พระวังหน้า ที่หลวงปู่บรมครูเทพโลกอุดรเสก ถ้าต้องการที่จะได้.....

ในห้อง 'งานบุญอื่นๆ' ตั้งกระทู้โดย sithiphong, 23 ธันวาคม 2005.

  1. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    <TABLE class=toccolours><TBODY><TR><TH style="BACKGROUND: gold">พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว</TH></TR><TR><TD style="FONT-SIZE: 90%; TEXT-ALIGN: center"><CENTER>[​IMG]</CENTER></TD></TR><TR><TD><TABLE style="BACKGROUND: none transparent scroll repeat 0% 0%; MARGIN: 0px auto; WIDTH: 22em"><TBODY><TR><TH style="BACKGROUND: gold" colSpan=3><CENTER>ข้อมูลส่วนพระองค์</CENTER></TH></TR><TR><TD vAlign=top>พระบรมนามาภิไธย</TD><TD colSpan=2>สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้ามหาวชิราวุธ เอกอรรคมหาบุรุษย์บรมนราธิราช จุฬาลงกรณนาถราชวโรรส มหาสมมติขัตติยพิสุทธิ์ บรมมกุฎสุริยสันตติวงศ์ อดิศัยพงศ์วโรภโตสุชาติคุณสังกาศวิมลรัตน ทฤฆชนมสวัสดิ ขัตติยราชกุมาร
    สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิราวุธ สยามมกุฎราชกุมาร
    </TD></TR><TR><TD vAlign=top>วันพระราชสมภพ</TD><TD colSpan=2>1 มกราคม พ.ศ. 2423
    วันเสาร์ เดือนยี่ ขึ้น 2 ค่ำ ปีมะโรง</TD></TR><TR><TD vAlign=top>วันสวรรคต</TD><TD colSpan=2>26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2468
    รวมพระชนมพรรษา 46 พรรษา</TD></TR><TR><TD vAlign=top>พระราชบิดา</TD><TD colSpan=2>พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว</TD></TR><TR><TD vAlign=top>พระราชมารดา</TD><TD colSpan=2>สมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนี พระพันปีหลวง</TD></TR><TR><TD vAlign=top>พระราชบุตร</TD><TD colSpan=2>สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี</TD></TR><TR><TD></TD></TR><TR><TH style="BACKGROUND: gold" colSpan=3>การครองราชย์</TH></TR><TR><TD vAlign=top>ราชวงศ์</TD><TD colSpan=2>ราชวงศ์จักรี</TD></TR><TR><TD vAlign=top>ทรงราชย์</TD><TD colSpan=2>23 ตุลาคม พ.ศ. 2453</TD></TR><TR><TD vAlign=top>ระยะเวลาครองราชย์</TD><TD colSpan=2>16 ปี</TD></TR><TR><TD vAlign=top>รัชกาลก่อนหน้า</TD><TD colSpan=2>พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว</TD></TR><TR><TD vAlign=top>รัชกาลถัดมา</TD><TD colSpan=2>พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว</TD></TR><TR><TD vAlign=top>วัดประจำรัชกาล</TD><TD colSpan=2>สร้าง วชิราวุธวิทยาลัย แทนวัดประจำรัชกาล <SUP class=reference id=_ref-0>[1]</SUP></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  2. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    [แก้] อ้างอิง

    1. <LI id=_note-0> การก่อพระฤกษ์โรงเรียนมหาดเล็กหลวง <LI id=_note-1> ราชกิจจานุเบกษา, พระบรมราชโองการ ประกาศ เฉลิมพระปรมาภิไธย, เล่ม ๓๓, ตอน ๐ก, ๑๑ พฤศจิกายน พ.ศ.๒๔๕๙, หน้า ๒๑๒ <LI id=_note-2> ตราราชวงศ์จักรี และพระราชลัญจกร ประจำพระมหากษัตริย์ในรัชกาลต่าง ๆ จากเว็บไซต์ บ้านฝันดอตคอม
    2. สนเทศน่ารู้ : พระราชลัญจกรประจำรัชกาล, สำนักหอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยรามคำแหง
    [แก้] ดูเพิ่ม

    [แก้] แหล่งข้อมูลอื่น


    <TABLE class=toccolours style="MARGIN: 0px auto; BORDER-COLLAPSE: collapse" cellSpacing=0 cellPadding=4 border=1><TBODY><TR style="TEXT-ALIGN: center"><TD width="30%">รัชสมัยก่อนหน้า:
    พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว</TD><TD style="TEXT-ALIGN: center" width="40%">พระมหากษัตริย์ไทย
    ราชวงศ์จักรี พ.ศ. 2453 - 2468</TD><TD width="30%">รัชสมัยถัดไป:
    พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE class=toccolours style="MARGIN: 0px auto; BORDER-COLLAPSE: collapse" cellSpacing=0 cellPadding=4 border=1><TBODY><TR style="TEXT-ALIGN: center"><TD width="30%">สมัยก่อนหน้า:
    สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิรุณหิศ สยามมกุฎราชกุมาร</TD><TD style="TEXT-ALIGN: center" width="40%">สยามมกุฎราชกุมาร <SMALL>(สมัยที่ {{{สมัยที่}}})</SMALL>
    พ.ศ. 2437-2453</TD><TD width="30%">สมัยถัดไป:
    สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิราลงกรณ สยามมกุฎราชกุมาร</TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE style="BORDER-TOP-WIDTH: 0px; BORDER-LEFT-WIDTH: 0px; BORDER-BOTTOM-WIDTH: 0px; WIDTH: 100%; BORDER-RIGHT-WIDTH: 0px" cellSpacing=0 cellPadding=2><TBODY><TR><TD noWrap align=left width=120 bgColor=#817565>[​IMG]</TD><TH style="FONT-SIZE: 10pt; COLOR: #fefefe" vAlign=center align=left bgColor=#817565>บุคคลสำคัญของโลกชาวไทยโดยองค์การยูเนสโก</TH><TD vAlign=top noWrap align=right bgColor=#817565 height=30> </TD><TD noWrap align=right width=35 bgColor=#817565></TD></TR></TBODY></TABLE>[ซ่อน]
    [​IMG]
    <TABLE style="BORDER-TOP-WIDTH: 0px; BORDER-LEFT-WIDTH: 0px; BORDER-BOTTOM-WIDTH: 0px; WIDTH: 100%; BORDER-RIGHT-WIDTH: 0px" cellSpacing=0 cellPadding=2><TBODY><TR><TD style="FONT-SIZE: 8pt" vAlign=top width=120>รายชื่อ (เรียงตามปี)</TD><TD style="FONT-SIZE: 8pt" vAlign=top>สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอฯ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ · สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอฯ กรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ · พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย · พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว · สุนทรภู่ · พระยาอนุมานราชธน · สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระปรมานุชิตชิโนรส · พระเจ้าวรวงศ์เธอ กรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์ · สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก · พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช · สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี · ปรีดี พนมยงค์ · พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว · หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล · พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว · กุหลาบ สายประดิษฐ์ · พุทธทาสภิกขุ</TD></TR><TR><TD style="FONT-SIZE: 8pt" vAlign=top width=120><SMALL>ดูเพิ่ม</SMALL></TD><TD style="FONT-SIZE: 8pt" vAlign=top><SMALL>มรดกโลกในไทย</SMALL></TD></TR></TBODY></TABLE>
    <!-- Pre-expand include size: 30941 bytesPost-expand include size: 22661 bytesTemplate argument size: 10522 bytesMaximum: 2048000 bytes--><!-- Saved in parser cache with key thwiki:pcache:idhash:4261-0!1!0!!th!2 and timestamp 20070812021618 -->ดึงข้อมูลจาก "http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%9A%E0%B8%B2%E0%B8%97%E0%B8%AA%E0%B8%A1%E0%B9%80%E0%B8%94%E0%B9%87%E0%B8%88%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%A1%E0%B8%87%E0%B8%81%E0%B8%B8%E0%B8%8E%E0%B9%80%E0%B8%81%E0%B8%A5%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B9%80%E0%B8%88%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%AD%E0%B8%A2%E0%B8%B9%E0%B9%88%E0%B8%AB%E0%B8%B1%E0%B8%A7".
    หมวดหมู่: บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 2423 | บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2468 | รัชกาลที่ 6 | พระราชโอรสในรัชกาลที่ 5 | พระมหากษัตริย์ไทย | นักประพันธ์ไทย | เจ้าฟ้า
     
  3. ตั้งจิต

    ตั้งจิต เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กันยายน 2005
    โพสต์:
    1,574
    ค่าพลัง:
    +5,485
    สาธุครับ
    คนธรรมดาอย่างผม จะยึดไว้ให้มั่น
     
  4. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    ขอให้เชื่อฟังคำสั่งสอนขององค์พระสัมมาสัมพุทธเจ้าเท่านั้น
    ทำตามที่พระพุทธองค์ทรงสั่งสอนไว้
    พระไตรปิฎกต้องศึกษา สิ่งที่นอกเหนือจากพระไตรปิฎกนั้นให้พิจารณาให้จงหนัก

    เรื่องอื่นๆเป็นรับทราบไว้เป็นเพียงข้อมูลเท่านั้น

    โมทนาสาธุครับ

    .
     
  5. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    http://suphanburi.doae.go.th/ประวัติจังหวัดสุพรรณบุรี.htm


    <TABLE id=table1 height="92%" cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD width=645 height=26><TABLE id=table2 height=22 cellSpacing=0 cellPadding=0 width=163 bgColor=#ffcc66 border=0><TBODY><TR><TD>
    ประวัติความเป็นมา

    </TD></TR></TBODY></TABLE>[​IMG]
    จังหวัดสุพรรณบุรีเป็นจังหวัดที่มีความเก่าแก่ตั้งอยู่ทางภาคตะวันตกของประเทศไทย มีอายุถึงยุคหินใหม่ประมาณ 3,500
     
  6. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    http://www.nsru.ac.th/p.a./paboard/answer.asp?sid=96

    <TABLE rules=cols width="97%" bgColor=#eeeeee border=1 frame=box><TBODY><TR><TD align=middle><TABLE rules=cols width="60%" bgColor=#00cc99 border=1 frame=box><TBODY><TR><TD class=LM align=left>การทำความเข้าใจ เรื่อง "พัฒนาชุมชน" (Community Development) ให้เข้าใจโดยถ่องแท้นั้น มีความจำเป็นที่จะต้องศึกษาประวัติการบริหารการปกครองและประวัติศาสตร์ของชาติไทยเราพอสมควรทีเดียว เพราะจะทำให้ผู้ศึกษา หรือผู้มีหน้าที่รับผิดชอบในการดำเนินการพัฒนาชนบทที่นำเอาวิธีการ (Method) หรือ ขบวนการ (Movement) ของการพัฒนาชุมชนมาใช้ในการพัฒนาชนบทในระยะเวลาต่าง ๆ กันมากน้อยเพียงไร บางทีผู้ใช้ก็ไม่เข้าใจว่าที่ปฏิบัติอยู่หรือทำอยู่ความจริงก็คือ "วิธีการของพัฒนาชุมชน" โดยเหตุผลที่ว่านำเอาเทคนิคบางส่วนหรือหลายส่วนของวิธีการนั้น ๆ มาใช้เพื่อให้เกิดผลสำเร็จในทางปฏิบัติในการ "พัฒนาคน" ด้วยการให้การศึกษาด้วยวิธีการต่าง ๆ ยุคสมัยที่ผ่านมาโดยตลอด ผู้มีอำนาจในการกำหนดนโยบายพัฒนาชนบทก็อาจจะไขว้เขว เนื่องจากต้องอยู่ภายใต้อาณัติของความต้องการหรือแนวทางที่ฝ่ายการเมืองหรือผู้มีอำนาจเหนือกว่าต้องการ ยิ่งกว่าความต้องการอันแท้จริงของประชาชน ถ้าโชคดีความต้องการของทั้งสองกลุ่มอาจจะสมพงษ์สัมพันธ์กันได้โดยไม่มีปัญหา แต่โอกาสค่อนข้างจะน้อยมาก จากการย้อนยุคไปดูประวัติของดำเนินการจะช่วยให้เกิดประโยชน์อย่างน้อย ดังนี้ 1. ทราบจุดยืนว่าในขณะปัจจุบันนี้ การพัฒนาชนบทของประเทศซึ่งมีเป้าหมายในการพัฒนาคนโดยยึดคนเป็นศูนย์กลางของการพัฒนา เพื่อให้คนมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น และพัฒนาชุมชนให้เป็นชุมชนที่เข้มแข็ง ได้บรรลุเป้าหมายเพียงใด เมื่อเทียบกับจุดเริ่มต้น 2. ในห้วงระยะเวลาของการพัฒนาแต่ละห้วง มาตรการสำหรับวัด "คุณภาพชีวิตที่ดี" กับ "ชุมชนที่เข้มแข็ง" ใช้มาตรการอย่างไร จะใช้มาตรฐานของผู้ใด 3. นโยบาย หลักการ และวิธีดำเนินการของบุคลากรที่รับผิดชอบ ถูกต้อง หรือควรที่จะต้องมีการแก้ไขปรับปรุงอย่างไร หรือไม่ เช่นการกำหนดคุณสมบัติเริ่มแรกของพัฒนากร การฝึกอบรมพัฒนากร ผู้นำท้องถิ่น สตรี และเด็ก ครอบครัว ชุมชน องค์กรชุมชน ฯลฯ พัฒนากรเองมีศักยภาพดังกล่าวที่จะสอนและแนะนำชาวบ้านได้อย่างจริงจังหรือไม่ ลองตรวจสอบข้อเท็จจริงกับเวลาที่ผ่านมา 38 ปีประกอบ และอีกหลายเรื่องที่ต้องสร้างขีดความสามารถ หรือศักยภาพใหม่ให้กับประชาชน การศึกษาระดับชาติซึ่งใช้เวลามาแล้ว 67 ปี ก็ยังไม่สามารถสร้างศักยภาพพื้นฐานตรงนี้ให้แก่ประชาชนเพียงพอสำหรับจุดเริ่มต้นที่พัฒนาชุมชนจะรับมาสานต่อในการพัฒนาคุณภาพที่ดีขึ้น การพัฒนาชุมชนเสริมเข้าไปอีก 1/2 ของห้วงระยะเวลาส่วนหลังถึงปัจจุบันก็ยังแก้ไขสถานการณ์เหล่านี้ไม่เป็นที่น่าพอใจ เราต้องหาเหตุผลว่าอะไรเกิดขึ้นในทางปฏิบัติ และเราจะทำอย่างไรต่อไป 4. เมื่อประเมินสถานการณ์และประเมินผลจากประวัติความเป็นมาของประวัติพัฒนาชนบทโดยตลอด และวิเคราะห์โดยละเอียดถึงเหตุและผล เราจึงจะสามารถพิจารณาต่อไปว่า "โครงสร้าง" (Organizational Structure) ของการพัฒนาชุมชนควรจะได้รับการพิจารณาทบทวน ปรับปรุงให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้นจากประวัติ เหตุผล เงื่อนไข และภายใต้อาณัติของนโยบายของการเมืองว่าเราจะเลือกเดินทางไหนและอย่างไร การพัฒนาชุมชนที่มีประสิทธิภาพนั้นต้องการความร่วมมือ และการเป็นหุ้นส่วนของทุกฝ่ายของภาคราชการ รัฐวิสาหกิจ องค์กรเอกชน องค์การอาสาพัฒนา ชุมชน ประชาสังคม และเครือข่ายต่าง ๆ ที่จะเข้ามาร่วมกันในการพัฒนาชนบท โดยมีหน่วยงานแกนกลางที่รับผิดชอบ (กรมการพัฒนาชุมชน) ส่วนหน่วยงานอื่น ๆ รวมทั้งฝ่ายวิชาการต่าง ๆ อาจระดมเข้ามาในฐานะเป็นกลุ่มที่มาจาก Enabling System ซึ่งเข้ามาช่วยในการสนับสนุนในทางวิชการ การฝึกอบรมและการเงิน ถ้าทุกฝ่ายทั้งหน่วยราชการและเอกชนต่างฝ่ายต่างทำก็จะเป็นการซ้ำซ้อน เสียงบประมาณจากหลาย ๆ ฝ่าย เพื่อผลสำเร็จของงานโครงการเดียวก็เป็นการสิ้นเปลือง แต่ถ้าประสานงานโดยแบ่งงานกันตามลักษณะความชำนาญพิเศษ หรือตามหน้าที่ ก็จะบังเกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลที่ดี เรื่องนี้น่าจะต้องมีการทบทวนกันในระดับชาติให้ชัดเจนว่า บทบาทของหน่วยใดจะทำอะไร เพราะแต่ละหน่วยก็มีหน้าที่งานหลักกำหนดไว้ในกฎหมาย ระเบียบแบบแผนไว้เป็นที่เรียบร้อยแล้ว จุดนี้เป็นจุดเริ่มต้นอีกครั้งที่กรมการพัฒนาชุมชนพยายามให้ชัดเจนมาตั้งแต่ พ.ศ.2505 ซึ่งได้มีการประกาศแผนพัฒนาการท้องถิ่นแห่งชาติ เพื่อให้มีจุดประสานที่แน่นอน แต่ไม่ได้ผลตลอดมาจนถึงปัจจุบัน ความจริงการแบ่งงานกันทำตามลักษณะของหน่วยงาน ย่อมทำให้โดยไม่ยาก ถ้าตั้งใจจะทำ จึงอยู่ที่ "หัวหน้าคณะรัฐบาล" คือ นายกรัฐมนตรี จะต้องเป็นผู้ตัดสินใจในกรณีดังกล่าวนี้ ประวัติของการพัฒนาชุมชน ที่ควรแก่การศึกษา คำว่า "พัฒนาการท้องถิ่น" ได้มีการนำมาใช้ช่วยคำว่า "พัฒนาชุมชน" ในระยะต้น ๆ ของประวัติการพัฒนาชนบท ในรูปของการบูรณะชนบททั้งประเทศ พ.ศ. 1797-1800 - มีหลักฐานการพัฒนาเกษตรและการพัฒนาท้องถิ่นทั้งทางด้านวัตถุ จิตใจ และวัฒนธรรมอย่างมากในสมัยพ่อขุนรามคำแหงมหาราช พ.ศ. 1919 - ในรัชกาลสมเด็จพระบรมไตรโลกนารถ มีการแบ่งการปกครองออกเป็น จตุสดมภ์ มีกรมเวียง (เมือง) วัง คลัง นา ทำหน้าที่ปกครองท้องที่ระงับทุกข์บำรุงสุขให้แก่ประชาชน พ.ศ. 2443 - การปฏิรูปการปกครองในสมัยรัชกาลที่ 5 ได้มีการจัดตั้งกระทรวงกรมต่าง ๆ อย่างอารยะประเทศ รวมทั้ง "กระทรวงมหาดไทย" ด้วย พ.ศ. 2447 - มีพระราชบัญญัติลักษณะปกครองท้องที่ออกมาเพื่อเป็นแบบแผน วิะีการการปกครองทั่วราชอาณาจักรในพระราชบัญญัตินี้ได้กำหนดให้มีการเลือกหัวหน้าหมู่บ้าน หัวหน้าตำบล และหัวหน้าอำเภอ ซึ่งเราเรียกว่า ผู้ใหญ่บ้าน กำนัน และนายอำเภอ ตามลำดับ และยังได้กำหนดรายละเอียดในการพัฒนาท้องที่และพัฒนาคนในเรื่องต่าง ๆ ไว้มากมายหลายประการ พ.ศ. 2485 - สมัยจอมพล ป. พิบูลสงคราม เป็นนายกรัฐมนตรี ได้ดำริให้มี "แผนการบูรณะชนบท พ.ศ.2485" ขึ้น พ.ศ. 2494 - จอมพล ป. พิบูลสงคราม นายกรัฐมนตรีได้กำหนดนโยบายแก้ไขปรับปรุงแผนการบูรณะชนบท 2485 เสียใหม่ ให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น เป็น "แผนการบูรณะชนบท พ.ศ.2494" เริ่มเอาประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการบริหารงานการปกครองมากขึ้น เพื่อเตรียมให้เป็นเทศบาล - แต่ในที่สุดก็มีปัญหาไม่มีงบประมาณ และเริ่มเข้าระบบพัฒนาชุมชนมากขึ้น โดยใช้หลักการบางส่วนที่เป็นหลักการพัฒนาชุมชน พ.ศ. 2495 - กรมประชาสงเคราะห์ได้พยายามจัดทำโครงการ Pilot Project ขึ้นที่บางปะกง จังหวัดฉะเชิงเทรา ด้วยความร่วมมือของผู้เชี่ยวชาญโครงการระหว่างประเทศมากมาย อาทิเช่น UNESCO ฯลฯ ร่วมกับกระทรวง ทบวง กรม ที่เกี่ยวข้องเมื่อเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2495 แต่ล้มเหลว ด้วยเหตุหลายประการ อาทิเช่น 1. กลุ่มชุมชนจำนวนน้อยไป 2. ไม่มีสถาบันศาสนาในหมู่บ้าน 3. ดินเค็มเกินไป ชาวบ้านต้องเสียเวลาในการปรับปรุงดินให้จืดมากเลยไม่มีเวลาพัฒนาที่ดินจาก 25 ไร่ ถึง 70 ไร่ต่อครอบครัว 4. ประชาชนตั้งตัวไม่ทันปรับโครงการต่าง ๆ ผู้เชี่ยวชาญทั้งไทยและเทศ พยายามยัดเยียดให้ดำเนินการ ประชาชนไม่สามารถจะหารายได้มาจ่ายคืนต้นทุนและดอกเบี้ยที่กู้ยืมไป 5. ที่สำคัญของความล้มเหลว ก็คือ ทางราชการคิดและทำและให้ราษฎรทำ โดยที่ราษฎรไม่ได้มีส่วนร่วมที่ถูกต้องตั้งแต่ต้น พ.ศ. 2499 - กรมประชาสงเคราะห์ได้ส่งเจ้าหน้าที่ไปดูงานการพัฒนาท้องถิ่นในประเทศต่าง ๆ เพื่อเป็นตัวอย่างมาประกอบนโยบาย อาทิ อินเดีย พม่า กลับมาเสนอ "โครงการพัฒนาท้องถิ่น" เสนอรัฐมนตรีได้รับ "โครงการพัฒนาท้องถิ่น" เป็นโครงการของชาติบริหารโดยกรมประชาสงเคราะห์ มีนายกรัฐมนตรีเป็นประธาน จุดมุ่งหมายพัฒนาความเจริญโดยทั่วไปและเพื่อเพ่งเล็งให้ประชาชนได้ร่วมกันให้ความคิดเห็น ตลอดจนการร่วมกันทางการเงินและกำลังแรงงาน เพื่อการแก้ไขปัญหาท้องถิ่นตามคติของประชาชนไทย พ.ศ. 2499 - 2501 - เป็นระยะที่มีการเคลื่อนไหวในการดำเนินงานทั้งกรมประชาสงเคราะห์และกรมมหาดไทย - ศ.อ.ศ.อ. มีการฝึกอบรมนักศึกษาตามโครงการมูลสารศึกษา (Fundamental Education) ซึ่งกระทรวงศึกษาธิการได้นำเข้ามาใช้ในการอบรมนักศึกษาผู้ใหญ่ ซึ่งเรียกว่า "สารนิเทศก์" ภายหลังโอนมาอยู่กรมมหาดไทยเป็น "พัฒนากร" พ.ศ. 2501 - สำนักงานพัฒนาการท้องถิ่น สังกัดกรมมหาดไทย ได้จัดขึ้นปฏิบัติงานแรกเริ่มของกรมการพัฒนาชุมชน พ.ศ. 2502 - มีการจัดตั้งสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติขึ้น พ.ศ. 2502 - คระรัฐมนตรีได้มีมติให้กรมมหาดไทยเป็นเจ้าของเรื่องในการรับงาน (15 กรกฎาคม) พัฒนาชุมชนไปบริหารและดำเนินการ และ พ.ศ. 2502 - (5 สิงหาคม) - ให้รับโอนสารนิเทศจาก ศ.อ.ศ.อ. ไปสังกัดกรมมหาดไทยร่วมกับปลัดอำเภอ พัฒนากร พ.ศ. 2503 - (20 ตุลาคม) ได้มีการประกาศพระบรมราชโองการเรื่องแผนพัฒนาการเศรษฐกิจแห่งชาติประกาศในราชกิจจานุเบกษาวันที่ 20 ตุลาคม พ.ศ. 2503 รับเองโครงการพัฒนาการท้องถิ่นแห่งชาติเข้าไว้ในแผนพัฒนาการเศรษฐกิจแห่งชาติ มีสาระสำคัญ 4 ข้อ 3 พ.ศ. 2503 - สำนักงานพัฒนาการท้องถิ่น ได้รับการยกฐานะเป็น "ส่วนพัฒนาท้องถิ่น ขึ้นกับกรมมหาดไทย - กฎ ก.พ. ฉบับที่ 240 ออกตามพระราชบัญญํติข้าราชการพลเรือน พ.ศ.2497 ในปีเดียวกันนี้ รวมเรียก "ปลัดอำเภอ พัฒนากร" และ "สารนิเทศ" ว่า "พัฒนากร" ทั้งหมด พ.ศ. 2504 - (1 มกราคม) มีการประกาศใช้แผนพัฒนาเศรษฐกิจฉบับแรกของประเทศไทย (พ.ศ.2504 - 2509) พ.ศ. 2504 - มีการจัดตั้งศูนย์ช่วยเหลือทางวิชาการพัฒนาท้องถิ่น (ศ.ว.พ.) แห่งแรกที่จังหวัดอุบลราชธานี ปัจจุบันมี ศ.ว.พ. 12 แห่ง (เรียกว่า ศ.พ.ช.) พ.ศ. 2505 - ได้มีพระราชบัญญัติปรับปรุง กระทรวง ทบวง กรม ฉบับที่ 10 พ.ศ. 2505 แยกงานพัฒนาชุมชนออกจากกรมมหาดไทย โดยตั้งกรมขึ้นใหม่ จากส่วนพัฒนาการท้องถิ่น เป็น "กรมการพัฒนาชุมชน" สังกัดกระทรวงหมาดไทย ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม พงศ.2505 (และกรมมหาดไทยก็เปลี่ยนชื่อเป็นกรมการปกครองตั้งแต่นั้นมา) พ.ศ. 2505 - ค.ร.ม.อนุมัติให้จัดตั้งกองอำนวยการของหน่วยพัฒนาการเคลื่อนที่ (10 เมษายน) (Mobile Development Unit) สังกัดกระทรวงกลาโหม พ.ศ. 2506 - ได้มีการจัดตั้งกระทรวงพัฒนาการแห่งชาติ (ซึ่งยุบไปแล้ว) พ.ศ. 2507 - ได้มีการจัดตั้งสำนักงานเร่งรัดพัฒนาชนบท สังกัดกระทรวงมหาดไทย รับผิดชอบเน้นหนักในด้านแก้ไขปัญหาเร่งด่วนในการพัฒนาทางบ่อน้ำ ฯลฯ เพื่อผลการป้องกันการแทรกซึมของคอมมิวนิสต์ - ได้มีการโครงการพัฒนาพิเศษต่าง ๆ อีกมากมาย ซึ่งส่วนมากเป็นไปในลักษณะที่เรียกว่า Handout Projects ที่ทำให้กับราษฎร แต่มักไม่มีเวลารอคอยที่จะให้การศึกษา อบรมให้ราษฎรรู้จักคิดริเริ่ม และทำด้วยตนเองมากนัก ซึ่งเราก็อาจเรียกว่า "โครงการพัฒนา..." แล้วแต่ชื่อของวัตถุประสงค์เป็นเรื่อง ๆ ไป - เป็นที่น่าสังเกตว่า กศน. เริ่มดำริการพัฒนาบุคลากรเพื่อเตรียมเข้ามาฟื้นฟูพัฒนาชุมชนอย่าง ศ.อ.ศ.อ.อีก น่าจะต้องมีการพิจารณาทบทวนนโยบายเรื่องนี้กันอีก - นอกจากนี้ตลอดระยะเวลาที่ผ่านมาจนถึงปัจจุบัน ได้มีคณะกรรมการพัฒนาชนบท คณะกรรมการประสานงานพัฒนาชนบทระหว่างภาครัฐบาลกับภาคเอกชนตั้งขึ้นอีกมากมาย เพื่อระดมพลังในการพัฒนาชนบท ซึ่งก็เป็นการไม่แน่ว่าจะช่วยทำให้การประสานงานดีขึ้นหรือเป็นการก่อให้เกิดมีการทำงานซ้ำซ้อนกันหลายหน่วยในโปรเจ็คเดียวกันมากขึ้นก็ได้ พ.ศ. 2544 - สำนักงานเร่งรัดพัฒนาชนบทได้รับการยกฐานะให้เป็นกรมการเร่งรัดพัฒนาชนบท </TD></TR><TR><TD class=LK1 align=right>จาก : กก. [ 26/9/2547 13:56:49 ]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD> </TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  7. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    http://www.thai-tour.com/thai-tour/Bangkok/data/place/place3.htm


    พระที่นั่งวิมานเมฆ
    ตั้งอยู่บริเวณหลังพระที่นั่งอนันตสมาคมเป็นพระราชวัง ที่ทำจากไม้สักทองทั้งหลัง เดิมตั้งอยู่บนเกาะสีชัง สร้างขึ้นในสมัยรัชกาลที่ 5 และได้ชะบอมาไว้ ณ สถานที่ตั้งปัจจุบัน เมื่อ พ.ศ. 2444 ภายในพระที่นั่งประกอบ ด้วยห้องต่างๆ 81 ห้อง มีคลองล้อมรอบอาทิคลองคาบแผ่นกระจก คลองรางเงิน อ่างหยก ภายในบริเวณร่มรื่นสวยงามมาก พระที่นั่งวิมานเมฆ เปิดให้ชมทุกวันตั้งแต่เวลา 09.00-15.00 น. ค่าเข้าชมคนละ 50 บาทรวมค่าเข้าชมพระที่นั่งอภิเษกดุสิต และพิพิทธภัณฑ์รถม้าพระที่นั่ง ซึ่งอยู่ในบริเวณเดียวกันรายละเอียดติดต่อ โทร. 2811569, 2811518, 2816880


    นอกจากนั้นภายในเขตพระราชวังดุสิตยังมีสถานที่น่าสนใจอื่น ๆ อีก ได้แก่


    [​IMG] พิพิธภัณฑ์ศิลปาชีพ

    พระที่นั่งอภิเษกดุสิต พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้น เมื่อปี พ.ศ. 2447 จุดเด่นที่สวยงามของพระที่นั่งองค์นี้ก็คือ ลายไม้ฉลุแบบสมัยพระนางเจ้าวิคตอเรียแห่ง ประเทศอังกฤษ ปัจจุบันปรับแต่งเป็นพิพิธภัณฑ์แสดงผลงานหัตถกรรมที่ประดิษฐ์ขึ้นโดย สมาชิกของมูลนิธิส่งเสริมศิลปาชีพ ในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์พระบรมราชินีนาถ


    ภายในพิพิธภัณฑ์มีงานหัตถกรรมหลากหลายให้ชม อาทิ เครื่องเงิน คร่ำ ผ้าทอ ผ้าปัก ถมเงิน ถมทอง งานประดับด้วยปีกแมลงทับ เป็นต้น


    [​IMG] พิพิธภัณฑ์รถม้าพระที่นั่ง
    เป็นที่รวบรวมรถม้าพระที่นั่งโบราณซึ่งใช้ในสมัยรัชกาลที่ 5 รถม้าแต่ละคัน เคยร่วมในพระราชพิธีสำคัญต่าง ๆ มีความสง่าสวยงาม และมีคุณค่าทางประวัติศาสตร์


    [​IMG] พระตำหนักสวนสี่ฤดู
    เคยเป็นพระตำหนักที่ประทับของสมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ สมเด็จพระอัครมเหสีในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว


    นอกจากนี้ภายในเขตพระราชวังดุสิตยังมีอาคารที่จัดทำเป็นพิพิธภัณฑ์ต่าง ๆ ได้แก่ พิพิธภัณฑ์ภาพถ่าย ฝีพระหัตถ์ พิพิธภัณฑ์นาฬิกาโบราณ พิพิธภัณฑ์ผ้าโบราณ พิพิธภัณฑ์เครื่องราชูปโภค และพระสาทิสลักษณ์ พิพิธภัณฑ์ภาพพระราชพิธี


    พิพิธภัณฑ์เปิดให้เข้าชมทุกวัน ตั้งแต่เวลา 09.30-16.30 น. อัตราค่าเข้าชม ผู้ใหญ่ 50 บาท เด็ก 20 บาท ชาวต่างประเทศ 50 บาท หากต้องการเข้าชมเป็นหมู่คณะต้องทำหนังสือแจ้งล่วงหน้า


    ติดต่อสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ โทร. 281-1569, 281-1518, 281-6880, 281-8166 และ 280-5926

     
  8. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    http://www.wing23.net/ImportantDay/23 oct/วันปิยะมหาราช.htm

    <TABLE style="BORDER-LEFT-COLOR: navy; BORDER-BOTTOM-COLOR: navy; BORDER-TOP-COLOR: navy; BORDER-RIGHT-COLOR: navy" cellSpacing=0 borderColorDark=white width=779 align=center bgColor=#ccffff borderColorLight=black border=1><TBODY><TR><TD width=773 height=74>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>

    วันปิยะมหาราช
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=771><TBODY><TR><TD width=771>[​IMG]

    </TD></TR><TR><TD width=771>ความหมาย
    วันปิยมหาราช หมายถึง วันสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ที่ทรงพัฒนาการศึกษา การทหาร การสื่อสาร การรถไฟ และทรงโปรดให้มีการเลิกทาส โดยมิได้มีการเสียเลือดเนื้อ
    ความเป็นมา
    เนื่องจากพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงเป็นที่รักใคร่อย่างล้นเหลือของพสกนิกรทั้งชาวไทยและชาวต่างประเทศ ตลอดทั่วขอบขัณฑสีมาปวงประชาราษฎร์ถือว่าพระองค์คือพระราชบิดาแห่งตนและประเทศชาติ รัฐบาลจึงประกาศให้วันที่ 23 ตุลาคม เป็นวัน
     
  9. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
  10. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    ส่วนภายในประเทศ ก็ทรงถือว่าการเสด็จประพาสในที่ต่าง ๆ เป็นเหตุให้รู้สารทุกข์สุขดิบของราษฎรเป็นอย่างดี พระองค์จึงได้ทรงปลอมแปลงพระองค์ไปกับเจ้านายและข้าราชการ ไปโดยเรือมาดแจวไปตามแม่น้ำลำคลองต่าง ๆ แวะเยี่ยมเยียนตามบ้านราษฎร ซึ่งเรียกกันว่า
     
  11. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    *****๖๖๖๖๖๖๖๖๖๖๖๖๖๖๖๖๖๖๖๖๖๖๖๖๖๖๖๖๖๖๖๖๖*****

    http://www.vajiravudh.ac.th/rama6.htm



    [​IMG]

    พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงเป็นพระโอรสองค์ที่ 29 ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 และทรงเป็นพระโอรสองค์ที่ 2 ของสมเด็จพระศรีพัชรินทราราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง(สมเด็จพระนางเจ้าเสาวภาผ่องศรี)พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระราชสมภพเมื่อวันเสาร์ เดือนยี่ ขึ้น 2 ค่ำ ปีมะโรง ตรงกับวันที่ 1 มกราคม พุทธศักราช 2423 ร.ศ. 99 เมื่อเวลา 08.55 นาฬิกา ทรงได้รับพระราชทานพระนามว่า
     
  12. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    [​IMG]
    [​IMG]
    พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงมีพระราชศรัทธาในพระบวรพุทธศาสนาอย่างมาก และเป็นไปตามโบราณราชประเพณี หลังจากทรงรับราชการทหารได้ระยะหนึ่ง จึงเสด็จออกผนวก ในวันที่ 20 สิงหาคม พ.ศ 2447 ณ พระอุโบสถวัดพระศรีรัตนศาสดาราม โดยมีสมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส ทรงเป็นพระอุปัชฌาย์ ประทับจำพรรษาที่พระตำหนักปั้นหยาวัดบวรนิเวศวิหาร เป็นเวลา 1 พรรษา ทรงได้รับสมณฉายาว่า
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 14 สิงหาคม 2007
  13. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    ลูกเอ๋ย ก่อนจะเที่ยวไปขอบารมีหลวงพ่อองค์ใด เจ้าจะต้องมีทุนของตัวเอง คือ บารมีของตนลงทุนไปก่อน เมื่อบารมีของเจ้าไม่พบจึงค่อยไปขอยืมบารมีคนอื่นมาช่วย
    มิฉะนั้นเจ้าจะเอาตัวไม่รอด พราะหนี้สินในบุญบารมี ที่เที่ยวไปขอยืมจนล้นตัว เมื่อทำบุญทำกุศลได้บารมีมา ก็ต้องเอาไปผ่อน ใช้หนี้เขาจนหมด ไม่มีอะไรเหลือติดตัวแล้ว เจ้าจะมีอะไรไว้ในภพหน้า หมั่นสร้างบารมีไว้แล้วฟ้าดินจะช่วยเอง
     
  14. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    http://www.onab.go.th/mean/data02.htm

    กฐินต้น

    กฐินต้นเป็นกฐินที่พระเจ้าแผ่นดินเสด็จพระราชดำเนินไปถวาย
    ผ้าพระกฐิน ณ วัดที่มิใช่พระอารามหลวง และมิได้เสด็จไปอย่างเป็น
    ทางราชการ หรืออย่างเป็นพระราชพิธี แต่เป็นการบำเพ็ญพระราชกุศล
    ส่วนพระองค์ พลตรี หม่อมทวีวงศ์ถวัลย์ศักดิ์ (ม.ร.ว.เฉลิมลาภ ทวีวงศ์)
    ได้เล่าประวัติเรื่องการเกิดขึ้นของกฐินต้นนี้ไว้ว่า "กฐินส่วนพระองค์นี้
    ในสมัยก่อนรัชกาลที่ 5 จะเรียกว่าอย่างไรนั้น ยังไม่พบหลักฐาน
    มาเรียกกันว่ากฐินต้นในรัชกาลที่ 5 ภายหลังที่ได้มีการเสด็จประพาส
    หัวเมืองต่าง ๆ เมื่อ พ.ศ. 2447 การเสด็จประพาสครั้งนั้น โปรดให้จัด
    ให้ง่ายกว่าการเสด็จประพาสเพื่อสำราญพระราชอิริยาบถอย่างสามัญ
    คือ โปรดไม่ให้มีท้องตราสั่งหัวเมืองให้จัดทำที่ประทับแรม ณ ที่ใด ๆ
    พอพระราชหฤทัยจะประทับที่ไหนก็ประทับที่นั่น บางคราวก็ทรงเรือเล็ก
    หรือเสด็จรถไฟไปโดยมิให้ใครรู้ การประพาสครั้งนั้นเรียกกันว่า
    เสด็จประพาสต้น"

    ประพาสต้น
    เหตุที่เรียกว่าประพาสต้นก็เพราะเมื่อวันที่ 18 กรกฎาคม 2447
    เสด็จทรงเรือมาด 4 แจว ประพาสในแม่น้ำอ้อม ได้ทรงกรุณาโปรดเกล้าฯ
    ให้ซื้อเรือมาด 4 แจวเพิ่มขึ้นอีกลำหนึ่ง สำหรับแจวตามเรือมาดพระที่นั่ง
    เวลามีพระราชประสงค์ที่จะเสด็จพระราชดำเนินโดยมิให้มีใครรู้จักพระองค์
    เมื่อซื้อเรือมาดได้ดังพระราชประสงค์แล้วก็ทรงพระราชทานชื่อเรือลำนั้นว่า
    เรือต้น และได้เริ่มเรียกการเสด็จประพาสในวันที่กล่าวนี้ ประพาสต้น
    จึงเป็นมูลเหตุให้เรียกการเสด็จพระราชดำเนินถวายผ้าพระกฐินเป็นการ
    ส่วนพระองค์ว่า พระกฐินต้น เรียกแบบเรือนไทยที่ทรงสร้างสำหรับประทับ
    อย่างชาวบ้านว่าเรือนต้น กันต่อมา
     
  15. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
  16. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    <DD>[COLOR=#31885]๗. การสงครามและการเสียดินแดน [/COLOR]<DD>ในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว แม้จะได้ทรงเปลี่ยนแปลงการบริหารราชการประเทศในลักษณะที่เรียกกัน ว่า "พลิกแผ่นดิน" หรือ "ปฏิวัติ" ก็ตาม แต่ในด้านการเกี่ยวข้องกับชาวตะวันตกซึ่งได้ยื่นมือเข้ามาต้องการดินแดนของเรา ตั้งแต่ปลายรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้า ฯ นั้น ได้ทำให้เราต้องเสียดินแดนต่าง ๆ ไปในรัชกาล นี้อย่างมากมายและเป็นการเสียจนครั้งสุดท้าย ซึ่งการเสียแต่ละครั้งนั้น หากจะนำมากล่าวโดยยืดยาวก็เกินความจำเป็น ฉะนั้นจึงจะนำมากล่าวเฉพาะดินแดนที่เราเสียไปเท่านั้น ดินแดนที่เราเสียไปเพราะถูกข่มเหงรังแกจากฝรั่งเศส มีหลายคราวด้วยกัน คือ <DD>๑. พ.ศ.๒๔๓๑ เสียแคว้นสิบสองจุไทย และหัวพันทั้งห้าทั้งหก คิดเป็นเนื้อที่ประมาณ ๘๗,๐๐๐ ตารางกิโลเมตร <DD>๒. พ.ศ.๒๔๓๙ (ร.ศ.๑๑๒) เสียดินแดนฝั่งซ้ายแม่น้ำโขง ตลอดจนถึงเกาะต่าง ๆ ในลำน้ำโขง คิดเป็นเนื้อที่ประมาณ ๑๔๓,๐๐๐ ตารางกิโลเมตร ทั้งยังต้องเสียเงินค่าปรับเป็นเงิน ๒ ล้านฟรังค์ (คิดตามอัตราแลกเปลี่ยนเงินในเวลา นั้นประมาณ ๑ ล้านบาท) และต้องถอนทหารจากชายแดนทั้งหมดและฝรั่งยึดจันทบุรีไว้เป็นการชำระหนี้ <DD>๓. ในปี พ.ศ.๒๔๔๗ ไทยต้องเสียดินแดนฝั่งขวาแม่น้ำโขง ตรงข้ามหลวงพระบาง และตรงข้ามปากเซให้แก่ฝรั่งเศสอีก คิดเป็นเนื้อที่ประมาณ ๑๒,๕๐๐ตารางกิโลเมตร ทั้งนี้เนื่องจากฝรั่งเศสไม่ยอมถอนทหารจากจันทบุรี เมื่อเสียดินแดนนี้แล้วฝรั่งเศสก็ถอนทหารออกจากจันทบุรี แต่ไปยึดเมืองตราดไว้อีก โดยหาเหตุผลอันใดมิได้ <DD>๔. เพื่อที่จะให้ฝรั่งเศสไปจากเมืองตราด ไทยต้องเสียสละ พระตะบอง เสียมราฐ ศรีโสภณ ซึ่งไทยได้มาอย่างเด็ดขาดตั้งแต่ พ.ศ.๒๓๕๒ ให้แก่ฝรั่งเศส โดยสัญญาลงวันที่ ๒๓ มีนาคม พ.ศ.๒๔๔๙ ฝรั่งเศสยอมคืนเมืองด่านซ้าย เมืองตราด และเกาะทั้งหลาย ซึ่งอยู่ใต้แหลมสิงห์ลงไปจนถึงเกาะกูดให้แก่ไทย รวมดินแดนที่เสียไปครั้งนี้เป็นเนื้อที่ประมาณ ๕๑,๐๐๐ ตารางกิโลเมตร <DD>แต่การเสียดินแดนคราวสุดท้ายนี้ไทยก็ได้ประโยชน์อยู่บ้าง คือฝรั่งเศสยอมยกเลิกสิทธิสภาพนอกอาณาเขต ยอมให้ศาลไทยมีสิทธิที่จะชำระคดีใด ๆ ที่เกิดขึ้นแก่ชาวฝรั่งเศส และคนในบังคับฝรั่งเศสได้หาไปขึ้นศาล กงสุลเช่นแต่ก่อนไม่ <DD>ส่วนทางด้านอังกฤษนั้น ปรากฏว่าเขตแดนระหว่างมลายู ซึ่งเป็นของอังกฤษกับไทยยังหาปักปันกันโดยควรไม่ตลอดมาถึงปี พ.ศ.๒๔๔๑ ประเทศไทยได้เปิดการเจรจากับรัฐบาลอังกฤษ รวมถึงเรื่องสิทธิสภาพนอกอาณาเขตด้วย ใน พ.ศ.๒๔๕๔ อังกฤษจึงยอมตกลงให้ชาวอังกฤษ หรือคนในบังคับอังกฤษมาขึ้นศาลไทยและยอมให้ไทยกู้เงินจากอังกฤษทางรัฐบาลสหรัฐมลายู เพื่อนำมาใช้สร้างทางรถไฟสายใต้จากกรุงเทพฯ ถึงสิงคโปร์ เพื่อตอบแทนประโยชน์ ที่อังกฤษเอื้อเฟื้อ ทางฝ่ายไทยยอมยกรัฐกลันตัน ตรังกานูและไทยบุรี ให้แก่สหรัฐมลายูของอังกฤษ <DD>[COLOR=#31885]๘. การเสด็จประพาส [/COLOR]<DD>การเสด็จประพาสเป็นพระราชกรณียกิจที่สำคัญอันหนึ่งของ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ดังที่กล่าวมาแล้วว่า ระหว่าง ที่ยังมีผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์นั้นก็ได้เสด็จประพาสชวา และอินเดีย เพื่อดูแบบอย่างการปกครองที่ชาวยุโรป นำมาใช้ในเมืองขึ้น เพื่อนำมาแก้ไขดัดแปลงใช้ในประเทศของเราบ้าง และการก็เป็นไปสมดังที่พระองค์ได้ ทรงคาดการณ์ไว้ เพราะได้นำเอาวิธีการปกครองในดินแดนนั้น ๆ มาใช้ปรับปรุงระเบียบการบริหารอันเก่าแก่ล้าสมัยของเรา ซึ่งใช้กันมาตั้ง ๔๐๐ ปีเศษแล้ว <DD>เมื่อได้เกิดกรณีพิพาทกับฝรั่งเศสแล้ว ก็ได้เสด็จประพาสยุโรป ๒ ครั้ง ในปี พ.ศ.๒๔๔๐ ครั้งหนึ่ง และในปี พ.ศ.๒๔๕๐ อีกครั้งหนึ่ง ทั้งนี้เพื่อเชื่อมสัมพันธไมตรีกับประเทศต่าง ๆ ในยุโรป ตลอดจนประเทศฝรั่งเศสด้วย <DD>ในการเสด็จประพาสทวีปยุโรปครั้งแรก เมื่อ พ.ศ.๒๔๔๐ ได้มีกระแสพระราชปรารภมีข้อความตอนหนึ่งว่า พระองค์ได้เสด็จไปนอกพระราชอาณาเขตหลายครั้งคือ เสด็จประพาสอินเดีย พม่ารามัญ ชวาและแหลมมลายู หลายครั้ง ได้ทรงเลือกสรรเอาแบบแผนขนบธรรมเนียมอันดีในดินแดนเหล่านั้นมาปรับปรุงในประเทศให้เจริญขึ้นแล้วหลายอย่าง แม้เมืองเหล่านั้นเป็นเพียงแต่เมืองขึ้นของมหาประเทศในทวีปยุโรป ถ้าได้เสด็จถึงมหาประเทศเหล่านั้นเอง ประโยชน์ย่อมจะมีขึ้นอีกหลายเท่า ทั้งจะได้ทรงวิสาสะคุ้นเคยกับพระมหากษัตริย์ และรัฐบาลของประเทศน้อยใหญ่ใน ยุโรปด้วย เป็นทางส่งเสริมทางไมตรีให้ดีขึ้นกว่าแต่ก่อน จึงได้ทรงกำหนดเสด็จพระราชดำเนินใน วันที่ ๗ เมษายน ร.ศ.๑๑๖ (พ.ศ.๒๔๔๐) มีกำหนดเวลาประมาณ ๙ เดือน <DD>การเสด็จประพาสต่างประเทศ ในขณะที่เสวยราชสมบัติระยะไกลเป็นเวลาเช่นนั้น นับเป็นครั้งแรกจึงได้ทรงออกพระราชกำหนด ตั้งผู้สำเร็จราชการแผ่นดินรักษาพระนคร ซึ่งผู้สำเร็จราชการแผ่นดินครั้งแรกนี้ ได้แก่สมเด็จ พระนางเจ้าเสาวภาผ่องศรีพระบรมราชินีนาถ (ซึ่งต่อมาได้รับสถาปนาเป็น สมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชเทวี) ซึ่งครั้งนั้นทรงเป็นพระราชชนนีของสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชสยามมงกุฏราชกุมาร (พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๖) กับทรงตั้งที่ปรึกษาล้วนแต่เป็นสมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอชั้นผู้ใหญ่ ๔ พระองค์ คือพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าจาตุรนต์รัศมี กรมพระจักรพรรดิพงศ์ ๑ สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าภาณุ-รังษีสว่างวงศ์ กรมพระภาณุพันธุวงศ์วรเดช 1 พระเจ้าน้องยาเธอ กรมหลวงเทวะวงศ์วโรปการ ๑ พระเจ้าน้องยาเธอ กรมหมื่นดำรงราชานุภาพ ๑ กับมีข้าราชการชาวต่างประเทศ ซึ่งจ้างมารับราชการในประเทศไทยครั้งนั้น คือ โรลังยัคมินส์ ชาวเบลเยี่ยม ซึ่งได้บรรดาศักดิ์เป็น เจ้าพระยาอภัยราชา ร่วมด้วยอีก ๑ ท่าน <DD>ในการเสด็จประพาสครั้งแรกนี้ ได้ทรงมีพระราชหัตถเลขาถึงสมเด็จพระราชินีนาถ ผู้สำเร็จราชการแผ่นดินตลอดระยะทาง พระราชหัตถเลขานี้ต่อมาได้รวมเป็นหนังสือเล่มชื่อ พระราชนิพนธ์เรื่องไกลบ้าน ให้ความรู้เกี่ยวแก่สถานที่ต่าง ๆ ที่เสด็จไปอย่างมากมาย <DD>ส่วนการเสด็จประพาสยุโรปครั้งที่ ๒ นั้น สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชเสด็จกลับแล้ว จึงทรงเป็นผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ <DD>ส่วนภายในประเทศ ก็ทรงถือว่าการเสด็จประพาสในที่ต่าง ๆ เป็นเหตุให้รู้สารทุกข์สุขดิบของราษฎรเป็นอย่างดี พระองค์จึงได้ทรงปลอมแปลงพระองค์ไปกับเจ้านายและข้าราชการ ไปโดยเรือมาดแจวไปตามแม่น้ำลำคลองต่าง ๆ แวะเยี่ยมเยียนตามบ้านราษฎร ซึ่งเรียกกันว่า "ประพาสต้น" ประพาสต้นนี้ได้เสด็จ 2 ครั้ง คือในปี พ.ศ.2447 ครั้งหนึ่ง และในปี พ.ศ.2449 อีกครั้งหนึ่ง <DD>[COLOR=#31885]๙. การศาสนา [/COLOR]<DD>ในด้านศาสนานั้นพระองค์มิได้ทรงละเลย ทรงเป็นองค์ศาสนูปถัมภกโดยแท้จริงในด้านพระพุทธศาสนานั้น นอกจากจะทรงบรรพชาเป็นสามเณรและทรงอุปสมบทด้วยแล้ว ยังให้ความ อุปถัมภ์สงฆ์ ๒ นิกาย ดังเช่น สมเด็จพระราชบิดา ในปี พ.ศ.๒๔๔๕ ให้ตราพระราชบัญญัติปกครองคณะสงฆ์ เป็นการวางระเบียบสงฆ์มณฑลให้เป็นระเบียบทั่วราชอาณาจักร ให้กระทรวงธรรมการมีหน้าที่ควบคุมการศาสนา ทรงอาราธนาพระราชาคณะให้สังคายนาพระไตรปิฎก แล้วพิมพ์เป็นอักษรไทยชุดละ ๓๙ เล่ม จำนวน ๑,๐๐๐ ชุด แจกไปตามพระอารามต่าง ๆ ถึงต่างประเทศด้วย ใน พ.ศ.๒๔๔๒ ทรงปฏิสังขรณ์วัดเบญจมบพิตร แล้วจำลองพระพุทธชินราชที่จังหวัดพิษณุโลกมาประดิษฐานไว้ในวัดนี้ ทรงปฏิสังขรณ์วัดหลายวัด สร้างพระอารามหลาย พระอาราม เช่น วัดราชบพิตร วัดเทพศิรินทราวาส วัดนิเวศน์ธรรมประวัติ (บางปะอิน) เป็นต้น <DD>ส่วนศาสนาอื่น ก็ทรงให้ความอุปถัมภ์ตามสมควร เช่น สละพระราชทรัพย์สร้างสุเหร่าแขก พระราชทานเงินแก่คณะมิชชันนารี และพระราชทานที่ดินให้สร้างโบสถ์ที่ริมถนนสาธร <DD>[COLOR=#31885]๑๐. การวรรณคดี [/COLOR]<DD>ในด้านวรรณคดีนั้น ในรัชกาลนี้ก็มีการเปลี่ยนแปลงไปจากเดิมราวกับปฏิวัติ คือ ประชาชนหันมานิยมการประพันธ์แบบร้อยแก้ว ส่วนคำประพันธ์แบบโคลงฉันท์กาพย์กลอนนั้น เสื่อมความนิยมลงไป หนังสือต่าง ๆ ก็ได้รับการเผยแพร่ยิ่งกว่าสมัยก่อน เพราะเนื่องจากมีโรงพิมพ์หนังสือเล่มหนึ่ง ๆ ได้จำนวนมาก ไม่ต้องคัดลอกเหมือนสมัยก่อน ๆ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า ฯ ทรงเป็นนักประพันธ์ ซึ่งมีความชำนาญทั้งทางร้อยแก้วและ ร้อยกรอง เช่น ไกลบ้าน ลิลิตนิทราชาคริต เงาะป่า พระราชพิธีสิบสองเดือน เป็นต้น พระราชนิพนธ์เล่มหลังนี้ ได้รับการยกย่องจากวรรณคดีสโมสรว่า เป็นยอดความเรียงประเภทคำอธิบาย
    [​IMG]


    <DD>พระราชานุสาวรีย์ พระราชกรณียกิจของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวนั้น มีมากมายเกินกว่าที่จะกล่าวในที่นี้ ที่กล่าวมานั้นยกมากล่าวเฉพาะที่สำคัญ ๆ รัชสมัยของพระองค์ เป็นรัชสมัยแห่งการปฏิวัติแทบจะทุกทาง เหตุนี้ประชาชนจึงพร้อมใจกันเรี่ยไรเงินสร้างอนุสาวรีย์อย่างใดอย่างหนึ่งไว้เพื่อเป็นอนุสรณ์ถึงพระองค์ บังเอิญประจวบเหมาะกับพระองค์เสด็จประพาสยุโรปครั้งที่ ๒ เมื่อ พ.ศ.๒๔๕๐ ทรงพอพระทัยพระบรมรูปหล่อของ พระเจ้าหลุยส์จึงขอให้พระองค์ไปประทับนั่งให้ชาวฝรั่งเศสปั้น แล้วหล่อส่งเข้ามาในประเทศ โปรดให้ประดิษฐานไว้ ณ พระลานหน้าพระราชวังดุสิต ทรงประกอบพระราชพิธีเปิดพระบรมรูปนี้ในวันที่ ๑๑ พฤศจิกายน พ.ศ.๒๔๕๑ <DD>พระบรมรูปทรงม้านี้ ขนาดทั้งพระบรมรูปและม้า ทรงทำโตกว่าของจริงเล็กน้อย โดยหล่อด้วยโลหะชนิดทองบรอนซ์ พระบรมรูปประดิษฐานบนแท่นหินอ่อนอันเป็นแท่นรองสูงประมาณ ๖ เมตร กว้าง ๒ เมตรครึ่ง ยาว ๕ เมตร <DD>พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ์บดินทรเทพยมหามงกุฎ บุรุษรัตนราชรวิวงษวรุตมพงษบริพัต วรขัติยราชนิกโรดม จาตุรันตบรมมหาจักรพรรดิราชสังกาศ บรมธรรมมิกมหาราชาธิราช บรมนาถบพิตร พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เสด็จดำรงราชสมบัติมาถึง 42 ปีเต็มบริบูรณ์ เป็นรัชสมัยที่ยืนนานยิ่งกว่าสมเด็จพระมหาราชาธิราชแห่งสยามประเทศในอดีตกาล <DD>พระองค์กอร์ปด้วยพระราชกฤษฎาภินิหาร เป็นอัจฉริยภูมิบาลบรมบพิตร เสด็จสถิตในสัจธรรมอันมั่นคงมิหวั่นไหว ทรงอธิษฐานพระราชหฤทัยในทางที่จะทำนุบำรุงพระราชอาณาจักรให้สถิตสถาพรและให้เกิดความสามัคคีสโมสร เจริญสุขสำราญทั่วไปในเอนกนิกร ประชาชาติเป็น เบื้องหน้า พระราชจรรยาทรงพระสุขุมปรีชาสามารถสอดส่องวินิจฉัย ในคุณโทษแห่งประเพณีเมือง ทรงปลดเปลื้องโทษ นำประโยชน์มาบัญญัติ โดยปฏิบัติพระองค์ทรงนำหน้า ชักจูงประชาชน ให้ดำเนินตามในทางที่งามดีมีประโยชน์เป็นแก่นสาร พระองค์ทรงทำให้ความสุขสำราญแห่ง ประชาราษฎร์สำเร็จได้ ด้วยอาศัยดำเนินอยู่เนืองนิจในพระวิริยะและพระขันติคุณอันแรงกล้า ทรงอาจหาญในพระราชจรรยา มิได้ย่อท้อต่อความลำบากยากเข็ญ มิได้เห็นข้อขัดข้องอันเป็นข้อควรขยาด แม้ประโยชน์และความสุขในส่วนพระองค์ ก็อาจจะสละแลกความสุขสำราญ พระราชทานไพร่ฟ้าข้าแผ่นดินได้ โดยทรงพระกรุณาปรานี พระองค์คือบุรพการีของราษฎร เพราะเหตุเหล่านี้แผ่นดินของพระองค์จึงยิ่งด้วยความสถาพรรุ่งเรืองงาม มหาชนชาวสยามถึงความสุขเกษมล่วงล้ำอดีตสมัยที่ได้ปรากฏมา พระองค์จึงเป็นปิยมหาราช ที่รักของมหาชนทั่วไป <DD>ครั้นบรรลุอภิลักขิตสมัย รัชมังคลาภิเษก สัมพัจฉรกาล พระราชวงศานุวงศ์ เสนามาตย์ราชบริพาร พร้อมด้วยสมณพราหมณ์ อาณาประชาชนชาวสยามประเทศทุกชาติทุกชั้นบรรดาศักดิ์ ทั่วรัชสีมาอาณาเขต มาคำนึงถึงพระเดชพระคุณอันได้พรรณนามาแล้วนั้น จึงพร้อมกันสร้าง พระบรมรูปนี้ ประดิษฐานไว้สนองพระเดชพระคุณเพื่อประกาศเพื่อเกียรติยศ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ์พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ปิยมหาราช ให้ปรากฏสืบไปชั่วกาลปวสาน <DD>เมื่อสุรยคติกาล พฤศจิกายนมาศ เอกาทศดิถีพุฒวาร จันทรคติกาล กฤติกมาศ กาฬปักษ์ ตติยดิถี ในปีวอก สัมฤทธิมา ๔๑ จุลศักราช ๑๒๗๐ (ตรงกับวันที่ ๑๑ พฤศจิกายน พ.ศ.๒๔๕๑) <DD>พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เสด็จสวรรคตในวันที่ ๒๓ ตุลาคม พ.ศ.๒๔๕๓ พระชนมายุได้ ๕๘ พรรษา ครองราชสมบัติมานานถึง ๔๑ ปี </DD>
     
  17. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    [​IMG]

    พระมเหสี เจ้าจอม พระราชโอรส และ พระราชธิดา ในรัชกาลที่ ๕
    <DD>พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้ทรงมีพระมเหสี และ เจ้าจอม รวมทั้งหมด ๙๒ พระองค์ ๓๖ พระองค์ มีพระราชโอรส-ธิดา อีก ๕๖ พระองค์ไม่มี และพระองค์ยังทรงมีพระราชโอรส-ธิดา ทั้งหมดรวม ๗๗ พระองค์ พระบรมราชินีนาถ
    <DD>สมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง พระราชอิสริยยศสุดท้ายเมื่อครั้งรัชกาลที่ ๕ คือ สมเด็จพระนางเจ้าเสาวภาผ่องศรี พระบรมราชินีนาถ(รัชกาลที่ ๕ ทรงออกพระนามเรียกโดยลำลองว่า "แม่เล็ก") เมื่อรัชกาลที่ ๖ เสวยราชย์แล้วจึงทรงเฉลิมพระนามาภิไธยพระราชชนนีเป็น สมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง <DD>สมเด็จพระศรีพัชรินทราฯ มีพระราชโอรส-ธิดา ทั้งหมด ๘ พระองค์ และตกพระครรภ์อีก หลายพระองค์ ได้แก่ <DD>• สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าพาหุรัดมณีมัย กรมพระเทพนารีรัตน์ (สิ้นพระชนม์เมื่อทรงพระเยาว์) <DD>• พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว (ก่อนเสวยราชย์ มีพระราชอิสริยยศที่ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิราวุธ สยามมกุฎราชกุมาร) <DD>• สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าตรีเพชรุตม์ธำรง (สิ้นพระชนม์เมื่อทรงพระเยาว์) <DD>• จอมพล สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถ <DD>• สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าศิริราชกกุธภัณฑ์ <DD>• สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าอัษฎางค์เดชาวุธ กรมหลวงนครราชสีมา <DD>• สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจุฑาธุชธราดิลก กรมขุนเพ็ชรบูรณ์อินทราชัย <DD>• พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว (ก่อนเสวยราชย์ มีพระราชอิสริยยศที่ สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าประชาธิปกศักดิเดชน์ กรมหลวงสุโขทัยธรรมราชา) พระบรมราชเทวี
    <DD>สมเด็จพระศรีสวรินทิรา บรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า พระราชอิสริยยศสุดท้ายในรัชกาลที่ ๕ คือ สมเด็จพระนางเจ้าสว่างวัฒนา บรมราชเทวี(รัชกาลที่ ๕ ทรงออกพระนามเรียกโดยลำลองว่า "แม่กลาง") ในรัชกาลที่ ๗ ทรงเฉลิมพระนามาภิไธยเป็น สมเด็จพระศรีสวรินทิรา บรมราชเทวี พระพันวัสสามาตุจฉาเจ้า ในรัชกาลที่ ๘ ทรงเฉลิมพระนามาภิไธยพระอัยยิกา (ย่า) เป็น สมเด็จพระศรีสวรินทิรา บรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า <DD>สมเด็จพระศรีสวรินทิราฯ มีพระราชโอรส-ธิดาทั้งหมด ๘ พระองค์เช่นเดียวกัน ดังนี้ <DD>• สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิรุณหิศ สยามมกุฎราชกุมาร <DD>• สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้าอิศริยาลงกรณ์ (สิ้นพระชนม์เมื่อทรงพระเยาว์) <DD>• สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้าวิจิตรจิรประภา (สิ้นพระชนม์เมื่อทรงพระเยาว์) <DD>• สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้าสมมติวงศ์วโรทัย กรมขุนศรีธรรมราชธำรงฤทธิ์ <DD>• สมเด็จพระราชปิตุจฉา เจ้าฟ้าวไลยอลงกรณ์ กรมหลวงเพชรบุรีราชสิรินธร <DD>• สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าศิราภรณ์โสภณ พิมลวัฒนวดี (สิ้นพระชนม์เมื่อทรงพระเยาว์) <DD>• สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก (สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้ามหิดลอดุยเดช กรมหลวงสงขลานครินทร์) <DD>• สมเด็จเจ้าฟ้าหญิง สิ้นพระชนม์เมื่อพระชันษาได้ ๔ วัน
    <DD>สมเด็จพระนางเจ้าสุนันทากุมารีรัตน์ บรมราชเทวี หรือที่รู้จักกันในนาม พระนางเรือล่ม (รัชกาลที่ ๕ ทรงออกพระนามเรียกโดยลำลองว่า "แม่ใหญ่") <DD>• สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้ากรรณาภรณ์เพ็ชรรัตน์ (สิ้นพระชนม์พร้อมพระมารดา) <DD>• เจ้าฟ้า (สิ้นพระชนม์ในพระครรภ์พร้อมพระมารดา) <DD>พระนางเรือล่มประสูติเมื่อวันที่ ๑๐ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๔๐๓ พระอิสริยยศเมื่อแรกประสูตินั้นคือ พระเจ้าลูกเธอ พระองค์เจ้าสุนันทากุมารีรัตน์ ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระปิยมาวดี ศรีพัชรินทรมาตา(เจ้าจอมมารดาเปี่ยม) <DD>เมื่อปี พ.ศ. ๒๔๑๑ พระองค์ได้เฉลิมพระอิสริยยศเป็น พระเจ้าน้องนางเธอ พระองค์เจ้าสุนันทากุมารีรัตน์ โดยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และ สถาปนาเป็น พระนางเธอ พระองค์เจ้าสุนันทากุมารีรัตน์ ในปี พ.ศ. ๒๔๒๑ <DD>สมเด็จพระนางเจ้าสุนันทากุมารีรัตน์ พระบรมราชเทวี เสด็จทิวงคต เมื่อวันที่ ๓๑ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๔๒๓ เนื่องจากอุบัติเหตุเรือล่ม ที่ตำบลบางพูด อำเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี ในระหว่างทางเสด็จแปรพระราชฐานไปประทับแรม ณ พระราชวังบางปะอิน พร้อมกับพระราชธิดา สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าหญิงกรรณาภรณ์เพชรรัตน์ พระชนมายุ ๑ พรรษา ๙ เดือน ๒๐ วัน และเจ้าฟ้าในพระครรภ์ ๕ เดือน <DD>สาเหตุที่ทำให้สมเด็จพระนางเจ้าสุนันทากุมารีรัตน์เสด็จทิวงคต เนื่องจากเรือของสมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระพันปีหลวงแล่นแซง และนายท้ายเรือของสมเด็จพระนางเจ้าสุนันทากุมารีรัตน์เมาเหล้าทำให้เรือล่ม โดยส่วนพระองค์แล้วพระองค์ทรงว่ายน้ำเป็น ทว่าทรงห่วงพระราชธิดา จึงสิ้นพระชนม์ไปพร้อมกัน รวมทั้งพระพี่เลี้ยงที่ว่ายน้ำไม่ได้อีกคนหนึ่ง ในขณะนั้นบริเวณที่เกิดเหตุมีพวกมอญกำลังขุดทรายอยู่ แต่ไม่มีใครกล้าเข้าไปช่วย เพราะกฎมณเฑียรบาลได้ห้ามให้ผู้ใดแตะต้องพระวรกายของพระมเหสี มิฉะนั้นจะถูกประหารทั้งตระกูล <DD>และในปีนั้น พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯสถาปนาพระนางเป็น สมเด็จพระนางเจ้าสุนันทากุมารีรัตน์ พระบรมราชเทวี พร้อมกับ สมเด็จพระนางเจ้าสว่างวัฒนา พระขนิษฐภคินี นอกจากนั้นพระองค์ยังทรงได้สร้าง อนุสาวรีย์พระนางเรือล่ม ที่พระราชวังบางปะอินด้วย ได้มีการถวายพระเพลิงศพทั้ง ๒ พระองค์เมื่อวันที่ ๑๖ มีนาคม พ.ศ. ๒๔๒๓ พระอัครราชเทวี
    <DD>พระอัครราชเทวี ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว มีอยู่เพียง พระองค์เดียว คือ <DD>สมเด็จพระนางเจ้าสุขุมาลมารศรี พระอัครราชเทวี มีพระนามเดิมว่า " พระเจ้าลูกเธอ พระองค์เจ้าหญิงสุขุมาลมารศรี " เป็นพระราชธิดาในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ต่อมา พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงสถาปนาขึ้นเป็น " สมเด็จพระปิตุจฉาเจ้าสุขุมาลมารศรี พระอัครราชเทวี " สมเด็จพระนางเจ้าสุขุมาลมารศรีฯ มีพระราชโอรส-ธิดา รวม ๒ พระองค์ ได้แก่ <DD>• สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าสุทธาทิพยรัตน์ สุขุมขัตติยกัลยาวดี กรมหลวงศรีรัตนโกสินทร ชาววังออกพระนามโดยลำลองว่า ทูลกระหม่อมหญิงใหญ่ <DD>• สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าบริพัตรสุขุมพันธุ์ กรมพระนครสวรรค์วรพินิต พระอรรคชายา
    <DD>ฐานันดรศักดิ์ พระอรรคชายา ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวนั้น มีอยู่ทั้งหมด ๓ พระองค์ ซึ่งทรงเป็นพี่น้องร่วมพระอุทรเดียวกัน ดังนี้ <DD>พระอรรคชายาเธอ พระองค์เจ้าอุบลรัตนนารีนาค กรมขุนอรรควรราชกัลยา (หม่อมเจ้าบัว ลดาวัลย์) มีพระราชธิดาเพียงพระองค์เดียว <DD>• สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าเยาวมาลย์นฤมล กรมขุนสวรรคโลกลักษณวดี <DD>พระอรรคชายาเธอ พระองค์เจ้าเสาวภาคย์นารีรัตน์ (หม่อมเจ้าปิ๋ว ลดาวัลย์) มีพระราชธิดาเพียงพระองค์เดียว เช่นเดียวกัน <DD>• สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจันทราสรัทวาร กรมขุนพิจิตรเจษฎ์จันทร์ หรือ สมเด็จหญิงใหญ่ <DD>พระวิมาดาเธอ กรมพระสุทธาสินีนาฏ ปิยมหาราชปดิวรัดา พระนามเดิมในรัชกาลที่ ๕ คือ พระอรรคชายาเธอ พระองค์เจ้าสายสวลีภิรมย์ กรมขุนสุทธาสินีนาฏ (หม่อมเจ้าสาย ลดาวัลย์) ในรัชกาลที่ ๗ ทรงได้รับเฉลิมพระนามเป็น พระวิมาดาเธอ กรมพระสุทธาสินีนาฏ ปิยมหาราชปดิวรัดา มีพระราชโอรส-ธิดาทั้งหมด ๔ พระองค์ <DD>• พลเอก สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ายุคลฑิฆัมพร กรมหลวงลพบุรีราเมศร์ <DD>• พระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้านภาจรจำรัสศรี (สิ้นพระชนม์เมื่อทรงพระเยาว์) <DD>• สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ามาลินีนพดารา กรมขุนศรีสัชนาลัยสุรกัญญา <DD>• สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้านิภานภดล กรมขุนอู่ทองเขตขัตติยนารี <DD>หมายเหตุ พระอิสริยยศ " พระอรรคชายา " มีความหมายเดียวกับคำว่า " พระอัครชายา " เพียงแต่คำว่า พระอรรคชายา เป็นภาษาที่เขียนแบบโบราณ พระราชชายา
    <DD>ฐานันดรศักดิ์ไทย พระราชชายานั้น มีอยู่เพียงพระองค์เดียว คือ พระราชชายา เจ้าดารารัศมี เป็นพระองค์เดียวในประวัติศาสตร์ไทย ที่ทรงดำรงฐานันดรนี้ <DD>พระราชชายา เจ้าดารารัศมี มีพระราชธิดาเพียงพระองค์เดียว คือ <DD>• พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าหญิงวิมลนาคนพีสี (สิ้นพระชนม์เมื่อทรงพระเยาว์)
    <DD>อนึ่ง ในรัชกาลที่ ๕ ยังมีพระภรรยาเจ้าชั้นลูกหลวงอีกพระองค์หนึ่งด้วย แต่มิได้นับเป็นพระมเหสี คือ
    พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าทักษิณชา นราธิราชบุตรี พระราชธิดาในรัชกาลที่ ๔ ต่อมาได้มีพระประสูติกาลเจ้าฟ้าชายพระองค์หนึ่ง แต่แล้วเจ้าฟ้าพระองค์นั้นสิ้นพระชนม์แต่แรกประสูติ จึงทรงเสียพระทัยมาก จนประชวรและสิ้นพระชนม์ในเวลาต่อมา
    เจ้าจอม
    <DD>เจ้าจอม คือพระภรรยาที่เป็นบุคคลสามัญชน เจ้าจอมนั้นมักเป็นธิดาของขุนนางหรือคหบดีผู้ใหญ่ที่นำมาถวายตัวแด่พระมหากษัตริย์ เช่น เจ้าจอมในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวนั้น หลายท่านเป็นบุคคลในราชินิกุล บุนนาค ซึ่งมีสมาชิกในสกุลรับราชการเป็นขุนนางผู้ใหญ่หลายท่านในยุครัชกาลที่ ๓-๕ <DD>เจ้าจอมมารดา <DD>เจ้าคุณพระประยูรวงศ์ <DD>• พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุวพักตร์วิไลยพรรณ <DD>• พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบัณฑวรรณวโรภาส <DD>เจ้าจอมมารดาจันทร์ <DD>• พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศศิพงประไพ <DD>เจ้าจอมมารดาชุ่ม <DD>• พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาทรทิพยนิภา <DD>• พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุจิตราภรณี <DD>เจ้าจอมมารดาแช่ม <DD>• พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประวิตรวัฒโนดม กรมหลวงปราจิณกิติบดี <DD>เจ้าจอมมารดาโหมด <DD>• พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาภากรเกียรติวงศ์ กรมหลวงชุมพรเขตรอุดมศักดิ์ <DD>• พระองค์เจ้าหญิงอรองค์อรรคยุพา (สิ้นพระชนม์เมื่อทรงพระเยาว์) <DD>• พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุริยงประยุรพันธ์ กรมหมื่นไชยาศรีสุริโยภาส <DD>เจ้าจอมมารดาตลับ <DD>• พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอัจฉรพรรณีรัชกัญญา <DD>• พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารพีพัฒนศักดิ์ กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์ <DD>เจ้าจอมมารดาเจ้าทิพเกษร ณ เชียงใหม่ เจ้าจอมมารดาเจ้าทิพเกษร ณ เชียงใหม่ ทรงเป็นเจ้านายฝ่ายเหนือ "ราชวงศ์ทิพย์จักราธิวงศ์ (เจ้าเจ็ดตน)" มีพระราชโอรสพระองค์เดียว <DD>• พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดิลกนพรัฐ กรมหมื่นสรรควิสัยนรบดี <DD>เจ้าจอมมารดาหม่อมราชวงศ์ย้อย อิศรางกูร <DD>• พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอรพินทุ์เพ็ญภาค <DD>เจ้าจอมมารดาหม่อมราชวงศ์แข พึ่งบุญ เจ้าจอมมารดา หม่อมราชวงศ์แข พึ่งบุญ ทรงเป็นเจ้าจอมพระองค์แรกในพระพุทธเจ้าหลวง ทรงมีพระราชธิดาเพียงพระองค์เดียว <DD>• พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าผ่องประไพ <DD>เจ้าจอมมารดาหม่อมราชวงศ์เกสร สนิทวงศ์ <DD>• พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอิศริยาภรณ์ (สิ้นพระชนม์เมื่อทรงพระเยาว์) <DD>• พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอนุสรสิริประสาธน์ (สิ้นพระชนม์เมื่อทรงพระเยาว์) <DD>เจ้าจอมมารดาหม่อมราชวงศ์เนื่อง สนิทวงศ์ เจ้าจอมมารดาหม่อมราชวงศ์เนื่อง สนิทวงศ์ ทรงมีพระราชโอรสและพระราชธิดา 2 พระองค์ คือ <DD>• พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเยาวภาพงศ์สนิท <DD>• สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารังสิตประยูรศักดิ์ กรมพระยาชัยนาทนเรนทร <DD>เจ้าจอมมารดาทับทิม เจ้าจอมมารดาทับทิม ท่านทรงเคยเป็นเจ้าจอมในรัชกาลที่ ๔ มีพระราชโอรส-ธิดา ทั้งหมด ๓ พระองค์ <DD>• จอมพล พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจิรประวัติวรเดช กรมหลวงนครไชยศรีสุรเดช <DD>• พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประเวศวรสมัย <DD>• พลเรือเอก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวุฒิไชยเฉลิมลาภ กรมหลวงสิงหวิกรมเกรียงไกร <DD>เจ้าจอมมารดาเรือน <DD>• พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพิสมัยพิมลสัตย์ <DD>เจ้าจอมมารดาพร้อม <DD>• พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประภาพรรณพิไลย (แฝด) <DD>• พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประไพพรรณพิลาส (แฝด) (สิ้นพระชนม์เมื่อทรงพระเยาว์) <DD>• พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสมัยวุฒิวโรดม (สิ้นพระชนม์เมื่อทรงพระเยาว์) <DD>• พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวาปีบุษบากร <DD>เจ้าจอมมารดาวง <DD>• พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโกมลเสาวมาล (สิ้นพระชนม์เมื่อทรงพระเยาว์) <DD>[COLOR=#09c697]เจ้าจอมมารดาวาด[/COLOR][COLOR=#0c69c7] เจ้าจอมมารดาวาด มีพระราชโอรสพระองค์เดียว <DD>• พลเอก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบุรฉัตรไชยากร กรมพระกำแพงเพ็ชรอัครโยธิน <DD>[COLOR=#09c697]เจ้าจอมมารดาเลื่อน[/COLOR][COLOR=#0c69c7] <DD>• พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าลวาดวรองค์ (สิ้นพระชนม์เมื่อทรงพระเยาว์) <DD>• พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอุรุพงศ์รัชสมโภช <DD>[COLOR=#09c697]เจ้าจอมมารดาแส[/COLOR][COLOR=#0c69c7] <DD>• พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเขจรจิรประดิษฐ (สิ้นพระชนม์เมื่อทรงพระเยาว์) <DD>• พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอัพภันตรีปชา <DD>• พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าทิพยาลังการ <DD>[COLOR=#09c697]เจ้าจอมมารดาแสง[/COLOR][COLOR=#0c69c7] <DD>• พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอิศรวงศ์วรราชกุมาร (สิ้นพระชนม์เมื่อทรงพระเยาว์) <DD>• พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้านภางค์นิพัทธพงศ์ (สิ้นพระชนม์เมื่อทรงพระเยาว์) <DD>• พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบีเอตริศภัทรายุวดี <DD>• พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเจริญศรีชนมายุ <DD>[COLOR=#09c697]เจ้าจอมมารดาสุด[/COLOR][COLOR=#0c69c7] เจ้าจอมมารดาสุด มีพระราชโอรสพระองค์เดียว <DD>• พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรลักษณาวดี <DD>[COLOR=#09c697]เจ้าจอมมารดามรกฎ[/COLOR][COLOR=#0c69c7] <DD>• พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเพ็ญพัฒนพงศ์ กรมหมื่นพิไชยมหินทโรดม <DD>[COLOR=#09c697]เจ้าจอมมารดาเหม[/COLOR][COLOR=#0c69c7] <DD>• พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ามัณฑณาภาวดี <DD>[COLOR=#09c697]เจ้าจอมมารดาอ่วม[/COLOR][COLOR=#0c69c7] <DD>• สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากิติยากรวรลักษณ์ กรมพระจันทบุรีนฤนาถ <DD>[COLOR=#09c697]เจ้าจอมมารดาอ่อน บุนนาค[/COLOR][COLOR=#0c69c7] <DD>• เจ้าจอมมารดาอ่อน บุนนาค มีพระราชธิดา ๒ พระองค์ และที่ทรงแท้งอีก ๒ พระองค์ <DD>• พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอรประพันธ์รำไพ <DD>• พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอดิสัยสุริยาภา <DD>[COLOR=#09c117]เจ้าจอม [/COLOR]<DD>[COLOR=#0c69c7]เจ้าจอมเอี่ยม บุนนาค <DD>เจ้าจอมเอิบ บุนนาค <DD>เจ้าจอมอาบ บุนนาค <DD>เจ้าจอมเอื้อน บุนนาค <DD>เจ้าจอมหม่อมราชวงศ์สดับ ลดาวัลย์ <DD>เจ้าจอมกลีบ เทพหัสดิน ณ อยุธยา <DD>เจ้าจอมลิ้นจี่ เทพหัสดิน ณ อยุธยา <DD>เจ้าจอมฟักเหลือง เทพหัสดิน ณ อยุธยา[/COLOR] </DD>[B][COLOR=red]© ศูนย์วิทยบริการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เลขที่ 1 ถ.อู่ทองนอก ดุสิต กทม. 10300 Tel.0-2668-7705 Fax. 0-2243-2246[/COLOR][/B]
    [/COLOR][/COLOR][/COLOR][/COLOR][/COLOR][/COLOR][/COLOR][/COLOR][/COLOR]
     
  18. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    http://www.saktalingchan.com/index.php?lay=show&ac=article&Id=33987


    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" align=center border=0><TBODY><TR><TD>ความสัมพันธ์กับ ร. 6




    [​IMG]



    ความสัมพันธ์กับในหลวงรัชกาลที่ 6

    ความสัมพันธ์ระหว่างพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 6 กับท่านธมฺมวิตกฺโก แต่ครั้งยังรับราชการเป็นมหาดเล็กห้องพระบรรทม ในนามบรรดาศักดิ์พระยานรรัตนราชมานิตนั้น เป็นไปอย่างใกล้ชิดสนิทแน่นยิ่ง ตำแหน่งเจ้ากรมห้องที่พระบรรทมหรือมหาดเล็กต้นห้องพระบรรทม ตลอดกระทั่งการได้รับพระราชทานบรรดาศักดิ์ให้เป็นถึงพระยาพานทอง ตั้งแต่อายุเพียง 25 ปี และราชทินนามที่ว่า
     
  19. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    ท่านเคยเล่าว่า ในเวลาที่พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวต้องเสด็จแปรพระราชฐาน ไปประทับแรมในที่ทุรกันดารห่างไกลจากในบ้านในเมือง เนื่องในการซ้อมรบเสือป่าทุกคราวนั้น แม้ทางการจะได้จัดการวางเวรยามรักษาการณ์ถวายอารักขาไว้อย่างเข้มงวดกวดขันเพียงใดแล้วก็ตาม แต่ท่านก็อดมิได้ที่จะต้องเอาเป็นธุระกังวลหมั่นออกตรวจตราตรากตรำดูแลกำกับอยู่เสมอทุกครั้งไป โดยมิได้เห็นแก่ความเหน็ดเหนื่อย ความง่วงเหงาหาวนอน ตามความต้องการพักผ่อนของร่างกายแต่อย่างใด<O:p</O:p
    ด้วยความไม่ไว้วางใจ เกรงว่าเวรยามเหล่านั้นอาจะเผลองีบหลับไปบ้างด้วยความง่วงจัดในยามดึกสงัด ก็จะเป็นโอกาสของทรชนผู้คอยจ้องหมายปองจะประทุษร้ายต่อองค์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้<O:p</O:p
    อันความจงรักภักดีต่อองค์พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวนั้นท่านเคยกล่าวอยู่เสมอ ๆ ว่า<O:p</O:p
     
  20. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    http://www.saktalingchan.com/index.php?lay=show&ac=article&Id=262016

    [​IMG]
    เจ้าพระคุณสมเด็จ พระพุทธโฆษาจารย์ ญาณวรเถร<O:p</O:p

    วัดเทพศิรินทราวาส ราชวรวิหาร<O:p</O:p



    <O:p</O:p
    1. เจ้าประคุณสมเด็จ ฯ ได้เป็นเจ้าอาวาสพระอารามหลวงนี้ เมื่อพระคุณท่านมีอายุเพียง 27 ปี มีพรรษา 7 ยั่งยืนตลอดมาเป็นเวลาช้านานถึง 53 ปีฯ<O:p</O:p
    2. เจ้าประคุณสมเด็จ ฯได้รับพระราชทานสมณศักดิ์สถาปนาเป็นสมเด็จพระราชาคณะ นั้นมีอายุเพียง 56 ปี เท่านั้น ฯ<O:p</O:p
    3. เจ้าประคุณสมเด็จ ฯ เป็นผู้ริเริ่มจัดตั้งธรรมเนียมการเทศนาธรรมในวันอาทิตย์ขึ้นเป็นแห่งแรก เริ่มเมื่อวันอาทิตย์ที่ 26 สิงหาคม พ.ศ. 2471 ติดต่อกันมาถึงปัจจุบันนี้ นับเป็นเวลา 45 ปี ล่วงแล้ว ฯ<O:p</O:p
    4. เจ้าประคุณสมเด็จ ฯ ดำรงตำแหน่งประธานกรรมการมหาเถรสมาคมบัญชาการคณะสงฆ์แทนพระองค์สมเด็จพระสังฆราชเจ้า กรมหลวงชินวรสิริวัฒน์ แลบัญชาการคณะสงฆ์โดยตรงสืบต่อมาเป็นเวลา 5 ปี ( ตั้งแต่ พ.ศ. 2476 ถึง พ.ศ. 2481 ) ฯ<O:p</O:p
    5. เจ้าประคุณสมเด็จ ฯ ได้ถวายพระธรรมเทศนามงคลวิเสสกถาติดต่อกันถึง 4 รัชกาล คือตั้งแต่รัชกาลที่ 6-7-8-9 เป็นเวลาถึง 25 ปี ฯ<O:p</O:p
    6. เจ้าประคุณสมเด็จ ฯ มีสัทธิวิหาริก-อันเตวาสิก มากที่สุดถึง 6,666 องค์ ฯ<O:p</O:p
    7. เจ้าประคุณสมเด็จ ฯ เป็นต้นกำเนิดตำราไหว้ 5 ครั้งให้ศิษยานุศิษย์ปฏิบัติตาม หากผู้ใดไหว้ครบ 1 ปี เป็นกำหนด ผู้นั้นจักได้รับรูปที่ระลึกจากองค์ท่านด้านหน้าเป็นรูปองค์ท่าน ด้านหลังเป็นรูปยันต์ภควัม จากกรึกนามองค์ท่านเป็นอักษรย่อ โดยลำดับแห่งราชทินนามนั้น ๆ กระทั่งครั้งสุดท้ายได้จารึก 3 อักษรว่า พ.ฆ.อ. ซึ่งย่อจากราชทินนามว่า พุทธโฆษาจารย์ สมเด็จพระราชาคณะ ฯ<O:p</O:p
    8. สัทธิวิหาริกของเจ้าประคุณสมเด็จ ฯ ที่มีอายุยืนยาวที่สุด คือ ท่านเจ้าคุณพระโศภณศีลคุณ ( หลวงปู่หลุย พาหิยเถร ) ซึ่งเป็นสัทธิวิหาริกองค์ที่ 23 ปัจจุบันอายุ 92 ปี พรรษา 67 ( เกิด 9 สิงหาคม 2426 ) ยังเดินลงโบสถ์ลงสวดมนต์ทำวัตรได้เป็นประจำทุก ๆ วัน เป็นพระเถราจารย์องค์สำคัญ ซึ่งเป็นที่เคารพนับถือยิ่งของท่านเจ้าคุณนรรัตน์ ฯ<O:p</O:p
    9. สัทธิวิหาริกของเจ้าประคุณสมเด็จ ฯ ที่ประพฤติปฏิบัติยอดเยี่ยม และเป็นพระเถระองค์สำคัญที่มีเกียรติคุณโด่งดังในปัจจุบัน คือ ท่านเจ้าคุณนรรัตน์ ฯ ธมมฺวิตกฺโก ซึ่งเป็นสัทธิวิหาริกองค์ที่ 1740 ฯ



    ไหว้ 5 ครั้ง<O:p</O:p

    ของสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์<O:p</O:p
    วัดเทพศิรินทราวาส<O:p</O:p



    <O:p</O:p
    ในวันหนึ่งกับคืนหนึ่ง ไม่ว่าเวลาใด ตามแต่เหมาะ ต้องไหว้ให้ได้ 5 ครั้งเป็นอย่างน้อย ในคราวเดียวกัน ถ้ามีดอกไม้ ธูปเทียน ก็บูชา ถ้าไม่มีก็มือ 10 นิ้วและปากกับใจ ควรไหว้จนตลอดชีวิต คือ ครั้งที่ 1 พึงนั่งกระโหย่งเท้าประนมมือว่า นโม ตสฺส ภควโต อรหโต สมฺมาสฺมพุทฺธสฺส ฯ 3 หน แล้วว่าพระพุทธคุณ คือ อิติปิ โส ภควา อรห<SUP>&deg;</SUP> สมฺมาสมฺพุทฺโธ วิชฺชาจรณสมฺปนฺโน สุคโต โลกวิทู อนุตฺตโร ปุริสทมฺมสารถิ สตฺถา เทวมนุสฺสาน<SUP>&deg; </SUP>พุทฺโธ ภควาติ ฯ หยุดระลึกถึงพระปัญญาคุณทรงรู้ดีรู้ชอบสิ้นเชิง พระบริสุทธิคุณทรงละความเศร้าหมองได้หมด พระกรุณาคุณทรงสงสารผู้อื่นและสั่งสอนให้ปฏิบัติตาม ของพระพุทธเจ้า จนเห็นชัดแล้วกราบลงหน 1 ฯ ครั้งที่ 2 ว่าพระธรรมคุณ คือ สฺวากฺขาโต ภควตา ธฺมโม สนฺทิฏฐิโก อกาลิโก เอหิปสฺสิโก โอปนยิโก ปจฺ จตฺต<SUP>&deg;</SUP> เวทิตพฺโพ วิญฺญหีติ ฯ หยุดระลึกถึงคุณพระธรรมที่รักษาผู้ปฏิบัติตามไม่ให้ตกไปในที่ชั่ว จนเห็นชัดแล้วกราบลงหน 1 ฯ ครั้งที่ 3ว่าสังฆคุณ คือ สุปฏิปนฺโน ภควโต สาวกสงฺโฆ อุชุปฏิปนฺโน ภควโต สาวกสฺงโฆ ญายปฏิปนฺโน ภควโต สาวกสฺงโฆ สามีจิปฏิปนฺโน ภควโต สาวกสฺงโฆ ยทิทฺ จฺตตาริ ปุริสยุคานิ อฏฐ ปุริสปุคฺคลา เอส ภควโต สาวกสฺงโฆ อาหุเนยฺโย ปาหุเนฺยโย ทกฺขิเณยฺโย อญฺชลิกรณีโย อนุตฺตรฺ ปุญฺญกฺเขตตฺ โลกสฺสาติ ฯ หยุดระลึกถึงคุณ คือ ความปฏิบัติดี ปฏิบัติตรง ปฏิบัติถูก ปฏิบัติชอบของพระอริยสงฆ์ จนเห็นชัดแล้วกราบลงหน 1 ฯ นั่งพับเพียบประนมมือ ตั้งใจถึงพระรัตนตรัยเป็นสรณะ ไม่ถือสิ่งอื่นยิ่งกว่าจนตลอดชีวิต ว่าสรณคมน์ คือ พุทฺธ<SUP>&deg;</SUP> สรณ<SUP>&deg;</SUP> คจฺฉามิ ธมฺม<SUP>&deg;</SUP> สรณ<SUP>&deg;</SUP> คจฺฉามิ สงฺฆ<SUP>&deg;</SUP> สรณ<SUP>&deg;</SUP> คจฺฉามิ ฯ ทุติยมฺปิ พุทฺธ<SUP>&deg;</SUP> สรณ<SUP>&deg;</SUP> คจฺฉามิ ทุติยมฺปิ ธมฺม<SUP>&deg;</SUP> สรณ<SUP>&deg;</SUP> คจฺฉามิ ทุติยมฺปิ สงฺฆ<SUP>&deg;</SUP> สรณ<SUP>&deg;</SUP> คจฺฉามิ ฯ ตติยมฺปิ พุทฺธ<SUP>&deg;</SUP> สรณ<SUP>&deg;</SUP> คจฺฉามิ ตติยมฺปิ ธมฺม<SUP>&deg;</SUP> สรณ<SUP>&deg;</SUP> คจฺฉามิ ตติยมฺปิ สงฺฆ<SUP>&deg;</SUP> สรณ<SUP>&deg;</SUP> คจฺฉามิ ฯ ครั้งที่ 4 ระลึกถึงคุณมารดาบิดาของตน จนเห็นชัดแล้วกราบลงหน 1 ฯ ครั้งที่ 5 ระลึกถึงคุณของบรรดาท่านผู้มีอุปการคุณแก่ตน เช่น พระมหากษัตริย์ และครูบาอาจารย์เป็นต้นไป จนเห็นชัดแล้วกราบลงหน 1 ฯ <O:p</O:p
    ต่อนี้ไปไม่ต้องประนมมือ ตั้งใจพิจารณาเรื่องและร่างกายของตนว่า จะต้องแก่ หนีความแก่ไปไม่พ้น จะต้องเจ็บ หนีความเจ็บไปไม่พ้น จะต้องตาย หนีความตายไปไม่พ้น จะต้องพลัดพราก จากของรัก ของชอบใจทั้งสิ้น มีกรรมเป็นของตัว คือ ทำดีได้ดี ทำชั่วได้ชั่ว เป็นอนิจจัง ไม่เที่ยงไม่แน่นอน เป็นทุกข์ลำบากเดือดร้อน เป็นอนัตตา ไม่อยู่ในอำนาจบังคับบัญชาของตน ฯ ครั้นพิจารณาแล้ว พึงแผ่กุศลทั้งปวงมีการกราบไหว้เป็นต้นนี้ อุทิศให้แก่ท่านผู้มีคุณ มีบิดามารดาเป็นต้น ตลอดจนชั้นสูงสุด คือ พระมหากษัตริย์ ทั้งเทพดามนุษย์และสัตว์ทั้งหลายว่า จงเป็นสุข ๆ อย่ามีเวรมีภัยเบียดเบียนกันและกัน รักษาตนให้พ้นจากทุกข์ภัยทั้งสิ้นเถิด ฯ<O:p</O:p
    การไหว้ 5 ครั้งนี้ ถ้าวันไหนขาด ให้ไหว้ใช้หนี้ 5 ครั้งในวันรุ่งขึ้น ถ้านั่งกระโหย่งเท้าไม่ได้ ก็นั่งพับเพียบ ถ้าไม่ได้ ก็นอนไหว้ เมื่อยอมือไม่ขึ้นก็ปากกับใจ ถ้าทำได้อย่างนี้ เป็นเครื่องหยุดตนให้เป็นคนดีไม่ให้เป็นคนชั่ว และให้ตั้งอยู่ในที่ดีไม่ให้ตกไปในที่ชั่ว ถ้าผู้ใดประพฤติได้เสมอจนตลอดชีวิต ผู้นั้นจะอุ่นใจในตัวของตัวเอง มีความเจริญงอกงามไพบูลย์ยิ่งๆ ขึ้นเสมอทุกคืนทุกวัน คุ้มครองป้องกันภยันตรายปราศจากความเสียหายที่ไม่เหลือวิสัย และตั้งตัวได้ในทางคดีโลกและทางคดีธรรม เต็มภูมิเต็มชั้นของตน ฯ ทุกประการ จบเท่านี้ ฯ

    ปัจฉิมโอวาท
    ของ
    สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ ญาณวรมหาเถระ
    วัดเทพศิรินทราวาส

    ไม่ตายควาวนี้ ก็ตายคราวหน้า อย่างเศร้าโศก เสียทีที่ศึกษาปฏิบัติมา ร้องให้เศร้าโศก ก็ร้องไห้เสร้าโศกสังขารที่
    เกิดแก่เจ็บตายนั้นเอง ที่ไม่ร้องไห้เศร้าโศกนั้นมิใช่จะเป็นคนใจไม้ใส้ระกำอะไร

    ธรรมของพระก็คือ
    สพฺเพ สงฺขารา อนิจฺจา
    สพฺเพ สงฺขารา ทุกฺขา
    สพฺเพ ธมฺมา อนตฺตา
    ย่นลงก็ สพฺเพ สงฺขารา อนิจฺจา
    สพฺเพ ธมฺมา อนตฺตา แล้วปรินิพพาน
    ไม่ต้องเกิดมาแก่ มาเจ็บ มาตายอีก

    (มีบัญชาให้บันทึกไว้เมื่อเช้าวันที่ ๑๔ พฤษภาคม ๒๕๙๔)
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • 1136565703.jpg
      1136565703.jpg
      ขนาดไฟล์:
      23.7 KB
      เปิดดู:
      123,166
    • 950.jpg
      950.jpg
      ขนาดไฟล์:
      22.2 KB
      เปิดดู:
      63
    • 1136565399.jpg
      1136565399.jpg
      ขนาดไฟล์:
      17.4 KB
      เปิดดู:
      1,711
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 12 สิงหาคม 2007

แชร์หน้านี้

Loading...