สัมมาวิมุติ มิจฉาวิมุติ ในพระไตรปิฏก

ในห้อง 'พระไตรปิฎก' ตั้งกระทู้โดย หลับอยู่, 3 กรกฎาคม 2015.

  1. หลับอยู่

    หลับอยู่ http://www.pramontien.com/shop.php?shop_no=185

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 มิถุนายน 2010
    โพสต์:
    928
    กระทู้เรื่องเด่น:
    2
    ค่าพลัง:
    +293
    พระไตรปิฎก เล่มที่ ๒๔ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑๖
    อังคุตตรนิกาย ทสก-เอกาทสกนิบาต



    อริยธรรมสูตร
    [๑๓๕] ดูกรภิกษุทั้งหลาย เราจักแสดงอริยธรรมและอนริยธรรม
    แก่เธอทั้งหลาย เธอทั้งหลายจงฟัง จงใส่ใจให้ดี เราจักกล่าว ภิกษุเหล่านั้น
    ทูลรับพระผู้มีพระภาคแล้ว พระผู้มีพระภาคได้ตรัสว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็
    อนริยธรรมเป็นไฉน มิจฉาทิฐิ ฯลฯ มิจฉาวิมุติ นี้เรียกว่าอนริยธรรม
    ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็อริยธรรมเป็นไฉน สัมมาทิฐิ ฯลฯ สัมมาวิมุตินี้เรียกว่า
    อริยธรรม
    จบสูตรที่ ๒
    กุสลสูตร
    [๑๓๖] ดูกรภิกษุทั้งหลาย เราจักแสดงกุศลธรรม และอกุศลธรรม
    แก่เธอทั้งหลาย เธอทั้งหลายจงฟัง จงใส่ใจให้ดี เราจักกล่าว ภิกษุเหล่านั้น
    ทูลรับพระผู้มีพระภาคแล้ว พระผู้มีพระภาคได้ตรัสว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็
    อกุศลธรรมเป็นไฉน มิจฉาทิฐิ ฯลฯ มิจฉาวิมุติ นี้เรียกว่าอกุศลธรรม
    ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็กุศลธรรมเป็นไฉน สัมมาทิฐิ ฯลฯ สัมมาวิมุติ นี้เรียกว่า
    กุศลธรรม ฯ
    จบสูตรที่ ๓
    อรรถสูตร
    [๑๓๗] ดูกรภิกษุทั้งหลาย เราจักแสดงประโยชน์และสิ่งไม่เป็น
    ประโยชน์แก่เธอทั้งหลาย เธอทั้งหลายจงฟัง จงใส่ใจให้ดี เราจักกล่าว ภิกษุ
    เหล่านั้นทูลรับพระผู้มีพระภาคแล้ว พระผู้มีพระภาคได้ตรัสว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย
    ก็สิ่งไม่เป็นประโยชน์เป็นไฉน มิจฉาทิฐิ ฯลฯ มิจฉาวิมุติ นี้เรียกว่าสิ่งไม่เป็น
    ประโยชน์ ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็ประโยชน์เป็นไฉน สัมมาทิฐิ ฯลฯ สัมมาวิมุติ
    นี้เรียกว่าประโยชน์ ฯ
    จบสูตรที่ ๔
    ธรรมสูตร
    [๑๓๘] ดูกรภิกษุทั้งหลาย เราจักแสดงธรรมและอธรรม แก่เธอ
    ทั้งหลาย เธอทั้งหลายจงฟัง จงใส่ใจให้ดี เราจักกล่าว ภิกษุเหล่านั้น
    ทูลรับพระผู้มีพระภาคแล้ว พระผู้มีพระภาคได้ตรัสว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็อธรรม
    เป็นไฉน มิจฉาทิฐิ ฯลฯ มิจฉาวิมุตินี้เรียกว่าอธรรม ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็
    ธรรมเป็นไฉน สัมมาทิฐิ ฯลฯ สัมมาวิมุติ นี้เรียกว่า ธรรม
    จบสูตรที่ ๕
    อาสวธรรมสูตร
    [๑๓๙] ดูกรภิกษุทั้งหลาย เราจักแสดงธรรมที่มีอาสวะ และธรรม
    ที่ไม่มีอาสวะแก่เธอทั้งหลาย เธอทั้งหลายจงฟัง จงใส่ใจให้ดี เราจักกล่าว
    ภิกษุเหล่านั้นทูลรับพระผู้มีพระภาคแล้ว พระผู้มีพระภาคได้ตรัสว่า ดูกรภิกษุ
    ทั้งหลาย ก็ธรรมที่มีอาสวะ เป็นไฉน มิจฉาทิฐิ ฯลฯ มิจฉาวิมุติ นี้เรียกว่า
    ธรรมที่มีอาสวะ ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็ธรรมที่ไม่มีอาสวะเป็นไฉน สัมมาทิฐิ ฯลฯ
    สัมมาวิมุติ นี้เรียกว่าธรรมที่ไม่มีอาสวะ ฯ
    จบสูตรที่ ๖
    สาวัชชธรรมสูตร
    [๑๔๐] ดูกรภิกษุทั้งหลาย เราจักแสดงธรรมที่มีโทษและธรรมที่ไม่มีโทษ
    แก่เธอทั้งหลาย เธอทั้งหลายจงฟัง จงใส่ใจให้ดีเราจักกล่าว ภิกษุเหล่านั้นทูล
    รับพระผู้มีพระภาคแล้ว พระผู้มีพระภาคได้ตรัสว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็ธรรมที่มีโทษ
    เป็นไฉน มิจฉาทิฐิ ฯลฯ มิจฉาวิมุติ นี้เรียกว่าธรรมที่มีโทษ ดูกรภิกษุทั้งหลาย
    ก็ธรรมที่ไม่มีโทษเป็นไฉน สัมมาทิฐิ ฯลฯ สัมมาวิมุติ นี้เรียกว่าธรรมที่ไม่
    มีโทษ ฯ
    จบสูตรที่ ๗
    ตปนิยธรรมสูตร
    [๑๔๑] ดูกรภิกษุทั้งหลาย เราจักแสดงธรรมอันเป็นที่ตั้งแห่งความเร่า
    ร้อน และธรรมอันไม่เป็นที่ตั้งแห่งความเร่าร้อน แก่เธอทั้งหลาย เธอทั้งหลาย
    จงฟัง จงใส่ใจให้ดี เราจักกล่าว ภิกษุเหล่านั้นทูลรับพระผู้มีพระภาคแล้ว พระผู้
    มีพระภาคได้ตรัสว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็ธรรมอันเป็นที่ตั้งแห่งความเร่าร้อนเป็น
    ไฉน มิจฉาทิฐิ ฯลฯ มิจฉาวิมุติ นี้เรียกว่าธรรมอันเป็นที่ตั้งแห่งความเร่าร้อน
    ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็ธรรมอันไม่เป็นที่ตั้งแห่งความเร่าร้อนเป็นไฉน สัมมาทิฐิ
    ฯลฯ สัมมาวิมุติ นี้เรียกว่าธรรมอันไม่เป็นที่ตั้งแห่งความเร่าร้อน ฯ
    จบสูตรที่ ๘
    อาจยคามิธรรมสูตร
    [๑๔๒] ดูกรภิกษุทั้งหลาย เราจักแสดงธรรมอันเป็นไปเพื่อสั่งสมกิเลส
    และธรรมอันไม่เป็นไปเพื่อสั่งสมกิเลส แก่เธอทั้งหลาย เธอทั้งหลายจงฟัง จง
    ใส่ใจให้ดี เราจักกล่าว ภิกษุเหล่านั้นทูลรับพระผู้มีพระภาคแล้ว พระผู้มีพระภาค
    ได้ตรัสว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็ธรรมอันเป็นไปเพื่อสั่งสมกิเลสเป็นไฉน มิจฉาทิฐิ
    ฯลฯ มิจฉาวิมุติ นี้เรียกว่าธรรมอันเป็นไปเพื่อสั่งสมกิเลส ดูกรภิกษุทั้งหลาย
    ก็ธรรมอันไม่เป็นไปเพื่อสั่งสมกิเลสเป็นไฉน สัมมาทิฐิ ฯลฯ สัมมาวิมุติ นี้
    เรียกว่าธรรมอันไม่เป็นไปเพื่อสั่งสมกิเลส ฯ
    จบสูตรที่ ๙
    ทุกขทรยธรรมสูตร
    [๑๔๓] ดูกรภิกษุทั้งหลาย เราจักแสดงธรรมมีทุกข์เป็นกำไรและธรรมมี
    สุขเป็นกำไรแก่เธอทั้งหลาย เธอทั้งหลายจงฟัง จงใส่ใจให้ดี เราจักกล่าว ภิกษุ
    เหล่านั้นทูลรับพระผู้มีพระภาคแล้ว พระผู้มีพระภาคได้ตรัสว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย
    ก็ธรรมมีทุกข์เป็นกำไรเป็นไฉน มิจฉาทิฐิ ฯลฯ มิจฉาวิมุติ นี้เรียกว่าธรรมมี
    ทุกข์เป็นกำไร ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็ธรรมมีสุขเป็นกำไรเป็นไฉน สัมมาทิฐิ ฯลฯ
    สัมมาวิมุติ นี้เรียกว่าธรรมมีสุขเป็นกำไร ฯ
    จบสูตรที่ ๑๐
    ทุกขวิปากธรรมสูตร
    [๑๔๔] ดูกรภิกษุทั้งหลาย เราจักแสดงธรรมมีทุกข์เป็นวิบากและธรรม
    มีสุขเป็นวิบากแก่เธอทั้งหลาย เธอทั้งหลายจงฟัง จงใส่ใจให้ดี เราจักกล่าว
    ภิกษุเหล่านั้นทูลรับพระผู้มีพระภาคแล้ว พระผู้มีพระภาคได้ตรัสว่า ดูกรภิกษุ
    ทั้งหลาย ก็ธรรมมีทุกข์เป็นวิบากเป็นไฉน มิจฉาทิฐิ ฯลฯ มิจฉาวิมุติ นี้เรียกว่า
    ธรรมมีทุกข์เป็นวิบาก ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็ธรรมมีสุขเป็นวิบากเป็นไฉน สัมมาทิฐิ
    ฯลฯ สัมมาวิมุติ นี้เรียกว่าธรรมมีสุขเป็นวิบาก ฯ
    จบสูตรที่ ๑๑
    จบสาธุวรรคที่ ๔
    -----------------------------------------------------
    รวมพระสูตรที่มีในวรรคนี้ คือ
    ๑. สาธุสูตร ๒. อริยธรรมสูตร ๓. กุสลสูตร ๔. อรรถสูตร
    ๕. ธรรมสูตร ๖. อาสวธรรมสูตร ๗. สาวัชชธรรมสูตร ๘. ตปนียธรรมสูตร
    ๙. อาจยคามิธรรมสูตร ๑๐. ทุกขุทรยธรรมสูตร ๑๑. ทุกขวิปากธรรมสูตร ฯ
    -----------------------------------------------------






    เนื้อความพระไตรปิฎก เล่มที่ ๒๔ บรรทัดที่ ๕๖๗๑ - ๕๗๕๘. หน้าที่ ๒๔๔ - ๒๔๘.
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 3 กรกฎาคม 2015
  2. หลับอยู่

    หลับอยู่ http://www.pramontien.com/shop.php?shop_no=185

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 มิถุนายน 2010
    โพสต์:
    928
    กระทู้เรื่องเด่น:
    2
    ค่าพลัง:
    +293
  3. หลับอยู่

    หลับอยู่ http://www.pramontien.com/shop.php?shop_no=185

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 มิถุนายน 2010
    โพสต์:
    928
    กระทู้เรื่องเด่น:
    2
    ค่าพลัง:
    +293
    <CENTER>พระไตรปิฎก เล่มที่ ๒๔ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑๖
    อังคุตตรนิกาย ทสก-เอกาทสกนิบาต</CENTER><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="90%" background="" align=center><TBODY><TR><TD>[​IMG]</TD><TR><TD bgColor=darkblue width="100%" vspace="0" hspace="0">[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>


    <CENTER></CENTER>
    </PRE>


    <CENTER>กัณหมรรคสูตร</CENTER>
    </PRE>


    [๑๔๖] ดูกรภิกษุทั้งหลาย เราจักแสดงธรรมที่เป็นมรรคาดำและธรรมที่เป็นมรรคาขาวแก่เธอทั้งหลาย
    เธอทั้งหลายจงฟัง จงใส่ใจให้ดี เราจักกล่าวภิกษุเหล่านั้นทูลรับพระผู้มีพระภาคแล้ว พระผู้มีพระภาคได้ตรัสว่า
    ดูกรภิกษุทั้งหลาย
    ธรรมที่เป็นมรรคาดำเป็นไฉน มิจฉาทิฐิ ฯลฯ มิจฉาวิมุติ นี้เรียกว่าธรรมที่เป็นมรรคาดำ
    ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็ธรรมที่เป็นมรรคาขาวเป็นไฉน สัมมาทิฐิ
    ฯลฯ สัมมาวิมุตินี้เรียกว่าธรรมที่เป็นมรรคาขาว


    <CENTER>จบสูตรที่ ๒</CENTER>
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 3 กรกฎาคม 2015
  4. หลับอยู่

    หลับอยู่ http://www.pramontien.com/shop.php?shop_no=185

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 มิถุนายน 2010
    โพสต์:
    928
    กระทู้เรื่องเด่น:
    2
    ค่าพลัง:
    +293
    <CENTER>พระไตรปิฎก เล่มที่ ๒๙ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๒๑
    ขุททกนิกาย มหานิทเทส</CENTER><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="90%" background="" align=center><TBODY><TR><TD>[​IMG]</TD><TR><TD bgColor=darkblue width="100%" vspace="0" hspace="0">[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>


    <CENTER></CENTER>
    </PRE>

    [๙๔๖]
    </PRE>

    ผู้ให้สัตว์ตาย
    </PRE>

    ผู้มีกรรมดำ
    </PRE>

    เป็นผู้ใหญ่
    </PRE>

    ผู้ให้สัตว์ถึงความตาย
    </PRE>

    ผู้ไม่ให้สัตว์พ้นไป
    </PRE>

    ผู้เป็นเผ่าพันธ์แห่งผู้ประมาท ชื่อว่าผู้มีกรรมดำ
    </PRE>

    ในคำว่า เมื่อนั้น พึงบรรเทาเสียด้วยมนสิการว่า นี่เป็นฝักฝ่ายแห่งมารผู้มีกรรมดำ.
    </PRE>

    คำว่า เมื่อนั้น พึงบรรเทาเสียด้วยมนสิการว่านี่เป็นฝักฝ่ายแห่งมารผู้มีกรรมดำ.
    </PRE>

    คำว่า พึงละ บรรเทา ทำให้สิ้นไป ให้ถึงความไม่มีด้วยมนสิ-*การว่า นี่เป็นฝักฝ่ายผู้มีกรรมดำ
    </PRE>

    เป็นฝักฝ่ายมาร
    </PRE>

    เป็นบ่วงมาร
    </PRE>

    เป็นเบ็ดมาร
    </PRE>

    เป็นเหยื่อมาร
    </PRE>

    เป็นวิสัยมาร
    </PRE>

    เป็นเครื่องให้เดือดร้อนของมาร
    </PRE>

    เป็นอาหารมาร
    </PRE>

    เป็นเครื่องผูกของมาร
    </PRE>

    แม้ด้วยเหตุอย่างนี้ ดังนี้ จึงชื่อว่า เมื่อนั้น พึงบรรเทาเสียด้วยมนสิการว่า นี่เป็นฝักฝ่ายแห่งมารผู้มีกรรมดำ.อีกอย่างหนึ่ง พึงละ บรรเทา ทำให้สิ้นไป ให้ความไม่มี ด้วยมนสิการว่า นี่เป็นฝักฝ่ายผู้มีกรรมดำ
    </PRE>

    เป็นฝักฝ่ายมาร
    </PRE>

    เป็นฝักฝ่ายอกุศล
    </PRE>

    เป็นเครื่องให้เกิดทุกข์
    </PRE>

    เป็นสภาพมีวิบากเป็นทุกข์เป็นเหตุให้เป็นไปในนรก
    </PRE>

    เป็นเหตุให้เป็นไปในกำเนิดดิรัจฉาน
    </PRE>

    เป็นเหตุให้เป็นไปในเปรตวิสัย
    </PRE>

    แม้ด้วยเหตุอย่างนี้ ดังนี้ จึงชื่อว่า เมื่อนั้น พึงบรรเทาเสียด้วยมนสิกาว่า นี่เป็นฝักฝ่ายแห่งมารผู้มีกรรมดำ.
    </PRE>

    เพราะเหตุนั้น พระผู้มีพระภาคจึงตรัสว่า ภิกษุไม่พึงทำความเป็นขโมย ไม่พึงพูดเท็จ พึงแผ่เมตตาไปยังสัตว์ทั้งที่ สะดุ้งและผู้มั่นคง เมื่อใด ภิกษุพึงรู้ความขุ่นใจ เมื่อนั้น พึงบรรเทา เสียด้วยมนสิการว่า นี่เป็นฝักฝ่ายแห่งมารผู้มีกรรมดำ.
    </PRE><CENTER></CENTER>
    เนื้อความพระไตรปิฎก เล่มที่ ๒๙ บรรทัดที่ ๑๑๒๔๘ - ๑๑๒๖๒. หน้าที่ ๔๗๒.http://84000.org/tipitaka/read/v.php?B=29&A=11248&Z=11262&pagebreak=0
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 3 กรกฎาคม 2015
  5. หลับอยู่

    หลับอยู่ http://www.pramontien.com/shop.php?shop_no=185

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 มิถุนายน 2010
    โพสต์:
    928
    กระทู้เรื่องเด่น:
    2
    ค่าพลัง:
    +293
    <CENTER>พระไตรปิฎก เล่มที่ ๒๔ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑๖
    อังคุตตรนิกาย ทสก-เอกาทสกนิบาต
    </CENTER><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="90%" background=# align=center><TBODY><TR><TD>[​IMG]</TD><TR><TD bgColor=darkblue width="100%" hspace="0" vspace="0">[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>

    <CENTER></CENTER></PRE>

    <CENTER>สัจฉิกาตัพพธรรมสูตร</CENTER></PRE>

    [๑๕๔] ดูกรภิกษุทั้งหลาย เราจักแสดงธรรมที่ควรทำให้แจ้งและธรรมที่</PRE>
    ไม่ควรทำให้แจ้งแก่เธอทั้งหลาย เธอทั้งหลายจงฟัง จงใส่ใจให้ดี เราจักกล่าวภิกษุเหล่านั้นทูลรับพระผู้มีพระภาคแล้ว พระผู้มีพระภาคได้ตรัสว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็ธรรมที่ไม่ควรทำให้แจ้งเป็นไฉน มิจฉาทิฐิ ฯลฯ มิจฉาวิมุติ นี้เรียกว่าธรรมที่ไม่ควรทำให้แจ้ง
    ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็ธรรมที่ควรทำให้แจ้งเป็นไฉนสัมมาทิฐิ ฯลฯ สัมมาวิมุติ
    นี้เรียกว่าธรรมที่ควรทำให้แจ้ง ฯ<CENTER>จบสูตรที่ ๑๐</CENTER><CENTER>จบอริยมรรคที่ ๕</CENTER><CENTER>จบตติยปัณณาสก์ที่ ๓</CENTER><CENTER class=l>-----------------------------------------------------</CENTER>
    เนื้อความพระไตรปิฎก เล่มที่ ๒๔ บรรทัดที่ ๕๘๓๑ - ๕๘๔๑. หน้าที่ ๒๕๒. http://www.84000.org/tipitaka/pitaka2/v.php?B=24&A=5831&Z=5841&pagebreak=0
     
  6. หลับอยู่

    หลับอยู่ http://www.pramontien.com/shop.php?shop_no=185

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 มิถุนายน 2010
    โพสต์:
    928
    กระทู้เรื่องเด่น:
    2
    ค่าพลัง:
    +293
    <CENTER>พระไตรปิฎก เล่มที่ ๒๔ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑๖
    อังคุตตรนิกาย ทสก-เอกาทสกนิบาต
    </CENTER><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="90%" background="" align=center><TBODY><TR><TD>[​IMG]</TD><TR><TD bgColor=darkblue width="100%" hspace="0" vspace="0">[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>

    <CENTER></CENTER><CENTER>อริยธรรมสูตร</CENTER> [๑๓๕] ดูกรภิกษุทั้งหลาย เราจักแสดงอริยธรรมและอนริยธรรมแก่เธอทั้งหลาย เธอทั้งหลายจงฟัง จงใส่ใจให้ดี เราจักกล่าว ภิกษุเหล่านั้นทูลรับพระผู้มีพระภาคแล้ว พระผู้มีพระภาคได้ตรัสว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็อนริยธรรมเป็นไฉน มิจฉาทิฐิ ฯลฯ มิจฉาวิมุติ นี้เรียกว่าอนริยธรรม ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็อริยธรรมเป็นไฉน สัมมาทิฐิ ฯลฯ สัมมาวิมุติ นี้เรียกว่าอริยธรรม ฯ<CENTER>จบสูตรที่ ๒</CENTER><CENTER>กุสลสูตร</CENTER> [๑๓๖] ดูกรภิกษุทั้งหลาย เราจักแสดงกุศลธรรม และอกุศลธรรมแก่เธอทั้งหลาย เธอทั้งหลายจงฟัง จงใส่ใจให้ดี เราจักกล่าว ภิกษุเหล่านั้นทูลรับพระผู้มีพระภาคแล้ว พระผู้มีพระภาคได้ตรัสว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็อกุศลธรรมเป็นไฉน มิจฉาทิฐิ ฯลฯ มิจฉาวิมุติ นี้เรียกว่าอกุศลธรรม ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็กุศลธรรมเป็นไฉน สัมมาทิฐิ ฯลฯ สัมมาวิมุติ นี้เรียกว่ากุศลธรรม ฯ<CENTER>จบสูตรที่ ๓</CENTER><CENTER>อรรถสูตร</CENTER> [๑๓๗] ดูกรภิกษุทั้งหลาย เราจักแสดงประโยชน์และสิ่งไม่เป็นประโยชน์แก่เธอทั้งหลาย เธอทั้งหลายจงฟัง จงใส่ใจให้ดี เราจักกล่าว ภิกษุเหล่านั้นทูลรับพระผู้มีพระภาคแล้ว พระผู้มีพระภาคได้ตรัสว่า ดูกรภิกษุทั้งหลายก็สิ่งไม่เป็นประโยชน์เป็นไฉน มิจฉาทิฐิ ฯลฯ มิจฉาวิมุติ นี้เรียกว่าสิ่งไม่เป็นประโยชน์ ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็ประโยชน์เป็นไฉน สัมมาทิฐิ ฯลฯ สัมมาวิมุตินี้เรียกว่าประโยชน์ ฯ<CENTER>จบสูตรที่ ๔</CENTER><CENTER>ธรรมสูตร</CENTER> [๑๓๘] ดูกรภิกษุทั้งหลาย เราจักแสดงธรรมและอธรรม แก่เธอทั้งหลาย เธอทั้งหลายจงฟัง จงใส่ใจให้ดี เราจักกล่าว ภิกษุเหล่านั้นทูลรับพระผู้มีพระภาคแล้ว พระผู้มีพระภาคได้ตรัสว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็อธรรมเป็นไฉน มิจฉาทิฐิ ฯลฯ มิจฉาวิมุติ นี้เรียกว่าอธรรม ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็ธรรมเป็นไฉน สัมมาทิฐิ ฯลฯ สัมมาวิมุติ นี้เรียกว่าธรรม ฯ<CENTER>จบสูตรที่ ๕</CENTER><CENTER>อาสวธรรมสูตร</CENTER> [๑๓๙] ดูกรภิกษุทั้งหลาย เราจักแสดงธรรมที่มีอาสวะ และธรรมที่ไม่มีอาสวะแก่เธอทั้งหลาย เธอทั้งหลายจงฟัง จงใส่ใจให้ดี เราจักกล่าวภิกษุเหล่านั้นทูลรับพระผู้มีพระภาคแล้ว พระผู้มีพระภาคได้ตรัสว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็ธรรมที่มีอาสวะ เป็นไฉน มิจฉาทิฐิ ฯลฯ มิจฉาวิมุติ นี้เรียกว่าธรรมที่มีอาสวะ ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็ธรรมที่ไม่มีอาสวะเป็นไฉน สัมมาทิฐิ ฯลฯสัมมาวิมุติ นี้เรียกว่าธรรมที่ไม่มีอาสวะ ฯ<CENTER>จบสูตรที่ ๖</CENTER><CENTER>สาวัชชธรรมสูตร</CENTER> [๑๔๐] ดูกรภิกษุทั้งหลาย เราจักแสดงธรรมที่มีโทษและธรรมที่ไม่มีโทษแก่เธอทั้งหลาย เธอทั้งหลายจงฟัง จงใส่ใจให้ดีเราจักกล่าว ภิกษุเหล่านั้นทูลรับพระผู้มีพระภาคแล้ว พระผู้มีพระภาคได้ตรัสว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็ธรรมที่มีโทษเป็นไฉน มิจฉาทิฐิ ฯลฯ มิจฉาวิมุติ นี้เรียกว่าธรรมที่มีโทษ ดูกรภิกษุทั้งหลายก็ธรรมที่ไม่มีโทษเป็นไฉน สัมมาทิฐิ ฯลฯ สัมมาวิมุติ นี้เรียกว่าธรรมที่ไม่มีโทษ ฯ<CENTER>จบสูตรที่ ๗</CENTER><CENTER>ตปนิยธรรมสูตร</CENTER> [๑๔๑] ดูกรภิกษุทั้งหลาย เราจักแสดงธรรมอันเป็นที่ตั้งแห่งความเร่าร้อน และธรรมอันไม่เป็นที่ตั้งแห่งความเร่าร้อน แก่เธอทั้งหลาย เธอทั้งหลายจงฟัง จงใส่ใจให้ดี เราจักกล่าว ภิกษุเหล่านั้นทูลรับพระผู้มีพระภาคแล้ว พระผู้มีพระภาคได้ตรัสว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็ธรรมอันเป็นที่ตั้งแห่งความเร่าร้อนเป็นไฉน มิจฉาทิฐิ ฯลฯ มิจฉาวิมุติ นี้เรียกว่าธรรมอันเป็นที่ตั้งแห่งความเร่าร้อนดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็ธรรมอันไม่เป็นที่ตั้งแห่งความเร่าร้อนเป็นไฉน สัมมาทิฐิฯลฯ สัมมาวิมุติ นี้เรียกว่าธรรมอันไม่เป็นที่ตั้งแห่งความเร่าร้อน ฯ<CENTER>จบสูตรที่ ๘</CENTER><CENTER>อาจยคามิธรรมสูตร</CENTER> [๑๔๒] ดูกรภิกษุทั้งหลาย เราจักแสดงธรรมอันเป็นไปเพื่อสั่งสมกิเลสและธรรมอันไม่เป็นไปเพื่อสั่งสมกิเลส แก่เธอทั้งหลาย เธอทั้งหลายจงฟัง จงใส่ใจให้ดี เราจักกล่าว ภิกษุเหล่านั้นทูลรับพระผู้มีพระภาคแล้ว พระผู้มีพระภาคได้ตรัสว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็ธรรมอันเป็นไปเพื่อสั่งสมกิเลสเป็นไฉน มิจฉาทิฐิฯลฯ มิจฉาวิมุติ นี้เรียกว่าธรรมอันเป็นไปเพื่อสั่งสมกิเลส ดูกรภิกษุทั้งหลายก็ธรรมอันไม่เป็นไปเพื่อสั่งสมกิเลสเป็นไฉน สัมมาทิฐิ ฯลฯ สัมมาวิมุติ นี้เรียกว่าธรรมอันไม่เป็นไปเพื่อสั่งสมกิเลส ฯ<CENTER>จบสูตรที่ ๙</CENTER><CENTER>ทุกขทรยธรรมสูตร</CENTER> [๑๔๓] ดูกรภิกษุทั้งหลาย เราจักแสดงธรรมมีทุกข์เป็นกำไรและธรรมมีสุขเป็นกำไรแก่เธอทั้งหลาย เธอทั้งหลายจงฟัง จงใส่ใจให้ดี เราจักกล่าว ภิกษุเหล่านั้นทูลรับพระผู้มีพระภาคแล้ว พระผู้มีพระภาคได้ตรัสว่า ดูกรภิกษุทั้งหลายก็ธรรมมีทุกข์เป็นกำไรเป็นไฉน มิจฉาทิฐิ ฯลฯ มิจฉาวิมุติ นี้เรียกว่าธรรมมีทุกข์เป็นกำไร ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็ธรรมมีสุขเป็นกำไรเป็นไฉน สัมมาทิฐิ ฯลฯสัมมาวิมุติ นี้เรียกว่าธรรมมีสุขเป็นกำไร ฯ<CENTER>จบสูตรที่ ๑๐</CENTER><CENTER>ทุกขวิปากธรรมสูตร</CENTER> [๑๔๔] ดูกรภิกษุทั้งหลาย เราจักแสดงธรรมมีทุกข์เป็นวิบากและธรรมมีสุขเป็นวิบากแก่เธอทั้งหลาย เธอทั้งหลายจงฟัง จงใส่ใจให้ดี เราจักกล่าวภิกษุเหล่านั้นทูลรับพระผู้มีพระภาคแล้ว พระผู้มีพระภาคได้ตรัสว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็ธรรมมีทุกข์เป็นวิบากเป็นไฉน มิจฉาทิฐิ ฯลฯ มิจฉาวิมุติ นี้เรียกว่าธรรมมีทุกข์เป็นวิบาก ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็ธรรมมีสุขเป็นวิบากเป็นไฉน สัมมาทิฐิฯลฯ สัมมาวิมุติ นี้เรียกว่าธรรมมีสุขเป็นวิบาก ฯ<CENTER>จบสูตรที่ ๑๑</CENTER><CENTER>จบสาธุวรรคที่ ๔</CENTER><CENTER class=l>-----------------------------------------------------</CENTER><CENTER>รวมพระสูตรที่มีในวรรคนี้ คือ</CENTER> ๑. สาธุสูตร ๒. อริยธรรมสูตร ๓. กุสลสูตร ๔. อรรถสูตร๕. ธรรมสูตร ๖. อาสวธรรมสูตร ๗. สาวัชชธรรมสูตร ๘. ตปนียธรรมสูตร๙. อาจยคามิธรรมสูตร ๑๐. ทุกขุทรยธรรมสูตร ๑๑. ทุกขวิปากธรรมสูตร ฯ<CENTER class=l>-----------------------------------------------------</CENTER>
    </PRE>
     
  7. หลับอยู่

    หลับอยู่ http://www.pramontien.com/shop.php?shop_no=185

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 มิถุนายน 2010
    โพสต์:
    928
    กระทู้เรื่องเด่น:
    2
    ค่าพลัง:
    +293
    <CENTER>พระไตรปิฎก เล่มที่ ๒๔ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑๖
    อังคุตตรนิกาย ทสก-เอกาทสกนิบาต
    </CENTER><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="90%" background="" align=center><TBODY><TR><TD>[​IMG]</TD><TR><TD bgColor=darkblue width="100%" hspace="0" vspace="0">[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>

    <CENTER></CENTER><CENTER>อริยมรรควรรคที่ ๕</CENTER><CENTER>อริยมรรคสูตร</CENTER> [๑๔๕] ดูกรภิกษุทั้งหลาย เราจักแสดงธรรมที่เป็นอริยมรรคและธรรมที่มิใช่อริยมรรคแก่เธอทั้งหลาย เธอทั้งหลายจงฟัง จงใส่ใจให้ดี เราจักกล่าวภิกษุเหล่านั้นทูลรับพระผู้มีพระภาคแล้ว พระผู้มีพระภาคได้ตรัสว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็ธรรมที่มิใช่อริยมรรคเป็นไฉน มิจฉาทิฐิ ฯลฯ มิจฉาวิมุติ นี้เรียกว่าธรรมที่มิใช่อริยมรรค ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็ธรรมที่เป็นอริยมรรคเป็นไฉนสัมมาทิฐิ ฯลฯ สัมมาวิมุติ นี้เรียกว่าธรรมที่เป็นอริยมรรค ฯ<CENTER>จบสูตรที่ ๑</CENTER><CENTER>กัณหมรรคสูตร</CENTER> [๑๔๖] ดูกรภิกษุทั้งหลาย เราจักแสดงธรรมที่เป็นมรรคาดำและธรรมที่เป็นมรรคาขาวแก่เธอทั้งหลาย เธอทั้งหลายจงฟัง จงใส่ใจให้ดี เราจักกล่าวภิกษุเหล่านั้นทูลรับพระผู้มีพระภาคแล้ว พระผู้มีพระภาคได้ตรัสว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ธรรมที่เป็นมรรคาดำเป็นไฉน มิจฉาทิฐิ ฯลฯ มิจฉาวิมุติ นี้เรียกว่าธรรมที่เป็นมรรคาดำ ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็ธรรมที่เป็นมรรคาขาวเป็นไฉน สัมมาทิฐิฯลฯ สัมมาวิมุติ นี้เรียกว่าธรรมที่เป็นมรรคาขาว ฯ<CENTER>จบสูตรที่ ๒</CENTER><CENTER>สัทธรรมสูตร</CENTER> [๑๔๗] ดูกรภิกษุทั้งหลาย เราจักแสดงสัทธรรมและอสัทธรรมแก่เธอทั้งหลาย เธอทั้งหลายจงฟัง จงใส่ใจให้ดี เราจักกล่าว ภิกษุเหล่านั้นทูลรับพระผู้มีพระภาคแล้ว พระผู้มีพระภาคได้ตรัสว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็อสัทธรรมเป็นไฉน มิจฉาทิฐิ ฯลฯ มิจฉาวิมุติ นี้เรียกว่าอสัทธรรม ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็สัทธรรมเป็นไฉน สัมมาทิฐิ ฯลฯ สัมมาวิมุติ นี้เรียกว่าสัทธรรม ฯ<CENTER>จบสูตรที่ ๓</CENTER><CENTER>สัปปุริสธรรมสูตร</CENTER> [๑๔๘] ดูกรภิกษุทั้งหลาย เราจักแสดงสัปปุริสธรรมและอสัปปุริสธรรมแก่เธอทั้งหลาย เธอทั้งหลายจงฟัง จงใส่ใจให้ดี เราจักกล่าว ภิกษุเหล่านั้นทูลรับพระผู้มีพระภาคแล้ว พระผู้มีพระภาคได้ตรัสว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็อสัปปุริสธรรมเป็นไฉน มิจฉาทิฐิ ฯลฯ มิจฉาวิมุติ นี้เรียกว่าอสัปปุริสธรรม ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็สัปปุริสธรรมเป็นไฉน สัมมาทิฐิ ฯลฯ สัมมาวิมุติ นี้เรียกว่าสัปปุริสธรรม ฯ<CENTER>จบสูตรที่ ๔</CENTER><CENTER>อุปปาเทตัพพธรรมสูตร</CENTER> [๑๔๙] ดูกรภิกษุทั้งหลาย เราจักแสดงธรรมที่ควรให้เกิดขึ้นและธรรมที่ไม่ควรให้เกิดขึ้นแก่เธอทั้งหลาย เธอทั้งหลายจงฟัง จงใส่ใจให้ดี เราจักกล่าวภิกษุเหล่านั้นทูลรับพระผู้มีพระภาคแล้ว พระผู้มีพระภาคได้ตรัสว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็ธรรมที่ไม่ควรให้เกิดขึ้นเป็นไฉน มิจฉาทิฐิ ฯลฯ มิจฉาวิมุติ นี้เรียกว่าธรรมที่ไม่ควรให้เกิดขึ้น ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็ธรรมที่ควรให้เกิดขึ้นเป็นไฉนสัมมาทิฐิ ฯลฯ สัมมาวิมุติ นี้เรียกว่าธรรมที่ควรให้เกิดขึ้น ฯ<CENTER>จบสูตรที่ ๕</CENTER><CENTER>อาเสวิตัพพธรรมสูตร</CENTER> [๑๕๐] ดูกรภิกษุทั้งหลาย เราจักแสดงธรรมที่ควรเสพและธรรมที่ไม่ควรเสพแก่เธอทั้งหลาย เธอทั้งหลายจงฟัง จงใส่ใจให้ดี เราจักกล่าว ภิกษุเหล่านั้นทูลรับพระผู้มีพระภาคแล้ว พระผู้มีพระภาคได้ตรัสว่า ดูกรภิกษุทั้งหลายก็ธรรมที่ไม่ควรเสพเป็นไฉน มิจฉาทิฐิ ฯลฯ มิจฉาวิมุติ นี้เรียกว่าธรรมที่ไม่ควรเสพ ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็ธรรมที่ควรเสพเป็นไฉน สัมมาทิฐิ ฯลฯสัมมาวิมุติ นี้เรียกว่าธรรมที่ควรเสพ ฯ<CENTER>จบสูตรที่ ๖</CENTER><CENTER>ภาเวตัพพธรรมสูตร</CENTER> [๑๕๑] ดูกรภิกษุทั้งหลาย เราจักแสดงธรรมที่ควรให้เจริญและธรรมที่ไม่ควรให้เจริญแก่เธอทั้งหลาย เธอทั้งหลายจงฟัง จงใส่ใจให้ดี เราจักกล่าวภิกษุเหล่านั้นทูลรับพระผู้มีพระภาคแล้ว พระผู้มีพระภาคได้ตรัสว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็ธรรมที่ไม่ควรให้เจริญเป็นไฉน มิจฉาทิฐิ ฯลฯ มิจฉาวิมุติ นี้เรียกว่าธรรมที่ไม่ควรให้เจริญ ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็ธรรมที่ควรให้เจริญเป็นไฉนสัมมาทิฐิ ฯลฯ สัมมาวิมุติ นี้เรียกว่าธรรมที่ควรให้เจริญ ฯ<CENTER>จบสูตรที่ ๗</CENTER><CENTER>พหุลีกาตัพพธรรมสูตร</CENTER> [๑๕๒] ดูกรภิกษุทั้งหลาย เราจักแสดงธรรมที่ควรทำให้มากและธรรมที่ไม่ควรทำให้มากแก่เธอทั้งหลาย เธอทั้งหลายจงฟัง จงใส่ใจให้ดี เราจักกล่าวภิกษุเหล่านั้นทูลรับพระผู้มีพระภาคแล้ว พระผู้มีพระภาคได้ตรัสว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็ธรรมที่ไม่ควรทำให้มากเป็นไฉน มิจฉาทิฐิ ฯลฯ มิจฉาวิมุติ นี้เรียกว่าธรรมที่ไม่ควรทำให้มาก ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็ธรรมที่ควรทำให้มากเป็นไฉนสัมมาทิฐิ ฯลฯ สัมมาวิมุติ นี้เรียกว่าธรรมที่ควรทำให้มาก ฯ<CENTER>จบสูตรที่ ๘</CENTER><CENTER>อนุสสริตัพพธรรมสูตร</CENTER> [๑๕๓] ดูกรภิกษุทั้งหลาย เราจักแสดงธรรมที่ควรระลึก และธรรมที่ไม่ควรระลึกแก่เธอทั้งหลาย เธอทั้งหลายจงฟัง จงใส่ใจให้ดี เราจักกล่าว ภิกษุเหล่านั้นทูลรับพระผู้มีพระภาคแล้ว พระผู้มีพระภาคได้ตรัสว่า ดูกรภิกษุทั้งหลายก็ธรรมที่ไม่ควรระลึกเป็นไฉน มิจฉาทิฐิ ฯลฯ มิจฉาวิมุติ นี้เรียกว่าธรรมที่ไม่ควรระลึก ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็ธรรมที่ควรระลึกเป็นไฉน สัมมาทิฐิ ฯลฯสัมมาวิมุติ นี้เรียกว่าธรรมที่ควรระลึก ฯ<CENTER>จบสูตรที่ ๙</CENTER><CENTER>สัจฉิกาตัพพธรรมสูตร</CENTER> [๑๕๔] ดูกรภิกษุทั้งหลาย เราจักแสดงธรรมที่ควรทำให้แจ้งและธรรมที่ไม่ควรทำให้แจ้งแก่เธอทั้งหลาย เธอทั้งหลายจงฟัง จงใส่ใจให้ดี เราจักกล่าวภิกษุเหล่านั้นทูลรับพระผู้มีพระภาคแล้ว พระผู้มีพระภาคได้ตรัสว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็ธรรมที่ไม่ควรทำให้แจ้งเป็นไฉน มิจฉาทิฐิ ฯลฯ มิจฉาวิมุติ นี้เรียกว่าธรรมที่ไม่ควรทำให้แจ้ง ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็ธรรมที่ควรทำให้แจ้งเป็นไฉนสัมมาทิฐิ ฯลฯ สัมมาวิมุติ นี้เรียกว่าธรรมที่ควรทำให้แจ้ง ฯ<CENTER>จบสูตรที่ ๑๐</CENTER><CENTER>จบอริยมรรคที่ ๕</CENTER><CENTER>จบตติยปัณณาสก์ที่ ๓</CENTER><CENTER class=l>-----------------------------------------------------</CENTER>
    </PRE>
     

แชร์หน้านี้

Loading...