อะไรคือความ กตัญญู ....แล้วต้องกตัญญูต่อใครบ้าง

ในห้อง 'วิทยาศาสตร์ทางจิต - ลึกลับ' ตั้งกระทู้โดย ที่สุดขอบฟ้า, 26 มกราคม 2010.

  1. ที่สุดขอบฟ้า

    ที่สุดขอบฟ้า เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 ธันวาคม 2008
    โพสต์:
    55
    ค่าพลัง:
    +139
    <TABLE class=border_dot border=0 cellSpacing=8 cellPadding=0 width="100%" align=center><TBODY><TR><TD class=bold_black>นิทานมงคลธรรม (ความกตัญญู)</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR><TD></TD></TR><TR><TD>ความกตัญญู

    มงคลต่อไป ความกตัญญู พระพุทธเจ้าตรัสไว้ในสังยุตตนิกายว่า ความกตัญญูเป็นภูมิหรือพื้นฐานของสัตบุรุษ

    คนดีตัดสินกันได้ที่ความกตัญญู ใครขาดกตัญญูหรือคนเนรคุณนั้นไม่เรียกว่าเป็นคนดี เป็นคนชั่ว ไม่ควรคบ โบราณว่า คนเนรคุณเป็นคน "ทำมาหากินไม่ขึ้น ไม่เจริญ"

    ความกตัญญูนี้ ถ้าดูเพียงขอบเขตแคบๆ ก็คือรู้คุณบิดา มารดา ครูบาอาจารย์ กตเวทีก็คือตอบแทนคุณบิดา มารดา ครูบาอาจารย์

    แต่ในความเป็นจริงแล้ว ขอบเขตของกตัญญูกตเวทีนั้นไม่ควรแคบแค่นี้ ควรขยายออกไปถึงบุคคลอื่นที่มีบุญคุณต่อเรา และต่อมนุษย์ทั้งหลาย ครอบคลุมถึงสัตว์ สภาพแวดล้อม และธรรมชาติทั้งหลายที่มีคุณต่อมนุษยชาติด้วย

    กวางกับนายพราน

    เรื่องนี้ผู้แต่งมังคลัตทีปนี (มงคลทีปนี) ไม่ได้เล่าไว้ ผมนึกขึ้นมาได้ ขอนำมาแทรกเพื่อแสดงถึงว่า ผู้ที่ไม่รู้จักบุญคุณ แม้กระทั่งบุญคุณต่อสิ่งแวดล้อม ย่อมประสบหายนะ

    มีกวางตัวหนึ่งถูกนายพรานตามล่ามานาน เอาตัวรอดมาได้ทุกที คือ เวลานายพรานแกวิ่งไล่จับ กวางน้อยก็จะวิ่งเข้าป่าละเมาะ ไปซ่อนตัวอยู่ในพุ่มไม้หนาพุ่มหนึ่ง นายพรานตามหาไม่พบ จึงกลับไปด้วยความผิดหวัง

    กวางน้อยมีความเข้าใจว่าที่พุ่มไม้แห่งนี้แหละปลอดภัยที่สุดทุกครั้งที่ถูกไล่ ก็จะวิ่งมาหลบซ่อนที่พุ่มไม้นี้ วันๆ ก็ไม่ค่อยไปที่ไหน หิวมาก็กัดกินใบไม้ทีละใบสองใบ จนพุ่มไม้โปร่ง มองทะลุผ่านได้ กวางน้อยก็ยังไม่รู้ตัว

    วันหนึ่ง ขณะเจ้ากวางน้อยออกไปกินน้ำที่ลำธาร ก็ถูกนายพรานคนเดิมไล่ตาม จึงวิ่งกลับมาพุ่มไม้ที่ตนคิดว่าปลอดภัยที่สุดซ่อนตัวอยู่

    นายพรานที่เคยตามกวางมายังที่ดังกล่าวแล้วไม่พบเพราะใบไม้หนาทึบปิดบัง แต่คราวนี้แกมองเห็นกวางหลบอยู่ จึงยิงถูกกวางน้อยสิ้นชีวิต ตกลงวันนั้นนายพรานพร้อมครอบครัวได้กินลาบลู่เนื้อกวางกันอย่างเอร็ดอร่อย

    นิทานจบแล้ว สาระอยู่ตรงไหน แล้วแต่จะอธิบายว่าเพราะกวางน้อยมันประมาท กัดกินใบไม้ที่ปกคลุมตัวจนโปร่ง จึงถึงแก่ชีวิตก็ได้ ไม่ว่ากัน แต่ผมต้องการ "ชัก" หรือ "ลาก" เข้า ข้อสรุปในใจของผมว่า กวางน้อยมันไม่รู้จักบุญคุณของพุ่มไม้ที่คุ้มกะลาหัวให้มันปลอดภัยมาหลายครั้งแล้ว ไปกัดกินใบไม้จนโล่งโกร๋นไปหมด ท้ายที่สุดมันก็ถึงแก่กาลกิริยาแล...

    ............

    พระอานนท์

    พระอานนท์เป็นผู้มีเมตตามาก ท่านมักเก็บเอาเด็กขอทานที่ไร้ที่พึ่งมาฝึกฝนอบรมศีลธรรม เมื่อเห็นควรบวชได้ ท่านก็บวชให้เป็นสามเณร มีภิกษุรูปหนึ่งบวชเป็นศิษย์พระอานนท์ รู้สึกซาบซึ้งในบุญคุณที่ท่านได้อนุเคราะห์ตนให้มีโอกาสบวชปฏิบัติธรรมจึงเอาใจใส่อุปัฏฐากดูแลท่านพระอานนท์ในฐานะอุปัชฌาย์อย่างดี ไม่ว่าจะเป็นการตักน้ำฉัน น้ำใช้ ปัดกวาดอาสนะ รับบาตร จีวร

    วันหนึ่งพระอานนท์รับนิมนต์ไปฉันในพระราชวัง พระเจ้าปเสนทิโกศลถวายจีวรแก่พระเถระหลายผืน พระเถระได้มาแล้วก็มอบให้แก่พระภิกษุลูกศิษย์รูปนั้นทั้งหมด ไม่เก็บไว้ใช้ส่วนตัวเลย

    พระหนุ่มรูปนั้นก็นำเอาจีวรเหล่านั้นไปแจกจ่ายแก่เพื่อนพระด้วยกันจนหมดเช่นกัน การกระทำของพระอานนท์ ตอนแรกถูกพระภิกษุด้วยกันนินทาว่า เป็นการเห็นแก่หน้า พระอานนท์มีฉันทาคติ คือ รักลูกศิษย์รูปเดียว ได้จีวรมาก็ให้แก่ลูกศิษย์ที่ตนรักรูปเดียว ยังดีที่ลูกศิษย์เป็นคนใจกว้าง นำจีวรมาแจกให้พระรูปอื่นได้ใช้ด้วย

    พระพุทธองค์ทรงทราบเรื่องนั้น จึงเรียกภิกษุทั้งหลายมาเข้าเฝ้า ตรัสว่า อานนท์มิได้มีฉันทาคติ แต่อานนท์เธอมีความกตัญญู เธอรู้ว่าพระลูกศิษย์นั้นได้ปรนนิบัติเธอเป็นอย่างดี เธอซาบซึ้งในความดีของลูกศิษย์ จึงได้มอบจีวรทั้งหมดแก่ลูกศิษย์

    ภิกษุทั้งหลาย อานนท์เห็นแก่คุณธรรมความดียิ่งชีวิต

    เมื่อครั้งพระเทวทัตสั่งปล่อยช้างนาฬาคิรีแล่นมาหมายจะเหยียบพระตถาคตนั้น อานนท์มีความกตัญญูรู้คุณของพระตถาคตไม่คิดถึงชีวิตของตน ออกไปขวางหน้าช้างตกมัน จนตถาคตต้องแผ่เมตตาจิตสยบพญาช้างนั้นเสีย

    นี้แสดงว่าอานนท์มีความกตัญญูกตเวทีต่อตถาคต ความมีกตัญญูกตเวทีนั้น เป็นคุณสมบัติประจำตัวอีกประการหนึ่งของอานนท์ ที่พึงสรรเสริญยิ่ง...

    การฟังธรรมตามกาล

    มงคลข้อต่อไป คือ การฟังธรรมตามกาล

    ธรรม ในที่นี้ได้แก่ "สิ่งถูกต้องดีงาม" สิ่งถูกต้องดีงามโดยรวบยอดก็คือหลักคำสอนทางพระพุทธศาสนา

    อรรถกถาไขว่า เวลาที่จิตฟุ้งซ่านหรือถูกกามวิตกเป็นต้นครอบงำ ควรจะฟังธรรมเพื่อบรรเทาเบาบางความฟุ้งซ่าน หรือบรรเทากามวิตกนั้น และต้องฟังอย่างเคารพสูงสุด มิใช่ฟังเพื่อจับผิดคนพูดหรือคนแสดง หรือฟังด้วย "อติมานะ" (ถือตน) อยู่ในใจว่า เรื่องนี้ข้ารู้แล้ว

    อานิสงส์การฟังธรรมมี 4 ประการ คือ

    1. ได้ฟังในสิ่งที่ไม่เคยฟัง 2. สิ่งที่เคยฟังแล้วชัดเจนยิ่งขึ้น

    3. บรรเทาความสงสัยได้ 4. ทำความเห็นให้ถูกตรง

    จิตของผู้ฟังก็ย่อมแจ่มใส

    กบฟังธรรม

    การฟังธรรมด้วยจิตเลื่อมใส ถึงแม้จะไม่รู้เรื่อง ก็มีผลในการกล่อมเกลาจิตได้ และส่งให้ไปสุคติ คือ เกิดในภพที่ดี มีตัวอย่างดังต่อไปนี้

    สมัยหนึ่งพระพุทธเจ้าทรงแสดงธรรมแก่ประชาชน ข้างสระคัครา เด็กเลี้ยงโคคนหนึ่งมาฟังธรรมด้วย โดยยืนเอาไม้เท้าค้ำคางห่างจากสถานที่ที่พระพุทธองค์ทรงแสดงธรรมพอสมควร แกตั้งใจฟังอย่างสนอกสนใจ โดยหารู้ไม่ว่าได้ทำให้กบน้อยตัวหนึ่งตาย เพราะตรงที่แกปักไม้เท้าลงไปนั้น ไม้เท้าไปบี้หัวของกบซึ่งกำลังฟังธรรมด้วยจิตใจอันเลื่อมใสตายพอดี กบนั้นแกไม่รู้เรื่องที่พระพุทธองค์ทรงแสดงดอก แต่พระสุรเสียงกังวาน ทำให้แกรู้สึกสบายหูยังกับฟังเสียงดนตรี

    กบเคราะห์ร้ายตัวนั้นตายไปแล้วไปเกิดเป็นเทพบุตร ชื่อมัณฑูกเทพบุตรบนสรวงสวรรค์ รำลึกความหลังของตนได้ จึงมาเข้าเฝ้าพระพุทธองค์ด้วยร่างกายอันเรืองรอง ทำพระเชตวันให้สว่างไสวไปทั่ว

    พระพุทธองค์ตรัสถามว่า "ใครมีร่างกายเรืองรอง ยืนไหว้เราตถาคตอยู่"

    มัณฑูกเทพบุตรกราบทูลว่า "ข้าพระองค์เป็นกบอยู่ริมสระน้ำคัครา ได้ฟังพระธรรมเทศนาของพระพุทธองค์ ด้วยจิตอันเลื่อมใสในพระสุรเสียงอันก้องกังวาน ขณะนั้นถูกไม้เท้าของนายโคบาลบดขยี้จนสิ้นชีวิต ด้วยอานิสงส์แห่งการฟังธรรมด้วยจิตอันเลื่อมใสนั้น จึงมาอุบัติเป็นเทพบุตร นามว่า "มัณฑูกเทพบุตร" พระเจ้าข้า"

    เรื่องทำนองนี้มีแม่ไก่ที่อาศัยอยู่ในวัด ได้ยินพระสงฆ์ท่านสวดพระอภิธรรมเป็นประจำ ถึงไม่เข้าใจแต่ก็สดับเพลิน เพราะเสียงสวดนั้นทำให้รื่นหู เมื่อแม่ไก่นั้นตายไปก็มีสุคติเป็นที่ไปในเบื้องหน้า คือ เกิดเป็นเทพบุตรเช่นเดียวกับกบน้อย

    ขอฝากให้ช่วยกันพินิจพิจารณาด้วย พระพุทธวจนะตรัสรับรองว่า "เมื่อจิตผ่องใสแล้ว สุคติเป็นอันหวังได้"




    คอลัมน์ ธรรมะใต้ธรรมาสน์




    </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE class=border_dot border=0 cellSpacing=8 cellPadding=0 width="100%" align=center><TBODY><TR><TD class=bold_black>นิทานมงคลธรรม (ความกตัญญู)</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR><TD></TD></TR><TR><TD>ความกตัญญู

    มงคลต่อไป ความกตัญญู พระพุทธเจ้าตรัสไว้ในสังยุตตนิกายว่า ความกตัญญูเป็นภูมิหรือพื้นฐานของสัตบุรุษ

    คนดีตัดสินกันได้ที่ความกตัญญู ใครขาดกตัญญูหรือคนเนรคุณนั้นไม่เรียกว่าเป็นคนดี เป็นคนชั่ว ไม่ควรคบ โบราณว่า คนเนรคุณเป็นคน "ทำมาหากินไม่ขึ้น ไม่เจริญ"

    ความกตัญญูนี้ ถ้าดูเพียงขอบเขตแคบๆ ก็คือรู้คุณบิดา มารดา ครูบาอาจารย์ กตเวทีก็คือตอบแทนคุณบิดา มารดา ครูบาอาจารย์

    แต่ในความเป็นจริงแล้ว ขอบเขตของกตัญญูกตเวทีนั้นไม่ควรแคบแค่นี้ ควรขยายออกไปถึงบุคคลอื่นที่มีบุญคุณต่อเรา และต่อมนุษย์ทั้งหลาย ครอบคลุมถึงสัตว์ สภาพแวดล้อม และธรรมชาติทั้งหลายที่มีคุณต่อมนุษยชาติด้วย

    กวางกับนายพราน

    เรื่องนี้ผู้แต่งมังคลัตทีปนี (มงคลทีปนี) ไม่ได้เล่าไว้ ผมนึกขึ้นมาได้ ขอนำมาแทรกเพื่อแสดงถึงว่า ผู้ที่ไม่รู้จักบุญคุณ แม้กระทั่งบุญคุณต่อสิ่งแวดล้อม ย่อมประสบหายนะ

    มีกวางตัวหนึ่งถูกนายพรานตามล่ามานาน เอาตัวรอดมาได้ทุกที คือ เวลานายพรานแกวิ่งไล่จับ กวางน้อยก็จะวิ่งเข้าป่าละเมาะ ไปซ่อนตัวอยู่ในพุ่มไม้หนาพุ่มหนึ่ง นายพรานตามหาไม่พบ จึงกลับไปด้วยความผิดหวัง

    กวางน้อยมีความเข้าใจว่าที่พุ่มไม้แห่งนี้แหละปลอดภัยที่สุดทุกครั้งที่ถูกไล่ ก็จะวิ่งมาหลบซ่อนที่พุ่มไม้นี้ วันๆ ก็ไม่ค่อยไปที่ไหน หิวมาก็กัดกินใบไม้ทีละใบสองใบ จนพุ่มไม้โปร่ง มองทะลุผ่านได้ กวางน้อยก็ยังไม่รู้ตัว

    วันหนึ่ง ขณะเจ้ากวางน้อยออกไปกินน้ำที่ลำธาร ก็ถูกนายพรานคนเดิมไล่ตาม จึงวิ่งกลับมาพุ่มไม้ที่ตนคิดว่าปลอดภัยที่สุดซ่อนตัวอยู่

    นายพรานที่เคยตามกวางมายังที่ดังกล่าวแล้วไม่พบเพราะใบไม้หนาทึบปิดบัง แต่คราวนี้แกมองเห็นกวางหลบอยู่ จึงยิงถูกกวางน้อยสิ้นชีวิต ตกลงวันนั้นนายพรานพร้อมครอบครัวได้กินลาบลู่เนื้อกวางกันอย่างเอร็ดอร่อย

    นิทานจบแล้ว สาระอยู่ตรงไหน แล้วแต่จะอธิบายว่าเพราะกวางน้อยมันประมาท กัดกินใบไม้ที่ปกคลุมตัวจนโปร่ง จึงถึงแก่ชีวิตก็ได้ ไม่ว่ากัน แต่ผมต้องการ "ชัก" หรือ "ลาก" เข้า ข้อสรุปในใจของผมว่า กวางน้อยมันไม่รู้จักบุญคุณของพุ่มไม้ที่คุ้มกะลาหัวให้มันปลอดภัยมาหลายครั้งแล้ว ไปกัดกินใบไม้จนโล่งโกร๋นไปหมด ท้ายที่สุดมันก็ถึงแก่กาลกิริยาแล...

    ............

    พระอานนท์

    พระอานนท์เป็นผู้มีเมตตามาก ท่านมักเก็บเอาเด็กขอทานที่ไร้ที่พึ่งมาฝึกฝนอบรมศีลธรรม เมื่อเห็นควรบวชได้ ท่านก็บวชให้เป็นสามเณร มีภิกษุรูปหนึ่งบวชเป็นศิษย์พระอานนท์ รู้สึกซาบซึ้งในบุญคุณที่ท่านได้อนุเคราะห์ตนให้มีโอกาสบวชปฏิบัติธรรมจึงเอาใจใส่อุปัฏฐากดูแลท่านพระอานนท์ในฐานะอุปัชฌาย์อย่างดี ไม่ว่าจะเป็นการตักน้ำฉัน น้ำใช้ ปัดกวาดอาสนะ รับบาตร จีวร

    วันหนึ่งพระอานนท์รับนิมนต์ไปฉันในพระราชวัง พระเจ้าปเสนทิโกศลถวายจีวรแก่พระเถระหลายผืน พระเถระได้มาแล้วก็มอบให้แก่พระภิกษุลูกศิษย์รูปนั้นทั้งหมด ไม่เก็บไว้ใช้ส่วนตัวเลย

    พระหนุ่มรูปนั้นก็นำเอาจีวรเหล่านั้นไปแจกจ่ายแก่เพื่อนพระด้วยกันจนหมดเช่นกัน การกระทำของพระอานนท์ ตอนแรกถูกพระภิกษุด้วยกันนินทาว่า เป็นการเห็นแก่หน้า พระอานนท์มีฉันทาคติ คือ รักลูกศิษย์รูปเดียว ได้จีวรมาก็ให้แก่ลูกศิษย์ที่ตนรักรูปเดียว ยังดีที่ลูกศิษย์เป็นคนใจกว้าง นำจีวรมาแจกให้พระรูปอื่นได้ใช้ด้วย

    พระพุทธองค์ทรงทราบเรื่องนั้น จึงเรียกภิกษุทั้งหลายมาเข้าเฝ้า ตรัสว่า อานนท์มิได้มีฉันทาคติ แต่อานนท์เธอมีความกตัญญู เธอรู้ว่าพระลูกศิษย์นั้นได้ปรนนิบัติเธอเป็นอย่างดี เธอซาบซึ้งในความดีของลูกศิษย์ จึงได้มอบจีวรทั้งหมดแก่ลูกศิษย์

    ภิกษุทั้งหลาย อานนท์เห็นแก่คุณธรรมความดียิ่งชีวิต

    เมื่อครั้งพระเทวทัตสั่งปล่อยช้างนาฬาคิรีแล่นมาหมายจะเหยียบพระตถาคตนั้น อานนท์มีความกตัญญูรู้คุณของพระตถาคตไม่คิดถึงชีวิตของตน ออกไปขวางหน้าช้างตกมัน จนตถาคตต้องแผ่เมตตาจิตสยบพญาช้างนั้นเสีย

    นี้แสดงว่าอานนท์มีความกตัญญูกตเวทีต่อตถาคต ความมีกตัญญูกตเวทีนั้น เป็นคุณสมบัติประจำตัวอีกประการหนึ่งของอานนท์ ที่พึงสรรเสริญยิ่ง...

    การฟังธรรมตามกาล

    มงคลข้อต่อไป คือ การฟังธรรมตามกาล

    ธรรม ในที่นี้ได้แก่ "สิ่งถูกต้องดีงาม" สิ่งถูกต้องดีงามโดยรวบยอดก็คือหลักคำสอนทางพระพุทธศาสนา

    อรรถกถาไขว่า เวลาที่จิตฟุ้งซ่านหรือถูกกามวิตกเป็นต้นครอบงำ ควรจะฟังธรรมเพื่อบรรเทาเบาบางความฟุ้งซ่าน หรือบรรเทากามวิตกนั้น และต้องฟังอย่างเคารพสูงสุด มิใช่ฟังเพื่อจับผิดคนพูดหรือคนแสดง หรือฟังด้วย "อติมานะ" (ถือตน) อยู่ในใจว่า เรื่องนี้ข้ารู้แล้ว

    อานิสงส์การฟังธรรมมี 4 ประการ คือ

    1. ได้ฟังในสิ่งที่ไม่เคยฟัง 2. สิ่งที่เคยฟังแล้วชัดเจนยิ่งขึ้น

    3. บรรเทาความสงสัยได้ 4. ทำความเห็นให้ถูกตรง

    จิตของผู้ฟังก็ย่อมแจ่มใส

    กบฟังธรรม

    การฟังธรรมด้วยจิตเลื่อมใส ถึงแม้จะไม่รู้เรื่อง ก็มีผลในการกล่อมเกลาจิตได้ และส่งให้ไปสุคติ คือ เกิดในภพที่ดี มีตัวอย่างดังต่อไปนี้

    สมัยหนึ่งพระพุทธเจ้าทรงแสดงธรรมแก่ประชาชน ข้างสระคัครา เด็กเลี้ยงโคคนหนึ่งมาฟังธรรมด้วย โดยยืนเอาไม้เท้าค้ำคางห่างจากสถานที่ที่พระพุทธองค์ทรงแสดงธรรมพอสมควร แกตั้งใจฟังอย่างสนอกสนใจ โดยหารู้ไม่ว่าได้ทำให้กบน้อยตัวหนึ่งตาย เพราะตรงที่แกปักไม้เท้าลงไปนั้น ไม้เท้าไปบี้หัวของกบซึ่งกำลังฟังธรรมด้วยจิตใจอันเลื่อมใสตายพอดี กบนั้นแกไม่รู้เรื่องที่พระพุทธองค์ทรงแสดงดอก แต่พระสุรเสียงกังวาน ทำให้แกรู้สึกสบายหูยังกับฟังเสียงดนตรี

    กบเคราะห์ร้ายตัวนั้นตายไปแล้วไปเกิดเป็นเทพบุตร ชื่อมัณฑูกเทพบุตรบนสรวงสวรรค์ รำลึกความหลังของตนได้ จึงมาเข้าเฝ้าพระพุทธองค์ด้วยร่างกายอันเรืองรอง ทำพระเชตวันให้สว่างไสวไปทั่ว

    พระพุทธองค์ตรัสถามว่า "ใครมีร่างกายเรืองรอง ยืนไหว้เราตถาคตอยู่"

    มัณฑูกเทพบุตรกราบทูลว่า "ข้าพระองค์เป็นกบอยู่ริมสระน้ำคัครา ได้ฟังพระธรรมเทศนาของพระพุทธองค์ ด้วยจิตอันเลื่อมใสในพระสุรเสียงอันก้องกังวาน ขณะนั้นถูกไม้เท้าของนายโคบาลบดขยี้จนสิ้นชีวิต ด้วยอานิสงส์แห่งการฟังธรรมด้วยจิตอันเลื่อมใสนั้น จึงมาอุบัติเป็นเทพบุตร นามว่า "มัณฑูกเทพบุตร" พระเจ้าข้า"

    เรื่องทำนองนี้มีแม่ไก่ที่อาศัยอยู่ในวัด ได้ยินพระสงฆ์ท่านสวดพระอภิธรรมเป็นประจำ ถึงไม่เข้าใจแต่ก็สดับเพลิน เพราะเสียงสวดนั้นทำให้รื่นหู เมื่อแม่ไก่นั้นตายไปก็มีสุคติเป็นที่ไปในเบื้องหน้า คือ เกิดเป็นเทพบุตรเช่นเดียวกับกบน้อย

    ขอฝากให้ช่วยกันพินิจพิจารณาด้วย พระพุทธวจนะตรัสรับรองว่า "เมื่อจิตผ่องใสแล้ว สุคติเป็นอันหวังได้"




    คอลัมน์ ธรรมะใต้ธรรมาสน์




    </TD></TR></TBODY></TABLE>ความกตัญญู

    มงคลต่อไป ความกตัญญู พระพุทธเจ้าตรัสไว้ในสังยุตตนิกายว่า ความกตัญญูเป็นภูมิหรือพื้นฐานของสัตบุรุษ

    คนดีตัดสินกันได้ที่ความกตัญญู ใครขาดกตัญญูหรือคนเนรคุณนั้นไม่เรียกว่าเป็นคนดี เป็นคนชั่ว ไม่ควรคบ โบราณว่า คนเนรคุณเป็นคน "ทำมาหากินไม่ขึ้น ไม่เจริญ"

    ความกตัญญูนี้ ถ้าดูเพียงขอบเขตแคบๆ ก็คือรู้คุณบิดา มารดา ครูบาอาจารย์ กตเวทีก็คือตอบแทนคุณบิดา มารดา ครูบาอาจารย์

    แต่ในความเป็นจริงแล้ว ขอบเขตของกตัญญูกตเวทีนั้นไม่ควรแคบแค่นี้ ควรขยายออกไปถึงบุคคลอื่นที่มีบุญคุณต่อเรา และต่อมนุษย์ทั้งหลาย ครอบคลุมถึงสัตว์ สภาพแวดล้อม และธรรมชาติทั้งหลายที่มีคุณต่อมนุษยชาติด้วย

    กวางกับนายพราน

    เรื่องนี้ผู้แต่งมังคลัตทีปนี (มงคลทีปนี) ไม่ได้เล่าไว้ ผมนึกขึ้นมาได้ ขอนำมาแทรกเพื่อแสดงถึงว่า ผู้ที่ไม่รู้จักบุญคุณ แม้กระทั่งบุญคุณต่อสิ่งแวดล้อม ย่อมประสบหายนะ

    มีกวางตัวหนึ่งถูกนายพรานตามล่ามานาน เอาตัวรอดมาได้ทุกที คือ เวลานายพรานแกวิ่งไล่จับ กวางน้อยก็จะวิ่งเข้าป่าละเมาะ ไปซ่อนตัวอยู่ในพุ่มไม้หนาพุ่มหนึ่ง นายพรานตามหาไม่พบ จึงกลับไปด้วยความผิดหวัง

    กวางน้อยมีความเข้าใจว่าที่พุ่มไม้แห่งนี้แหละปลอดภัยที่สุดทุกครั้งที่ถูกไล่ ก็จะวิ่งมาหลบซ่อนที่พุ่มไม้นี้ วันๆ ก็ไม่ค่อยไปที่ไหน หิวมาก็กัดกินใบไม้ทีละใบสองใบ จนพุ่มไม้โปร่ง มองทะลุผ่านได้ กวางน้อยก็ยังไม่รู้ตัว

    วันหนึ่ง ขณะเจ้ากวางน้อยออกไปกินน้ำที่ลำธาร ก็ถูกนายพรานคนเดิมไล่ตาม จึงวิ่งกลับมาพุ่มไม้ที่ตนคิดว่าปลอดภัยที่สุดซ่อนตัวอยู่

    นายพรานที่เคยตามกวางมายังที่ดังกล่าวแล้วไม่พบเพราะใบไม้หนาทึบปิดบัง แต่คราวนี้แกมองเห็นกวางหลบอยู่ จึงยิงถูกกวางน้อยสิ้นชีวิต ตกลงวันนั้นนายพรานพร้อมครอบครัวได้กินลาบลู่เนื้อกวางกันอย่างเอร็ดอร่อย

    นิทานจบแล้ว สาระอยู่ตรงไหน แล้วแต่จะอธิบายว่าเพราะกวางน้อยมันประมาท กัดกินใบไม้ที่ปกคลุมตัวจนโปร่ง จึงถึงแก่ชีวิตก็ได้ ไม่ว่ากัน แต่ผมต้องการ "ชัก" หรือ "ลาก" เข้า ข้อสรุปในใจของผมว่า กวางน้อยมันไม่รู้จักบุญคุณของพุ่มไม้ที่คุ้มกะลาหัวให้มันปลอดภัยมาหลายครั้งแล้ว ไปกัดกินใบไม้จนโล่งโกร๋นไปหมด ท้ายที่สุดมันก็ถึงแก่กาลกิริยาแล...

    ............

    พระอานนท์

    พระอานนท์เป็นผู้มีเมตตามาก ท่านมักเก็บเอาเด็กขอทานที่ไร้ที่พึ่งมาฝึกฝนอบรมศีลธรรม เมื่อเห็นควรบวชได้ ท่านก็บวชให้เป็นสามเณร มีภิกษุรูปหนึ่งบวชเป็นศิษย์พระอานนท์ รู้สึกซาบซึ้งในบุญคุณที่ท่านได้อนุเคราะห์ตนให้มีโอกาสบวชปฏิบัติธรรมจึงเอาใจใส่อุปัฏฐากดูแลท่านพระอานนท์ในฐานะอุปัชฌาย์อย่างดี ไม่ว่าจะเป็นการตักน้ำฉัน น้ำใช้ ปัดกวาดอาสนะ รับบาตร จีวร

    วันหนึ่งพระอานนท์รับนิมนต์ไปฉันในพระราชวัง พระเจ้าปเสนทิโกศลถวายจีวรแก่พระเถระหลายผืน พระเถระได้มาแล้วก็มอบให้แก่พระภิกษุลูกศิษย์รูปนั้นทั้งหมด ไม่เก็บไว้ใช้ส่วนตัวเลย

    พระหนุ่มรูปนั้นก็นำเอาจีวรเหล่านั้นไปแจกจ่ายแก่เพื่อนพระด้วยกันจนหมดเช่นกัน การกระทำของพระอานนท์ ตอนแรกถูกพระภิกษุด้วยกันนินทาว่า เป็นการเห็นแก่หน้า พระอานนท์มีฉันทาคติ คือ รักลูกศิษย์รูปเดียว ได้จีวรมาก็ให้แก่ลูกศิษย์ที่ตนรักรูปเดียว ยังดีที่ลูกศิษย์เป็นคนใจกว้าง นำจีวรมาแจกให้พระรูปอื่นได้ใช้ด้วย

    พระพุทธองค์ทรงทราบเรื่องนั้น จึงเรียกภิกษุทั้งหลายมาเข้าเฝ้า ตรัสว่า อานนท์มิได้มีฉันทาคติ แต่อานนท์เธอมีความกตัญญู เธอรู้ว่าพระลูกศิษย์นั้นได้ปรนนิบัติเธอเป็นอย่างดี เธอซาบซึ้งในความดีของลูกศิษย์ จึงได้มอบจีวรทั้งหมดแก่ลูกศิษย์

    ภิกษุทั้งหลาย อานนท์เห็นแก่คุณธรรมความดียิ่งชีวิต

    เมื่อครั้งพระเทวทัตสั่งปล่อยช้างนาฬาคิรีแล่นมาหมายจะเหยียบพระตถาคตนั้น อานนท์มีความกตัญญูรู้คุณของพระตถาคตไม่คิดถึงชีวิตของตน ออกไปขวางหน้าช้างตกมัน จนตถาคตต้องแผ่เมตตาจิตสยบพญาช้างนั้นเสีย

    นี้แสดงว่าอานนท์มีความกตัญญูกตเวทีต่อตถาคต ความมีกตัญญูกตเวทีนั้น เป็นคุณสมบัติประจำตัวอีกประการหนึ่งของอานนท์ ที่พึงสรรเสริญยิ่ง...

    การฟังธรรมตามกาล

    มงคลข้อต่อไป คือ การฟังธรรมตามกาล

    ธรรม ในที่นี้ได้แก่ "สิ่งถูกต้องดีงาม" สิ่งถูกต้องดีงามโดยรวบยอดก็คือหลักคำสอนทางพระพุทธศาสนา

    อรรถกถาไขว่า เวลาที่จิตฟุ้งซ่านหรือถูกกามวิตกเป็นต้นครอบงำ ควรจะฟังธรรมเพื่อบรรเทาเบาบางความฟุ้งซ่าน หรือบรรเทากามวิตกนั้น และต้องฟังอย่างเคารพสูงสุด มิใช่ฟังเพื่อจับผิดคนพูดหรือคนแสดง หรือฟังด้วย "อติมานะ" (ถือตน) อยู่ในใจว่า เรื่องนี้ข้ารู้แล้ว

    อานิสงส์การฟังธรรมมี 4 ประการ คือ

    1. ได้ฟังในสิ่งที่ไม่เคยฟัง 2. สิ่งที่เคยฟังแล้วชัดเจนยิ่งขึ้น

    3. บรรเทาความสงสัยได้ 4. ทำความเห็นให้ถูกตรง

    จิตของผู้ฟังก็ย่อมแจ่มใส

    กบฟังธรรม

    การฟังธรรมด้วยจิตเลื่อมใส ถึงแม้จะไม่รู้เรื่อง ก็มีผลในการกล่อมเกลาจิตได้ และส่งให้ไปสุคติ คือ เกิดในภพที่ดี มีตัวอย่างดังต่อไปนี้

    สมัยหนึ่งพระพุทธเจ้าทรงแสดงธรรมแก่ประชาชน ข้างสระคัครา เด็กเลี้ยงโคคนหนึ่งมาฟังธรรมด้วย โดยยืนเอาไม้เท้าค้ำคางห่างจากสถานที่ที่พระพุทธองค์ทรงแสดงธรรมพอสมควร แกตั้งใจฟังอย่างสนอกสนใจ โดยหารู้ไม่ว่าได้ทำให้กบน้อยตัวหนึ่งตาย เพราะตรงที่แกปักไม้เท้าลงไปนั้น ไม้เท้าไปบี้หัวของกบซึ่งกำลังฟังธรรมด้วยจิตใจอันเลื่อมใสตายพอดี กบนั้นแกไม่รู้เรื่องที่พระพุทธองค์ทรงแสดงดอก แต่พระสุรเสียงกังวาน ทำให้แกรู้สึกสบายหูยังกับฟังเสียงดนตรี

    กบเคราะห์ร้ายตัวนั้นตายไปแล้วไปเกิดเป็นเทพบุตร ชื่อมัณฑูกเทพบุตรบนสรวงสวรรค์ รำลึกความหลังของตนได้ จึงมาเข้าเฝ้าพระพุทธองค์ด้วยร่างกายอันเรืองรอง ทำพระเชตวันให้สว่างไสวไปทั่ว

    พระพุทธองค์ตรัสถามว่า "ใครมีร่างกายเรืองรอง ยืนไหว้เราตถาคตอยู่"

    มัณฑูกเทพบุตรกราบทูลว่า "ข้าพระองค์เป็นกบอยู่ริมสระน้ำคัครา ได้ฟังพระธรรมเทศนาของพระพุทธองค์ ด้วยจิตอันเลื่อมใสในพระสุรเสียงอันก้องกังวาน ขณะนั้นถูกไม้เท้าของนายโคบาลบดขยี้จนสิ้นชีวิต ด้วยอานิสงส์แห่งการฟังธรรมด้วยจิตอันเลื่อมใสนั้น จึงมาอุบัติเป็นเทพบุตร นามว่า "มัณฑูกเทพบุตร" พระเจ้าข้า"

    เรื่องทำนองนี้มีแม่ไก่ที่อาศัยอยู่ในวัด ได้ยินพระสงฆ์ท่านสวดพระอภิธรรมเป็นประจำ ถึงไม่เข้าใจแต่ก็สดับเพลิน เพราะเสียงสวดนั้นทำให้รื่นหู เมื่อแม่ไก่นั้นตายไปก็มีสุคติเป็นที่ไปในเบื้องหน้า คือ เกิดเป็นเทพบุตรเช่นเดียวกับกบน้อย

    ขอฝากให้ช่วยกันพินิจพิจารณาด้วย พระพุทธวจนะตรัสรับรองว่า "เมื่อจิตผ่องใสแล้ว สุคติเป็นอันหวังได้"




    คอลัมน์ ธรรมะใต้ธรรมาสน์




    ข้อมูลจาก : [​IMG]
    เรื่องที่เกี่ยวข้อง :
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 26 มกราคม 2010
  2. emaN resU

    emaN resU เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    12 ธันวาคม 2009
    โพสต์:
    2,944
    ค่าพลัง:
    +3,294
    .







    [​IMG]
     
    แก้ไขครั้งล่าสุดโดยผู้ดูแล: 26 มกราคม 2010

แชร์หน้านี้

Loading...