พระวังหน้า ที่หลวงปู่บรมครูเทพโลกอุดรเสก ถ้าต้องการที่จะได้.....

ในห้อง 'งานบุญอื่นๆ' ตั้งกระทู้โดย sithiphong, 23 ธันวาคม 2005.

  1. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    คำไหว้งานศพ
    <O:p</O:p
    เวลาไปเยี่ยมศพ
    <O:p</O:p

    อะวัสสัง มะยา มะริตัพพัง<O:p</O:p



    เวลารดน้ำศพ<O:p</O:p

    แบบที่ ๑ กายะกัมมัง วะจีกัมมัง มะโนกัมมัง อะโหสิกัมมัง สัมพะปาปัง วินัสสะตุ<O:p</O:p
    แบบที่ ๒ อิทัง มะตะกะสะรีรัง อุทะกัง วิยะ สิญจิตัง อะโหสิกัมมัง<O:p</O:p
    คำแปล กายกรรม ๓ วจีกรรม ๔ มโนกรรม ๓ ขอให้อโหสิกรรมแก่ข้าพเจ้า ทั้งต่อหน้าและลับหลังด้วยเทอญ
    <O:p</O:p
    คำถวายผ้าไตรอุทิศแก่ผู้ตาย<O:p</O:p

    อิมานิ มังยัง ภันเต ติจีวะรานิ อัยยัสสะ เทมะ สาธุ โน ภันเต อะยัง ติจีวะระปูชาวิปาโก อัมหากัง มาตาปิตุอาทีนัง ญาตีนัง กาละกะตานัง สังวัตตะตุ อัมหากัง มาตาปิตุอาทะโย ญาตะกา ทานะ ปัตติง ละภันตุ อัมหากัง เจตะสา ฯ<O:p</O:p
    คำแปล ข้าแต่พระผู้เป็นเจ้าผู้เจริญ ข้าพเจ้าทั้งหลาย ขอถวายไตรจีวรนี้ แก่พระผู้เป็นเจ้า ข้าแต่พระผู้เป็นเจ้าผู้เจริญ อันว่าผลวิบากของการบูชาด้วยไตรจีวรนี้ จงเป็นไปเพื่อญาติทั้งหลาย มีมารดาบิดาของข้าพเจ้าทั้งหลายเป็นต้น จงได้ส่วนแห่งทานนี้ ตามความประสงค์ ของพวกข้าพเจ้าทั้งหลาย เทอญ ฯ<O:p</O:p


    คำภาวนาเวลาทอดผ้าหน้าศพ<O:p</O:p

    นามะรูปัง อะนิจจัง นามะรูปัง ทุกขัง นามะรูปัง อะนัตตา<O:p</O:p



    คำภาวนาเวลาจุดเผาศพ<O:p</O:p

    แบบที่ ๑ อะสุจิ อะสุภัง กัมมัฏฐานัง ภาเวติ<O:p</O:p

    แบบที่ ๒ จุติ จุตัง อะระหัง จุติ<O:p</O:p
    แบบที่ ๓ อะยัมปิ โข เม กาโย เอวัง ภาวี เอวัง ธัมโม เอวัง อะนะตีโต<O:p</O:p
    คำแปล กายของเรานี้ ต้องเป็นอย่างนี้เหมือนกัน มีอย่างนี้เป็นธรรมดา ไม่ล่วงพ้นความเป็นอย่างนี้ไปได้
     
  2. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    บทสวด อาฏานาฏิยะปะริตตัง

    บทสวด อาฏานาฏิยะปะริตตัง


    <O:p</O:p

    บทนำ อาฏานาฏิยะปะริตตัง

    อัปปะสันเนหิ นาถัสสะ สาสะเน สาธุสัมมะเต
    อะมะนุสเสหิ จัณเฑหิ สะทา กิพพิสะการิภิ ปะริสานัญจะ
    ตัสสันนะมะหิงสายะ จะ คุตติยา ยันเทเสสี มะหาวีโร
    ปะริตตันตัมภะณะนะ เห ฯ
    ___________________

    อาฏานาฏิยะปะริตตัง

    วิปัสสิสสะ นะมัตถุ จักขุมันตัสสะ สิรีมะโต สิขิส
    สะปิ นะมัตถุ สัพพะภู ตานุกัมปิโน เวสสะภุสสะ นะมัตถุ
    นหาตะกัสสะ ตะปัสสิโน นะมัตถุ กะกุสันธัสสะ มาระ
    เสนัปปะมัททิโน โกนาคะมะนัสสะ นะมัตถุ พราหมะณัสสะ
    วุสีมะโต กัสสะปัสสะ นะมัตถุ วิปปะมุตตัสสะ สัพพะธิ
    อังคีระสัสสะ นะมัตถุ สักยะปุตตัสสะ สิรีมะโต โย อิมัง
    ธัมมะมะเทเสสิ สัพพะทุกขาปะนูทะนัง เย จาปิ นิพพุตาโลเก
    ยะถาภูตัง วิปัสสิสุง เต ชะนา อะปิสุณา มะหันตา วีตะ
    สาระทา หิตัง เทวะมะนุสสานัง ยัง นะมัสสันติ โคตะมัง
    วิชชาจะระณะสัมปันนัง มะหันตัง วีตะสาระทัง ฯ
    นะโม เม สัพพะพุทธานัง อุปปันนานัง มะเหสินัง
    ตัณหังกะโร มะหาวีโร เมธังกะโร มะหายะโส สะระณัง
    กะโร โลกะหิโต ทีปังกะโร ชุตินธะโร โกณฑัญโญ ชะนะ
    ปาโมกโข มังคะโล ปุริสาสะโภ สุมาโน สุมาโน ธีโร
    เรวะโต ระติวัฑฒะโน โสภีโต ถุณะสัมปันโน อะโนมะ
    ทัสสี ชะนุตตะโม ปะทุโม โลกะปัชโชโต นาระโท วะระ
    สาระถี ปะทุมุตตะโร สัตตะสาโร สุเมโธ อัปปะฏิปุคคะโล
    สุชาโต สัพพะโลกัคโค ปิยะทัสสี นะราสะโภ อัตถะทัสสี
    การุณิโก ธัมมะทัสสี ตะโมนุโท สิทธัตโถ อะสะโม โลเก
    ติสโส จะ วะทะตัง วะโร ปุนโน จะ วะระโท พุทโธ
    วิปัสสี จะ อะนูปะโม สิขี สัพพะหิโต สัตถา เวสสะภู
    สุขะทายะโก กะกุสันโธ สัตถะวาโห โกนาคะมะโน ระณัญ
    ชะโห กัสสะโป สิริสัมปันโน โคระโม สักยะปุงคะโว ฯ
    เอเต จัญเญ จะ สัมพุทธา อัเนกะสะตะโกฏะโย
    สัพเพ พุทธา อะสะมะสะมา สัพเพ พุทธา มะหิทธิกา
    สัพเพ ทะสะพะลูเปตา เวสารัชเชหุปาคะตา สัพเพ เต
    ปะฏิชานันติ อาสะภัณฐานะมุตตะมัง สีหะนาทัง นะทันเตเต
    ปะริสาสุ วิสาระทา พรัหมะจักกัง ปะวัตเตนติ โลเก อัปปะ
    ฏิวัตติยัง อุเปตา พุทธะธัมเมหิ อัฏฐาระสะหิ นายะกา
    ทวัตติงสะ ลักขะณูเปตา สีตยานุพยัญชะนาธะรา พยา
    มัปปะภายะ สุปปะภา สัพเพ เต มุนิกุญชะรา พุทธา
    สัพพัญญุโน เอเต สัพเพ ขีณาสะวา ชินา มะหัปปะภา
    มะหาเตชา มะหาปัญญา มะหัพพะลา มะหาการุณิกา ธีรา
    สัพเพสานัง สุขาวะหา ทีปา นาถา ปะติฏฐา จะ ตาณา
    เลณา จะ ปาณินัง คะตี พันธู มะหัสสาสา สะระณา จะ
    หิเตสิโน สะเทวะกัสสะ โลกัสสะ สัพเพ เอเต ปะรา
    ยะนา เตสาหัง สิระสา ปาเท วันทามิ ปุริสุตตะเม วะจะสา
    มะนะสา เจวะ วันทาเมเต ตะถาคะเต สะยะเน อาสะเน
    ฐาเน คะมะเน จาปิ สัพพะทา สะทา สุเขนะ รักขันตุ
    พุทธา สันติกะรา ตุวัง เตหิ ตวัง รักขิโต สันโต มุตโต
    สัพพะภะเยนะ จะ สัพพะโรคะวินิมุตโต สัพพะสันตา
    ปะวัชชิโต สัพพะเวระมะติกกันโต นิพพุโต จะ ตุวัง
    ภะวะ ฯ เตสัง สัจเจนะ สีเลนะ ขันติเมตตาพะเลนะ จะ
    เตปิ ตุมเห อะนุรักขันตุ อาโรคเยนะ สุเขนะ จะฯ
    ปุรัตถิมัสมิง ทิสาภาเค สันติ ภูตา มะหิทธิกา เตปิ
    ตุมเห อันุรักขันตุ อาโรคเยนะ สุเขนะ จะ ทักขิณัสมิง
    ทิสาภาเค สันติ เทวา มะหิทธิกา เตปิ ตุมเห อะนุรักขันตุ
    อาโรคเยนะ สุเขนะ จะ ปัจฉิมัสมิง ทิสาภาเค สันติ
    นาคา มิหิทธิกา เตหิ ตุมเห อะนุรักขันตุ อาโรคเยนะ
    สุเขนะ จะ อุตตะรัสมิง ทิสา ภาเค สันติ ยักขา มะหิทธิกา
    เตปิ ตุมเห อะนุรักขันตุ อาโรคเยนะ สุเขนะ จะ
    ปุริมะทิสัง ธะตะรัฏโฐ ทิกขิเณนะ วิรุฬหะโก ปัจฉิเมนะ
    วิรูปักโข กุเวโร อุตตะรัง ทิสัง จัตตาโร เต มะหาราชา
    โลกะปาลา ยะสัสสิโน เตปิ ตุมเห อะนุรักขันตุ
    อาโรเยนะ สุเขนะ จะ อากาสัฏฐา จะ ภุมมัฏฐา
    เทวา นาคา มะหิทธิกา เตปิ ตุมเห อะนุรักขันตุ
    อาโรคเยนะ สุเขนะ จะ ฯ
    นัตถิ เม สะระณัง อัญญัง พุทโธ เม สะระณัง วะรัง
    เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหตุ เต ชะยะมังคะลัง นัตถิ เม
    สะระณัง อัญญัง ธัมโม เม สะระณัง วะรัง เอเตนะ
    สัจจะวัชเชนะ โหตุ เต ชะยะมังคะลัง นัตถิ เม
    สะระณัง อัญญัง สังโฆ เม สะระณังวะรัง เอเตนะ
    สัจจะวัชเชนะ โหตุ เต ชะยะมังคะลัง ฯ
    ยังกิญจิ ระตะนัง โลเก วิชชะติ วิวิธัง ปุถุ
    ระตะนัง พุทธะสะมัง นัตถิ ตัสมา โสตถี ภะวันตุ
    เต ฯ ยังกิญจิ ระตะนัง โลเก วิชชะติ วิวิธัง ปุถุ
    ระตะนัง ธัมมะสะมัง นัตถิ ตัสมา โสถี ภะวันตุ
    เต ฯ ยังกิญจิ ระตะนัง โลเก วิชชะติ วิวิธัง ปุถุ
    ระตะนัง สังฆะสะมัง นัตถิ ตัสมา โสตถี ภะวันตุ เต ฯ
    สักกัตวา พุทธะระตะนัง โอสะถัง อุตตะมัง วะรัง
    หิตัง เทวะมะนุสสานัง พุทธะ เตเชนะ โสตถินา นัสสันตุ
    ปัททะวา สัพเพ ทุกขา วูปะสะเมนตุ เต สักกัตวา ธัมมะ
    ระตะนัง โอสะถัง อุตตะมัง วะรัง ปะริฬาหูปะสะมะนัง
    ธัมมะเตเชนะ โสตถินา นัสสันตุปัททะวา สัพเพ ภะยา
    วูปะสะเมนตุ เต สักกัตวา สังฆะระตะนัง โอสะถัง อุตตะมัง
    วะรัง อาหุเนยยัง ปาหุเนยยัง สังฆะเตเชนะ โสตถินา
    นัสสันตุปัททะวา สัพเพ โรคา วูปะสะเมนตุ เต ฯ
    สัพพีติโย วิวัชชันตุ สัพพะโรโค วินัสสะตุ มา เต
    ภะวัตตวันตะราโย สุขีทีฆายุโก ภะวะ อะภิวาทะนะสีลิสสะ
    นิจจัง วุฑฒาปะจายิโน จัตตาโร ธัมมา วัฑฒันติ อายุวัณโณ
    สุขัง พะลัง ฯ
    จากหนังสือมนต์พิธี ครับ


    ตำนานพระปริตร : อาฏานาฏิยปริตร

    <O:p</O:p
    บทขัดอาฏานาฏิยปริตร

    องค์สมเด็จพระผู้มีพระภาค ผู้เป็นมหาวีรบุรุษ ทรงแสดงพระปริตรใด เพื่อคุ้มกันพุทธบริษัททั้ง ๔ มิให้ถูกเบียดเบียน จากอมนุษย์ทั้งหลาย ที่ดุร้ายสันดานหยาบช้า ไม่เลื่อมใสในพระพุทธศาสนา ซึ่งบัณฑิตทั้งหลายรับรองแล้วว่า เป็นศาสนาดีทุกเมื่อ ท่านผู้เจริญทั้งหลายพึงสวดพระปริตรนั้นเทอญ

    ตำนาน

    สมัยหนึ่งสมเด็จ พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงเสด็จประทับอยู่ ณ ภูเขาคิชฌกูฎบรรพต ใกล้กรุงราชคฤห์มหานคร ในครั้งนั้น ท้าวจาตุมมหาราชทั้ง ๔ ซึ่งสถิตย์อยู่เหนือยอดเขายุคันธร ที่เรียกว่าชั้นจาตุมหาราชิกา อันเป็นชั้นต่ำกว่า สวรรค์ชั้นดาวดึงส์ลงมาซึ่งเป็นที่สถิตย์ขององค์อินทราธิราช

    พระอินทร์ ทรงมีเทวะพระบัญชาให้มหาราชทั้ง ๔ ทำหน้าที่เฝ้ารักษาประตูสวรรค์ในทิศทั้ง ๔ เพื่อป้องกันมิให้พวกอสูรมารบกวน โดยมี

    ท้าวธตรฐ ผู้เป็นเจ้าแห่งพวกคนธรรพ์ รักษาทิศบูรพา
    ท้าววิรุฬหก เป็นเจ้าแห่งกุมภัณฑ์ รักษาทิศทักษิณ
    ท้าววิรูปักษ์ เป็นเจ้าแห่งนาคทั้งปวง รักษาทิศปัจจิมท้าวเวสวัน เป็นเจ้าแห่งยักษ์ รักษาทิศอุดร

    ท้าวมหาราชทั้ง ๔ มีจิตเลื่อมใสศรัทธา ปรารถนาจะเกื้อกูลพระพุทธศาสนา มิให้พวกอสูร หรือพวกศัตรูมาย่ำยีบีฑา แด่พระภิกษุสงฆ์สาวกของพระบรมสุคตเจ้า

    จึงคิดจะชวนกันลงมาเฝ้าพระผู้มีพระภาคเจ้า แต่ก็ห่วงภาระหน้าที่ที่จะต้องดูแลรักษาความสงบเรียบร้อยในประตูสวรรค์ทั้ง ๔ ทิศ มหาราชทั้ง ๔ จึงมีบัญชาแต่งตั้งให้ คนธรรพ์ กุมภัณฑ์ นาค และยักษ์ อย่างละแสนรักษาประตูสวรรค์ทั้ง ๔ ทิศ ซึ่งก็ให้พวกคนธรรพ์ รักษาทิศบูรพา กุมภัณฑ์รักษาทิศทักษิณ นาครักษาทิศปัจจิม ยักษ์รักษาทิศอุดร

    ครั้นแล้ว ท้าวมหาราชทั้ง ๔ ได้ประชุมพร้อมกันที่ อาฏานาฏิยนคร ณ สวรรค์ชั้นจาตุมหาราชิกา พร้อมกับผูกมนต์อาฏานาฏิยปริตร ซึ่งมีเนื้อความสรรเสริญคุณของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าทั้ง ๗ พระองค์ มี

    พระวิปัสสี ผู้มีสิริอันงาม
    พระสิขี พุทธเจ้า ผู้มากด้วยการอนุเคราะห์แก่สัตว์ทั้งปวง
    พระเวสสภู พุทธเจ้า ผู้ปราศจากกิเลส มีตบะ
    พระกกุสันธะ พุทธเจ้า ผู้มีชัยชนะแก่พญามารและเสนามาร
    โกนาคมนะ พุทธเจ้า ผู้มีบาปอันลอยเสียแล้วมีพรหมจรรย์อันจบแล้ว
    กัสสปะ พุทธเจ้า ผู้พ้นวิเศษแล้ว จากกองกิเลสทั้งปวง
    พระอังคีส พุทธเจ้า ผู้เป็นโอรสแห่งหมู่ศากยราช ผู้มีศักดิ์ มีสิริ ดัง นี้เป็นต้น

    ครั้นผูกมนต์พระปริตรแล้ว ท้าวมหาราชทั้ง ๔ จึงประกาศแก่บริวารของตนว่า ธรรมอาณาจักรของพระบรมศาสดาสัมมาสัมพุทธเจ้า อันเป็นบรมครูของเราทั้ง ๔ ถ้ามีผู้ใดสาธยายมนต์ อาฏานาฏิยปริตร นี้ขึ้น แล้วถ้าใครไม่เชื่อฟัง ไม่สดับ จะต้องถูกลงโทษอย่างสาสม รุนแรง

    และแล้วมหาราชทั้ง ๔ ก็พร้อมใจกันลงมาเข้าเฝ้าพระผู้มีพระภาคเจ้า ณ ภูเขาคิชฌกูฏ กราบบังคมทูลว่าหมู่ยักษ์ทั้งหลาย หมู่นาคทั้งหลาย หมู่กุมภัณฑ์ทั้งหลาย และหมู่คนธรรพ์ทั้งหลาย ผู้มีเดช มีศักดา มีอานุภาพ มีจิตกระด้างหยาบช้า ละเมิดเบญจศีลเป็นอาจิณ ที่ยังไม่เลื่อมใสในคุณของพระรัตนตรัยนั้นมีมากพวกที่เลื่อมใสนั้นมีน้อย

    เมื่อพระสาวกของพระผู้มีพระภาค เป็นผู้ยินดีในการอยู่ป่า เพื่อบำเพ็ญสมณธรรม ในที่ห่างไกลจากมนุษย์สัญจร อมนุษย์ผู้ไม่เลื่อมใส ย่อมจะย่ำยี หลอนหลอก กระทำให้เจ็บไข้เป็นอันตรายแก่ชีวิตและพรหมจรรย์ แต่ต่อนี้ไปจะไม่บังเกิดเหตุการณ์เช่นนั้นอีกแล้ว ถ้าพระบรมสุคตเจ้าทรงพระกรุณาโปรดรับมนต์อาฏานาฏิยปริตรนี้ไว้ แล้วโปรดประทานให้พระภิกษุสาวก สาธยายอยู่เนือง ๆ อมนุษย์ทั้งปวงก็จะมิกล้าย่ำยีหลอนหลอกทำร้าย อีกทั้งยังจะช่วยปกป้องคุ้มครอง กันภัยทั้งปวงให้อีกด้วยพระเจ้าข้า

    องค์สมเด็จพระผู้มีพระภาคเจ้า ทรงรับมนต์พระปริตรนั้นโดยดุษฏี

    ท้าวเวสวัณ ก็แสดงอาฏานาฏิยปริตรนั้นถวายและแล้ว มหาราชทั้ง ๔ ก็ถวายมนัสการลา

    สมเด็จพระบรมศาสดา จึงทรงมีพระบัญชาให้ประชุมภิกษุทั้งหลายในที่นั้น แล้วทรงแสดงมนต์พระปริตรนั้นให้แก่ภิกษุทั้งหลายได้เรียนสาธยาย เสร็จแล้วทรงมีพุทธฎีกาตรัสว่า

    ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ท่านทั้งหลายจงอุตสาหะ สาธยายมนต์พระปริตรนี้ให้บริบูรณ์ในสันดาน จะพ้นจากอุปัทวันอันตรายทั้งปวงได้ อมนุษย์ทั้งหลายก็จะไม่มาย่ำยี หลอนหลอก เธอทั้งหลายจะได้ดำรงค์อยู่เป็นสุข เพื่อยังพรหมจรรย์ให้เจริญ

    ภิกษุเหล่านั้นก็เปล่งสาธุการ น้อมรับด้วยเศียรเกล้า จบ


     

    ไฟล์ที่แนบมา:

  3. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    เมตตาพรหมวิหาระภาวนา (มหาเมตตาใหญ่)<O:p</O:p


    เอวัมเม สุตังฯ เอกัง สะมะยัง ภะคะวา สาวัตถิยัง วิหะระติ เชตะวะเน อะนาถะปิณฑิกัสสะ อารา เมฯ <O:p</O:p
    ตัตตระ โข ภะคะวา ภิกขู อามันเตสิ ภิกขะโวติ ภะทันเตติ เต ภิกขู ภะวะโต ปัจจัสโสสุงฯ <O:p</O:p
    ภะคะวา เอตะทะโวจะ เมตตายะ ภิกขะเว เจโตวิมุตติยา อาเส วิตายะ ภาวิตายะ พะหุลีกะตายะ ยานีกะตายะ<O:p</O:p
    วัตถุกะตายะ อะนุฏฐิตายะ ปะริจิตายะ สุสะมารัทธายะ เอกาทะสานิสังสา ปาฏิกังขาฯ กะตะเม เอกาทะสะ? <O:p</O:p
    (๑) สุขัง สุปะติ (๒) สุขัง ปะฏิพุชฌะติ (๓) นะ ปาปะกัง สุปินัง ปัสสะติ (๔) มะนุสสานัง ปิโย โหติ (๕) อะมะนุสสานัง ปิโย โหติ (๖) เทวะตา รักขันติ (๗) นาสสะ อัคคิ วา วิสัง วา สัตถัง วา กะมะติ (๘) ตุวะฏัง จิตตัง สะมาธิยะติ (๙) มุขะวัณโณ วิปปะสีทะติ (๑๐) อะสัมมุฬฬะโห กาลัง กะโรติ (๑๑) อุตตะริง อัปปะฏิวิชฌันโต พรหมมะโลกูปะโค โหติฯ <O:p</O:p
    เมตตายะภิกขะเว เจโตวิมุตติยา อาเสวิตายะ ภาวิตายะ พะหุลีกะตายะ<O:p</O:p
    ยานีกะตายะ วัตถุกะตายะ อะนุฏิฐิตายะ ปะริจิตายะ สุสะมารัทธายะ อิเม เอกาทะสานิสังสา ปาฏิกังขาฯ<O:p</O:p
    อัตถิ อะโนธิโส ผะระณา เมตตาเจโตวิมุตติ <O:p</O:p
    อัตถิ โอธิโส ผะระณา เมตตาเจโตวิมุตติ <O:p</O:p
    อัตถิ ทิสา ผะระณา เมตตาเจโตวิมุตติฯ<O:p</O:p
    กะตีหากาเรหิ อะโนธิโส ผะระณา เมตตาเจโตวิมุตติ?<O:p</O:p
    กะตีหากาเรหิ โอธิโส ผะระณา เมตตาเจโตวิมุตติ?<O:p</O:p
    กะตีหาการเรหิ ทิสา ผะระณา เมตตาเจโตวิมุตติ?<O:p</O:p
    ปัญจะหากาเรหิ อะโนธิโส ผะระณา เมตตาเจโตวิมุติฯ<O:p</O:p
    สัตตะหากาเรหิ โอธิโส ผะระณา เมตตาเจโตวิมุตติฯ<O:p</O:p
    ทะสะหากาเรหิ ทิสา ผะระณา เมตตาเจโตวิมุตติฯ<O:p</O:p
    กะตะเมหิ ปัญจะหากาเรหิ อะโนธิโส ผะระณา เมตตาเจโตวิมุตติ?<O:p</O:p
    (๑) สัพเพ สัตตา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ<O:p</O:p
    (๒) สัพเพ ปาณา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ<O:p</O:p
    (๓) สัพเพ ภูตา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ<O:p</O:p
    (๔) สัพเพ ปุคคะลา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ<O:p</O:p
    (๕) สัพเพ อัตตะภาวะปะริยาปันนา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตูติ<O:p</O:p

    อิเมหิ ปัญจะหากาเรหิ อะโนธิโส ผะระณา เมตตาเจโตวิมุตติฯ<O:p</O:p
    กะตะเมหิ สัตตะหากาเรหิ โอธิโส ผะระณา เมตตาเจโตวิมุตติฯ<O:p</O:p
    (๑) สัพเพ อิตถิโย อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ<O:p</O:p
    (๒) สัพเพ ปุริสา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ<O:p</O:p
    (๓) สัพเพ อะริยา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ<O:p</O:p
    (๔) สัพเพ อะนะริยา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ<O:p</O:p
    (๕) สัพเพ เทวา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ<O:p</O:p
    (๖) สัพเพ มะนุสสา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ<O:p</O:p
    (๗) สัพเพ วินิปาติกา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตูติ <O:p</O:p

    อิเมหิ สัตตะหากาเรหิ โอธิโส ผะระณา เมตตาเจโตวิมุตติฯ<O:p</O:p
    กะตะเมหิ ทะสะหากาเรหิ ทิสา ผะระณา เมตตาเจโตวิมุตติ<O:p</O:p
    (๑) สัพเพ ปุรัตถิมายะ ทิสายะ สัตตา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ<O:p</O:p
    (๒) สัพเพ ปัจฉิมายะ ทิสายะ สัตตา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ<O:p</O:p
    (๓) สัพเพ อุตตะรายะ ทิสายะ สัตตา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ<O:p</O:p
    (๔) สัพเพ ทักขิณายะ ทิสายะ สัตตา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ<O:p</O:p
    (๕) สัพเพ ปุรัตถิมายะ อะนุทิสายะ สัตตา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ<O:p</O:p
    (๖) สัพเพ ปัจฉิมายะ อะนุทิสายะ สัตตา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ<O:p</O:p
    (๗) สัพเพ อุตตะรายะ อะนุทิสายะ สัตตา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ<O:p</O:p
    (๘) สัพเพ ทักขะณายะ อะนุทิสายะ สัตตา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ<O:p</O:p
    (๙) สัพเพ เหฏฐิมายะ ทิสายะ สัตตา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ<O:p</O:p
    (๑๐)สัพเพ อุปะริมายะ ทิสายะ สัตตา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ<O:p</O:p
    (๑) สัพเพ ปุรัตถิยายะ ทิสายะ ปาณาอะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ<O:p</O:p
    (๒) สัพเพ ปัจฉิมายะ ทิสายะ ปาณาอะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ<O:p</O:p
    (๓) สัพเพ อุตตะรายะ ทิสายะ ปาณาอะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ<O:p</O:p
    (๔) สัพเพ ทักขิณายะ ทิสายะ ปาณาอะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ<O:p</O:p
    (๕) สัพเพ ปุรัตถิมายะ ทิสายะ ปาณาอะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ<O:p</O:p
    (๖) สัพเพ ปัจฉิมายะ อะนุทิสายะ ปาณาอะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ<O:p</O:p
    (๗) สัพเพ อุตตะรายะ อะนุทิสายะ ปาณาอะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ<O:p</O:p
    (๘) สัพเพ ทักขินายะ อะนุทิสายะ ปาณาอะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ<O:p</O:p
    (๙) สัพเพ เหฏฐิมายะ ทิสายะ ปาณาอะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ<O:p</O:p
    (๑๐)สัพเพ อุปะริมายะ ทิสายะ ปาณาอะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ<O:p</O:p
    (๑) สัพเพ ปุรัตถิมายะ ทิสายะ ภูตา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ<O:p</O:p
    (๒) สัพเพ ปัจฉิมายะ ทิสายะ ภูตา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ<O:p</O:p
    (๓) สัพเพ อุตตะรายะ ทิสายะ ภูตา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ<O:p</O:p
    (๔) สัพเพ ทักขิณายะ ทิสายะ ภูตา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ<O:p</O:p
    (๕) สัพเพ ปุรัตถิมายะ อะนุทิสายะ ภูตา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ<O:p</O:p
    (๖) สัพเพ ปัจฉิมายะ อะนุทิสายะ ภูตา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ<O:p</O:p
    (๗) สัพเพ อุตตะรายะ อะนุทิสายะ ภูตา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ<O:p</O:p
    (๘) สัพเพ ทักขิณายะ อะนุทิสายะ ภูตา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ<O:p</O:p
    (๙) สัพเพ เหฏฐิมายะ ทิสายะ ภูตา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ<O:p</O:p
    (๑๐)สัพเพ อุปะริมายะ ทิสายะ ภูตา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ<O:p</O:p
    (๑) สัพเพ ปุรัตถิมายะ ทิสายะ ปุคคะลา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ<O:p</O:p
    (๒) สัพเพ ปัจฉิมายะ ทิสายะ ปุคคะลา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ<O:p</O:p
    (๓) สัพเพ อุตตะรายะ ทิสายะ ปุคคะลา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ<O:p</O:p
    (๔) สัพเพ ทักขิณายะ ทิสายะ ปุคคะลา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ<O:p</O:p
    (๕) สัพเพ ปุรัตถิมายะ อะนุทิสายะ ปุคคะลา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ<O:p</O:p
    (๖) สัพเพ ปัจฉิมายะ อะนุทิสายะ ปุคคะลา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ<O:p</O:p
    (๗) สัพเพ อุตตะรายะ อะนุทิสายะ ปุคคะลา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ<O:p</O:p
    (๘) สัพเพ ทักขิณายะ อะนุทิสายะ ปุคคะลา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ<O:p</O:p
    (๙) สัพเพ เหฏฐิมายะ ทิสายะ ปุคคะลา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ<O:p</O:p
    (๑๐) สัพเพ อุปะริมายะ ทิสายะ ปุคคะลา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ<O:p</O:p
    (๑) สัพเพ ปุรัตถิมายะ ทิสายะ อัตตะภาวะปะริยาปันนา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ<O:p</O:p
    (๒) สัพเพ ปัจฉิมายะ ทิสายะ อัตตะภาวะปะริยาปันนา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ<O:p</O:p
    (๓) สัพเพ อุตตะรายะ ทิสายะ อัตตะภาวะปะริยาปันนา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ<O:p</O:p
    (๔) สัพเพ ทักขิณายะ ทิสายะ อัตตะภาวะปะริยาปันนา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ<O:p</O:p
    (๕) สัพเพ ปุรัตถิมายะ อะนุทิสายะ อัตตะภาวะปะริยาปันนา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ<O:p</O:p
    (๖) สัพเพ ปัจฉิมายะ อะนุทิสายะ อัตตะภาวะปะริยาปันนา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ<O:p</O:p
    (๗) สัพเพ อุตตะรายะ อะนุทิสายะ อัตตะภาวะปะริยาปันนา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ<O:p</O:p
    (๘) สัพเพ ทักขิณายะ อะนุทิสายะ อัตตะภาวะปะริยาปันนา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ<O:p</O:p
    (๙) สัพเพ เหฏฐิมายะ ทิสายะ อัตตะภาวะปะริยาปันนา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ<O:p</O:p
    (๑๐) สัพเพ อุปะริมายะ ทิสายะ อัตตะภาวะปะริยาปันนา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ<O:p</O:p
    (๑) สัพเพ ปุรัตถิมายะ ทิสายะ อิตถิโย อะเวรา อัพยาปัชฌา อานีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ<O:p</O:p
    (๒) สัพเพ ปัจฉิมายะ ทิสายะ อิตถิโย อะเวรา อัพยาปัชฌา อานีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ<O:p</O:p
    (๓) สัพเพ อุตตะรายะ ทิสายะ อิตถิโย อะเวรา อัพยาปัชฌา อานีฆา สุขีอัตตานัง ปะริหะรันตุฯ<O:p</O:p
    (๔) สัพเพ ทักขิณายะ ทิสายะ อิตถิโย อะเวรา อัพยาปัชฌา อานีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ<O:p</O:p
    (๕) สัพเพ ปุรัตถิมายะ อะนุทิสายะ อิตถิโย อะเวรา อัพยาปัชฌา อานีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ<O:p</O:p
    (๖) สัพเพ ปัจฉิมายะ อะนุทิสายะ อิตถิโย อะเวรา อัพยาปัชฌา อานีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ<O:p</O:p
    (๗) สัพเพ อุตตะรายะ อะนุทิสายะ อิตถิโย อะเวรา อัพยาปัชฌา อานีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ<O:p</O:p
    (๘) สัพเพ ทักขิณายะ อะนุทิสายะ อิตถิโย อะเวรา อัพยาปัชฌา อานีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ<O:p</O:p
    (๙) สัพเพ เหฏฐิมายะ ทิสายะ อิตถิโย อะเวรา อัพยาปัชฌา อานีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ<O:p</O:p
    (๑๐)สัพเพ อุปะริมายะ ทิสายะ อิตถิโย อะเวรา อัพยาปัชฌา อานีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ<O:p</O:p
    (๑) สัพเพ ปุรัตถิมายะ ทิสายะ ปุริสา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ<O:p</O:p
    (๒) สัพเพ ปัจฉิมายะ ทิสายะ ปุริสา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ<O:p</O:p
    (๓) สัพเพ อุตตะรายะ ทิสายะ ปุริสา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ<O:p</O:p
    (๔) สัพเพ ทักขิณายะ ทิสายะ ปุริสา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ<O:p</O:p
    (๕) สัพเพ ปุรัตถิมายะ อะนุทิสายะ ปุริสา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ<O:p</O:p
    (๖) สัพเพ ปัจฉิมายะ อะนุทิสายะ ปุริสา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ<O:p</O:p
    (๗) สัพเพ อุตตารายะ อะนุทิสายะ ปุริสา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ<O:p</O:p
    (๘) สัพเพ ทักขิณายะ อะนุทิสายะ ปุริสา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ<O:p</O:p
    (๙) สัพเพ เหฏฐิมายะ ทิสายะ ปุริสา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ<O:p</O:p
    (๑๐) สัพเพ อุปะริมายะ ทิสายะ ปุริสา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ<O:p</O:p
    (๑) สัพเพ ปุรัตถิมายะ ทิสายะ อะริยา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ<O:p</O:p
    (๒) สัพเพ ปัจฉิมายะ ทิสายะ อะริยา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ<O:p</O:p
    (๓) สัพเพ อุตตะรายะ ทิสายะ อะริยา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ<O:p</O:p
    (๔) สัพเพ ทักขิณายะ ทิสายะ อะริยา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ<O:p</O:p
    (๕) สัพเพ ปุรัตถิมายะ อะนุทิสายะ อะริยา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ<O:p</O:p
    (๖) สัพเพ ปัจฉิมายะ อะนุทิสายะ อะริยา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ<O:p</O:p
    (๗) สัพเพ อุตตะรายะ อะนุทิสายะ อะริยา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ<O:p</O:p
    (๘) สัพเพ ทักขิณายะ อะนุทิสายะ อะริยา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ<O:p</O:p
    (๙) สัพเพ เหฏฐิมายะ ทิสายะ อะริยา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ<O:p</O:p
    (๑๐) สัพเพ อุปะริมายะ ทิสายะ อะริยา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ<O:p</O:p
    (๑) สัพเพ ปุรัตถิมายะ ทิสายะ อะนะริยา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ<O:p</O:p
    (๒) สัพเพ ปัจฉิมายะ ทิสายะ อะนะริยา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ<O:p</O:p
    (๓) สัพเพ อุตตะรายะ ทิสายะ อะนะริยา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ<O:p</O:p
    (๔) สัพเพ ทักขิณายะ ทิสายะ อะนะริยา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ<O:p</O:p
    (๕) สัพเพ ปุรัตถิมายะ อะนุทิสายะ อะนะริยา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ<O:p</O:p
    (๖) สัพเพ ปัจฉิมายะ อะนุทิสายะ อะนะริยา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ<O:p</O:p
    (๗) สัพเพ อุตตะรายะ อะนุทิสายะ อะนะริยา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ<O:p</O:p
    (๘) สัพเพ ทักขิณายะ อะนุทิสายะ อะนะริยา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ<O:p</O:p
    (๙) สัพเพ เหฏฐิมายะ ทิสายะ อะนะริยา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ<O:p</O:p
    (๑๐) สัพเพ อุปะริมายะ ทิสายะ อะนะริยา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ<O:p</O:p
    (๑) สัพเพ ปุรัตถิมายะ ทิสายะ เทวา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ<O:p</O:p
    (๒) สัพเพ ปัจฉิมายะ ทิสายะ เทวา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ<O:p</O:p
    (๓) สัพเพ อุตตะรายะ ทิสายะ เทวา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ<O:p</O:p
    (๔) สัพเพ ทักขิณายะ ทิสายะ เทวา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ<O:p</O:p
    (๕) สัพเพ ปุรัตถิมายะ อะนุทิสายะ เทวา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ<O:p</O:p
    (๖) สัพเพ ปัจฉิมายะ อะนุทิสายะ เทวา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ<O:p</O:p
    (๗) สัพเพ อุตตะรายะ อะนุทิสายะ เทวา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ<O:p</O:p
    (๘) สัพเพ ทักขิณายะ อะนุทิสายะ เทวา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ<O:p</O:p
    (๙) สัพเพ เหฏฐิมายะ ทิสายะ เทวา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ<O:p</O:p
    (๑๐) สัพเพ อุปะริมายะ ทิสายะ เทวา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ<O:p</O:p
    (๑) สัพเพ ปุรัตถิมายะ ทิสายะ มะนุสสา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ<O:p</O:p
    (๒) สัพเพ ปัจฉิมายะ ทิสายะ มะนุสสา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ<O:p</O:p
    (๓) สัพเพ อุตตะรายะ ทิสายะ มะนุสสา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ<O:p</O:p
    (๔) สัพเพ ทักขิณายะ ทิสายะ มะนุสสา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ<O:p</O:p
    (๕) สัพเพ ปุรัตถิมายะ อะนุทิสายะ มะนุสสา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ<O:p</O:p
    (๖) สัพเพ ปัจฉิมายะ อะนุทิสายะ มะนุสสา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ<O:p</O:p
    (๗) สัพเพ อุตตะรายะ อะนุทิสายะ มะนุสสา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ<O:p</O:p
    (๘) สัพเพ ทักขิณายะ อะนุทิสายะ มะนุสสา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ<O:p</O:p
    (๙) สัพเพ เหฏฐิมายะ ทิสายะ มะนุสสา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ<O:p</O:p
    (๑๐) สัพเพ อุปะริมายะ ทิสายะ มะนุสสา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ<O:p</O:p
    (๑) สัพเพ ปุรัตถิมายะ ทิสายะ วินิปาติกา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ<O:p</O:p
    (๒) สัพเพ ปัจฉิมายะ ทิสายะ วินิปาติกา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ<O:p</O:p
    (๓) สัพเพ อุตตะรายะ ทิสายะ วินิปาติกา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ<O:p</O:p
    (๔) สัพเพ ทักขิณายะ ทิสายะ วินิปาติกา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ<O:p</O:p
    (๕) สัพเพ ปุรัตถิมายะ อะนุทิสายะ วินิปาติกา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ<O:p</O:p
    (๖) สัพเพ ปัจฉิมายะ อะนุทิสายะ วินิปาติกา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ<O:p</O:p
    (๗) สัพเพ อุตตะรายะ อะนุทิสายะ วินิปาติกา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ<O:p</O:p
    (๘) สัพเพ ทักขิณายะ อะนุทิสายะ วินิปาติกา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ<O:p</O:p
    (๙) สัพเพ เหฏฐิมายะ ทิสายะ วินิปาติกา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ<O:p</O:p
    (๑๑) สัพเพ อุปะริมายะ ทิสายะ วินิปาติกา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตูติฯ<O:p</O:p
    อิเมหิ ทะสะหากาเรหิ ทิสา ผะระณา เมตตาเจโตวิมุตติ<O:p</O:p
    สัพเพสัง สัตตานัง ปีฬะนัง วัชเชตวา<O:p</O:p
    อะปีฬานะยะ อุปะฆาตัง วัชเชตวา<O:p</O:p
    อะนุปิฆาเตนะ สันตาปัง วัชเชตวา<O:p</O:p
    อะสันตาเปนะ ปะริยาทานัง วัชเชตวา<O:p</O:p
    อะปะริยาทาเนนะ วิเหสัง วัชเชตวา<O:p</O:p
    อะวิเหสายะ สัพเพ สัตตา อะเวริโน โหนตุ มา เวริโน สุขิโน โหนตุ มา ทุกขิโน สุขิตัตตา โหนตุ มา<O:p</O:p
    ทุกขิตตาติ อิเมหิ อัฏฐะหากาเรหิ สัพเพ สัตตา เมตตายะตีติ เมตตา ตัง ธัมมัง เจตะยะตีติ<O:p</O:p
    เจโต สัพพะพะยาปะทะปะริยุฏฐาเนหิ มุจจะตีติ เมตตา จะ เจโตวิมุตติ จาติ เมตตาเจโตวิมุตติฯ<O:p</O:p
    เมตตา พรหมมะวิหาระภาวะนา นิฏฐิตา.


    เมตตาพรหมวิหาระภาวนา<O:p</O:p
    (มหาเมตตาใหญ่แปล)<O:p</O:p

    ข้าพเจ้าได้ฟังมาอย่างนี้ว่า ในสมัยหนึ่ง พระผู้มีพระภาคเจ้าประทับอยู่ ณ พระเชตวันมหาวิหาร ซึ่งเป็นอารามของท่านอนาถบิณฑิกมหาเศรษฐี ใกล้เมืองสาวัตถีฯ ณ โอกาสนั้นและรพผู้มีพระภาคตรัสเรียกพระภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรภิกษุทั้งหลายฯ พระภิกษุทั้งหลายเหล่านั้น ได้ตอบรับพระผู้มีพระภาคเจ้าว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญฯ พระผู้มีพระภาคได้ประทานพระดำรัสว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย (คนผู้เจริญเมตตาภาวนาเป็นประจำ) หวังได้แน่นอน (ที่จะรับ) อานิสงส์ ๑๑ ประการ ของเมตตาเจโตวิมุติ ที่ตนต้องเสพ (ทำให้ชำนาญ) แล้ว ทำให้เจริญขึ้นแล้ว ทำให้มากแล้ว สั่งสม (ด้วยวสี ๕ ประการ) ดีแล้ว ทำให้บังเกิดขึ้นด้วยดีแล้วฯ อานิสงส์ ๑๑ ประการ (ของเมตตาเจโตวิมุติ) คืออะไรบ้าง? (อานิสงส์ ๑๑ ประการ ของเมตตาเจโตวิมุติ คือ) <O:p</O:p
    (๑) นอนหลับเป็นสุข<O:p</O:p
    (๒) ตื่นเป็นสุข<O:p</O:p
    (๓) ไม่ฝันร้าย<O:p</O:p
    (๔) เป็นที่รักของมนุษย์ทั้งหลาย<O:p</O:p
    (๕) เป็นที่รักของอมนุษย์ทั้งหลาย<O:p</O:p
    (๖) เทวดาทั้งหลายเฝ้ารักษา<O:p</O:p
    (๗) ไฟ ยาพิษ หรือ ศัสตรา ไม่กล้ำกราย (ในตัว) ของเขา<O:p</O:p
    (๘) จิตเป็นสมาธิเร็ว<O:p</O:p
    (๙) ผิวหน้าผ่องใส<O:p</O:p
    (๑๐) ไม่หลงตาย<O:p</O:p
    (๑๑) ยังไม่บรรลุคุณธรรมเบื้องสูง ก็จะบังเกิดในพรหมโลก<O:p</O:p
    ดูกรภิกษุทั้งหลาย คนผู้เจริญเมตตาภาวนาเป็นประจำ หวังได้แน่นอนที่จะได้รับ อานิสงส์ ๑๑ ประการของเมตตาเจโตวิมุติ ที่ตนส้องเสพ ทำให้ชำนาญ แล้วทำให้เจริญขึ้นแล้ว ทำให้มากแล้ว สั่งสม ด้วยวสี ๕ ประการดีแล้ว ทำให้บังเกิดขึ้นด้วยดีแล้วฯ<O:p</O:p
    เมตตาเจโตวิมุติ ที่แผ่ไปไม่เจาะจง (บุคคล) มีอยู่ <O:p</O:p
    เมตตาเจโตวิมุติ ที่แผ่ไปเจาะจง บุคคล มีอยู่<O:p</O:p
    เมตตาเจโตวิมุติ ที่แผ่ไปในทิศที่มีอยู่ฯ<O:p</O:p
    เมตตาเจโตวิมุติ ที่แผ่ไปโดยไม่เจาะจง (บุคคล) มีกี่อย่าง?<O:p</O:p
    เมตตาเจโตวิมุติ ที่แผ่ไปโดยเจาะจง (บุคคล) มีกี่อย่าง?<O:p</O:p
    เมตตาเจโตวิมุติ ที่แผ่ไปในทิศ มีกี่อย่าง?<O:p</O:p
    เมตตาเจโตวิมุติที่แผ่ไปไม่เจาะจง (บุคคล) มี ๕ อย่าง<O:p</O:p
    เมตตาเจโตวิมุติที่แผ่ไปโดยเจาะจง (บุคคล) มี ๗ อย่าง<O:p</O:p
    เมตตาเจโตวิมุติที่แผ่ไปในทิศมี ๑๐ อย่างฯ<O:p</O:p
    เมตตาเจโตวิมุติที่แผ่ไปไม่เจาะจง (บุคคล) ๕ อย่างมีอะไรบ้าง?<O:p</O:p
    เมตตาเจโตวิมุติที่แผ่ไปไม่เจาะจง (บุคคล) ๕ อย่าง คือ<O:p</O:p
    (๑) ขอสัตว์ทั้งหลายทั้งปวง จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัยเถิดฯ<O:p</O:p
    (๒) ขอปาณะทั้งหลายทั้งปวง จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ<O:p</O:p
    (๓) ขอภูตทั้งหลายทั้งปวง จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัยเถิดฯ<O:p</O:p
    (๔) ขอบุคคลทั้งหลายทั้งปวง จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัยเถิดฯ<O:p</O:p
    (๕) ขอผู้มีอัตตภาพทั้งหลายทั้งปวง จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัยเถิดฯ<O:p</O:p
    เมตตาเจโตวิมุติที่แผ่ไปโดยเจาะจง (บุคคล) ๗ อย่าง มีอะไรบ้าง? (เมตตาเจโตวิมุติที่แผ่ไปโดยเจาะจง (บุคคล) ๗ อย่าง คือ)<O:p</O:p
    (๑) ขอสตรีทั้งหลายทั้งปวง จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ<O:p</O:p
    (๒) ขอบุรุษทั้งหลายทั้งปวง จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ<O:p</O:p
    (๓) ขอพระอริยเจ้าทั้งหลายทั้งปวง จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ<O:p</O:p
    (๔) ขอปุถุชนทั้งหลายทั้งปวง จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ<O:p</O:p
    (๕) ขอเทวดาทั้งหลายทั้งปวง จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ<O:p</O:p
    (๖) ขอมนุษย์ทั้งหลายทั้งปวง จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ<O:p</O:p
    (๗) ขอสัตว์วินิปาติกะทั้งหลายทั้งปวง จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ<O:p</O:p
    เมตตาเจโตวิมุติที่แผ่ไปในทิศ ๑๐ อย่าง มีอะไรบ้าง? (เมตตาเจโตวิมุติที่แผ่ไปในทิศ ๑๐ อย่าง คือ)<O:p</O:p
    (๑) ประเภทที่ ๑<O:p</O:p
    (๑) ขอสัตว์ทั้งหลายทั้งปวง ในทิศบูรพา (ตะวันออก) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ<O:p</O:p
    (๒) ขอสัตว์ทั้งหลายทั้งปวง ในทิศปัจจิม (ตะวันตก) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ<O:p</O:p
    (๓) ขอสัตว์ทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอุดร (เหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ<O:p</O:p
    (๔) ขอสัตว์ทั้งหลายทั้งปวง ในทิศทักษิณ (ใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ<O:p</O:p
    (๕) ขอสัตว์ทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอาคเนย์ (ตะวันออกเฉียงใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ<O:p</O:p
    (๖) ขอสัตว์ทั้งหลายทั้งปวง ในทิศพายัพ (ตะวันตกเฉียงเหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ<O:p</O:p
    (๗) ขอสัตว์ทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอีสาน (ตะวันออกเฉียงเหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ<O:p</O:p
    (๘) ขอสัตว์ทั้งหลายทั้งปวง ในทิศหรดี (ตะวันตกเฉียงใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ<O:p</O:p
    (๙) ขอสัตว์ทั้งหลายทั้งปวง ในทิศเบื้องล่าง จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ<O:p</O:p
    (๑๐) ขอสัตว์ทั้งหลายทั้งปวง ในทิศเบื้องบน จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ<O:p</O:p
    (๒) ประเภทที่ ๒<O:p</O:p
    (๑) ขอปาณะทั้งหลายทั้งปวง ในทิศบูรพา (ตะวันออก) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ<O:p</O:p
    (๒) ขอปาณะทั้งหลายทั้งปวง ในทิศปัจจิม (ตะวันตก) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ<O:p</O:p
    (๓) ขอปาณะทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอุดร (เหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ<O:p</O:p
    (๔) ขอปาณะทั้งหลายทั้งปวง ในทิศทักษิณ (ใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ<O:p</O:p
    (๕) ขอปาณะทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอาคเนย์ (ตะวันออกเฉียงใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ<O:p</O:p
    (๖) ขอปาณะทั้งหลายทั้งปวง ในทิศพายัพ (ตะวันตกเฉียงเหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ<O:p</O:p
    (๗) ขอปาณะทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอีสาน (ตะวันออกเฉียงเหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ<O:p</O:p
    (๘) ขอปาณะทั้งหลายทั้งปวง ในทิศหรดี (ตะวันตกเฉียงใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ<O:p</O:p
    (๙) ขอปาณะทั้งหลายทั้งปวง ในทิศเบื้องล่าง จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ<O:p</O:p
    (๑๐) ขอปาณะทั้งหลายทั้งปวง ในทิศเบื้องบน จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ<O:p</O:p
    (๓) ประเภทที่ ๓<O:p</O:p
    (๑) ขอภูตทั้งหลายทั้งปวง ในทิศบูรพา (ตะวันออก) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ<O:p</O:p
    (๒) ขอภูตทั้งหลายทั้งปวง ในทิศปัจจิม (ตะวันตก) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ<O:p</O:p
    (๓) ขอภูตทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอุดร (เหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ<O:p</O:p
    (๔) ขอภูตทั้งหลายทั้งปวง ในทิศทักษิณ (ใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ<O:p</O:p
    (๕) ขอภูตทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอาคเนย์ (ตะวันออกเฉียงใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ<O:p</O:p
    (๖) ขอภูตทั้งหลายทั้งปวง ในทิศพายัพ (ตะวันตกเฉียงเหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ<O:p</O:p
    (๗) ขอภูตทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอีสาน (ตะวันออกเฉียงเหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ<O:p</O:p
    (๘) ขอภูตทั้งหลายทั้งปวง ในทิศหรดี (ตะวันตกเฉียงใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ<O:p</O:p
    (๙) ขอภูตทั้งหลายทั้งปวง ในทิศเบื้องล่าง จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ<O:p></O:p>
    (๑๐) ขอภูตทั้งหลายทั้งปวง ในทิศเบื้องบน จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ<O:p></O:p>
    (๔) ประเภทที่ ๔<O:p</O:p
    (๑) ขอบุคคลทั้งหลายทั้งปวง ในทิศบูรพา (ตะวันออก) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ<O:p</O:p
    (๒) ขอบุคคลทั้งหลายทั้งปวง ในทิศปัจจิม (ตะวันตก) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ<O:p</O:p
    (๓) ขอบุคคลทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอุดร (เหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ<O:p</O:p
    (๔) ขอบุคคลทั้งหลายทั้งปวง ในทิศทักษิณ (ใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ<O:p</O:p
    (๕) ขอบุคคลทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอาคเนย์ (ตะวันออกเฉียงใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ<O:p</O:p
    (๖) ขอบุคคลทั้งหลายทั้งปวง ในทิศพายัพ (ตะวันตกเฉียงเหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ<O:p</O:p
    (๗) ขอบุคคลทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอีสาน (ตะวันออกเฉียงเหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ<O:p</O:p
    (๘) ขอบุคคลทั้งหลายทั้งปวง ในทิศหรดี (ตะวันตกเฉียงใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ<O:p</O:p
    (๙) ขอบุคคลทั้งหลายทั้งปวง ในทิศเบื้องล่าง จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ<O:p</O:p
    (๑๐) ขอบุคคลทั้งหลายทั้งปวง ในทิศเบื้องบน จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ<O:p</O:p
    (๕) ประเภทที่ ๕<O:p</O:p
    (๑) ขอผู้มีอัตตภาพทั้งหลายทั้งปวง ในทิศบูรพา (ตะวันออก) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ<O:p</O:p
    (๒) ขอผู้มีอัตตภาพทั้งหลายทั้งปวง ในทิศปัจจิม (ตะวันตก) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ<O:p</O:p
    (๓) ขอผู้มีอัตตภาพทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอุดร (เหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ<O:p</O:p
    (๔) ขอผู้มีอัตตภาพทั้งหลายทั้งปวง ในทิศทักษิณ (ใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ<O:p</O:p
    (๕) ขอผู้มีอัตตภาพทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอาคเนย์ (ตะวันออกเฉียงใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ<O:p</O:p
    (๖) ขอผู้มีอัตภาพทั้งหลายทั้งปวง ในทิศพายัพ (ตะวันตกเฉียงเหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ<O:p</O:p
    (๗) ขอผู้มีอัตภาพทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอีสาน (ตะวันออกเฉียงเหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ<O:p</O:p
    (๘) ขอผู้มีอัตภาพทั้งหลายทั้งปวง ในทิศหรดี (ตะวันตกเฉียงใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ<O:p</O:p
    (๙) ขอผู้มีอัตภาพทั้งหลายทั้งปวง ในทิศเบื้องล่าง จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ<O:p</O:p
    (๑๐) ขอผู้มีอัตภาพทั้งหลายทั้งปวง ในทิศเบื้องบน จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ<O:p</O:p
    (๖) ประเภทที่ ๖<O:p</O:p
    (๑) ขอสตรีทั้งหลายทั้งปวง ในทิศบูรพา (ตะวันออก) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ<O:p</O:p
    (๒) ขอสตรีทั้งหลายทั้งปวง ในทิศปัจจิม (ตะวันตก) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ<O:p</O:p
    (๓) ขอสตรีทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอุดร (เหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ<O:p</O:p
    (๔) ขอสตรีทั้งหลายทั้งปวง ในทิศทักษิณ (ใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ<O:p</O:p
    (๕) ขอสตรีทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอาคเนย์ (ตะวันออกเฉียงใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ<O:p</O:p
    (๖) ขอสตรีทั้งหลายทั้งปวง ในทิศพายัพ (ตะวันตกเฉียงเหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ<O:p</O:p
    (๗) ขอสตรีทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอีสาน (ตะวันออกเฉียงเหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ<O:p</O:p
    (๘) ขอสตรีทั้งหลายทั้งปวง ในทิศหรดี (ตะวันตกเฉียงใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ<O:p</O:p
    (๙) ขอสตรีทั้งหลายทั้งปวง ในทิศเบื้องล่าง จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ<O:p</O:p
    (๑๐) ขอสตรีทั้งหลายทั้งปวง ในทิศเบื้องบน จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ<O:p</O:p
    (๗) ประเภทที่ ๗<O:p</O:p
    (๑) ขอบุรุษทั้งหลายทั้งปวง ในทิศบูรพา (ตะวันออก) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ<O:p</O:p
    (๒) ขอบุรุษทั้งหลายทั้งปวง ในทิศปัจจิม (ตะวันตก) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ<O:p</O:p
    (๓) ขอบุรุษทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอุดร (เหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ<O:p</O:p
    (๔) ขอบุรุษทั้งหลายทั้งปวง ในทิศทักษิณ (ใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ<O:p</O:p
    (๕) ขอบุรุษทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอาคเนย์ (ตะวันออกเฉียงใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ<O:p</O:p
    (๖) ขอบุรุษทั้งหลายทั้งปวง ในทิศพายัพ (ตะวันตกเฉียงเหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ<O:p</O:p
    (๗) ขอบุรุษทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอีสาน (ตะวันออกเฉียงเหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ<O:p</O:p
    (๘) ขอบุรุษทั้งหลายทั้งปวง ในทิศหรดี (ตะวันตกเฉียงใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ<O:p</O:p
    (๙) ขอบุรุษทั้งหลายทั้งปวง ในทิศเบื้องล่าง จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ<O:p</O:p
    (๑๐) ขอบุรุษทั้งหลายทั้งปวง ในทิศเบื้องบน จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ<O:p</O:p
    (๘) ประเภทที่ ๘<O:p</O:p
    (๑) ขอพระอริยเจ้าทั้งหลายทั้งปวง ในทิศบูรพา (ตะวันออก) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ<O:p</O:p
    (๒) ขอพระอริยเจ้าทั้งหลายทั้งปวง ในทิศปัจจิม (ตะวันตก) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ<O:p</O:p
    (๓) ขอพระอริยเจ้าทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอุดร (เหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ<O:p</O:p
    (๔) ขอพระอริยเจ้าทั้งหลายทั้งปวง ในทิศทักษิณ (ใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ<O:p</O:p
    (๕) ขอพระอริยเจ้าทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอาคเนย์ (ตะวันออกเฉียงใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ<O:p</O:p
    (๖) ขอพระอริยเจ้าทั้งหลายทั้งปวง ในทิศพายัพ (ตะวันตกเฉียงเหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ<O:p</O:p
    (๗) ขอพระอริยเจ้าทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอีสาน (ตะวันออกเฉียงเหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ<O:p</O:p
    (๘) ขอพระอริยเจ้าทั้งหลายทั้งปวง ในทิศหรดี (ตะวันตกเฉียงใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ<O:p</O:p
    (๙) ขอพระอริยเจ้าทั้งหลายทั้งปวง ในทิศเบื้องล่าง จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ<O:p</O:p
    (๑๐) ขอพระอริยเจ้าทั้งหลายทั้งปวง ในทิศเบื้องบน จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ<O:p</O:p
    (๙) ประเภทที่ ๙<O:p</O:p
    (๑) ขอปุถุชนขอผู้มีอัตตภาพทั้งหลายทั้งปวง ในทิศบูรพา (ตะวันออก) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ<O:p</O:p
    (๒) ขอปุถุชนทั้งหลายทั้งปวง ในทิศปัจจิม (ตะวันตก) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ<O:p</O:p
    (๓) ขอปุถุชนทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอุดร (เหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ<O:p</O:p
    (๔) ขอปุถุชนทั้งหลายทั้งปวง ในทิศทักษิณ (ใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ<O:p</O:p
    (๕) ขอปุถุชนทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอาคเนย์ (ตะวันออกเฉียงใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ<O:p</O:p
    (๖) ขอปุถุชนทั้งหลายทั้งปวง ในทิศพายัพ (ตะวันตกเฉียงเหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ<O:p</O:p
    (๗) ขอปุถุชนทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอีสาน (ตะวันออกเฉียงเหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ<O:p</O:p
    (๘) ขอปุถุชนทั้งหลายทั้งปวง ในทิศหรดี (ตะวันตกเฉียงใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ<O:p</O:p
    (๙) ขอปุถุชนทั้งหลายทั้งปวง ในทิศเบื้องล่าง จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ<O:p</O:p
    (๑๐) ขอปุถุชนทั้งหลายทั้งปวง ในทิศเบื้องบน จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ<O:p</O:p
    (๑๐) ประเภทที่ ๑๐<O:p</O:p
    (๑) ขอเทวดาขอผู้มีอัตตภาพทั้งหลายทั้งปวง ในทิศบูรพา (ตะวันออก) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ<O:p</O:p
    (๒) ขอเทวดาทั้งหลายทั้งปวง ในทิศปัจจิม (ตะวันตก) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ<O:p</O:p
    (๓) ขอเทวดาทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอุดร (เหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ<O:p</O:p
    (๔) ขอเทวดาทั้งหลายทั้งปวง ในทิศทักษิณ (ใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ<O:p</O:p
    (๕) ขอเทวดาทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอาคเนย์ (ตะวันออกเฉียงใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ<O:p</O:p
    (๖) ขอเทวดาทั้งหลายทั้งปวง ในทิศพายัพ (ตะวันตกเฉียงเหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ<O:p</O:p
    (๗) ขอเทวดาทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอีสาน (ตะวันออกเฉียงเหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ<O:p</O:p
    (๘) ขอเทวดาทั้งหลายทั้งปวง ในทิศหรดี (ตะวันตกเฉียงใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ<O:p</O:p
    (๙) ขอเทวดาทั้งหลายทั้งปวง ในทิศเบื้องล่าง จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ<O:p</O:p
    (๑๐) ขอผู้มีเทวดาทั้งหลายทั้งปวง ในทิศเบื้องบน จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ<O:p</O:p
    (๑๑) ประเภทที่ ๑๑<O:p</O:p
    (๑) ขอมนุษย์ทั้งหลายทั้งปวง ในทิศบูรพา (ตะวันออก) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ<O:p</O:p
    (๒) ขอมนุษย์ทั้งหลายทั้งปวง ในทิศปัจจิม (ตะวันตก) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ<O:p</O:p
    (๓) ขอมนุษย์ทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอุดร (เหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ<O:p</O:p
    (๔) ขอมนุษย์ทั้งหลายทั้งปวง ในทิศทักษิณ (ใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ<O:p</O:p
    (๕) ขอมนุษย์ทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอาคเนย์ (ตะวันออกเฉียงใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ<O:p</O:p
    (๖) ขอมนุษย์ทั้งหลายทั้งปวง ในทิศพายัพ (ตะวันตกเฉียงเหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ<O:p</O:p
    (๗) ขอมนุษย์ทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอีสาน (ตะวันออกเฉียงเหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ<O:p</O:p
    (๘) ขอมนุษย์ทั้งหลายทั้งปวง ในทิศหรดี (ตะวันตกเฉียงใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ<O:p</O:p
    (๙) ขอมนุษย์ทั้งหลายทั้งปวง ในทิศเบื้องล่าง จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ<O:p</O:p
    (๑๐) ขอมนุษย์ทั้งหลายทั้งปวง ในทิศเบื้องบน จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ<O:p</O:p
    (๑๒) ประเภทที่ ๑๒<O:p</O:p
    (๑) ขอสัตว์วินิปาติกะทั้งหลายทั้งปวง ในทิศบูรพา (ตะวันออก) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ<O:p</O:p
    (๒) ขอสัตว์วินิปาติกะทั้งหลายทั้งปวง ในทิศปัจจิม (ตะวันตก) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ<O:p</O:p
    (๓) ขอสัตว์วินิปาติกะทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอุดร (เหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ<O:p</O:p
    (๔) ขอสัตว์วินิปาติกะทั้งหลายทั้งปวง ในทิศทักษิณ (ใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ<O:p</O:p
    (๕) ขอสัตว์วินิปาติกะทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอาคเนย์ (ตะวันออกเฉียงใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ<O:p</O:p
    (๖) ขอสัตว์วินิปาติกะทั้งหลายทั้งปวง ในทิศพายัพ (ตะวันตกเฉียงเหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ<O:p</O:p
    (๗) ขอสัตว์วินิปาติกะทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอีสาน (ตะวันออกเฉียงเหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ<O:p</O:p
    (๘) ขอสัตว์วินิปาติกะทั้งหลายทั้งปวง ในทิศหรดี (ตะวันตกเฉียงใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ<O:p</O:p
    (๙) ขอสัตว์วินิปาติกะทั้งหลายทั้งปวง ในทิศเบื้องล่าง จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ<O:p</O:p
    (๑๐) ขอสัตว์วินิปาติกะทั้งหลายทั้งปวง ในทิศเบื้องบน จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ<O:p</O:p
    เมตตาเจโตวิมุติแผ่ไปสู่สัตว์ทั้งหลายทั้งปวงด้วยอาการ ๘ นี้ คือ<O:p</O:p
    ด้วยการเว้นการบีบคั้น ไม่บีบคั้นสัตว์ทั้งปวง ๑<O:p</O:p
    ด้วยการเว้นการฆ่า ไม่ฆ่าสัตว์ทั้งปวง ๑<O:p</O:p
    ด้วยการเว้นการทำให้เดือดร้อน ไม่ทำสัตว์ทั้งปวงให้เดือดร้อน ๑<O:p</O:p
    ด้วยการเว้นการย่ำยี ไม่ย่ำยีสัตว์ทั้งปวง ๑<O:p</O:p
    ด้วยการเว้นการเบียดเบียน ไม่เบียดเบียนสัตว์ทั้งปวง ๑<O:p</O:p
    ขอสัตว์ทั้งปวง จงเป็นผู้ไม่มีเวร อย่าได้มีเวร ๑<O:p</O:p
    จงเป็นผู้มีสุข อย่ามีทุกข์ ๑<O:p</O:p
    จงมีตนเป็นสุข อย่ามีตนเป็นทุกข์ ๑<O:p</O:p
    จิตชื่อว่า เมตตา เพราะรัก ชื่อว่า เจโต เพราะคิดถึง ธรรมนั้น ชื่อ วิมุติ เพราะพ้นจากพยาบาท และ ปริยุฏฐานกิเลสทั้งปวง จิตมีเมตตาด้วย เป็นเจโตวิมุติด้วย เพราะฉะนั้น จึงชื่อว่า เมตตาเจโตวิมุติฯเมตตาพรหมวิหารภาวนา<O:p</O:p

     
  4. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    พระคาถาอาการะวัตตาสูตร<O:p</O:p

    <O:p</O:p

    พระพุทธเจ้าทั้งหลาย ๒๘ พระองค์ที่ล่วงไปแล้วก็ดี พระพุทธเจ้าในปัจจุบันก็ดี ได้ทรงกระทำตามกันมาทุกๆพระองค์<O:p</O:p
    พระสูตรนี้เป็นพระสูตรอันใหญ่ยิ่งหาสูตรอื่นมาเปรียบมิได้ ด้วยมีทั้ง พระสูตร พระวินัย พระปรมัตถ์ พระปิฎก<O:p</O:p
    ขอท่านทั้งหลายอย่าได้ทิ้งวางในที่อันไม่สมควรเลย จงทำการสักการะบูชา สวดมนต์ ภาวนา ฟัง ตามสติกำลังด้วยเทอญ

    1. อิติปิโสภะคะวา อะระหัง
    อิติปิโสภะคะวา สัมมาสัมพุทโธ
    อิติปิโสภะคะวา วิชชาจะระณะสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา สุคะโต
    อิติปิโสภะคะวา โลกะวิทู
    อิติปิโสภะคะวา อะนุตตะโรปุริสะธัมมะสาระถิ
    อิติปิโสภะคะวา สัตถาเทวะมะนุสสานัง
    อิติปิโสภะคะวา พุทโธ
    อิติปิโสภะคะวา ภะคะวาติ
    (พุทธะคุณะวัคโค ปะฐะโม)

    2. อิติปิโสภะคะวา อะภินิหาระ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา อุฬารัชฌาสะยะ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา ปะนิธานะ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา มะหากะรุณา ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา ญาณะ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา ปะโยคะ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา ยุติ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา ชุติ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา คัพภะโอกกันติ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา คัพภะฐิติ ปาระมิสัมปันโน
    (อะภินิหาระวัคโค ทุติโย)

    3.อิติปิโสภะคะวา คัพภะวุฏฐานะ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา คัพภะมะละวิระหิตะ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา อุตตะมะชาติ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา คะติ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา อะภิรูปะ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา สุวัณณะ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา มะหาสิริ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา อาโรหะ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา ปะรินาหะ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา สุนิฏฐะ ปาระมิสัมปันโน
    (คัพภะวุฏฐานะวัคโค ตะติโย)

    4. อิติปิโสภะคะวา อะภิสัมโพธิ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา สีละขันธะ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา สะมาธิขันธะ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา ปัญญาขันธะ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา ทะวัตติงสะมะหาปุริสะลักขะณะ ปาระมิสัมปันโน
    (อะภิสัมโพธิวัคโค จะตุฏโฐ)

    5. อิติปิโสภะคะวา มะหาปัญญา ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา ปุถุปัญญา ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา หาสะปัญญา ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา ชะวะนะปัญญา ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา ติกขะปัญญา ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา ปัญจะจักขุ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา อัฏฐาระสะพุทธะกะระ ปาระมิสัมปันโน
    (มะหาปัญญาวัคโค ปัญจะโม)

    6. อิติปิโสภะคะวา ทานะ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา สีละ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา เนกขัมมะ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา ปัญญา ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา วิริยะ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา ขันตี ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา สัจจะ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา อะธิษฐานะ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา เมตตา ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา อุเปกขา ปาระมิสัมปันโน
    (ปาระมิวัคโค ฉัฏโฐ)

    7. อิติปิโสภะคะวา ทะสะ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา ทะสะอุปะ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา ทะสะปะระมัตถะ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา สะมะติงสะ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา ตังตังฌานะฌานังคะ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา อะภิญญาณะ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา สะติ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา สะมาธิ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา วิมุตติ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา วิมุตติญาณะ ปาระมิสัมปันโน
    (ทะสะปาระมิวัคโค สัตตะโม)

    8. อิติปิโสภะคะวา วิชชาจะระณะวิปัสสะนาวิชชา ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา มะโนมะยิทธิวิชชา ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา อิทธิวิทธิวิชชา ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา ทิพพะโสตะวิชชา ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา ปะระจิตตะวิชชา ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา ปุพเพนิวาสานุสสะติวิชชา ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา ทิพพะจักขุวิชชา ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา จะระณะวิชชา ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา จะระณะธัมมะวิชชา ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา อะนุปุพพะวิหาระ ปาระมิสัมปันโน
    (วิชชาวัคโค อัฏฐะโม)

    9. อิติปิโสภะคะวา ปะริญญา ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา ปะหานะ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา สัจฉิกิริยา ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา ภาวะนา ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา ปะริญญาปะหานะสัจฉิกิริยาภาวะนา ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา จะตุธัมมะสัจจะ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา ปะฏิสัมภิทาญาณะ ปาระมิสัมปันโน
    (ปะริญญานะวัคโค นะวะโม)

    10. อิติปิโสภะคะวา โพธิปักขิยะธัมมะ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา สะติปัฏฐานะปัญญา ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา สัมมัปปะทานะปัญญา ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา อิทธิปาทะปัญญา ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา อินทรียะปัญญา ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา พะละปัญญา ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา โพชฌังคะปัญญา ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา อัฏฐังคิกะมัคคะธัมมะ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา มะหาปุริสะสัจฉิกิริยา ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา อะนาวะระณะวิโมกขะ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา อะระหัตตะพะละวิมุตติ ปาระมิสัมปันโน
    (โพธิปักขิยะวัคโค ทะสะโม)

    11. อิติปิโสภะคะวา ทะสะพะละญาณะ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา ฐานาฐานะญาณะ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา วิปากะญาณะ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา สัพพัตถะคามินีปะฏิปะทา ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา นานาธาตุญาณะ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา นานาธิมุตติกะญาณะ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา อินทริยะปะโรปะริยัตตะญาณะ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา นิโรธะวุฏฐานะญาณะ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา ปุพเพนิวาสานุสสะติญาณะ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา จุตูปะปาตะญาณะ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา อาสะวักขะยะญาณะ ปาระมิสัมปันโน
    (ทะสะพะละญาณะวัคโค ทะสะโม)

    12 . อิติปิโสภะคะวา โกฏิสะหัสสานังปะกะติสะหัสสานังหัตถีนังพะละธะระ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา ปุริสะโกฏิทะสะสะหัสสานังพะละธะระ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา ปัญจะจักขุญาณะ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา ยะมักกะญาณะ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา สีละคุณะ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา คุณะปาระมิสะมาปัตติ ปาระมิสัมปันโน
    (กายะพะละวัคโค ทะวาทะสะโม)

    13. อิติปิโสภะคะวา ถามะพะละ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา ถามะพะละญาณะ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา พะละ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา พะละญาณะ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา ปุริสะ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา อะตุละยะ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา ญาณะ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา อุสาหะ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา คะเวสิญาณะ ปาระมิสัมปันโน
    (ถามะพะละวัคโค เตระสะโม)

    14. อิติปิโสภะคะวา จะริยา ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา จะริยาญาณะ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา โลกัตถะจะริยา ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา โลกัตถะจะริยาญาณะ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา ญาณัตถะจะริยา ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา ญาณัตถะจะริยาญาณะ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา พุทธะจะริยา ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา พุทธะจะริยาญาณะ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา ติวิธะจะริยา ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา ปาระมิอุปะปาระมิปะระมัตถะ ปาระมิสัมปันโน
    (จะริยาวัคโค จะตุระสะโม)

    15. อิติปิโสภะคะวา ปัญจุปาทานักขันเธสุอะนิจจะลักขะณะ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา ปัญจุปาทานักขันเธสุทุกขะลักขะณะ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา ปัญจุปาทานักขันเธสุอะนัตตะลักขะณะ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา อายัตตะเนสุติลักขะณะญาณะ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา อัฏฐาระสะธาตุสุติลักขะณะญาณะ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา วิปะรินามะลักขะณะ ปาระมิสัมปันโน
    (ลักขะณะวัคโค ปัณณะระสะโม)

    16. อิติปิโสภะคะวา คะตัตถานะ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา คะตัตถานะญาณะ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา วะสิตะ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา วะสิตะญาณะ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา สิกขา ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา สิกขาญาณะ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา สังวะระ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา สังวะระญาณะ ปาระมิสัมปันโน
    (คะตัตถานะวัคโค โสฬะสะโม)

    17. อิติปิโสภะคะวา พุทธะปะเวณี ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา พุทธะปะเวณีญาณะ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา ยะมะกะปาฏิหาริยะ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา ยะมะกะปาฏิหาริยะญาณะ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา จะตุพรหมวิหาระ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา อะนาวะระณะญาณะ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา อะปะริยันตะญาณะ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา สัพพัญญุตะญาณะ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา จะตุวีสะติโกฏิสะตะวัชชิระ ปาระมิสัมปันโน
    (ปะเวณีวัคโค สัตตะระสะโม)<O:p</O:p



    <HR align=center width="100%" SIZE=2>


    อานิสงส์อาการวัตตาสูตร<O:p</O:p

    ......ในสมัยหนึ่งสมเด็จพระผู้มีพระภาคเจ้าเสด็จประทับอยู่ ณ เขาคิชฌกูฎบรรพตคีรี ใกล้ราชธานีราชคฤห์มหานคร ในสมัยครั้งนั้นพระสารีบุตรพุทธสาวก เข้าไปสู่ที่เฝ้าถวายอภิวาทโดยเคารพแล้วนั่งในที่ควรส่วนข้างหนึ่งเล็กแลดูสหธัมมิกสัตว์ทั้งหลาย ก็เกิดปริวิตกในใจคิดถึงกาลต่อไปภายหน้าว่า
     
  5. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    คาถาเสี่ยงโชค<O:p</O:p

    <O:p</O:p

    บทนี้เป็นบทของการเสี่ยงทายทุกชนิด ท่านจะทำอะไรทุกอย่างในการพนันขันต่อ ก็ให้สวดบทนี้ก่อนจึงไป ( ท่านว่าให้สวดถึงเจ็ดครั้งจึงประเสริฐ ) ดังนี้
    <O:p

    นะโม ๓ จบ<O:p</O:p

    <O:p
    อินทะยะสัง เทวะยะสัง พรหมะยะสัง มะหาพรหมะยะสัง อิสียะสัง มะหาอิสียะสัง มุนียะสัง มะหามุนียะสัง ปุริสะยะสัง มะหาปุริสะยะสัง จักกะวัตติยะสัง มะหาจักกะวัตติยะสัง พุทธะยะสัง ปัจเจกะพุทธะยะสัง อะระหันตะยะสัง สัพพะสิทธิวิชชาจะระณะยะสัง สัพพะโลกาธิปะติญาณะยะสัง สัพพะโลกะจะริยะญาณะยะสัง เอเตนะ ยะเสนะ เอเตนะ สัจจะวะจะเนนะ มะมะ สุวัตถิ โหตุ มัยหัง สะวาหายะ นะโม พุทธัสสะ นะโม ธัมมัสสะ นะโม สังฆัสสะ เสยยะถีทัง หุรูหุรู สะวาหายะ ฯ
     
  6. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    คำถวายพระพุทธรูป<O:p</O:p
    อิมัง มะยัง ภันเต พุทธะรูปัง ภิกขุสังฆัสสะ โอโณชะยามะ สาธุ โน ภันเต ภิกขุสังโฆ

    อิมัง พุทธรูปัง ปะฏิคคันหาตุ อัมหากัง ทีฆะรัตตัง หิตายะ สุขายะ
    (ข้าแต่พระสงฆ์ผู้เจริญ ข้าพเจ้าทั้งหลาย ขอน้อมถวาย พระพุทธรูปแด่พระภิกษุสงฆ์
    ขอพระภิกษุสงฆ์จงรับซึ่งพระพุทธรูปนี้ เพื่อประโยชน์และความสุขแก่ข้าพเจ้าทั้งหลาย สิ้นกาลนานเทอญ)
    <O:p</O:p
    คำจบทาน<O:p</O:p
    อิทัง เม ทานัง อาสะวักขะยาวะหัง โหตุ
    (ขอทานนี้จงเป็นปัจจัยให้ข้าพเจ้าได้สิ้นอาสวะกิเลส) <O:p</O:p

    อิทัง เม ทานัง นิพพานัสสะ ปัจจะโย โหตุ
    (ขอทานนี้จงเป็นปัจจัยให้ข้าพเจ้าได้ถึงพระนิพพานในปัจจุบันชาตินี้ ขอให้ได้มนุษย์สมบัติ ขอให้ได้สวรรค์สมบัติ ขอให้ได้นิพพานสมบัติ จะนึกประสงค์สิ่งใด ขอจงสมความปรารถนา ทุกประการ อันว่าโรคภัยไข้เจ็บ ความยากจนค่นแค้น และคำว่า "ไม่มี" ขออย่าให้ข้าพเจ้าประสบพบเลย) <O:p</O:p

    <O:p</O:p

    คำภาวนาก่อพระเจดีย์ทราย<O:p</O:p
    อิมัง วาลุกัง เจติยัง อะธิฏฐามิ <O:p</O:p
    <O:p</O:p

    คำอธิษฐานเวลาปิดทองลูกนิมิต<O:p</O:p
    ขอเดชะ บุญทาน การกุศล ปิดนิมิต อุโบสถ ทศพล เริ่มลูกต้น กลางโบสถ์ โชติตระการ เป็นนิมิต ลูกเอก เสกประสาท งามโอภาส มาศเฉลิม เสริมสัณฐาน เป็นนิมิต เตือนตา สาธุการ ท่ามกลางงาน บุญพิธี ผูกสีมา เกิดชาติหน้า อย่ารู้เข็ญ ได้เป็นใหญ่ รูปวิไล เป็นเสน่ห์ ดังเลขา ปิดนิมิต ลูกทิศ บูรพา ให้ก้าวหน้า เกียรติยศ ปรากฏไกล ปิดนิมิต ลูกทิศ อาคเนย์ ขอให้เท- วาประสิทธิ์ พิสมัย ปิดนิมิต ทิศทัก- ษิณศักดิชัย ให้สมใจ สมบัติ วัฒนา ปิดนิมิต ลูกทิศ หรดี ขอให้ชี- วิตมั่น ชันษา ปิดนิมิต ทิศประจิม อิ่มอุรา ปรารถนา ใดได้ ดั่งใจปอง ปิดนิมิต ทิศพายัพ ดับทุกข์โศก นิราศโรค นิราศภัย ร้ายทั้งผอง ปิดนิมิต ทิศอุดร กรประคอง ได้เงินทอง สมหมาย ทุกรายการ ปิดนิมิต ทิศอีสาน ประการท้าย ให้สมหมาย ได้สุข ทุกสถาน รวมเก้าลูก สุกใส ใจเบิกบาน กว่าจะถึง ซึ่งนิพพาน เมื่อนั้น เทอญ
    -โดยธรรมสาธก- <O:p</O:p

    <O:p</O:p

    คำถวายของใส่บาตร<O:p</O:p
    อิทัง ทานัง สีละวันตานัง ภิขูนัง นยาเทมิ สุทินัง วะตะเม ทานัง อาสะวักขะยาวะหัง นิพานะปัจจะ
    (ข้าพเจ้าขอน้อมถวายทานอันนี้ แด่พระสงฆ์ผู้มีศีลทั้งหลาย ทานที่ข้าพเจ้าถวายดีแล้วนี้ จงเป็นปัจจัยให้ถึงพระนิพพานด้วยเทอญ)
    หรืออาจกล่าวเป็นภาษาไทยเวลาจบขันข้าวใส่บาตรดังนี้
    ข้าวของข้าพเจ้า ขาวดังดอกบัว ยกขึ้นเหนือหัว ถวายแด่พระสงฆ์ จิตใจจำนง ตรงต่อพระนิพพาน<O:p</O:p

    <O:p</O:p

    คำถวายผ้าอาบน้ำฝน<O:p</O:p
    อิมานิ มะยัง ภันเต
    วัสสิกะสาฏิกานิ สะปะริวารานิ
    ภิกขุสังฆัสสะ โอโณชะยามะ
    สาธุ โน ภันเต ภิกขุสังโฆ
    อิมานิ วัสสิกะสาฏิกานิ สะปะริวารานิ
    ปะฏิคคันหาตุ อัมหากัง ทีฆะรัตตัง หิตายะ สุขายะ
    (ข้าแต่พระสงฆ์ผู้เจริญ ข้าพเจ้าทั้งหลาย ขอน้อมถวายผ้าอาบน้ำฝนกับบริวารทั้งหลายเหล่านี้ แด่พระภิกษุสงฆ์
    ข้าแต่ท่านผู้เจริญ ขอพระภิกษุสงฆ์จงรับผ้าอาบน้ำฝนกับทั้งบริวารทั้งหลายเหล่านี้ ของข้าพเจ้าทั้งหลาย
    เพื่อประโยชน์สุขแก่ข้าพเจ้าทั้งหลายสิ้นกาลนานเทอญ) <O:p</O:p

    <O:p</O:p

    คำถวายผ้าไตร<O:p</O:p
    อิมานิ มะยัง ภันเต
    ติจีวะรานิ สะปะริวารานิ
    ภิกขุสังฆัสสะ โอโณชะยามะ
    สาธุ โน ภันเต ภิกขุสังโฆ
    อิมานิ ติจีวะรานิ สะปะริวารานิ
    ปะฏิคคันหาตุ อัมหากัง ทีฆะรัตตัง หิตายะ สุขายะ
    (ข้าแต่พระสงฆ์ผู้เจริญ ข้าพเจ้าทั้งหลาย ขอน้อมถวายผ้าไตรจีวรกับทั้งบริวารเหล่านี้ แด่พระภิกษุสงฆ์
    ขอพระภิกษุสงฆ์ จงรับผ้าไตรจีวรกับทั้งบริวารเหล่านี้ ของข้าพเจ้าทั้งหลาย
    เพื่อประโยชน์สุขแก่ข้าพเจ้าทั้งหลายสิ้นกาลนานเทอญ) <O:p</O:p

    <O:p</O:p

    คำถวายหนังสือธรรมะ<O:p</O:p
    อิมานิ มะยัง ภันเต ธัมมะโปตถะกานิ สะปะริวารานิ ภิกขุสังฆัสสะ โอโณชะยามะ สาธุ โน ภันเต ภิกขุสังโฆ
    อิมานิ ธัมมะโปตถะกานิ สะปะริวารานิ ปฏิคคัณหาตุ อัมหากัง ทีฆะรัตตัง หิตายะ สุขายะ นิพพานายะจะ
    (ข้าแต่พระภิกษุสงฆ์ผู้เจริญ ข้าพเจ้าทั้งหลายขอน้อมถวายหนังสือธรรมะกับทั้งของบริวารเหล่านี้ แด่พระภิกษุสงฆ์ ขอพระภิกษุสงฆ์จงรับหนังสือธรรมะกับทั้งของบริวารเหล่านี้ของข้าพเจ้าทั้งหลาย เพื่อประโยชน์ เพื่อความสุข เพื่อมรรคผล นิพพาน แก่ข้าพเจ้าทั้งหลาย และขอให้ข้าพเจ้าทั้งหลาย จงเป็นผู้มีปัญญาเฉลียวฉลาด เจริญด้วยอายุ วรรณะ สุขะ พละ ปฏิภาณธนสารสมบัติ สิ้นกาลนานเทอญ) <O:p</O:p

    <O:p</O:p

    คำถวายข้าวสาร<O:p</O:p
    อิมานิ มะยัง ภันเต ตัณฑุลานิ สะปะริวารานิ ภิกขุสังฆัสสะ โอโณชะยามะ สาธุ โน ภันเต ภิกขุสังโฆ
    อิมานิ ตัณฑุลานิ สะปะริวารานิ ปะฏิคคัณหาตุ อัมหากัง ทีฆะรัตตัง หิตายะ สุขายะ
    (ข้าแต่พระสงฆ์ผู้เจริญ ข้าพเจ้าทั้งหลายขอน้อมถวายข้าวสารกับทั้งบริวารเหล่านี้แก่พระภิกษุสงฆ์ ขอพระภิกษุสงฆ์จงรับ ข้าวสารกับทั้งบริวารเหล่านี้ของข้าพเจ้าทั้งหลาย เพื่อประโยชน์สุขแก่ข้าพเจ้าทั้งหลายสิ้นกาลนานเทอญ) <O:p</O:p

    <O:p</O:p

    คำถวายยาพระสงฆ์<O:p</O:p
    อิมานิ มะยัง ภันเต คิลานะเภสัชชานิ สะปะริวารานิ สังฆัสสะ โอโณชะยามะ สาธุ โน ภันเต สังโฆ
    อิมานิ คิลานะเภสัชชานิ สะปะริวารานิ ปะฏิคคัณหาตุ อัมหากัญจะ มาตาปิตุอาทีนัญจะ ญาตะกานัง ทีฆะรัตตัง หิตายะ สุขายะ
    (ข้าแต่พระสงฆ์ผู้เจริญ ข้าพเจ้าทั้งหลายขอน้อมถวายยาบำบัดความป่วยไข้ กับทั้งเวชภัณฑ์ทั้งหลายเหล่านี้ แก่พระสงฆ์ ขอพระสงฆ์จงรับยาบำบัดความป่วยไข้ และเวชภัณฑ์ทั้งหลายเหล่านี้ของข้าพเจ้าทั้งหลาย เพื่อประโยชน์สุขแก่ข้าพเจ้าทั้งหลาย ญาติทั้งหลาย มีมารดาและบิดาเป็นต้นด้วย สิ้นกาลนานเทอญ) <O:p</O:p

    <O:p</O:p

    คำถวายเสนาสนะ สร้างกุฏิ วิหารให้สงฆ์<O:p</O:p
    อิมานิ มะยัง ภันเต เสนาสะนานิ อาคะตานาคะตัสสะ จาตุททิสัสสะ ภิกขุสังฆัสสะ โอโณชะยามะ สาธุ โน ภันเต ภิกขุสังโฆ
    อิมานิ เสนาสะนานิ ปะฏิคคัณหาตุ อัมหากัง ทีฆะรัตตัง หิตายะ สุขายะ
    (ข้าแต่พระสงฆ์ผู้เจริญ ข้าพเจ้าทั้งหลาย ขอน้อมถวายเสนาสนะเหล่านี้ แก่พระภิกษุสงฆ์ ผู้มีในทิศทั้ง ๔ ที่มาแล้วก็ดี ยังไม่มาก็ดี ขอพระภิกษุสงฆ์จงรับเสนาสนะเหล่านี้ ของข้าพเจ้าทั้งหลาย เพื่อประโยชน์และความสุข แก่ข้าพเจ้าทั้งหลายสิ้นกาลนานเทอญ)<O:p</O:p
     
  7. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    คำบูชา พระอุปคุต
    หรือ พระบัวเข็ม<O:p</O:p


    การตั้งบูชา นิยมการตั้งบูชาบนฐานรองรับ อยู่กลางภาชนะใส่น้ำ เป็นการจำลองคล้ายกับท่านจำพรรษาอยู่ในมหาสมุทร แล้วใช้ดอกมะลิลอยในน้ำบูชา และต้องตั้งต่ำกว่าพระพุทธ เนื่องจากเป็นพระอรหันต์ สาวกของพระพุทธเจ้า<O:p
    <O:p
    คำบูชาพระอุปคุต<O:p

    อุปะคุตโต จะ มะหาเถโร สัมพุทเธนะ วิยากะโต มารัญจะ มาระพะลัญจะ โส อิทานิ มะหาเถโร นะมัสสิตะวา ปะติฎฐิโต อะหัง วันทามิ อิทาเนวะ อุปะคุตตัง จะ มาหาเถรัง ยัง ยัง อุปัททะวัง ชาตัง วิธัง เสติ อะเสสะโต มะหาลาภัง ภะวันตุเม ฯ <O:p
    หรือ (แบบย่อ) อุปะคุตโต จะ มะหาเถโร ยักขาเทวา นะระปูชิโต โสระโห ปัจจะ ยาทิมปิ มะหาลาภัง ภะวันตุเม ฯ<O:p</O:p

    (เกิดโชคลาภและคุ้มกันภัยภิบัติอันตรายทั้งปวง)<O:p</O:p
    <O:p</O:p


    คำบูชาพระมหาอุปคุต<O:p</O:p

    นโม ๓ จบ<O:p</O:p

    พระมหาอุปคุตโต พระมหาอุปคุตตัง จะมหาเถโร สัพเพชะนา พะหูชะนา อิถีชะนา มามังพุทธะจิตตัง จะมหาลาโภ พุทธะธัมโม จะมหาลาภัง พุทธะสังฆัง จะมหาสัจจัง สัพพะลาภัง ภะวันตุเม ฯ<O:p</O:p
    อุปคุตตะ จะมหาเถโร สัพพะเสน่หาปุพชิโต โสระโห อุปะคุตะ ปัจจะยา ธิมะหิ อุตตะโม โหติ สัพพะทุกขะ สัพพะภะยะ สัพพะโรคะ พุทธา ธัมมา สังฆา อานุภาเวนะ วินาสสันติ ฯ<O:p</O:p

    (นิยมสวดบูชาพระบัวเข็ม หรือ พระธาตุอุปคุต)<O:p</O:p
    <O:p</O:p


    คำบูชาขอลาภพระอุปคุต<O:p</O:p

    มหาอุปคุตโต จะมหาลาโภ พุทโธลาภัง สัพเพชะนา พะหูชะนา ราชาปุริโส อิถีโยมานัง นะโมโจรา เมตตาจิตตัง เอหิจิตติจิตตัง ปิยังมะมะ สะเทวะกัง สะพรหมมะกัง มะนุสสานัง สัพพะลาภัง ภะวันตุเม ฯ<O:p</O:p
    เอหิจิตติ จิตตังพันธะนัง อุปะคุตะ จะมหาเถโร พุทธะสาวะกะ อานุภาเวนะ มาระวิชะยะ นิระภะยะ เตชะปุญณะตา จะเทวะตานัมปิ มะนุสสานันปิ เอหิจิตตัง ปิยังมะมะ อิมังกายะ พันธะนัง อะทิถามิ ปะอัยยิสสุตัง อุปัจสะอิ ฯ<O:p</O:p
    <O:p</O:p


    วิธีสวดขอลาภ<O:p</O:p

    ให้จุดธูปเทียนบูชา พร้อมกับดอกไม้หอม เครื่องหอมน้ำหอมต่างๆ เทหยดใส่ในขันน้ำมนต์ ณ ที่บูชาพระในร้านค้าขาย หรืออาคารสำนักงาน แล้วอธิษฐานขอให้กลิ่นควันธูปเทียน ลมพัดไปทางไหน ของให้ดลใจผู้คนเข้ามาอุดหนุนตลอด ขอให้ดำเนินกิจการด้วยความราบรื่น มีความสำเร็จสมปรารถนาทุกประการ เมื่ออธิษฐานจุดธูปเทียนบูชาแล้ว ให้สวด นะโม ๓ จบ และสวดคำบูชาขอลาภพระอุปคุต จบ แล้วทำน้ำมนต์สวดด้วย คำบูชาขอลาภพระมหาอุปคุต อีก ๑ จบ เสร็จแล้ว เอาน้ำมนต์ประพรมร้านค้า และสินค้าในร้านค้า หรือทำธุรกิจ ก็ให้เอาน้ำมนต์ประพรมภายในสำนักงานและอุปกรณ์ต่างๆ ที่เป็นเครื่องมือเครื่องใช้ในการทำธุรกิจนั้นทั้งหมด<O:p</O:p
    <O:p</O:p

    คาถาพระมหาอุปคุตผูกมาร<O:p</O:p

    นโม ๓ จบ<O:p</O:p

    มหาอุปคุตโต มหาอุปคุตตัง กายะพันทะนัง อมยิสะ พุทธังทะเถโร ธัมมังทะเถโร สังฆังทะเถโร ปะอัยยะสุตัง อุปัจสะอิ อิมังกายะพันทะนัง อะทิถามิ ฯ<O:p</O:p
    (คาถาพระมหาอุปคุตผูกมาร มีอานุภาพความศักดิ์สิทธิ์มาก เสกด้วยสายสิญจน์ทำเป็นมงคลสวมคอ หากปลุกเสกครบ ๑๐๘ ครั้งสามารถป้องกันภูตผีปีศาจทั้งปวง และป้องกันอุปัทวอันตรายต่างๆ ถ้าเสก ๓ - ๗ คาบ ผูกคอหรือคล้องคอคนถูกผีเจ้าเข้าสิง จะเจ็บปวดร้องครวญครางโหยหวยอย่างน่าเวทนา ถ้าจะให้ผีที่สิงอยู่ออกไป ให้ถอดหรือแก้ด้ายผูกคอออก แล้วเอาด้ายนี้ตีปัดตามตัวคนที่ถูกผีสิงอยู่ ผีจะอยู่ไม่ได้จะเผ่นออก และไม่กล้ากลับมารบกวนคนในบ้านอีก และยังมีการปลุกเสกในทางพิชิตโรคาพาธได้วิเศษนัก)<O:p</O:p
    <O:p</O:p

    คำบูชาพระบัวเข็ม<O:p</O:p

    นโม ๓ จบ<O:p</O:p

    กิจจะมาคะอุปคุตโต อะมะหาเถโร สัมพุทเธวิยาคะโต มาระรัญจะ โสอิทานิ จะมะหาเถโร นะมัดปะสิทตะวาปะ ถิติโกอหัง วันทามิ พาเนวะอุปคุตตัง จะมะ หาเถรัง ยังยังอุปัทธะวังชาติ วิทังเสนติ อะเสสะโต นโมพุทธายะ<O:p</O:p
    พระบัวเข็มจะมะหาเถโร สัพพะลาภังภะวันตุเม อิติปิโสภะคะวา พุทโธชัยโย ธัมโมชัยโย สังโฆชัยโย เมตตา ฉิมพาลีจะมะหา เถโร สัพพะลาภัง ตะวันตุเม ฯ<O:p</O:p
    ชัยยะตัง ปัตถะพีตับภัง สามินโท โสราชาปูเชมิ ฯ<O:p</O:p

    <O:p</O:p


    หรือ<O:p</O:p

    จิตติจิตติ มิตติเอหิมะมะ อุปปะคุตโต จะมะหาเถโร นานาปาระมิ สัมมะปัณโน อิติปิโสภะคะวา มะอะอุเมตตา จะมะหาราชา สัพพะสะเนหา จะปูชิตา สัพพะทุกขัง มะหาลาภัง สัพพะโกพัง วินาสสันติ

    <TABLE class=tborder id=post164991 cellSpacing=0 cellPadding=6 width="100%" align=center border=0><TBODY><TR><TD class=thead style="FONT-WEIGHT: normal"><!-- status icon and date -->[​IMG] 18-12-2005, 09:18 AM <!-- / status icon and date --></TD><TD class=thead style="FONT-WEIGHT: normal" align=right> #2 </TD></TR><TR vAlign=top><TD class=alt2 width=175>Aunyasit<SCRIPT type=text/javascript> vbmenu_register("postmenu_164991", true); </SCRIPT>
    สมาชิก
    [​IMG]
    [​IMG] อัลบั้มรูปส่วนตัว
    วันที่สมัคร: Aug 2005
    ข้อความ: 127 <!-- Start Post Thank You Hack -->
    ได้ให้อนุโมทนา: 0
    ได้รับอนุโมทนา 180 ครั้ง ใน 86 โพส <!-- End Post Thank You Hack -->
    พลังการให้คะแนน: 38[​IMG][​IMG][​IMG][​IMG]


    </TD><TD class=alt1 id=td_post_164991><!-- message -->ที่เราได้สิทธิ์ในการใช้คาถาของพระมหาอุปคุตถ์นั้นคล้ายๆกัน มีท่อนสำคัญๆ ในหลายๆบทข้างบนมารวมกัน เคยเห็นอานุภาพว่า ในโลกภายใน หากภาวนาแบบนั้นแล้วจะมีศีลธรรมพวกนึงจะมาจับหรือมัดสิ่งที่เรากำลังเผชิญอยู่

    การใช้คาถาให้ขลังได้นั้น ควรได้จากภายใน จะมีอานุภาพสมบูรณ์มากกว่าที่ไปเจอคาถาทั่วไปแล้วเอามาท่อง เพราะมนต์หรือคาถาต่างๆนั้น อานุภาพ อยู่ที่โลกภายใน หากเราได้สิทธิ์ในการใช้จริง ไม่ว่าจะภาวนา อยู่โลกภายนอกหรือโลกภายใน จะมีสิ่งมาทำหน้าที่ เช่น บทสำคัญๆในยอดพระกัณฑ์ไตรปิฏก หากเราได้สิทธิ์ในการใช้ จะรู้ด้วยตัวเองว่าเป็นบทไหน บางทีใช้สั้นๆก็ได้แล้ว หรือ คาถาพระพุทธเจ้า 28 พระองค์ หากจิตเราถึงและได้สิทธิ์ในการใช้ เมื่อภาวนา ท้าวจตุโลกบาล ท่านจะส่งลูกน้องของท่านมาดูแลทันที หากไม่ได้สิทธิ์ในการใช้ ก็ต้องระวัง เพราะคาถานี้เป็นคาถาปราบ หากใช้แล้วไม่มีอานุภาพ เดี๋ยวพวกที่เขาเดือดร้อนจากการใช้คาถาเหล่านั้น จะมาเล่นงานคืนแหละ

    คาถาที่ขลังจริงๆ มีพลังสูงๆนั้น ต้องปฏิบัติให้ถึงเจ้าแห่งคาถาคือ "พระเวทย์" แล้วเรียนกับท่าน ถึงตอนนั้น ภาษาที่ใช้จะไม่จำกัดแล้ว บางทีภาวนาออกมาฟังไม่เป็นภาษามนุษย์หรอก ส่วนมากมักเป็นภาษาเทพ ภาษาพรหม ซะมากกว่า บางทีพวกนาคเขาก้จะให้ใช้ภาอีกแบบนึง

    ปัจจุบันนี้เวลาสวดมนต์เราไม่ค่อยได้ใช้ภาษาบาลีมากนัก พอจิตเข้าถึงความสงบ ก็จะเปลี่ยนภาษาไปตามภพภูมิที่เขาต้องการฟังเสียงสวดมนต์นั้นๆ

    หรือเวลาแผ่เมตตาหรือโปรดสัตว์ ก็มักใช้ภาษาที่ไม่ใช่ภาษามนุษย์เพราะจะมีพลังมหาศาลและได้ผลดีกว่าภาษาทั่วๆไป เข้าใจว่ามีภาษากลางๆของโลกจิตวิญญาณด้วย แต่ไม่รู้ว่าเขาเรียกว่าภาษาอะไร อย่างเวลาพวกเทพบางจำพวก ขอให้เราแนะนำธรรมะบางข้อให้ พอบอกเป็นภาษาของเขาสักพักนึง แล้วก็ให้เขาพูดให้ฟังว่าเราพูดว่าอะไรบ้าง เขาก็พูดให้เราฟังได้อย่างไม่ผิดเพี้ยน ก็สงสัยว่าทำไมเขาจำได้เร็วจัง เขาบอกว่า เป็นการเรียนจาก "จิตสู่จิต" น่ะ ซึ่งก็น่าจะจริง เพราะจากประสบการณ์หากเราได้เรียนรู้คาถาจากโลกภายใน แม้จะยาวๆ ตื่นมาก็จะจำได้หมด ก็คงจะเป็นการเรียนแบบ จิตสู่จิต เช่นกัน
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  8. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    คำบูชาพระสีวลี (พระฉิม)<O:p</O:p

    อิมินา สักกาเรนะ สีวะลีเถรัง อะภิปูชะยามิ<O:p</O:p
    เมื่อบูชาแล้วกำหนดภาวนาในใจว่า<O:p</O:p
    สีวลี จะ มะหาเถโร อินโท พรัมมาจะ ปูชิตัง สัพพะลาภัง ประสิทธิเม เถรัสสะ อานุภาเวนะ สัพพะโสตถี ภะวันตุเม ฯ<O:p</O:p
    <O:p</O:p


    คาถาพระฉิมพลี (พระสีวลี)<O:p</O:p

    ฉิมพะลี จะ มหาเถโร ยักขาเทวาภิปูชิโต โสระโห ปัจจะยาทิมหิ อะหัง วันทามิ สัพพะทา<O:p</O:p
    ฉิมพะลี จะ มหาเถโร เทวะตานะระปูชิโต โสระโห ปัจจะยาทิมหิ มหาลาภัง กะโรนตุ เม ลาเภนะ อุตตะโม โหติ โส ระโห ปัจจะยาทิมหิ มหาลาภัง สะทา โสตถิง ภะวันตุ เม ฯ<O:p</O:p
    ราชะปุตโต จะ โย เถโร ฉิมพะลี อิติรัสสุโต ลาเภนะ อุตตะโม โหติ ยัง ยัง ชะนะปะทัง ยาตินิคะเม ราชะธานิโย สัพพัตถะ ปูชิโต โหติ เถรัสสะ ปาเท วันทามิ เถรัสสานุภาเวนะ สัพพะลาโภ ภะวันตุ เม ฯ<O:p</O:p
    ฉิมพะลีนันทะ ฉิมพะลีเถรัสสะ เอตถะตัง คุณัง สัพพะธะนัง สุปะติฏฐิตัง สาริกะธาตุ พุทธะรูปัง อะหัง วันทามิ สัพพะทา ฯ<O:p</O:p
    <O:p</O:p


    หัวใจพระสิวลี<O:p</O:p

    นะ ชาลีติ ประสิทธิลาภา<O:p</O:p

    <O:p</O:p
    หัวใจพระฉิมพลี<O:p</O:p
    นะชาลิติ ปะสิทธิลาภา ปะสันนะจิตตา สะทา โหติ ปิยัง มะมะ สัพเพชะนา พะหูชะนา สัพเพ ทิสา สะมาคะตา กาละโภชนา วิกาละโภชนา อาคัจฉันติ ปิยัง มะมะ ฯ
    <O:p</O:p
    <O:p</O:p
    คำอธิฐานขอลาภจากพระสีวลี<O:p</O:p


    (โดยหลวงพ่อเกษม เขมโก สุสานไตรลักษณ์ จังหวัดลำปาง)<O:p</O:p

    นโม ๓ จบ<O:p</O:p


    สิวะ ลีมะหา เถรัง วันทามิหัง ( ๓ จบ )<O:p</O:p

    มะหาสิวะลี เถโร มะหาลาโภ โหติ มะหาสิวะลี เถโร ลาภัง เม เท ถะ<O:p</O:p


    คำบูชาขอลาภพระสิวลี (ประจำวัน)<O:p</O:p


    วันอาทิตย์ ( ๖ จบ )<O:p</O:p

    ฉิมพะลี จะ มหานามัง สัพพะลาภัง ภะวิสสะติ เถรัสสานุภาเวนะ สะทา โหนติ ปิยัง มะมะ ฯ<O:p</O:p

    วันจันทร์ ( ๑๕ จบ )<O:p</O:p

    ยัง ยัง ปุริโสวา อิตถีวา ทูเรหิวา สะมีเปหิวา เถรัสสานุภาเวนะ สะทา โหนติ ปิยัง มะมะ ฯ<O:p</O:p

    วันอังคาร ( ๘ จบ )<O:p</O:p

    ฉิมพะลี จะ มหาเถโร โสระโห ปัจจะยาทิมหิ เชยยะลาโภ มหาลาโภ สัพพะลาภา ภะวันตุ สัพพะทา ฯ<O:p</O:p

    วันพุธ ( ๑๗ จบ )<O:p</O:p

    ทิตติตถะภะเวราชา ปิยาจะ คะระตุเม เย สารัตติ นิรันตะรัง สัพพะสุขาวะหา ฯ<O:p</O:p

    วันพฤหัสบดี ( ๑๙ จบ )<O:p</O:p

    ฉิมพะลี จะ มหาเถโร ยักขาเทวาภิปูชิโต โสระโห ปัจจะยาทิมหิ อะหัง วันทามิ สัพพะทา ฯ<O:p</O:p

    วันศุกร์ ( ๒๑ จบ )<O:p</O:p

    ฉิมพะลี จะ มหาเถโร เทวะตานะระปูชิโต โสระโห ปัจจะยาทิมหิ มหาลาภัง กะโรนตุ เม ลาเภนะ อุตตะโม โหติ สัพพะลาภะ ภะวันตุ สัพพะทา ฯ<O:p</O:p

    วันเสาร์ ( ๑๐ จบ)<O:p</O:p

    ฉิมพะลี จะ มหานามัง อินทาพรหมา จะ ปูชิตัง สัพพะลาภัง ปะสิทธิ เม เถรัสสานุภาเวนะ สะทา สุขี ปิยัง มะมะ ฯ<O:p</O:p
    หมายเหตุ -ในวงเล็บหมายถึงการให้ภาวนาจำนวน………จบ<O:p</O:p
    -ถ้าจะขอลาภเป็นพิเศษ ก็ สวดคำบูชาพระสิวลี นำก่อน หลังจากนั้นจึงสวด คำบูชาขอลาภพระสิวลี (ประจำวัน) ที่จะขอลาภนั้น ตามกำลังวัน<O:p</O:p
    <O:p</O:p

    คำบูชาพระสิวลี<O:p</O:p

    (ใช้สวดนำทุกวัน)<O:p</O:p

    นะชาลีติประสิทธิลาภา ปะสันนะจิตตา สะทา โหนติ ปิยังมะมะ สัพเพชะนา พะหูชะนา สัพเพทิศา สะมาคะตา กาละโภชะนา วิกาละโภชนา อาคัจฉันติ ปิยังมะมะ<O:p</O:p
    ธัมมะจักกัง ปะทัง สุตวา พุชฌิตะวา อัตตังปะทัง สันติ อะระหาโลเก โลกานัง หิตะการะณาภันเต คะวัมปะตินามะ ตีสุ โลเก สุปากะโต พรหมะปุตโต มะหาเถโร อะระโห เชฏฐะโก มุนิ นัตถิ เถโร สะโม อินทะคันธัพพา อะสุรา เทวาสักโก พรหมาภิปูชิโต นะโม พุทธัสสะ คะวัมปติสสะ นะโม ธัมมัสสะ คะวัมปะติสสะ นะโม สังฆัสสะ คะวัมปะติสสะ สุกขาสุกขะ วะรัง ธัมมัง ธัมมะจักกัง ปะวะรัง วะรัง ฯ<O:p</O:p
     
  9. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    คำบูชา
    พระสังกัจจายน์
    <O:p</O:p
    การบูชาพระสังกัจจายน์นิยมใช้ดอกบัวหรือดอกไม้สีขาวที่มีกลิ่นหอม เช่น ดอกมะลิ ดอกพุด ดอกจำปี ฯลฯ นิยมใช้ ๓ ดอก หรือ ๗ ดอก , และน้ำเย็นสะอาด ๑ แก้ว ในวันพระหรือวันเกิดของผู้เป็นเจ้าของพระควรถวายภัตตาหารในถาดเล็กๆ หรือ ถวายผลไม้ในวันนั้นๆ ถ้าเป็นร้านค้าจะถวายทุกวันจะดีมาก
    <O:p</O:p
    <O:p</O:p
    คำบูชาพระสังกัจจายน์<O:p</O:p

    นโม ๓ จบ<O:p</O:p

    กัจจานะจะมหาเถโร พุทโธ พุทธานัง พุทธะตัง พุทธัญจะ พุทธะสุภา สิตัง พุทธะตังสะมะนุปปัตโต พุทธะโชตัง นะมามิหัง ปิโยเทวะ มะนุสสานัง ปิโยพรหม นะมุตตะโม ปิโยนาคะ สุปันนานัง ปิยินทะริยัง นะมามิหัง สัพเพชะนา พะหูชะนา ปุริโสชะนา อิถีชะนา ราชาภาคินิ จิตตัง อาคัจฉาหิ ปิยังมะมะ ฯ
    <O:p</O:p
    หรือ
    <O:p</O:p

    นโม ๓ จบ<O:p</O:p

    ธัมมะจักกัง ประทังสุตะวา พุชฌิตะวา อัตตังปะทัง สันติเก อะระหาโลเก โลกานังหิตะการะณา ภันตาตันเต กัจจายะนะ นามะ ตีสุโลเกสุ ปากะโต พรหมะปุตโต มะหาเถโร อะระโห เชฏฐโกมุนี นัตถิเถโร สะโมอินทะคันธัพพา อะสุราเทวะ สักโก พรหมาภิปูชิโต นะโมพุทธัสสะ กัจจายะนะมะหา เถรัสสะ นะโมธัมมัสสะ กัจจายะนะหาเถรัสสะ นะโมสังฆัสสะ กัจจายะนะมะหาเถรัสสะ สุขาสุขะวะรังธัมมัง ธัมมะจักกัง ปะวะรัง นิฎฐิตัง ฯ<O:p</O:p
    <!-- / message -->
     
  10. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    ใช้ธูปเท่าไร ไหว้พระไหว้เจ้า<O:p</O:p

    ธูป 1 ดอก นิยมใช้ไหว้ศพ เจ้าที่ เจ้าทาง ภูมิ ผี ต่างๆ กล่าวคือวิญญาณธรรมดาที่ยังไม่ได้ขึ้นเป็นชั้นเทพ<O:p></O:p>
    ธูป 2 ดอก ไม่ปรากฏนิยมใช้<O:p></O:p>
    ธูป 3 ดอก นิยมไหว้พระพุทธ อันมีความหมายถึง พระรัตนตรัย หรือแม้แต่การไหว้เทพก็มีผู้ไหว้ 3 ดอก เช่นกัน อันมีความหมายถึงพระศิวะ พระนารายณ์ และพระพรหม<O:p></O:p>
    ธูป 4 ดอก ไม่ปรากฏนิยมใช้<O:p></O:p>
    ธูป 5 ดอก มีผู้นิยมใช้ไหว้ตี่จูเอี้ย โดยปักที่กระถางธูป 3 ดอกและข้างประตู ข้างละ 1 ดอก นอกจากนี้ก็มีผู้นิยมไหว้พระรูปรัชการที่ ๕ คงมีคติมาจากรัชการที่ ๕ ก็ใช้ 5 ดอก การไหว้ท้าวจตุโลกบาลก็นิยมใช้ธูป 5 ดอก เพราะหมายถึงทิศใหญ่ทั้ง 5 อันมี ตะวันตก ตะวันออก เหนือ ใต้ และทิศกลาง ตามความเชื่อของชาวจีน รวมทั้งเทพอื่นๆ ก็เห็นมีปรากฏ<O:p></O:p>
    ธูป 6 ดอกไม่นิยมใช้<O:p></O:p>
    ธูป 7 ดอก นิยมไหว้พระภูมิไชยศรี นอกจากนี้ก็มีผู้ที่เคารพบูชาพระอาทิตย์ก็นิยมไหว้ ซึ่งความหมายของธูป 7 ดอก ก็หมายถึงความคุ้มครองวันทั้ง 7 ในหนึ่งสัปดาห์<O:p></O:p>
    ธูป 8 ดอก ชาวฮินดูนิยมใช้ธูป 8 ดอก ในการไหว้เทพแทบจะทุกองค์ ที่เป็นเทพชั้นสูง อันได้แก่ พระศิวะ พระนารายณ์ พระพรหม พระแม่อุมา พระลักษมี พระสุรัสวดี พระพิฆเนศ พระขันธกุมาร ร่วมไปถึง พระราม พระกฤษณะ ด้วยจะพบว่า กล่องธูปที่ใช้บรรจุธูปหอมของอินเดียกล่องหนึ่งจะมีธูป 8 ดอก ให้บูชาครั้งละ 1 กล่องเล็ก นอกจากนี้ก็มีความเชื่อว่า การไหว้พระราหู ก็นิยมใช้ธูป 8 ดอกเช่นกัน<O:p></O:p>
    ธูป 9 ดอก นับเป็นจำนวนธูปที่นิยม ใช้ในการไหว้ทั้งพระทั้งเทพสิ่งศักดิ์สิทธิ์ทั้งหลาย ด้วยคนไทยถือว่าเลข 9 เป็นเลขมงคล หมายถึงความเจริญก้าวหน้า หากแต่ในประเทศอื่นเขาไม่ได้นิยมเช่นคนไทย<O:p></O:p>
    ธูป 10 ดอก สำหรับชาวจีนดั้งเดิมแล้วนิยมใช้เลขนี้ในการจุดธูปเช่นเดียวกันคนไทยนิยมเลข 9 เลขสิบนับเป็นเลขเต็ม และความหมายของสิบ (ภาษาจีนคือจั๊บ)นั้นหากจะประดุจนิ้วมือก็หมายถึงการจับได้เต็มไม้เต็มมือ ได้อะไรที่เต็มมือ ได้อะไรที่เต็มสิบก็คือความสมบูรณ์เต็มที่<O:p></O:p>
    ธูป 11 ดอก ไม่ปรากฏความนิยม<O:p></O:p>
    ธูป 12 ดอก ชาวจีนนิยมไหว้เจ้าแม่กวนอิม บางคนใช้ 13 ดอก แต่จะไหว้เฉพาะในช่วงเดือน 12 เท่านั้น<O:p></O:p>
    ธูป 14, 15 ดอก ไม่ปรากฏความนิยม<O:p></O:p>
    ธูป 16 ดอก นิยมใช้ในพิธีบวงสรวงบูชาเทพ บูชาครู หรือพิธีกลางแจ้ง ที่มีการอัญเชิญเทวดาที่สำคัญต่างๆ 16 ดอก หมายถึง สวรรค์ 16 ชั้น<O:p></O:p>
    นอกจากนี้ที่ได้สืบเสาะมาก็มี 31 ดอก และ 32 ดอก<O:p></O:p>
    ที่นิยมใช้ในการบวงสรวง เช่นเดียวกันกับ 16 ดอก <O:p></O:p>
    โดย ธูป 31 ดอก หมายถึงการเชิญเทพทั้ง 16 ชั้นฟ้า 15 ชั้นดิน ต้องเป็นการบวงสรวงเครื่องบัดพลีใหญ่<O:p></O:p>
    หรือ ธูป 32 ดอก หมายถึง 16 ชั้นฟ้า 15 ชั้นดิน และบนโลกมนุษย์ อีก 1 จะนิยมใช้ในการบวงสรวงใหญ่เท่านั้น เพราะเครื่องบวงสรวงต้องมากเพียงพอกับการอัญเชิญด้วย<O:p></O:p>
    เจ้าคุณอมร วัดบวรนิเวศ กรุงเทพฯ ท่านให้ข้อคิดที่น่าสนใจมากคือ จำนวนเท่าไร มันอยู่ที่ใจ มนุษย์ตั้งกันขึ้นมาเอง ตามความพอใจ ซึ่งที่จริงแล้วหากใจเป็นสมาธิศรัทธาจริง มือเปล่า ใจเปล่า ก็ศักดิ์สิทธิ์ ได้<O:p></O:p>
    ผู้เขียนเองก็มีความเห็นตรงกันเพราะเวลาเราฟังเทศน์ ฟังธรรม หรือจบมือขึ้น สาธุ อนุโมทนากุศลนั้น ท่านเชื่อไหมว่า อานิสงส์แรงนักแล แค่เอามือเปล่าจบขึ้นเหนือหัวตั้งจิตให้มั่น กล่าวคำว่า สาธุ <O:p></O:p>
    <O:p> </O:p>
    <O:p> </O:p>
    ผู้เขียนบทความนี้ ซินแสน้อย<O:p></O:p>
    <O:p> </O:p>
    <O:p></O:p>
    ***** คนเราทุกวันนี้ ดีแต่ส่องกระจกด้านหน้าแต่เพียงด้านเดียว <O:p></O:p>
    ให้เอากระจกหกด้าน มาส่องเสียบ้าง แล้วจะเห็นเอง<O:p></O:p>
    สมเด็จพระพุฒาจารย์(โต พรหมรังสี) *****<O:p></O:p>


    รู้ง่าย ทำยาก
    ธนะภูมิ ผู้เขียนคอลัมภ์กรรมกำหนดffice<O:p</O:p
    บุญเสมอ แดงสังวาลย์ผู้เขียน
    หนังสือพิมพ์ข่าวสด<O:p</O:p


    พระคุณเจ้าหลวงปู่ดู่ พรหมปัญโญ วัดสะแก จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ท่านเป็นพระสุปฏิปันโนที่เปี่ยมล้นด้วยความเมตตาต่อบรรดาศิษย์อย่างยิ่ง แม้อายุสังขารท่านจะร่วงโรยเพียงใด ท่านก็ยังเมตตาอบรมสั่งสอนศิษย์ ตลอดจนผู้ใฝ่ธรรมทั้งหลายที่มากราบนมัสการ จวบจนกระทั่งท่านอาพาธด้วยโรคหัวใจ ท่านก็ยิ่งให้ความเมตตาแก่ศิษย์โดยไม่รู้เหน็ดเหนื่อย ในยามดึกที่ควรจะได้พักผ่อน ท่านก็ยังแสดงธรรมแก่ผู้มากราบนมัสการตลอดมา ธรรมโอวาท ที่ท่านให้เป็นคติเตือนใจแก่ศิษย์ทั้งหลายคือ…….เวลาเหลืออีกไม่มากแล้ว ให้รีบพากันปฏิบัติ<O:p</O:p
    หลังจากท่านมรณภาพ คณะศิษยานุศิษย์ได้รวบรวมคำสอนของท่านมาจัดพิมพ์เผยแพร่เพื่อเป็นเครื่องบูชาพระคุณ คำสั่งสอนของหลวงปู่ฟังง่าย เข้าใจง่าย แม้บางครั้งจะมีผู้นำเรื่องไม่น่าถาม มาเรียนถาม ท่านก็ได้เมตตาตอบจนกระจ่างแจ้ง ให้ผู้ถามหมดข้อสงสัย ดังได้คัดลอกมาฝากท่านผู้อ่าน ดังนี้<O:p</O:p
    ผู้ถาม<O:p</O:p
    หลวงปู่ครับ การจุดธูปเทียนบูชาพระในพิธีกรรมต่างๆ มักจะไม่เหมือนกัน ที่ถูกต้องเหมาะสมนั้น ควรจุดธูปกี่ดอก<O:p</O:p
    หลวงปู่<O:p</O:p
    จุดกี่ดอกก็ได้ ส่วนใหญ่มักจุด ๓ ดอก บูชาคุณพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ กี่ดอกก็มีความหมายทั้งสิ้น<O:p</O:p
    ผู้ถาม<O:p</O:p
    ถ้าเช่นนั้นจุดดอกเดียว ก็ถือว่าไหว้ผี ไหว้ศพใช่ไหมครับ<O:p</O:p
    หลวงปู่<O:p</O:p
    จุด ๑ ดอก หมายถึง จิตหนึ่ง<O:p</O:p
    จุด ๒ ดอก หมายถึง กายกับจิต หรือ โลกกับธรรม<O:p</O:p
    จุด ๓ ดอก หมายถึง พระรัตนตรัย คือ อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา<O:p</O:p
    จุด ๔ ดอก หมายถึง อริยสัจ ๔<O:p</O:p
    จุด ๕ ดอก หมายถึง พระเจ้า ๕ พระองค์ นะโมพุทธายะ<O:p</O:p
    จุด ๖ ดอก หมายถึง สิริ ๖ ประการ<O:p</O:p
    จุด ๗ ดอก หมายถึง โพชฌงค์ ๗<O:p</O:p
    จุด ๘ ดอก หมายถึง มรรค ๘<O:p</O:p
    จุด ๙ ดอก หมายถึง นวโลกุตรธรรม<O:p</O:p
    จุด ๑๐ ดอก หมายถึง บารมี ๑๐ ประการ<O:p</O:p
    ผู้ถาม<O:p</O:p
    ถ้าจุด ๑๑ ดอกล่ะครับหลวงปู่ หมายถึง<O:p</O:p
    หลวงปู่<O:p</O:p
    ก็บารมี ๑๐ ประการ กับจิต ๑<O:p</O:p
    ผู้ถาม<O:p></O:p>
    ถ้าไม่มีธูปเทียน<O:p</O:p
    หลวงปู่<O:p></O:p>
    ก็ใช้วิธีจิตใจบูชา ไม่เห็นต้องมีอะไร พุทธัง ธัมมัง สังฆัง ชีวิตังเม ปูเชมิ - ทุกอย่างอยู่ที่ใจ<O:p</O:p
    <O:p</O:p

    มีเรื่องเล่ากันว่า โยมท่านหนึ่งไปกราบนมัสการพระเถระผู้ใหญ่องค์หนึ่งเป็นประจำ วันหนึ่งได้ถามปัญหาธรรมว่า หลักของพระพุทธศาสนาคืออะไร พระเถระตอบว่า ละความชั่ว ทำความดี ทำจิตใจให้ผ่องแผ้ว โยมท่านนั้นได้ฟังแล้วก็พูดว่า อย่างนี้เด็ก ๗ ขวบก็รู้ พระเถระองค์นั้นยิ้มเล็กน้อยก่อนตอบว่า จริงของโยม เด็ก ๗ ขวบก็รู้ แต่ผู้ใหญ่อายุ ๘๐ ก็ยังปฏิบัติไม่ได้ ซึ้งไหมละท่าน นึกถึงพุทธพจน์ที่ว่า <O:p</O:p

    สากัจฉาย ปุญญ เวทิตพพา ปัญญารู้ได้ด้วยการสนธนา<O:p</O:p

    <!-- / message -->
    <!-- / message -->
     
  11. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    คำอธิฐานขอบารมี<O:p</O:p

    ข้าพเจ้าขอเดชะพลานิสงค์<O:p</O:p
    เมื่อจะปลงชีวิตขอให้คิดได้<O:p</O:p
    ขออย่าได้มีมารมาผจญดลใจ เทพไทจงเห็นเป็นพยาน<O:p</O:p
    ขอให้ข้าพเจ้าได้ขจัดตัดกิเลส <O:p</O:p
    ขอข้ามเขตแว่นแคว้นแดนสงสาร<O:p</O:p
    ขอให้ได้สำเร็จประโยชน์โพธิญาณ เข้านิพพานพ้นทุกข์สุขสบาย<O:p</O:p
    ขอให้สมมาตรปรารถนาอย่าช้านัก การสิ่งใดรักชอบให้สมอารมณ์หมาย<O:p</O:p
    ขอให้พบพระทุกชาติอย่าคลาดคลาย <O:p</O:p
    ขออย่าให้ตายกลางอายุปัจจุบัน<O:p</O:p
    ตั้งแต่ชาตินี้จนชาติหน้า <O:p</O:p
    ขออย่าข้องขัดทรัพย์สินทุกสิ่งสรรพ<O:p</O:p
    การสิ่งใดบาปหยาบช้าทุกสิ่งอัน การสิ่งนั้นขออย่าได้พบประสพเลย<O:p</O:p


    นิพพานะ ปัจจะโย โหตุ<O:p</O:p

    <O:p</O:p
    ( อธิฐานทุกครั้ง หลังไหว้พระสวดมนต์แล้ว )<O:p</O:p



    <O:p</O:p



    เมื่อเจ้ามา มีอะไร มาด้วยเจ้า <O:p</O:p
    เจ้าจะเอา แต่สุข สนุกไฉน<O:p</O:p
    เจ้ามามือเปล่า เจ้าจะ เอาอะไร <O:p</O:p
    เจ้าก็ไป มือเปล่า เหมือนเจ้ามา<O:p</O:p
    ยศและลาภ หาบไป ไม่ได้แน่ <O:p</O:p
    มีเพียงแต่ ต้นทุน บุญกุศล<O:p</O:p
    ทรัพย์สมบัติ ทิ้งไว้ ให้ปวงชน <O:p</O:p
    แม้ร่างตน เขาก็เอา ไปเผาไฟ<O:p</O:p
    <!-- / message -->
     
  12. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    ขอแจ้งอีกครั้งนะครับ เรื่องการทำบุญกับวัดบ่อเงินบ่อทอง หากท่านใดทำบุญ 1,000.-บาท จะมอบพระสมเด็จเจ้าคุณกรมท่าให้ 1 องค์ (มีการลงรัก 3 แบบ คือ 1.รักสมุหรือรักพม่า สีน้ำเงิน 2.ชาดหรือรักจีน สีแดง 3.รักไทย สีดำ) โดยแจ้งความประสงค์ที่คุณนักเดินทางครับ
    [​IMG]



    หรือ
    เป็นพระพิมพ์อุ้มบาตรเล็กรวม5พระธรรมทูต ยังเหลืออีก 4 องค์ครับ โดยแจ้งความประสงค์กับผมนะครับ

    [​IMG]

    ให้แจ้งด้วยว่าต้องการพระพิมพ์ สีอะไร (ยกเว้นสีชมพูนะครับ เนื่องจากไม่มีพระครับ)

    โดยแจ้งความประสงค์ว่า
    ขอบริจาคเงินทำบุญกับสำนักสงฆ์ บ่อเงินบ่อทอง จำนวนเงิน 1,000.-บาท โดยขอรับพระพิมพ์อุ้มบาตรเล็ก รวม 5 พระธรรมทูต (ที่หลวงปู่ทั้ง 5 องค์เสก)

    สามารถบริจาคโดยการโอนเงินเข้าบัญชีต่อไปนี้
    ธนาคาร ไทยพาณิชย์ จำกัด (มหาชน)
    ชื่อบัญชี นางสาวฐิติวรรณ คุณานพรัตน์ (สังฆทานบิณฑบาท-ข้าวสาร-อาหารแห้ง)
    สาขา บางนา
    เลขที่บัญชี 015-4 32192-6
    ประเภทบัญชี ออมทรัพย์


    ให้แจ้งทั้งสองกระทู้นะครับ
    1.กระทู้ขอความเมตตาช่วยต่ออายุพระเณร (ที่อยู่ผู้รับพระให้แจ้งกับคุณนักเดินทาง ทางข้อความส่วนตัวก็ได้นะครัย) สำหรับขอรับพระสมเด็จเจ้ากรมคุณท่า

    ขอความเมตตาช่วยต่อชีวิตพระเณร<O:p</O:p
    http://www.palungjit.org/board/showthread.php?t=21733<O:p</O:p
    <O:p</O:p

    ขอมอบพระสมเด็จเจ้าคุณกรมท่าคะแนนร้อยแก่ผู้ร่วมทำบุญ สนส บ่อเงินบ่อทอง<O:p</O:p
    http://www.palungjit.org/board/showthread.php?t=27127<O:p</O:p

    และ
    2.กระทู้พระวังหน้านะครับ ส่วนที่อยู่ให้แจ้งผ่านข้อความส่วนตัวมาให้ผมก็ได้ ถ้าไม่ต้องการแจ้งลงที่กระทู้ครับ สำหรับขอรับพระอุ้มบาตรเล็ก รวม 5 พระธรรมทูต
    เฉพาะพระอุ้มบาตรเล็กรวม5พระธรรมทูต ถ้าหลังจากสิ้นเดือนมีนาคม 2549 แล้วยังไม่มีผู้ที่ทำบุญแล้วมีความประสงค์จะรับพระอุ้มบาตรเล็กรวม 5 พระธรรมทูต ผมขออนุญาตหยุดมอบพระพิมพ์อุ้มบาตรเล็กรวม5 พระธรรมทูตให้ผู้ทำบุญครับ
    พระวังหน้า ที่หลวงปู่บรมครูเทพโลกอุดรเสก ถ้าต้องการที่จะได้.....<O:p</O:p
    http://www.palungjit.org/board/showthread.php?t=22445<O:p</O:p


    ขออนุโมทนาในกุศลทุกท่านที่ได้ทำบุญกับวัดบ่อเงินบ่อทอง ครับ
    <!-- / message --><!-- sig -->
     
  13. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    10 ข้อที่ห้างร้านไม่บอกคุณ<O:p</O:p

    <O:p</O:p

    เคยบ้างไหมที่ไปช้อปปิ้งเพื่อซื้อสินค้า 2-3 อย่าง แต่กลับได้สินค้าอื่นๆ มาอีกเกือบเต็มรถเข็น หรือตั้งใจซื้อเสื้อสักตัว แต่กลับได้กางเกง รองเท้า และอื่นๆ อีกเพียบ
    ..........คุณเคยคิดกันไหมว่าเพราะอะไร.....

    ..........นั่นเป็นเพราะบรรดาห้างสรรพสินค้าได้มีการศึกษาพฤติกรรมผู้บริโภคในการช้อปปิ้งจนเข้าใจอย่างลึกซื้งว่า จะใช้วิธีการอย่างไรที่จะทำให้ลูกค้าช้อปมากขึ้น ทั้งการจัดโปรโมชั่นพิเศษ การจัดบรรยากาศที่ชวนให้เดินได้อย่างเพลิดเพลิน

    ..........ดังนั้น สัพเพสาระ ครั้งนี้จะขอนำ 10 หัวข้อที่ห้างไม่บอกคุณ มาบอกคุณเพื่อเป็นข้อคิดในการช้อปครั้งต่อไป<O:p</O:p

    <O:p</O:p

    1.วางแผนการใช้จ่าย อย่าช้อปเพื่อความบันเทิง โดยวางแผนการใช้จ่ายในแต่ละเดือนว่าจะช้อปอะไร จดรายการสิ่งของที่ต้องการไว้ เมื่อไปห้างก็ช้อปตามรายการที่จด อย่าใช้วิธีการเดินช้อปไปเรื่อยๆ

    2. ใส่ใจซื้อสินค้าเซล ทำให้ประหยัดเงินได้มาก โดยเฉพาะการได้สินค้าที่กำลังต้องการ บางห้างจะใช้กลยุทธ์การจัดกิจกรรมพิเศษสินค้าแต่ละกลุ่ม เช่น การสะสมยอดซื้อและนำไปลุ้นคูปอง

    3. อย่าซื้อเพียงเพราะคำว่า “ffice:smarttags" /><?xml:namespace prefix = st1 ns = "urn:schemas-microsoft-com /><st1:City w:st=<ST1:place w:st="on">SALE</ST1:place></st1:City>” เพราะสินค้าเซลใช่ว่าจะจำเป็นสำหรับคุณเสมอไป

    4. ไม่มีห้างร้านไหนราคาถูกที่สุดตลอด ห้างต่างๆ พยายามหลีกเลี่ยงการเปรียบเทียบราคากับห้างคู่แข่งด้วยการทำสินค้าแบรนด์ของตัวเอง หรือนำเข้าเอง ไม่มีจำหน่ายที่ห้างอื่น ขณะเดียวกันจะนำสินค้ามาจัดโปรโมชั่นเวียนกันไม่ให้ซ้ำ เวลานำมาเปรียบเทียบให้ลูกค้าดูจะเลือกเฉพาะสินค้าที่ตนเองกำลังจัดโปรโมชั่นอยู่ ทำให้ลูกค้ารู้สึกว่าสินค้าห้างนั้นถูกที่สุด แต่ไม่ได้หมายความว่าสินค้าทุกประเภทจะถูกที่สุดด้วย

    5. กลิ่นที่ดึงดูดและสินค้าตัวอย่างทำให้คุณหลงพึงพอใจ กลิ่นหอมของนมเนย หรือการที่ได้ทดลองชิม หรือรับสินค้าตัวอย่าง จะทำให้คุณเกิดความสุขและพึงพอใจในสินค้านั้นๆ

    6. ระวังการจัดวางสินค้า จะเป็นตัวดึงดูดให้เดินอย่างเพลิดเพลิน เพราะการจัดวางสินค้าและบรรยากาศการตกแต่ง ตลอดจนการวางแผนผังในห้างที่ทำให้ต้องเดินทั่วทุกชั้น เช่น ซื้อสินค้าชั้น 1 แลกซื้อที่ชั้น 3 จับคูปองที่ชั้น 5

    7. จงเปรียบเทียบราคาและคุณภาพทุกครั้งที่ซื้อ สำหรับผู้ที่ไม่ติดแบรนด์ ก่อนตัดสินใจซื้อลองคิดเปรียบเทียบว่าราคาที่ต้องจ่ายกับคุณภาพนั้นเหมาะสมไหม<O:p</O:p

    <O:p</O:p

    8. อย่าละเลยบริการพิเศษ ซึ่งเป็นการให้บริการฟรี ไม่ว่าจะเป็นการจัดส่งสินค้า การห่อของขวัญ การรับประกันโปรโมชั่นไม่ขาดสต๊อก หรือที่รู้จักกันว่า “เรนเช็ก” (rain check) บริการนี้น่าสนใจมาก เพราะบ่อยครั้งที่สินค้าโปรโมชั่นหมดก่อนหมดรายการ หากมีบริการนี้ เราสามารถแจ้งรายการสินค้าโปรโมชั่นที่ต้องการให้ทางห้างจัดให้ภายหลังได้

    9. จงใช้บัตรเครดิตให้คุ้มค่า การรู้จักบริหารรอบการตัดบัญชีของบัตรเครดิต ตลอดจนการเลือกใช้
    บัตรไหน เพื่อก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดจากโปรโมชั่นที่ได้รับ
    <O:p</O:p

    10. อย่าลืมตรวจสอบรายการและราคาสินค้า ทุกครั้งที่จ่ายเงินเสร็จแล้ว อย่าลืมเช็กราคาสินค้า และรายการว่าตรงตามที่เราซื้อหรือไม่ ยิ่งเราซื้อขอครั้งละหลายๆ รายการ ใบเสร็จยาวเป็นหางว่าว ยิ่งต้องให้เวลายืนเช็กอยู่ใกล้ๆ ที่จ่ายเงิน หากเกิดข้อผิดพลาดจะได้ทักท้วงทันที<O:p</O:p
    <O:p</O:p


    รับรองว่าหากทำ 10 ข้อนี้แล้ว คุณจะช้อปได้อย่างคุ้มค่าเงินทีเดียว<O:p</O:p

    <O:p</O:p
     
  14. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    เรื่องยาที่ทุกคนควรรู้
    <O:p</O:p
    เมื่อป่วยไข้ไม่สบาย ยาที่แพทย์จ่ายให้ อาจมี ข้อแนะนำพิเศษในการใช้ยา ซึ่งควรรู้อย่างยิ่งว่ามันหมายความว่าอย่างไร เพื่อประสิทธิภาพในการรักษา <O:p</O:p
    1. รับประทานติดต่อกันทุกวันจนหมด เพื่อให้การรักษาได้ผลดี ยาบางประเภทต้องรับประทานติดต่อกันเป็นระยะเวลานานหรือตามแพทย์สั่ง แม้ว่าอาการจะทุเลาลงหรือไม่มีอาการแล้วก็ตาม เช่น ยาฆ่าเชื้อ อะม็อกซี่ซิลีน เตตราซัยคลิน หากรับประทานไม่ครบกำหนดเวลา จะทำให้การรักษาไม่ได้ผล และอาจเกิดการดื้อยาได้ ยารักษาโรคเรื้อรังบางอย่างต้องรับประทานยาเป็นเวลานาน หยุดยาเองไม่ได้ เช่น ยาจำพวกสเตียรอยด์ (เพรดนิโซโลน) ยารักษาความบกพร่องของร่างกาย เช่น ยาเบาหวาน ความดันโลหิตสูง โรคกระดูกบาง<O:p</O:p
    2. เฉพาะเวลามีอาการ... ยาที่ใช้บรรเทาอาการต่างๆ เช่น ยาแก้ไอ ยาลดน้ำมูก ยาแก้ปวด ยาแก้ไข้ ยาแก้ท้องเสีย แพทย์อาจสั่งให้รับประทานเป็นช่วงๆ เช่น ทุก 4 ชั่วโมง เวลามีอาการ เมื่ออาการทุเลาลง ก็สามารถหยุดยาได้ ไม่จำเป็นต้องรับประทานต่อเนื่อง<O:p</O:p
    3. ก่อนอาหาร ควรรับประทานก่อนอาหาร ? ถึง 1 ชั่วโมง อาหารอาจลดการดูดซึม หรือยับยั้งทำให้ยาบางชนิดออกฤทธิ์น้อยลง เช่น ยาปฏิชีวนะต่างๆ ยาบางอย่างต้องการให้ออกฤทธิ์ก่อนอาหาร เพื่อผลต่อระบบทางเดินอาหาร เช่น ยาแก้อาเจียน หรือในกรณียาเบาหวานบางชนิดที่ต้องรับประทานก่อนอาหาร เพื่อให้การดูดซึมและการออกฤทธิ์มีความสัมพันธ์กับการลดระดับน้ำตาลในเลือด<O:p</O:p
    4. หลังอาหาร โดยทั่วไปควรรับประทานหลังอาหาร 15-30 นาที ยกเว้น ยาที่ระบุให้รับประทานหลังอาหารทันที <O:p</O:p
    5. หลังอาหารทันที หรือ พร้อมอาหาร ยาบางชนิดทำให้เกิดการระคายเคืองกระเพาะอาหาร อาจทำให้คลื่นไส้อาเจียนได้ การรับประทานหลังอาหารทันทีหรือพร้อมอาหาร ก็เพื่อลดปัญหาดังกล่าว เช่น เพรดนิโซโลน แอสไพริน หรือในกรณียาเบาหวานบางชนิด ให้รับประทานพร้อมอาหารเพื่อช่วยลดการดูดซึมน้ำตาล<O:p</O:p
    6. ควรดื่มน้ำตามมากๆ ยาพวกซัลฟา ละลายน้ำได้น้อยมาก อาจตกตะกอนในไต การดื่มน้ำมากๆ จะช่วยเพิ่มการละลายได้ หรือยาถ่ายที่ทำให้เพิ่มกากอุจจาระหรือที่ทำให้อุจจาระนิ่ม ควรดื่มน้ำตาม มากๆ <O:p</O:p
    7. เคี้ยวยาให้ละเอียดก่อนกลืน ยาลดกรดชนิดเม็ด หรือยาบางชนิด ต้องเคี้ยวก่อน เพื่อให้ยากระจายตัวในกระเพาะอาหาร และออกฤทธิ์ได้ดีขึ้น<O:p</O:p
    8. ห้ามรับประทานร่วมกับเหล้าหรือเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ ยาปฏิชีวนะบางชนิด ยาลดน้ำตาลในเลือด ยาระงับประสาท ยานอนหลับ ยาแก้ปวด หรือยากดประสาทต่างๆ ตลอดจนยาแก้แพ้ จะเสริมฤทธิ์กับแอลกอฮอล์ ทำให้เกิดอันตรายได้ <O:p</O:p
    9. ไม่ควรรับประทานยานี้ร่วมกับนมหรือยาลดกรด เพราะนมและยาลดกรด ทำให้การดูดซึมยาบางชนิดลดลง จึงทำให้ผลการรักษาลดลงด้วย เช่น เตตราซัยคลิน ยาบำรุงที่มีธาตุเหล็ก<O:p</O:p
    10.รับประทานยานี้แล้วอาจทำให้ง่วงซึม ยาแก้แพ้ ยานอนหลับ ยาแก้ปวดบางชนิด อาจมีผลข้างเคียง ทำให้ง่วงนอนหรือมึนงง ผู้ใช้ยาควรระมัดระวังในการขับรถหรือการใช้เครื่องจักรกล<O:p</O:p
    11. รับประทานยานี้แล้วปัสสาวะจะมีสีส้มแดง ยาพวก Phenazopyridine ทำให้ปัสสาวะเป็นสีแดง อาจเข้าใจผิดว่าเป็นเลือด แต่ที่จริงเป็นสีจากยา หรือยา Rifampicin ทำให้น้ำลาย น้ำตา ปัสสาวะ เป็นสีแดงส้ม<O:p</O:p
    12.เก็บไว้ในตู้เย็น โดยทั่วไปหมายถึงการเก็บที่อุณหภูมิ 2-8 องศาเซลเซียส โดยแช่ในช่องธรรมดา ไม่ต้องใส่ในช่องทำน้ำแข็ง หรือเก็บในกระติกน้ำแข็งตลอดเวลา เช่น ยาอินซูลิน วัคซีน หรือยาหยอดตาบางชนิด<O:p</O:p
    วิธีสังเกตยาหมดอายุ
    เราควรทราบวิธีสังเกตยาที่มีอยู่ว่ายังสามารถใช้ได้หรือไม่ เพื่อความปลอดภัยในการใช้ยา เพราะหากยาที่ใช้หมดอายุหรือเสื่อมคุณภาพแล้ว นอกจากจะไม่มีผลในการรักษา ยังอาจทำให้เกิดอันตรายต่อร่างกายได้ ซึ่งมีวิธีการสังเกตง่ายๆ ดังนี้<O:p</O:p

    วันหมดอายุ เขียนเป็นภาษาอังกฤษได้หลายแบบ เช่น Exp.date, Expiring, Use by หรือ Use before ตัวอย่างเช่น Exp.date ffice:smarttags" /><ST1:date Year="2005" Day="20" Month="2">20/02/05</ST1:date> หมายความว่ายาจะหมดอายุในวันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2005 <O:p</O:p
    แต่หากบนฉลากไม่ได้กำหนดวันที่วันหมดอายุ ก็ให้หมายถึงวันสุดท้ายของเดือนนั้นๆ เช่น Exp.date 03/05 หมายความว่ายาจะหมดอายุในวันที่ 31 มีนาคม 2005 <O:p</O:p
    ในกรณีที่ยาไม่ได้กำหนดวันหมดอายุ อาจสังเกตได้จากวันที่ผลิต (Manufacturing date หรือ Mfg.date) ซึ่งโดยทั่วไป หากยานั้นผลิตมาเกิน 5 ปี ก็ไม่ควรนำมาใช้ <O:p</O:p
    ทั้งนี้ยาแต่ละชนิดจะมีอายุไม่เท่ากัน และการเก็บรักษาก็มีปัจจัยหลายอย่างที่มีผลกระทบ เช่น แสง ความร้อน ในบริเวณที่เก็บ ทำให้บางครั้งยาที่ยังไม่ถึงวันหมดอายุ แต่มีการเปลี่ยนแปลงลักษณะทางกายภาพไปแล้ว ก็ไม่ควรนำยานั้นมาใช้ <O:p</O:p
    การสังเกตลักษณะทางกายภาพของยา สามารถทำได้ง่ายๆ ยาที่เสื่อมคุณภาพแล้ว จะมีลักษณะดังนี้
    • ยาเม็ด มีลักษณะแตกกร่อน กะเทาะ เปลี่ยนสี หรือสีซีด
    • ยาเม็ดเคลือบ มีลักษณะเยิ้มเหนียว
    • ยาแคปซูล มีลักษณะบวม โป่งพอง ผงยาภายในจะจับกันเป็นก้อน เปลี่ยนสี หรืออาจมีเชื้อราขึ้นบนเปลือกแคปซูล
    • ยาน้ำเชื่อม มีลักษณะขุ่น มีตะกอน เปลี่ยนสี มีกลิ่นบูดหรือเหม็นเปรี้ยว
    • ยาน้ำแขวนตะกอน มีลักษณะตะกอนจับตัวเป็นก้อนแข็ง เขย่าแรงๆ ก็ไม่กระจาย
    • ยาน้ำอีมัลชั่น มีลักษณะเขย่าแล้วไม่รวมตัวเป็นเนื้อเดียวกัน
    • ยาครีม มีลักษณะแยกชั้น ไม่รวมเป็นเนื้อเดียวกัน เนื้อครีมเปลี่ยนสี
    • ยาหยอดตา เปลี่ยนจากน้ำใสๆ เป็นน้ำขุ่น หรือหยอดตาแล้วมีอาการแสบตามากกว่าปกติ โดยทั่วไปยา



    +++++++++++++++++++++++++++++++++

    <O:p
    อ่านแล้วรู้สึกดี ... เลยส่งต่อให้อ่านดู ...<O:p</O:p
    <O:p</O:p
    หวัดดีคับ .... <O:p</O:p
    มีข้อความดีๆ มาฝาก .... เรื่องอะไรลองอ่านเอาเองนะ ...<O:p</O:p
    สูตรสู่ความสำเร็จ<O:p</O:p
    ถ้า A B C D E F G H I J K L M N O P Q R S T U V W X Y Z <O:p</O:p
    มีค่าเท่ากับ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26
    <O:p</O:p
    แล้วจะพบว่า......<O:p</O:p
    1) H+A+R+D+W+O+R+K = 8+1+18+4+23+15+18+11 = 98% <O:p></O:p>
    HARD WORK หรือ ทำงานหนัก มีค่าเท่ากับ 98 % <O:p</O:p
    2) K+N+O+W+L+E+D+G+E = 11+14+15+23+12+5+4+7+5 = 96% <O:p</O:p
    KNOWLEDGE หรือ ความรู้ มีค่าเท่ากับ 96 % <O:p</O:p
    3) L+O+V+E=12+15+22+5 = 54% <O:p</O:p
    LOVE หรือ ความรัก มีค่าเท่ากับ 54 % <O:p</O:p
    4) L+U+C+K = 12+21+3+11 = 47% <O:p</O:p
    LUCK หรือ โชค มีค่าเท่ากับ 47 % <O:p</O:p
    Q ; ไม่มีสิ่งใดที่มีค่า 100 % เลยหรือ !!! แล้วสิ่งใดที่มีค่าเท่ากับ 100 % <O:p</O:p
    - ใช่เงินหรือเปล่า ?……… .... .....ไม่ใช่ !!!!! <O:p</O:p
    - ความเป็นผู้นำหรือเปล่า ?………ไม่ใช่ !!!!! <O:p</O:p
    Q ; แล้วอะไรล่ะ ? <O:p></O:p>
    Ans. ; A+T+T+I+T+U+D+E = 1+20+20+9+20+21+4+5 = 100% <O:p</O:p
    ATTITUDE หรือ ทัศนคติ นั่นเอง ที่มีค่าเท่ากับ 100 % <O:p</O:p
    ท่านคิดเช่นนั้นหรือไม่ ทุกปัญหามีทางออก . . บางทีแค่เพียงแต่เราเปลี่ยน "ทัศนคติ " <O:p</O:p
    ของเราเสียใหม่เท่านั้นเอง มีเพียงแต่ “ทัศนคติ” ของเราเท่านั้น ที่จะเป็นตัวนำทาง ไปสู่ความสำเร็จในชีวิต และงานที่ทำ <O:p</O:p
    ความคิด & ทัศนคติ <O:p</O:p
    สุดท้าย .... ลงมือทำ

    </O:p
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • s1443_1.jpg
      s1443_1.jpg
      ขนาดไฟล์:
      53.6 KB
      เปิดดู:
      83
    • s1443_2.jpg
      s1443_2.jpg
      ขนาดไฟล์:
      117.7 KB
      เปิดดู:
      98
    • s1443_3.jpg
      s1443_3.jpg
      ขนาดไฟล์:
      62.7 KB
      เปิดดู:
      73
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 23 มีนาคม 2006
  15. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    Web อันตรายอย่าเปิดเชียว นะ<O:p</O:p
    ยังไงจำๆไว้หน่อยก็ไม่เสียหาย เว็บ
    siamstreet.comและ digithais.com ปล่อยไวรัสอย่าเปิด
    แถมข้อมูลยังโดนแฮ็กด้วยบอกต่อ ด้วยโหดมาก เตือน ทุกคน
    ฟอร์เวิร์ดต่อด้วยนะ
    Virus
    ชื่อ kali มัน จะมากับเมล์ชื่อLet watchTV.อย่าเปิด
    เพราะ harddisk คุณจะเกลี้ยงทุกอย่างโดยทันที
    ส่งต่อด้วยยัง ไม่มีวิธีแก้ไข .ไม่ควรเปิด เว็บ
    *Siamstreet.com และ Digithais.com *
    ขอย้ำว่า FORWARD ต่อด้วยนะ*****

    <O:p</O:p
     
  16. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    ในเดือนหน้า
    ผมจะนำพระพิมพ์มาให้บูชากัน 2 พิมพ์นะครับ
    สำหรับการบูชานั้น ให้นำเงินทำบุญในกระทู้ขอความเมตตาต่อชีวิตพระเณร สามารถจองไว้ก่อนได้และกติกาเดิมนะครับ คือ

    1.พิมพ์พระฐานผ้าทิพย์ (หรือพระบัณฑูรย์ แต่เป็นเนื้อผงขาว ปิดทองร่องชาด) องค์ละ 1,500.-บาท จำนวน 12 องค์ พระพิมพ์พระฐานผ้าทิพย์ มีอยู่ 4 พิมพ์ คือ 1.1 พิมพ์ปางมารวิชัย
    1.2 พิมพ์ปางสมาธิ
    1.3 พิมพ์พระควัมปติ (ปิดตา)
    1.4 พิมพ์พระสังกัจจายน์

    2.พระพิมพ์สมเด็จวังหน้า (เนื้อขาว หรือเนื้อขาวลงรักสีน้ำเงิน) องค์ละ 1,000.-บาท จำนวน 10 องค์ พระสมเด็จวังหน้า มีผู้ที่ได้ไปแล้วปรากฎว่า มีพระธาตุขึ้นที่องค์พระพิมพ์ด้วยครับ

    แล้วผมจะนำรูปมาลงให้ดูกันนะครับ
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 23 มีนาคม 2006
  17. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
  18. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    วิธีสะเดาะเคราะห์<O:p</O:p
    <O:p</O:p

    อิ่มบุญ บางเขน ผู้เขียน คอลัมภ์กรรมกำหนด<O:p</O:p
    บุญเสมอ แดงสังวาลย์ หนังสือพิมพ์ข่าวสด<O:p</O:p
    <O:p</O:p


    หมอดูไม่ว่าชาติไหน ย่อมต้องอาศัยประสบการณ์ และใช้ข้อมูลจากหลายๆพันคน มาตั้งเป็นทฤษฎีเหมือนเป็นสูตรสำเร็จ ว่าไปแล้วก็เหมือนหลักเศรษฐศาสตร์ มีการคำนานหาความเป็นไปได้ และแนวโน้มของการเปลี่ยนแปลง ซึ่งจะให้ถูกต้องร้อยเปอร์เซ็นต์คงเป็นไปไม่ได้<O:p</O:p
    ตามหลักโหราศาสตร์ มีการดึงเอาดวงดาวเข้ามาเกี่ยวข้องด้วย เช่น ดาวพระศุกร์ ซึ่งถือว่าเป็นดาวดี เมื่อเวลาโคจรมาเสวยอายุท่านผู้ใด ผู้นั้นย่อมมีชะตาชีวิตที่ดี ขณะเดียวกันก็มีตัวแปรซึ่งมีผลต่อดาวพระศุกร์ คือ ดาวพระเคราะห์ดวงอื่นๆ เช่นดาวพระเสาร์ ถ้ามีดาวพระเสาร์เข้ามาแทรก ก็จะมีเหตุการณ์ไม่ดีเกิดขึ้น ตำนานของกรีกโบราณ ถือว่าดาวทั้งสองดวงเป็นเทพเจ้าไม่ถูกกัน<O:p</O:p
    เราเชื่อกันว่าการสะเดาะเคราะห์ เป็นการที่จะบรรเทาสิ่งเลวร้ายให้เบาบางลง หรือหมดไปเลย เช่นการรดน้ำมนต์ การทำสังฆทาน การปล่อยนกปล่อยปลา ฯลฯ<O:p</O:p
    แต่พระพุทธศาสนาสอนให้เชื่อเรื่อง
     
  19. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    ผมจะขอแนะนำเรื่องผงวิเศษนะครับ

    เรื่องผงวิเศษ ที่มีอยู่ในพระพิมพ์สมเด็จ(ทั้งพระพิมพ์สมเด็จวังหน้า ,สมเด็จกรมเจ้าคุณท่า ,พระสมเด็จวัดระฆัง ของสมเด็จพระพุฒาจารย์โต พรหมรังสี)<O:p</O:p
    <O:p</O:p
    ได้มีผู้เขียนบางท่านกล่าวว่า พระพิมพ์สมเด็จสร้างขึ้นด้วยผงวิเศษ 5 ประการ ความจริงผงวิเศษหลักมีเพียง 4 ประการเท่านั้น คือผงปถมัง ผงอิธะเจ ผงตรีนิสิงเห และผงมหาราช ส่วนผงพุทธคุณนั้น เป็นผงเกล็ดซึ่งแยกจากผงปถมัง<O:p</O:p
    <O:p</O:p
    อาจกล่าวได้ว่า ผงวิเศษ 4 ประการนี้ มิใช่ผลวิเศษ สำหรับใช้ในการสร้างพระพิมพ์ ผงวิเศษ แต่ละแขนงล้วนจบลงด้วยสูญนิพพาน แต่ในทางปฎิบัติใช้ลงเป็นตอนๆ สำหรับใช้เฉพาะกิจเท่านั้น เช่นการลบผงอิธะเจ ลบเพียงถึงอิธะเจตะโสทัฬหังคณหาหิถามะสา 13 คำขาดตัวในสูตรสนธิ ใช้ในทางเสน่ห์ เมตตา หากลบเลยไปจะเปลี่ยนรูปเป็นอิทธิฤทธิ์ ไม่ตรงกับความหมายของผู้ต้องการจะใช้ผง<O:p</O:p
    <O:p</O:p
    ถ้าต้องการให้เกิดอิทธิฤทธิ์ ต้องลบผงด้วยคัมภีร์ปถมัง เช่นการให้ผู้คนเห็นเราคล้ายดั่งนนทยักษ์ มีอำนาจน่าเกรงขาม ท่านให้เริ่มแต่นะปถมังลบไปจนถึงโองการมหาไวยเอาผงที่ลบเสกด้วยพระคาถาที่ใช้บังคับมาลูบหาตัว ฯลฯ<O:p</O:p
    <O:p</O:p
    นักเขียนไม่ใช่นักทำ นักอ่านก็ไม่ใช่นักทำ .....<O:p</O:p
    <O:p</O:p
    ขอขอบพระคุณท่านอาจารย์ประถม อาจสาคร ที่ท่านให้เผยแพร่เป็นวิทยาทาน ขอบพระคุณมากครับ<O:p</O:p
    <!-- / message -->
     
  20. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    "สมเด็จพระโลกอุดร" หรือพระพิมพ์วังหน้าทรงแกะแม่แบบโดยฝีพระหัตถ์ 2 พิมพ์ และรุ่นต่อมาเป็นฝีพระหัตถ์ล้วนๆเพื่อสร้างแจกในงานพระศพของสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัวนอกนั้นสร้างเมื่อสมัยเป็นวังหน้าแล้วอีกหลายรุ่นนอกนั้นสร้างเมื่อสมัยเป็นวังหน้าแล้วอีกหลายรุ่น<O:p</O:p
    <O:p</O:p
    ในปีพ.ศ. 2411 ท่านเจ้าคุณกรมท่าได้สั่งให้ช่างทำการต่อสำเภาหลวงขึ้นหลายลำ เพื่อทำการค้าระหว่างประเทศเช่น บังคลาเทศ ศรีลังกา หมู่เกาะสุมาตรา ตลอดจนแหลมมลายูและประเทศจีน เพื่อเป็นการรักษาดุลย์การค้าส่วน กรมพระราชวังบวรวิชัยชาญ ได้ดำริให้สร้างเตาเผาอบเครื่องเบญจรงค์ซึ่งถือเป็นเตาแห่งแรกของกรุงรัตนโกสินทร์ ภายในบริเวณพระราชวังหน้าเป็นเตาเผาส่วนพระองค์สาเหตุสำคัญก็คือได้มีการคลั่งเครื่องเบญจรงค์เมื่อต้นรัชกาลที่ 4 และขาดตอนไปในปลายรัชกาลโดยเริ่มหันไปนิยมเครื่องกังใสลายครามเป็นส่วนใหญ่เพราะประเทศทางยุโรป กำลังนิยมมากและมีการสั่งซื้อเครื่องกังใสลายครามจากประเทศจีนเป็นสาเหตุให้กรมพระราชวังบวรวิชัยชาญ จำ
    เป็นต้องสร้างเตาเผาอบเครื่องเบญจรงค์ขึ้นมา ซึ่งในการนี้ได้มีการร่วมมือประสานงานจากกับท่านเจ้าคุณกรมท่า ในการสั่งหุ่นถ้วยชามจากทางประเทศจีนที่ไปทำการค้าขายอยู่และการทำเครื่องเบญจรงค์นี้เองที่ต่อมาได้มีบทบาทในการก่อให้เกิดพระสมเด็จปัญจสิริและสมเด็จเจ้าคุณกรมท่าขึ้นมา<O:p
     

แชร์หน้านี้

Loading...