต้องดูวันที่ดีสำหรับวันเกิดด้วย
    พร้อม คาถาบูชาตะกรุด๙ดอก ก่อนคาด ระหว่างคาดสาย และตั้งจิตเมื่อคาด โดยตะกรุดแต่ละดอกจะลงตัวอักขระอาคมพร้อมเสกดังนี้
    ดอกที่ ๑.กันอันตราย
    ๒.กันปืน ๓.กันของมีคม ๔.มหาอุด
    ๕.กันไข้เจ็บป่วยไร้สาเหตุ ๖.กันภูตผีปีศาจ ๗.กันเสนียดจัญไร
    ๘.คงกระพันชาตรี ๙.เมตตามหานิยม

    คาถาบูชาตะกรุด๙ดอก
    สวดนะโม 3 จบ
    นึกอาราทนา พุทธังอาราธนานัง ธรรมมังอาราธนานัง สังฆังอาราธนานัง
    ผูกสายคาดตะกรุด ว่า พุทธังรัตติ ธัมมังรัตติ สังฆังรัตติ
    แล้วเอามือจับตะกรุดที่สะดือ ว่า พุทธังประสิทธิเม ธัมมังประสิทธิเม สังฆังประสิทธิเม


    นอกจากวัตถุมงคลในสายบู๊ ที่ป้องกันภัย มหาอุด แคล้วคลาด ให้ปลอดภัยแล้ว
    ยังมีตะกรุดมหาลาภ ใช้ในทางค้าขายดี ให้เป็นที่รักใคร่นิยมก็ได้

    [​IMG]

    วัตถุมงคลทุกชิ้น พ่อท่านจะจารอักขระตัวคาถาเพิ่มและมนต์ให้อีกครั้ง
    หรือจะขอให้พ่อท่านลงยันต์เมตตา มหานิยม ให้ผู้คนรักใคร่ ที่หน้าผาก ที่กระหม่อม (เขียนด้วยปากกา ไม่ต้องให้ติดหมึก)

    [​IMG]

    ใครสะดวก ก็ขอเชิญไปกราบทำบุญได้ที่วัดควนซางครับ
    ได้ทั้งของดี ได้ทั้งบุญใหญ่ ร่วมสร้างโบสถ์วัดควนซางด้วยกันครับ
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    แก้ไขครั้งล่าสุด: 11 สิงหาคม 2015

แชร์หน้านี้

Loading...