ศิลปวัฒนธรรมพาไปรู้จักวิษณุกรรม

ในห้อง 'วิทยาศาสตร์ทางจิต - ลึกลับ' ตั้งกระทู้โดย NoOTa, 27 เมษายน 2008.

  1. NoOTa

    NoOTa Super Moderator ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 มิถุนายน 2005
    โพสต์:
    20,125
    กระทู้เรื่องเด่น:
    349
    ค่าพลัง:
    +64,494
    <TABLE id=Table1 cellSpacing=0 cellPadding=0 width=550 border=0><TBODY><TR><TD style="BORDER-BOTTOM: 1px solid" colSpan=2>ศิลปวัฒนธรรมพาไปรู้จักวิษณุกรรม


    </TD></TR><TR><TD colSpan=2>ข่าววันที่ 27 เมษายน 2551 แหล่งข่าวจาก สยามรัฐ

    </TD></TR><TR><TD colSpan=2></TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle colSpan=2>[​IMG]</TD></TR><TR><TD vAlign=top colSpan=2><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD style="BORDER-BOTTOM: 1px solid">

    พระวิษณุกรรม
    เทพแห่งศิลปกรรม<O:p</O:p

    <O:p
    พฤหัสบดีเดือนที่แล้ว ส่วนจะเป็นสัปดาห์ไหนนั้นอย่าไปสนใจ ไปสำนักช่างสิบหมู่ กรมศิลปากร ตั้งอยู่ที่พุทธมณฑลสาย 5 อำเภอศาลายา จังหวัดนครปฐม มีพิธีไหว้ครูช่างประจำปี ครูประจำช่างสิบหมู่คือ “พระวิษณุกรรม” เทพผู้ประสิทธิประสาทศิลปกรรมช่างทุกแขนง ตั้งแต่ช่างปั้น ช่างโลหะ ช่างประติมากรรม ช่างลงรัก ช่างก่อสร้างก็ใช่ เป็นต้น<O:p></O:p>
    พิธีไหว้ครูช่างของสำนักช่างสิบหมู่นี้ถือเป็นประจำปี ที่ช่างหลวงจะต้องมาพร้อมหน้าพร้อมตากัน ทั้งในปัจจุบันและศิษย์เก่าที่ยังมีลมหายใจเคยรับใช้ แต่ได้ออกไปประกอบวิชาชีพช่างข้างนอกก็มาร่วมพิธีในวันนี้ ยกเว้นบางท่านที่ติดภารกิจจนหลีกเลี่ยงไม่ได้<O:p</O:p
    ปีนี้พิธีไหว้ครูช่างจัดเร็วขึ้น ตามปกติของทุกปีจะจัดไหว้ครูในช่วงเดือนพฤษภาคม แต่ที่ร่นวันเดือนให้เร็วขึ้น เนื่องจากช่างสิบหมู่มีภารกิจสำคัญหนึ่งคือการจัดสร้างเทวดา สัตว์หิมพานต์ประดับพระเมรุ สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ <O:p</O:p
    ลูกศิษย์ของพระวิษณุกรรมที่คุ้นหน้าคุ้นตา มีท่านสิริชัยชาญ ฟักจำรูญ อดีตอธิบดีกรมศิลปากร นาย<?xml:namespace prefix = st1 ns = "urn:schemas-microsoft-com[​IMG]เกรียงไกร สัมปปัชชลิต</st1:personName> อธิบดีกรมศิลปากรปัจจุบัน นาย<st1:personName w:st="on" ProductID="ไพบูลย์ ผลมาก">ไพบูลย์ ผลมาก</st1:personName> ผู้อำนวยการสำนักสถาปัตยกรรม นาย<st1:personName w:st="on" ProductID="ธนชัย สุวรรณวัฒนะ">ธนชัย สุวรรณวัฒนะ</st1:personName> ผอ.สำ นักช่างสิบหมู่ สำหรับผู้เป็นประธานพิธีไหว้ครู และเป็นตัวแทนลงองค์พระวิษณุ กรรม น.อ.<st1:personName w:st="on" ProductID="อาวุธ เงินชูกลิ่น">อาวุธ เงินชูกลิ่น</st1:personName> อดีตอธิบดีกรมศิลปากร ประธานคณะทำงานออกแบบพระเมรุ<O:p></O:p>
    การไหว้ครูช่างสิบหมู่ เป็นไปตามแบบแผนพิธีกรรมศาสนาพุทธ ทำบุญ บำเพ็ญกุศล กรวดน้ำอุทิศให้กับครูบาอาจารย์และผู้มีพระคุณที่ล่วงลับไปแล้ว ด้านพิธีพราหมณ์หรือศาสนาฮินดู จัดเครื่องเซ่นไหว้บวง สรวงองค์พระวิษณุกรรม<O:p</O:p
    ทำไมผู้เป็นช่าง จึงต้องไหว้พระวิษณุกรรม เทพแห่งศิลปกรรมช่าง หนึ่งใน 3 เทพสำคัญของฮินดู พระพรหม และพระศิวะ เท่าที่พอจะสืบค้นตำนานฮินดูและสดับรับฟังผู้รู้มาบ้าง ว่าครั้งหนึ่งธิดาของพระวิษณุกรรมนาม สัญชญา ซึ่งเป็นชายาของพระอาทิตย์ บ่นผู้เป็นพ่อฟังว่า พระอาทิตย์สามีของตนนั้นช่างร้อนแรงเหลือคณานับ เข้าใกล้ไม่ค่อยได้ ผู้เป็นพ่อบังเกิดสงสารลูกสาวจึงช่วยเหลือโดยการไปขูดผิวพระอาทิตย์ออกเสียบางส่วน ทำให้ความร้อนแรงนั้นทุเลาลงไปบ้าง <O:p</O:p
    แล้วนำผิวพระอาทิตย์อันมีรัศมีเจิดจ้าที่ขูดออกมาได้นั้น นำไปรังสรรค์ปั้นแต่ง แล้วถวายให้เป็นอาวุธทรงอานุภาพ และมีประกายแวววาวแก่เทพองค์สำคัญของสวรรค์ชั้นฟ้า ได้แก่ อาวุธ "ตรีศูล" (สามง่าม) ของพระอิศวร "จักราวุธ" (กงจักร) ของพระนารายณ์ "วชิราวุธ" (สายฟ้า)<SUP>[๒]</SUP> ของพระอินทร์ "คทาวุธ" (กระบอง) ของท้าวกุเวร และ "โตมราวุธ" (หอก) ของพระขันทกุมาร เป็นต้น<O:p></O:p>
    ตำนานเล่าว่าพระวิษณุกรรม เป็นผู้สร้างกรุงลงกาให้แก่ทศกัณฐ์ ในเรื่องมหากาพย์รามายณะ สร้างกรุงทวารกาให้แก่พระกฤษณะ(อวตารปางหนึ่งของพระนารายณ์)ในเรื่องมหากาพย์มหาภารตะ สร้างวิมานให้ แก่พระวรุณ(เทพแห่งน้ำ) และพระยม(เทพแห่งความตาย) สร้างราชรถบุษบกเป็นพาหนะให้แก่ท้าวกุเวร <O:p</O:p
    เป็นผู้ปั้นนางติโลตตมา นางฟ้าที่สวยที่สุดนางหนึ่งบนสวรรค์ ถึงกับร่ำลือในชั้นเทพด้วยกัน<SUP> </SUP>สวย<O:p</O:p
    จนทำให้พระอินทร์ผู้ปรารถนาเห็นนางติโลตตมาอย่างเต็มตา กลายเป็น "ท้าวสหัสนัยน์" มีดวงตาพันดวง และทำให้พระพรหมผู้ปรารถนาเห็นนางติโลตตมาจากทุกด้าน กลายเป็น "ท้าวจตุรพักตร์" มี 4 หน้า ฯลฯ<O:p></O:p>
    ตำนานยังกล่าวถึงรูปลักษณ์ มีพระเนตร 3 ดวง มีกายสีขาว ทรงอาภรณ์สีเขียว โพกผ้า มือถือคทา แต่ไทยนิยมวาดหรือปั้นรูปพระวิษณุกรรม ทรงชฎา มือถือจอบหรือผึ่ง เครื่องมือสําหรับถากไม้ชนิดหนึ่ง รูปร่างคล้ายจอบ แต่มีด้ามสั้นกว่า และลูกดิ่ง ซึ่งเป็นสัญลักษณ์ทางช่างอย่างชัดเจน <O:p</O:p
    ช่างชาวฮินดู จะประกอบพิธีบูชาบวงสรวงพระวิษณุกรรม เพื่อขอพรให้ตนเองประสบความสำเร็จในหน้าที่การงานกัน ในวันที่พระอาทิตย์ย้ายเข้าสู่ฤกษ์ภัทรบท ซึ่งในวันนี้พวกช่างจะงดใช้อุปกรณ์และเครื่องมือทางช่างทุกชนิด เพราะช่างฮินดูมีความเชื่อว่าพระวิษณุกรรมจะเข้ามาสถิตในใจ และดลบันดาลให้พวกตนมีความคิดความอ่านที่จะสร้างสรรค์ผลงานใหม่ๆ ที่ดี มีคุณภาพอยู่เสมอ<O:p></O:p>
    ช่างไทยเองครั้งอดีตมา โดยเฉพาะช่างหลวงหรือที่เรียกกันติดปากว่าช่างสิบหมู่ ซึ่งมิได้หมายถึงมีเฉพาะสิบช่างตามวลีอักษรไทยอย่างที่เข้าใจกัน มีมากกว่านั้นปัจจุบันมี 13 ช่าง มีหน้าที่สร้างงานศิลปของหลวงของแผ่นดิน พิธีไหว้ครูช่างจึงมีแบบแผนทางพิธีพราหมณ์ นำมาเข้าพิธีทางศาสนาพุทธ และทำพิธีไหว้ครูในวันพฤหัสบดี ถือกันเป็น “วันครู” ทั้งหมดก็ล้วนถึงแนวคิดเรื่องความกตัญญูต่อผู้มีพระคุณด้วยประการมงคลทั้งมวล <O:p</O:p
    อย่าไรก็ดีคติความเชื่อและการรับอิทธิพลทางวัฒนธรรมด้านไหว้ครูช่างเทพวิษณุกรรมนั้นมีความ หมายตามรูปศัพท์ว่า "ผู้ทำทุกสิ่งทุกอย่าง" (the Universal Doer) คือเป็นนายช่างแห่งจักรวาล แม้กระ ทั่งเมืองหลวงของไทยนาม "กรุงเทพมหานคร อมรรัตนโกสินทรฯ มหาสถาน อมรพิมานอวตารสถิต สักกะทัตติย วิษณุกรรม ประสิทธิ์" ก็ยังเป็นเมืองพระวิษณุกรรม ผู้สร้างตามพระบัญชาของพระอินทร์ <O:p></O:p>
    พระวิษณุกรรม เทพผู้สร้างศิลปกรรม

    เนติ โชติช่วงนิธิ<O:p></O:p>


    </TD></TR><TR><TD></TD></TR><TR><TD>[​IMG]รูปประกอบข่าว</TD></TR><TR><TD><TABLE id=NewsCurrentDetail1_dlimage style="WIDTH: 100%; BORDER-COLLAPSE: collapse" cellSpacing=0 cellPadding=1 border=0><TBODY><TR><TD><TABLE width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=TableAnswerContent><TABLE width="100%"><TBODY><TR><TD align=left>[​IMG]</TD><TD></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD><TABLE width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=TableAnswerContent><TABLE width="100%"><TBODY><TR><TD align=left>[​IMG]</TD><TD></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD><TABLE width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=TableAnswerContent><TABLE width="100%"><TBODY><TR><TD align=left>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>--------------
    ref.
    http://www.siamrath.co.th/UIFont/NewsDetail.aspx?cid=69&nid=12651

    </TD></TR></TBODY></TABLE>​
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 27 เมษายน 2008

แชร์หน้านี้

Loading...