พระวังหน้า ที่หลวงปู่บรมครูเทพโลกอุดรเสก ถ้าต้องการที่จะได้.....

ในห้อง 'งานบุญอื่นๆ' ตั้งกระทู้โดย sithiphong, 23 ธันวาคม 2005.

  1. chaipat

    chaipat เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    5 มกราคม 2007
    โพสต์:
    1,282
    ค่าพลัง:
    +11,099
    ตอนนี้ 8,330.- บาท แล้วครับ

    สาธุครับ
     
  2. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    http://www.manager.co.th/Travel/ViewNews.aspx?NewsID=9500000113941

    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=headline vAlign=baseline align=left>“ดอนหอยหลอด” เขตปลอดโรงไฟฟ้า/ปิ่น บุตรี </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD bgColor=#cccccc height=1>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left>โดย ปิ่น บุตรี</TD><TD class=date vAlign=baseline align=left>26 กันยายน 2550 15:55 น.</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left> โดย : ปิ่น บุตรี

    </TD></TR><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 align=center border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=400 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle width=400>[​IMG] </TD></TR><TR><TD class=Image vAlign=baseline align=left>สวนมะพร้าวเมืองแม่กลอง </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle height=5>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE> “Small is Beautiful” (เล็กแต่งดงาม)

    น่าจะใช้ได้ดีกับจังหวัดสมุทรสงครามหรือเมืองแม่กลอง เพราะนี่เป็นจังหวัดที่เล็กที่สุดในประเทศไทย มีพื้นที่ประมาณ 416 ตารางกิโลเมตร ทั้งจังหวัดมีแค่ 3 อำเภอคือ อ.เมือง อ.อัมพวา และ อ.บางคนที แต่ในความเล็กที่สุดของแม่กลองนั้นกลับเป็นประเภทเล็กดีรสโตที่รุ่มรวยด้วยวิถีชีวิตวัฒนธรรม วัดวาอาราม และสถานที่ท่องเที่ยวเชิงนิเวศ(ศิลปวัฒนธรรม)มากมาย

    ในขณะที่กรุงเทพเป็นเมืองสีเทา(จากป่าคอนกรีต)ที่สุดในเมืองแห่ง แม่กลองเมืองติดกันกลับเป็นที่มีสีเขียวที่สุดแห่งหนึ่งของเมืองไทย(สีเขียวในที่นี้ไม่ได้หมายถึงพวกโหวตรับร่างหากแต่หมายถึงที่สีเขียวจากต้นไม้)เนื่องจากมากไปด้วยเรือกสวนมากมาย อีกทั้งยังสะสมชื่อเสียงของความเป็นเมืองแห่งการทำสวนมาช้านานตั้งแต่ต้นกรุงรัตนโกสินทร์ดังคำกล่าวที่ว่า “บางช้างสวนนอก บางกอกสวนใน” (บางช้างปัจจุบันอยู่พื้นที่ อ.อัมพวา)

    </TD></TR><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 align=center border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=400 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle width=400>[​IMG] </TD></TR><TR><TD class=Image vAlign=baseline align=left>ยอดลิ้นจี่เมืองแม่กลอง </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle height=5>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE> แม่กลอง เป็นเมือง 3 น้ำ 3 นา (3 น้ำคือ น้ำจืด น้ำกร่อย และน้ำเค็ม 3 นา คือ นาข้าว นาเกลือ และนากุ้ง) มีลำคลองมากมายเป็นร้อยๆสาย มีปากอ่าวไทยตอนในอันอุดมสมบูรณ์ อีกทั้งยังมีเรือกสวนอันบริบูรณ์เขียวชอุ่ม ส่งผลให้แม่กลองเป็น"ครัว"ของประเทศที่สำคัญมากแห่งหนึ่ง

    ลิ้นจี่(พันธุ์ค่อม)แม่กลอง ได้ชื่อเป็นสุดยอดลิ้นจี่ที่โด่งดังไปทั่วฟ้าเมืองไทย

    มะพร้าวแม่กลอง หนึ่งในพืชเศรษฐกิจของสมุทรสงครามที่ชาวบ้านย่านถิ่นแถบนี้ได้สั่งสมภูมิปัญญาแห่งมะพร้าวมาช้านาน ไม่ว่าจะเป็นการเก็บผลสดแห้งขาย ทำมะพร้าวเผา มะพร้าว น้ำหอม น้ำตาลมะพร้าว น้ำมันมะพร้าว วุ้นมะพร้าว เชื้อเพลิงมะพร้าว กระบวยตักน้ำ ทัพพี ซออู้ ซอสามสาย ฯลฯ

    ส้มโอแม่กลอง ลูกโต เม็ดน้อย รสหวานอมเปรี้ยวนิดๆลองแล้วจะติดใจ

    ปลาทูแม่กลอง หน้างอคอหักกับเอกลักษณ์อันโดดเด่นของปลาทูเนื้อแน่น มัน ที่ได้ชื่อว่าอร่อยที่สุดในเมืองไทย

    </TD></TR><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 align=center border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=400 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle width=400>[​IMG] </TD></TR><TR><TD class=Image vAlign=baseline align=left>บ้านเรือนไทยริมน้ำยังมีให้เห็นทั่วไปในแม่กลอง </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle height=5>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE> หอยหลอดแม่กลอง ความอร่อยที่พบเฉพาะบริเวณดอนหอยหลอดในสมุทรสงครามเท่านั้น

    กุ้งแม่น้ำแม่กลอง เนื้อแน่นหวาน อีกหนึ่งของดีที่มีมากในเมืองแม่กลอง

    เท่าที่กล่าวมานี่ ถือเป็นหนังตัวอย่างของผลิตผลทางการครัวของเมืองแม่กลองเท่านั้น เพราะจะว่าไปจังหวัดนี้ๆยังมีของดีทั้งที่เปิดเผยและซุกซ่อนอยู่เป็นจำนวนมาก เป็นดังเมือง“เสือซุ่ม มังกรซ่อน”ที่น่าไปเยือนเป็นอย่างยิ่ง

    แต่...อนิจจา วันนี้เมืองเล็กๆอันงดงามกำลังถูกคุกคามด้วยการสร้างโรงไฟฟ้าพลังความร้อนขนาดยักษ์จากถ่านหิน ที่วันนี้ยังไม่มีข้อสรุปชัดเจนว่าเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมปลอดภัยไร้มลพิษ เนื่องจากโรงไฟฟ้าถ่านหินที่เคยมีมาในเมืองไทย(ในภาคเหนือ)มันได้สำแดงฤทธิ์เดชความเลวร้ายออกมาปรากฏเป็นข่าวอยู่บ่อยครั้ง จึงเป็นเหตุให้ชาวบ้าน(เมืองแม่กลอง)จำนวนมากรวมตัวกันออกมาประท้วงคัดค้านการสร้างโรงไฟฟ้าเมื่อต้นช่วงต้นเดือนที่ผ่านมา(แต่ประทานโทษ!!!ข่าวแบบนี้สื่อไม่ค่อยให้ความสนใจไม่เหมือนกับข่าวนักร้องกิ๊กมหาเศรษฐีเปิดตัวหนังสือหรือนางแบบสาวแต่งงานในต่างแดน)

    </TD></TR><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 align=center border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=400 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle width=400>[​IMG] </TD></TR><TR><TD class=Image vAlign=baseline align=left>ตลาดน้ำวิถีที่ยังคงอยู่ในแม่กลอง</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle height=5>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE> ผมไม่รู้ว่าทางผู้สร้าง(รัฐ+เอกชน)มีเหตุผลกลใด แต่ดูยังไงเมืองแม่กลองไม่เหมาะสมด้วยประการทั้งปวงต่อการสร้างโรงไฟฟ้าถ่านหินขนาดใหญ่ แถมบริเวณที่สร้างโรงไฟฟ้ายังเป็นชายฝั่งทะเล ต.บางแก้ว อ.เมือง แล้วยิ่งไม่เหมาะสมเข้าไปใหญ่

    ทำไมน่ะหรือ?!? ก็เพราะชายฝั่งทะเลที่นี่เป็นปากอ่าวไทยตอนในอันอุดมสมบูรณ์มากแห่งหนึ่งของเมืองไทยนะสิ

    อ่าวไทยตอนใน(อ่าวไทยแบ่งเป็นอ่าวไทยตอนนอกและตอนใน)มีรูปร่างเป็นอ่าว ก.ไก่(ดูคล้ายหัวตัว ก.ไก่) เป็นส่วนหนึ่งของที่ราบลุ่มเจ้าพระยาที่มีแม่น้ำสำคัญ 5 สายคือ เจ้าพระยา บางปะกง ท่าจีน แม่กลอง เพชรบุรี ไหลมาลง

    </TD></TR><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 align=center border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=350 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle width=350>[​IMG] </TD></TR><TR><TD class=Image vAlign=baseline align=left>ปลาทูแม่กลองกับเอกลักษณ์หน้างอคอหัก </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle height=5>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE> แม่น้ำ 5 สายไม่ได้ไหลมาเปล่าๆแต่ยังพัดพาเอาแร่ธาตุตะกอนมาทับถมในบริเวณนี้ เกิดเป็น “ทะเลตม”ที่แม้จะไม่มีหาดทรายสวยๆ เหมือนพัทยา บางแสน แต่ว่าทะเลตมที่ดูเละๆสีคล้ำๆนี่แหละมีความอุดมสมบูรณ์ในระดับสุดยอดทีเดียว เป็นทั้งที่อยู่อาศัยและแหล่งขยายพันธุ์ของของสัตว์น้ำนานาชนิด เป็นทั้งแหล่งอาหารของสัตว์น้ำด้วยกันและนกจำนวนมาก ที่สำคัญก็คือทะเลตมตอนในถือเป็นแหล่งอาหารของมนุษย์ชั้นดีที่เราๆท่านๆคงเคยผ่านการลิ้มลองอาหารจากทะเลตมแห่งนี้มาบ้างไม่มากก็น้อย

    “3 นา 3 น้ำ 3 หอย” ถือเป็นลักษณะพิเศษของทะเลตมแห่งนี้ที่มีลักษณะเป็นหาดโคลนมากไปด้วยป่าชายเลนเชื่อมด้วยแม่น้ำลำคลองมากมาย

    3 นา 3 น้ำ เป็นชนิดเดียวกับลักษณะเด่นเมืองแม่กลองที่ผมกล่าวถึงในตอนต้น ส่วน 3 หอยนั้น หมายถึง หอยแครง มีแหล่งหอยแครงใหญ่สุดอยู่ที่ อ.บ้านแหลม เพชรบุรี หอยแมลงภู่ มีแหล่งหอยแมลงภู่ใหญ่ที่สุดอยู่ที่ อ.คลองด่าน สมุทรปราการ หอยหลอด เป็นแหล่งหอยหลอดขนาดใหญ่ที่สุดมีเฉพาะที่ดอนหอยหลอด อ.เมือง สมุทรสงครามเท่านั้น

    </TD></TR><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 align=center border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=400 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle width=400>[​IMG] </TD></TR><TR><TD class=Image vAlign=baseline align=left>หากโรงฟ้าถ่านหินมากลองมาสร้างแถวปากอ่าวไทยตอนใน ดอนหอยหลอดไปแน่นอน </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle height=5>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE> พื้นที่หอยแมลงภู่(คลองด่าน)เคยถูกคุกคามไปแล้วจากโครงการบ่อบำบัดน้ำเสียคลองด่าน(วันนี้ผมกำลังลุ้นอยู่ว่าจะลากนักการเมืองเลวกับข้าราชการชั่วที่เกี่ยวข้องกับโครงการนี้มาลงโทษได้หรือเปล่า)

    พื้นที่หอยแครงวันนี้ยังดีอยู่ แต่พื้นที่หอยหลอดกำลังจะถูกคุกคาม เพราะดอนหอยหลอดพื้นที่พิเศษหนึ่งเดียวในเมืองไทย แหล่งท่องเที่ยวชื่อดังแห่งเมืองแม่กลองมีพื้นที่คาบเกี่ยวอยู่ในชายฝั่งทะเล ต.บางแก้ว พื้นที่ที่จะสร้างโรงไฟฟ้าถ่านหินนั่นแหละ

    ไม่เพียงหอยหลอดเท่านั้นปลาทูแม่กลองก็นับเป็นสัตว์อีกหนึ่งจำพวกที่จะถูกคุกคามอย่างเต็มๆเช่นกัน เพราะบริเวณนั้นเป็นแหล่งแพลงก์ตอนอาหารชั้นดีของปลาทู(ลูกหอยหลอดก็เป็นแพลงก์ตอนเหมือนกัน) ถ้าหากมีการสร้างโรงไฟฟ้าจริง ทั้ง แพลงก์ตอน หอยหลอด ปลาทู (รวมไปถึงสัตว์น้ำอื่นๆ)ย่อมได้รับผลกระทบแน่นอน เช่นเดียวกับทรัพยากรธรรมชาติอื่นๆและผู้คนในละแวกนั้นก็ย่อมได้รับผลกระทบตามไปด้วย งานนี้ใครอยู่ใกล้โรงไฟฟ้าก็รับไปเต็มๆ ใครอยู่ห่างออกไปก็รับผลกระทบทางอ้อมหรือผลกระทบข้างเคียงอันเกิดจากปัญหาสิ่งแวดล้อมที่ตามมา

    ด้วยเหตุนี้การที่คนแม่กลองออกมาประท้วงคัดค้านการสร้างโรงไฟฟ้าก็ดูสมเหตุสมผลอยู่ เพราะบ้านของเขา แหล่งทำมาหากินของเขา เขาย่อมมีสิทธิ์อย่างเต็มที่ ซึ่งถึงแม้ว่าไฟฟ้าจะเป็นสิ่งจำเป็น เป็นปัจจัยที่ 5 ของมนุษย์ไปเสียแล้ว(ผมก็ไม่ปฏิเสธการใช้ไฟฟ้า(แต่ปฏิเสธการถูกไฟฟ้าช้อต)พิมพ์ต้นฉบับด้วยคอมพิวเตอร์อยู่นี่ก็ต้องใช้ไฟฟ้าเหมือนกัน) แต่หากว่าจะสร้างโรงไฟฟ้าจริงๆก็ไม่ควรเป็นโรงไฟฟ้าถ่านหินที่ในหลายประเทศ(พัฒนาแล้ว)เขาเลิกสร้างไปนานแล้ว หากแต่หันไปใช้พลังงานสะอาดต่างๆ อาทิ พลังงามลม พลังงานน้ำ พลังงานแสงอาทิตย์ แล้วไฉนบ้านเราจึงจะไปเอาพลังงานขยะของเขามา

    </TD></TR><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 align=center border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=360 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle width=360>[​IMG] </TD></TR><TR><TD class=Image vAlign=baseline align=left>ดอนหอยหลอดที่กำลังถูกคุกคามจากโครงการสร้างโรงไฟฟ้าถ่านหินขนาดใหญ่ </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle height=5>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE> และที่ไม่ควรอย่างยิ่งก็คือการพุ่งเป้าไปเลือกพื้นที่สำคัญ(มาก)อย่างบริเวณปากอ่าวไทยตอนในสร้างโรงไฟฟ้าถ่านหิน เพราะเมืองไทยยังมีเขตอุตสาหกรรม พื้นที่ป่าเสื่อมโทรม พื้นที่รกร้างห้างไกลชุมชน ทะเลน้ำเสียที่ไม่ใช่แหล่งทรัพยากรและแหล่งอาหารสำคัญอีกมาก หากว่ามันจำเป็นที่จะต้องสร้างโรงไฟฟ้าจริงๆทำไมพวกคุณไปไม่ไปสร้างยังที่เหล่านั้น

    คืนวันเดียวกับที่ชาวแม่กลอง(และชาวระยอง)ประท้วงคัดค้านโรงไฟฟ้า ผมได้มีโอกาสดูรายการ“คนในข่าว” ทาง ASTV ที่มีการนำผู้คัดค้านการสร้างโรงไฟฟ้าแม่กลองและโรงไฟฟ้าระยองมาออกรายการ คุณพี่ผู้หญิงชาวบ้านตัวแทนจากผู้คัดค้านโรงไฟฟ้าแม่กลองแกพูดตอนหนึ่งได้น่าฟังมาก(อันที่จริงผู้ร่วมรายการทุกคนพูดน่าฟังหมด)ว่า

    “ชาวแม่กลองไม่ปฏิเสธโรงไฟฟ้า ถ้าเป็นโรงไฟฟ้าที่มาจากโรงงานสะอาดละก้อยินดีมากเลย แม้จะต้องลงทุนสูงจ่ายแพงกว่า แต่ในระยะยาวมันคุ้มค่ากว่ากันมาก ทั้งไม่กระทบกับสิ่งแวดล้อมและไม่เป็นมลพิษต่อชาวบ้านในพื้นที่”(แต่คงไม่ใช่บริเวณปากอ่าวไทยตอนใน--อันนี้เป็นความเห็นของผม)

    งานนี้ผมไม่รู้ว่าทางผู้ต้องการสร้างโรงไฟฟ้าแม่กลองเอาสมองหรือส่วนไหนในร่างกายคิด จึงได้เลือกพื้นที่แถบนี้ รู้แต่ว่าเวลาคิดจะสร้างจะทำอะไรนะ(ไอ้พวกที่ชอบสร้างเมกะโปรเจกต์ทั้งหลาย)อย่าคิดเอาแต่ได้ท่าเดียว(ส่วนใหญ่พวกมันคิดถึงกันแต่ค่าคอมมิชชั่นกับเงินใต้โต๊ะ)ลองคิดถึงผู้เดือดร้อน คิดถึงสิ่งแวดล้อม คิดถึงผลกระทบที่จะตามมาบ้าง หรือไม่ก็ลองคิดง่ายๆว่า ถ้าเกิดเขาต้องไปสร้างโรงไฟฟ้าถ่านหินที่บ้านคุณมั่งล่ะ?!?

    นอกจากนี้ยังมีอีกเรื่องหนึ่งที่ผู้คัดค้าน(ในรายการ)สะท้อนออกมาว่า ทางบริษัทผู้ต้องการสร้างโรงไฟฟ้าได้กล่าวประโยค(สำเร็จรูป)ทำนองประชดประชันกับผู้คัดค้านว่า ถ้างั้นก็ไม่ต้องใช้ไฟฟ้ามันหรอก ปั่นไฟ จุดเทียนใช้เอาแล้วกัน(อ้าว(เวลลล์)ไหงพูดงี้ล่ะ แล้วถ้าชาวบ้านเขาสวนกลับไป(แบบสำเร็จรูป)มั่งล่ะว่า งั้นก็ไปสร้างที่บ้านคุณ(เอ็ง)แล้วกัน—อันนี้ชาวบ้านเขาไม่ได้พูดแต่ผมคิดว่ามันเป็นคำตอบ(กลับ)ที่ดูสมน้ำสมเนื้อดี)

    อีกคำพูดหนึ่ง(สำเร็จรูปเหมือนกัน)ก็คือ คำพูดทำนองว่า แหม...เขาเพียงแค่เลือกพื้นที่ยังไม่ได้สร้างสักหน่อย ไม่เห็นต้องรีบออกมาคัดค้านประท้วงกันเลย(ทุด!!! ไหงพูดงี้ล่ะ ถ้าชาวบ้านเขาปล่อยให้สร้างก็พังนะสิ หรือไม่พอสร้างแล้วเกิดปัญหามลพิษต่างๆตามมาพวกก็จะอ้างอีกว่า ทีตอนสร้างไม่เห็นคัดค้านเลย มาคัดค้านทำไมตอนสร้างเสร็จแล้ว—อันนี้ชาวบ้านเขาไม่ได้พูดแต่ผมคิดเอาเอง)

    ในคืนวันนั้นยังมีอีกประโยคสั้นๆแต่โดนใจที่เปล่งออกมาจากพี่ผู้หญิงคนเดิมก็คือ

    “แม่กลองเป็นเมืองราชนิกูล(กุล) เพราะฉะนั้นได้โปรดอย่านำสิ่งปฏิกูล(ถ่านหิน)มาทิ้งที่แม่กลอง” (ราชนิกุลแห่งแรกของกรุงรัตนโกสินทร์ คือ ณ บางช้าง อันเป็นต้นกำเนิดของอีกหลายสกุล อาทิ บุนนาค ชูโต แสงชูโต ภมรบุตร ถือกำเนิดขึ้นที่เมืองแม่กลอง)

    เอ...หรือว่าเหตุที่พวกเขา(ผู้คิดจะสร้างโรงไฟฟ้าแม่กลอง)ต้องการจะนำสิ่งปฏิกูลมาทิ้งยังเมืองแม่กลองนั่นอาจเป็นเพราะว่าในหัวเขามีแต่สิ่งปฏิกูลทั้งนั้น ฉะนั้นถ้าหากจะมีคนเรียกขานกลุ่มคนที่คิดจะสร้างโรงไฟฟ้าแถวดอนหอยหลอด ว่าเป็นพวก“ไอ้หอยหลอด”!!! ก็อย่าได้แปลกใจไป
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>
    **************************************

    น้อง chaipat นำเรื่องดอนหอยหลอดมาฝากครับ

    .
     
  3. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    คำสอนองค์สมเด็จพระพุฒาจารย์โต พรหมรังสี

    คนเราทุกวันนี้ ดีแต่ส่องกระจกด้านหน้า แต่เพียงด้านเดียว
    ให้เอากระจกหกด้าน มาส่องเสียบ้าง แล้วจะเห็นเอง

    ท่านใดพอที่จะอธิบายได้ว่า สมเด็จพระพุฒาจารย์โต พรหมรังสี สอนอะไร หมายถึงอะไร เป็นการลับสมองลองปัญญากัน ไม่มีรางวัลนะครับ

    โมทนาสาธุครับ

    .
     
  4. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    อ้างอิง:

    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=6 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=alt2 style="BORDER-RIGHT: 1px inset; BORDER-TOP: 1px inset; BORDER-LEFT: 1px inset; BORDER-BOTTOM: 1px inset">ข้อความดั้งเดิมโดยคุณ sithiphong [​IMG]
    <TABLE class=tborder id=post722267 cellSpacing=0 cellPadding=6 width="100%" align=center border=0><TBODY><TR><TD class=thead style="BORDER-RIGHT: #ffffff 0px solid; BORDER-TOP: #ffffff 1px solid; FONT-WEIGHT: normal; BORDER-LEFT: #ffffff 1px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 1px solid">[​IMG] เมื่อวานนี้, 05:13 PM <!-- / status icon and date --></TD><TD class=thead style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid; BORDER-TOP: #ffffff 1px solid; FONT-WEIGHT: normal; BORDER-LEFT: #ffffff 0px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 1px solid" align=right>#9897 </TD></TR><TR vAlign=top><TD class=alt2 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid; BORDER-TOP: #ffffff 0px solid; BORDER-LEFT: #ffffff 1px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 0px solid" width=175>sithiphong<SCRIPT type=text/javascript> vbmenu_register("postmenu_722267", true); </SCRIPT>
    สมาชิก ยอดนิยม
    สมาชิกยอดฮิต

    [​IMG]

    เข้ามาครั้งสุดท้ายเมื่อ: วันนี้ 02:31 PM
    วันที่สมัคร: Dec 2005
    ข้อความ: 15,269 <!-- Start Post Thank You Hack -->
    ได้ให้อนุโมทนา 18,446 ครั้ง
    ได้รับอนุโมทนา 85,373 ครั้ง ใน 11,587 โพส <!-- End Post Thank You Hack -->
    พลังการให้คะแนน: 10093 [​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG]



    </TD><TD class=alt1 id=td_post_722267 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid"><!-- message -->อ้างอิง:
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=6 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=alt2 style="BORDER-RIGHT: 1px inset; BORDER-TOP: 1px inset; BORDER-LEFT: 1px inset; BORDER-BOTTOM: 1px inset">ข้อความดั้งเดิมโดยคุณ sithiphong [​IMG]
    เรียน พี่ๆ เพื่อนๆ น้องๆ

    ต่อไปนี้ อย่าลงรูปพระพิมพ์อีกครับ

    เพื่อป้องกันหลายๆเรื่อง

    โมทนาสาธุครับ

    .

    </TD></TR></TBODY></TABLE>


    </TD></TR></TBODY></TABLE>ส่วนเรื่องราวต่างๆ ที่เกี่ยวกับหลวงปู่บรมครูเทพโลกอุดร ,สมเด็จพระพุฒาจารย์โต พรหมรังสี และเนื้อหาหรือเนื้อเรื่องพระพิมพ์ต่าง ก็ไม่ต้องลงเช่นกัน สำหรับท่านที่มีความประสงค์ที่ต้องการศึกษาจริงๆ ก็จะต้องดูกันต่อว่า มีความศรัทธา มีความเคารพ มีความเพียรและความพยายามมากเพียงไรก่อนเป็นอันดับแรก ส่วนอันดับอื่นๆค่อยว่ากันอีกเรื่อง

    ผมจะปล่อยเรื่องนี้ให้เป็นเรื่องของกรรม แต่ละบุคคล จากเหตุหลายๆเรื่อง คนเราสามารถคิดหาเหตผลให้ตนเองถูกได้เป็นล้านเหตุผล แต่จะถูกต้องตรงกับความเป็นจริงนั้นอีกเรื่อง

    ในความคิดของพี่ใหญ่และอีกหลายๆท่าน ควรจะจัดเป็นWorkshop ศึกษากันเป็นเรื่องๆไป ผมจะไปปรึกษากับหลายๆท่านอีกครั้งก่อน แล้วผมจะมาแจ้งทางโทรศัพท์ให้พี่ๆ เพื่อนๆ น้องๆทุกท่านทราบ หรืออาจจะทราบกันในการปรึกษาหารือกันครับ

    โมทนาสาธุครับ


    </TD></TR></TBODY></TABLE>


    อ้างอิง:
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=6 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=alt2 style="BORDER-RIGHT: 1px inset; BORDER-TOP: 1px inset; BORDER-LEFT: 1px inset; BORDER-BOTTOM: 1px inset">ข้อความดั้งเดิมโดยคุณ :::เพชร::: [​IMG]
    คงต้องกำหนดทิศทางที่จะไปของกระทู้นี้แล้วละครับคุณหนุ่ม หากไม่ลงเรื่องราวเหล่านี้ ต่อไปกระทู้นี้จะออกมาในทิศทางไหน วานบอก เพราะนานร่วม ๒ ปีที่เรื่องราวเหล่านี้เผยแพร่ออกไประดับหนึ่งแล้ว
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    ผมขอความคิดเห็นของพี่ๆ เพื่อนๆ น้องๆ และท่านที่เข้ามาอ่านกระทู้ทุกท่าน

    ว่ามีความเห็นอย่างไร ในเรื่องที่ผมและคณะเล่าเรื่องหลวงปู่บรมครูเทพโลกอุดร ,สมเด็จพระพุฒาจารย์โต พรหมรังสี และพระพิมพ์ต่างๆ ถ้าท่านใดเห็นว่า ผมและคณะควรจะเล่าเรื่องต่อไปและเปิดเผยเรื่องพระพิมพ์ต่อไป ขอให้ทุกๆท่านแสดงความคิดเห็นกันเข้ามานะครับ ผมจะใช้การแสดงความคิดเห็นเป็นหลักใหญ่ เราอยู่ในระบอบประชาธิปไตย(ถึงจะไม่เต็มใบก็ตาม อืม วอนซะแล้ว แถไปการเมืองอีก ) ขอเชิญทุกๆท่านนะครับ กระทู้นี้ผมอยากให้เป็นกระทู้ส่วนรวม ไม่ใช่กระทู้ผมหรือคณะผมเท่านั้น ในการค้นหาความรู้ ความเห็นในมุมมองของอาจารย์ผม และคณะผมว่าคิดเห็นอย่างไรในเรื่องต่างๆ ส่วนจะเชื่อหรือไม่ ก็แล้วแต่ท่านผู้อ่านเป็นผู้พิจารณาเอง

    เดิมที่ผมจะยุตินั้น ผมมองไว้ว่า ผมตั้งใจจะเผยแพร่พระเกียรติคุณหลวงปู่บรมครูเทพโลกอุดร ,สมเด็จพระพุฒาจารย์โต พรหมรังสี ,หลวงปู่ท่านเจ้ากรมพระราชวังบวรวิชัยชาญ และพระพิมพ์ต่างๆ ซึ่งอาจจะไปเปิดเว็บไซด์ (คงต้องรอระยะเวลาสักพักใหญ่ กว่าที่หลายๆคนในคณะจะเข้าที่เข้าทางและพร้อมในการเผยแพร่) อาจจะใช้ระยะเวลาที่ไม่น้อยกว่า 2 ปี

    แต่เมื่อคุณเพชรได้เสนอแนวความคิดมา ผมก็อยากให้พี่ๆ เพื่อนๆ น้องๆ และท่านผู้อ่านทุกท่าน ได้เสนอความคิดกันตามที่ผมได้บอกข้างบนแล้วครับ

    โมทนาสาธุครับ

    อย่างที่ผมเคยบอก ผมตามหาเป็นระยะเวลา 10 ปี เสียเงิน เสียเวลา เสียแรงกาย แรงใจ ไปมาก แต่เมื่อเจอแล้วก็คุ้มค่า

    หลวงปู่บรมครูเทพโลกอุดร ,สมเด็จพระพุฒาจารย์โต พรหมรังสี ,หลวงพ่อเงิน วัดบางคลาน ,คณะหลวงปู่บรมครูเทพโลกอุดร ฯลฯ ทุกๆพระองค์เมตตาต่อคณะผมและผู้ที่ศรัทธาท่านอย่างจริงใจ


    ตักเตือนในสิ่งที่ผมและคณะทำในสิ่งที่ไม่ถูก ไม่ต้อง ไม่สมควร

    กราบขอบพระทัย ,กราบขอบพระคุณทุกๆพระองค์ครับ

    ผมตั้งใจที่จะเผยแพร่ความรู้เรื่องราวหลวงปู่บรมครูเทพโลกอุดร ,หลวงปู่ท่านเจ้ากรมพระราชวังบวรวิชัยชาญ ,สมเด็จพระพุฒาจารย์โต พรหมรังสี และพระพิมพ์ต่างๆ ตามแนวทางของท่านอาจารย์ประถม อาจสาคร แต่ความรู้ในส่วนอื่นๆ ผมจะไม่นำเสนอเนื่องจากว่า อาจจะเป็นเรื่องลิขสิทธิ์ของผู้เขียน เช่น หนังสือของ อ.เทพย์ สาริกบุตร ,หนังสือของคุณมัตตัญญู ,หนังสือประวัติเรื่องราวต่างๆ ฯลฯ แต่ในบางเรื่องผมจะใช้เรื่องราวในหนังสือของท่านเหล่านี้ มาเป็นส่วนในการวิเคราะห์เรื่องต่างๆครับ
     
  5. drmetta

    drmetta เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 มิถุนายน 2007
    โพสต์:
    131
    ค่าพลัง:
    +752

    เมื่อสักคู่นี้ 18.26น ได้โอนเงิน 6,900 เข้าบัญชี เลขที่ 189-0-13128-8 เรียบร้อยแล้ว
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 26 กันยายน 2007
  6. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    http://www.jarun.org/v3/H6004.htm

    สมเด็จพุฒาจารย์ (โต) พรหมรังสี
    ปางอุ้มบาตรพรมน้ำพระพุทธมนต์<O:p</O:p
    พระภาวนาวิสุทธิคุณ
    ๘ เม.ย. ๓๕

    H6004<O:p</O:p

    ที่วัดอัมพวัน มีวิหารอยู่ทางทิศใต้ของโรงอุโบสถ ภายในวิหารเป็นที่ประดิษฐาน สมเด็จพุฒาจารย์ (โต) พรหมรังสี ปางอุ้มบาตรพรมน้ำพระพุทธมนต์<O:p</O:p

    ผู้สร้างถวายคือ คุณเส็ง คุณผ่องศรี ใจบุญ ได้นำมาถวายวัดอัมพวันเมื่อ พ.ศ. ๒๕๐๐ พร้อมกับ หลวงปู่แสง<O:p</O:p
    เมื่อนำมาถวายยังไม่วิหาร ได้อัญเชิญท่านเจ้าคุณสมเด็จฯ ไว้ในโรงอุโบสถ และหลวงปู่แสงประดิษฐานอยู่ที่ศาลาปฏิบัติกรรมฐาน
    อยู่ต่อมาประมาณ ๑ เดือน มีคนข้างวัดมาบอกว่า สมเด็จฯโต ท่านอยากมาอยู่ข้างนอก อาตมาก็รับทราบไว้<O:p</O:p

    ต่อมามีคนจากนครราชสีมาถามหาสมภารวัดอัมพวัน มาถึงก็มากราบ ถามว่า<O:p</O:p
     
  7. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    อ้างอิง:
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=6 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=alt2 style="BORDER-RIGHT: 1px inset; BORDER-TOP: 1px inset; BORDER-LEFT: 1px inset; BORDER-BOTTOM: 1px inset">ข้อความดั้งเดิมโดยคุณ drmetta [​IMG]
    วันนี้ได้พระบางส่วนเรียบร้อยแล้ว ที่ยังไม่ได้รับ คงเหลือ ตามรายการข้างล่างนี้

    รายการ ที่ 8. พระพิมพืไตรโลกนาท 2 องค์
    รายการ ที่ 4.พระพิมพ์พุทธประวัติ เนื้อสีขาว จำนวน 15 องค์ มอบพระพิมพ์ 1 องค์ให้กับผู้ร่วมทำบุญ 1,200 บาท<O:p</O:p
    รายการ ที่ 5.พระพิมพ์พุทธประวัติ เนื้อสีขาวแตกลายงา จำนวน 10 องค์ มอบพระพิมพ์ 1 องค์ให้กับผู้ร่วมทำบุญ 1,100 บาท
    และพิมพ์ไกเซอร์อีก 1 ชุด ทำบุญ 3,000 บาท

    หากเป็นไปได้ผมขอจองเพิ่ม
    รายการ ที่ 4.พระพิมพ์พุทธประวัติ เนื้อสีขาว จำนวน 3 องค์
    รายการ ที่ 5.พระพิมพ์พุทธประวัติ เนื้อสีขาวแตกลายงา จำนวน 3 องค์

    รวมเงินที่จะโอนมาให้อก 6,900 บาทนะครับ
    </TD></TR></TBODY></TABLE>

    โมทนาสาธุครับ

    .
     
  8. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    http://www.tv5.co.th/service/mod/heritage/nation/tour/hoanngoc.htm

    สมุนไพรฮว่านง็อก

    - มาดูการเตรียมตัวส่วนตัวของผมเอง ไม่มีใครแนะนำ ผมมีเวลา ๑๕ วัน
    กินขมิ้นชันก่อนอาหาร และออกกำลังกายด้วยการขี่จักรยานให้มากขึ้น
    กินอาหารประเภทเนื้อสัตว์ให้น้อยที่สุด กินแต่ปลา กับผัก เนื้อวัว งดเด็ดขาด
    ผมมีคาถาอยู่บทหนึ่ง ไม่แน่ใจว่าเคยเขียนเล่าไปแล้วหรือยัง แต่ผมเที่ยวบอกเขาไปเรื่อย และเวลาข้ามสะพานข้ามแม่น้ำลพบุรี ข้ามไปยังฝั่งวัดมณีชลขันธ์ หรือข้ามกลับมา ผมจะยกมือไหว้ที่ศาลหลวงปู่แสง ที่สร้างอยู่เชิงสะพานขาข้ามไปอยู่ฝั่งซ้ายมือ หลวงปู่แสงคือ พระอาจารย์ของสมเด็จพุฒาจารย์ โต พรหมรังษี ดูเหมือนจะเป็นอาจารย์ท่านแรกของสมเด็จโต เลยทีเดียว หลวงปู่แสง มีคาถาอยู่บทหนึ่งบอกว่า ใครเป็นมะเร็งท่องบ่น จะไม่ลุกลามต่อไป และอาจจะหายได้ ผมเคยเล่าให้หมอ นายพลหมอ บอกว่าเป็นไปได้เพราะหากท่องคาถาด้วยความเชื่อมั่น จิตสงบ มะเร็งมันไม่มีเชื้อโรคติดต่อใคร มันจะหยุดการเติบโต แต่ยิ่งกลัวมันมาก ไปกินอาหารที่มันชอบ มันจะลุกลามอย่างรวดเร็ว คาถาบทนี้ของหลวงปู่แสงคือ "ระโช หะระนัง ระชัง หะระติ" สั้นแค่นี้ผมท่องทุกครั้งที่ผ่านหน้าวัดมณี ฯ ผ่านหน้าศาลหลวงปู่แสง และก็ขอบารมีหลวงปู่แสง อย่าให้ผมเป็นโรคร้ายนี้เลย พอมาคราวนี้รู้ตัวว่า จะต้องไปตรวจมะเร็ง ตรวจเพราะมีอาการแล้ว ไม่ใช่อยากไปตรวจ ผมก็ท่องคาถาหลวงปู่แสง เรียกว่าท่องกันทั้งวัน ว่างเมื่อไร นึกถึงเมื่อไร เป็นท่องเมื่อนั้น ทำติดต่อตลอด ๑๕ วัน ก่อนวันไปส่องกล้อง เมื่อทำจิตให้สงบแล้ว ท่องคาถาก็ทำให้เกิดความสงบขึ้นในใจเรียกว่า "กูไม่กลัวมึง" นายพลหมอ เคยบอกว่าพี่ไม่ต้องท่องคาถาหลวงปู่แสงก็ได้ แต่ท่องว่า "กูไม่กลัวมึง" อ้ายมะเร็งร้ายก็จะหยุดเติบโต เช่นกัน เพราะไม่กลัว จิตสงบ


    ***************************************************************

    เนื้อเรื่องอื่นๆ ติดตามได้ในกระทู้นะครับ

    โมทนาสาธุครับ
     
  9. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    http://72.14.235.104/search?q=cache...359f4001+หลวงปู่แสง&hl=th&ct=clnk&cd=89&gl=th

    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=3 width="100%"><TBODY><TR><TD vAlign=bottom>[​IMG] กระดานสนทนา วัดบางพระ
    [​IMG][​IMG] หมวด เกจิอาจารย์
    [​IMG][​IMG][​IMG] เกจิอาจารย์
    [​IMG][​IMG][​IMG][​IMG] หลวงปู่ทอง วัดราชโยธา</TD></TR></TBODY></TABLE>

    <TABLE class=tborder style="BORDER-BOTTOM: 0px" cellSpacing=0 cellPadding=3 width="100%" border=0><TBODY><TR class=titlebg><TD style="PADDING-LEFT: 6px" vAlign=center width="15%">ผู้เขียน </TD><TD style="PADDING-LEFT: 6px" vAlign=center width="85%">หัวข้อ: หลวงปู่ทอง วัดราชโยธา (อ่าน 180 ครั้ง) </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE class=bordercolor cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD style="PADDING-RIGHT: 1px; PADDING-LEFT: 1px; PADDING-BOTTOM: 0px; PADDING-TOP: 1px"><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=3 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=windowbg><TABLE style="TABLE-LAYOUT: fixed" cellSpacing=0 cellPadding=5 width="100%"><TBODY><TR><TD style="OVERFLOW: hidden" vAlign=top width="16%" rowSpan=2>kkk สมาชิก.
    [​IMG][​IMG][​IMG][​IMG]
    [​IMG] ออฟไลน์

    เพศ: [​IMG]
    กระทู้: 47

    [​IMG]

    <!-- Comment start -->Level and Hp mod by the DtTvB :: version 1.02 :: Made for Zone-IT.com<!-- Comment end --> Level 5 : Exp 53%

    HP: 39.1%

    <!-- End Code! // http://www.zone-it.com/ -->


    </TD><TD vAlign=top width="85%" height="100%"><TABLE width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center>[​IMG]</TD><TD vAlign=center>หลวงปู่ทอง วัดราชโยธา « เมื่อ: ๑๒ ก.ค. ๕๐, ๒๑:๐๗:๒๗ »
    </TD><TD style="FONT-SIZE: smaller" vAlign=bottom noWrap align=right height=20></TD></TR></TBODY></TABLE><HR class=hrcolor width="100%" SIZE=1>หลวงปู่ทอง วัดราชโยธา ท่านเป็นยอดพระเกจิที่เก่งมากๆในสมัยก่อน โดยท่านเป็นศิษย์รุ่นน้องของสมเด็จพระพุฒาจารย์(โต พรหมรังสี) ซึ่งมีอาจารย์ร่วมสำนักเดียวกันคือ หลวงปู่แสง วัดมณีชลขันธ์ จ.ลพบุรี (ศิษย์ร่วมสำนักเดียวกันอีกท่าน คือ หลวงปู่แก้ว วัดเครือวัลย์)
    นอกจากนี้ สหายของหลวงปู่ทองที่ไปมาหาสู่กันเป็นประจำ เพื่อแลกเปลี่ยนวิชาความรู้และวิชาอาคมต่างๆก็มี หลวงพ่อเงิน วัดบางคลาน จ.พิจิตร, หลวงปู่ศุข วัดมะขามเฒ่า จ.ชัยนาท, หลวงปู่พริ้ง วัดบางปะกอก , หลวงปู่ภู วัดอินทร์, หลวงปู่เอี่ยม วัดหนัง, หลวงปู่แช่ม วัดท่าฉลอง จ.ภูเก็ต, ท่านเจ้ามา วัดสามปลื้ม,...
    ส่วนลูกศิษย์ของหลวงปู่ทองก็มี หลวงปู่เผือก วัดกิ่งแก้ว ซึ่งเป็นศิษย์ก้นกุฏิของท่าน เพราะท่านเป็นพระอุปัชฌาย์บวชให้เอง และตอนที่หลวงปู่เผือกสร้างพระ หลวงปู่ทองก็ยังมอบผงศักดิ์สิทธิ์ต่างๆ ซึ่งท่านแบ่งมาจากสมเด็จพุฒาจารย์(โต พรหมรังสี) ศิษย์พี่ของท่าน ให้หลวงปู่เผือกไปสร้างพระด้วย
    นอกจากนี้ ยังมีพระเกจิอาจารย์อีกหลายท่านที่มาขอเรียนวิชาเพิ่มเติมจากหลวงปู่ทอง เช่น
    หลวงปู่เหลือ วัดสาวชะโงก ฉะเชิงเทรา,
    หลวงพ่อจง วัดหน้าต่างนอก อยุธยา,
    หลวงปู่คง วัดบางกะพ้อม สมุทรสงคราม,
    หลวงปู่จาด วัดบางกะเบา ปราจีนบุรี,
    หลวงพ่อสด วัดปากน้ำ ภาษีเจริญ,
    หลวงพ่อคล้าย วัดสวนขันธ์ นครศรีธรรมราช,
    หลวงพ่อทองอยู่ วัดใหม่หนองพระองค์ สมุทรสาคร,
    หลวงพ่ออี๋ สัตหีบ,...
    ในสมัยก่อนหลวงปู่ทอง ท่านเป็นพระที่มีอาวุโสสูง และทรงไว้ซึ่งวิทยาคมแก่กล้า ดังนั้นไม่ว่าใครก็ล้วนมาขอเรียนวิชาต่างๆจากท่าน
    สำหรับพระเครื่องวัตถุมงคลต่างๆ หลวงปู่ทองก็สร้างไว้พอสมควร แต่ปัจจุบัน ไม่ค่อยได้เห็นกัน เพราะหายากมาก คนรุ่นนั้นต่างเก็บไว้ใช้กันหมด ที่เราพอจะได้เห็นกันบ้างก็คือ สมเด็จเขียวเหนียวจริง หรือพระสมเด็จกรุบึงพระยาสุเรนทร์ ซึ่งท่านสร้างและปลุกเสกให้ แม้แต่ตอนสงครามอินโดจีน พระยาพหลพลพยุหเสนา อดีตนายกรัฐมนตรี ก็ยังได้นิมนต์ท่านขึ้นเครื่องบิน ไปโปรยทรายเสก รอบวัดพระแก้ว และสนามหลวง รวมทั้งบริเวณใกล้เคียง เพื่อให้คุ้มครอง มิให้เป็นอันตรายจากระเบิดของข้าศึก และยังได้ขอร้องให้ท่านสร้างเสื้อยันต์เพื่อแจกทหารไปใช้ในสงคราม ซึ่งเสื้อยันต์นี้มีกิตติศัพท์เลื่องลือกันมาก ว่าแคล้วคลาดยิงไม่ถูกหรือโดนยิงแล้วไม่เป็นอะไร บางคนโดนยิงล้มลง ก็ยังลุกขึ้นมาสู้ใหม่ได้ จนได้รับฉายาว่า ทหารไทยเป็นทหารผี
    ซึ่งตอนนั้น เสื้อยันต์ที่ท่านสร้าง จะจารเขียนด้วยดินสอดำ ท่านเองทำให้ไม่ทัน จึงได้ขอให้พระอาจารย์อีก 5 ท่านมาร่วมสร้างด้วย คือ 1.หลวงปู่แช่ม วัดตาก้อง นครปฐม, 2.หลวงปู่คง วัดบางกะพ้อม, 3.หลวงพ่อจง วัดหน้าต่างนอก อยุธยา, 4.หลวงปู่จาด วัดบางกะเบา ปราจีนบุรี, 5.หลวงปู่เผือก วัดกิ่งแก้ว สมุทรปราการ
    หลวงปู่ทองท่านเป็นพระที่ความศักดิ์สิทธิ์เป็นอย่างยิ่ง ท่านมีอภิญญาปาฏิหาริย์มากมาย แม้แต่คนจะถ่ายรูปท่าน ก็ยังถ่ายไม่ติดเลยครับ ทำให้ปัจจุบัน จึงไม่ค่อยมีรูปท่านให้เห็นกัน จะมีที่เห็นก็เพียงรูปเดียวก็คือ รูปที่บรรดาลูกศิษย์ทั้งหลายร่วมกันไปอ้อนวอนขอถ่ายรูปท่าน ซึ่งเป็นรูปที่ท่านกำลังลงจากกุฏิไปฉันเพลเท่านั้น
    หลวงปู่ทองท่านมรณภาพ ปีพ.ศ. 2480 อายุรวม 117 ปี นับเป็นยอดพระเกจิอาจารย์ ที่หาได้ยากยิ่งในปัจจุบันครับ

    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  10. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    [​IMG]
    http://thananya.exteen.com/20050711/entry

    2005/07/11

    คติธรรมคำสอน ของ สมเด็จพระพุฒาจารย์ ( โต พรหมรังสี )



    <!--detail--><!--images--><!--images--><!--images--><!--images-->คติธรรมคำสอน ของ สมเด็จพระพุฒาจารย์ ( โต พรหมรังสี )

    เคล็ดลับสู่ความสำเร็จ
    ...ท่านเจ้าประคุณสมเด็จพระพุฒาจารย์ ( โต ) กล่าวว่า เคล็ดลับสู่ความสำเร็จสุดยอดในทางธรรม คือ จะต้องมีสัจจะอันแน่วแน่และมีขันติธรรมอันมั่นคง จึงจะฝ่าฟันอุปสรรค บรรลุความสำเร็จได้

    ...อาตมามีกฎอยู่ว่า เช้าตีห้าไม่ว่าฝนจะตก ฟ้าจะร้อง อากาศจะหนาว ต้องตื่นทันที ไม่มีการผัดเวลา แล้วเข้าสรงน้ำ ชำระกายให้สะอาด แล้วจึงได้สวดมนต์และปฏิบัติสมถกรรมฐานหนึ่งชั่วโมง พอหกโมงตรงก็ออกบิณฑบาต เพื่อปฏิบัติตามปฏิปทาขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า

    ...ฝึกจิตให้ได้ผลต้องตรงต่อเวลา กลับจากบิณฑบาตแล้ว ก็เอาอาหารตั้งไว้ ตักน้ำใส่ตุ่ม เสร็จแล้วฉันอาหารเช้า โดยปกติอาตมาฉันมื้อเดียวเว้นไว้มีกิจนิมนต์ จึงฉันสองมื้อ สี่โมงเช้าถึงเที่ยง ถ้ามีรายการไปเทศน์ ก็ไปเทศน์ตามที่นัดไว้ วันไหนไม่ติดเทศน์ก็จะปิดประตูกุฏิทันที ไม่ให้ใครๆเข้าไป ในช่วงเวลานั้นเป็นเวลาศึกษาตำรา เวลาบ่ายโมงจึงออกรับแขก บ่ายสามโมงไม่ว่าใครจะมาอาตมาจะให้ออกจากกุฏิไปหมด เพราะถึงเวลาปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐาน ฉะนั้น จุดสำคัญจงจำไว้ เราจะปฏิบัติเพื่อหลุดพ้น ต้องมีสัจจะเพื่อตน โดยไม่เห็นแก่หน้าใคร ถึงเวลาทำสมาธิต้องทำ ไม่มีการผัดผ่อนใดๆ ทั้งสิน

    หลักการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐาน
    1.จะต้องมีสัจจะต่อตนเอง
    2.จะต้องไม่คล้อยตามอารมณ์ของมนุษย์
    3.พยายามตัดงานในด้านสังคมออก และไม่นัดหมายใครในเวลาปฏิบัติกรรมฐาน

    ดังนั้นเมื่อจะเป็นนักปฏิบัติธรรมจำเป็นจะต้องมีกฎเกณฑ์ของเราเพื่อฝึกจิตให้เข้มแข็ง

    ทางแห่งความหลุดพ้น
    ...เจ้าประคุณสมเด็จฯ มักจะกล่าวกับสานุศิษย์ทั้งหลายอยู่เสมอว่าชีวิตมนุษย์อยู่ได้ไม่ถึงหนึ่งร้อยปีก็ต้องตายและถูกหามเข้าป่าช้า ดังนั้นจึงควรประพฤติปฏิบัติอยู่ใน ศีล สมาธิ และปัญญา เพื่อให้หลุดพ้นจากสังสารวัฏท่านเปรียบเทียบว่า มนุษย์อาบน้ำ ชำระกายวันละสองครั้งเพื่อกำจัดเหงื่อไคลสิ่งโสโครกที่เกาะร่างกาย แต่ไม่เคยคิดจะชำระจิตให้สะอาดแม้เพียงนาที ด้วยเหตุนี้ ทำให้จิตใจของมนุษย์ ยุคปัจจุบันเศร้าหมองเคร่งเครียดและดุดัน ก่อให้เกิดปัญหาความพิการในสังคมความแก่งแย่งชิงดีชิงเด่นกัน จนกระทั่งเกิดความขัดแย้ง และกลายเป็นสงครามมนุษย์ฆ่ามนุษย์ด้วยกัน

    แต่งใจ
    ...ขอให้ท่านได้พิจารณาไตร่ตรองให้จงดีเถิดว่า ร่างกายของเรานี้ไฉนจึงต้องชำระทุกวันทั้งเช้าและเย็นจะขาดเสียไม่ได้ทั้งที่หมั่นทำความสะอาดอยู่เป็นนิจ แต่ยังมีกลิ่นไม่น่าอภิรมย์ออกมา แม้จะพยายามหาของหอมมาทาทับ ก็ปกปิดกลิ่นนั้นไม่ได้ ...ใจของเราล่ะ ซึ่งเป็นใหญ่กว่าร่างกายเป็นผู้สั่งบัญชางาน ให้กายแท้ๆ มีใครเอาใจใส่ชำระสิ่งสกปรกออกบ้าง ตั้งแต่เล็กจนเติบโตเป็นผู้ใหญ่ มันสั่งสมสิ่งไม่ดีไว้มากเพียงใด หรือว่ามองไม่เห็นจึงไม่มีความจำเป็นที่จะต้อง ทำความสะอาดหรือ?

    กรรมลิขิต
    ...เราทั้งหลายเกิดมาเป็นมนุษย์ชาติแล้ว ล้วนแต่มีกรรมผูกพันกันมาทั้งสิ้น ผูกพันในความเป็นมิตรบ้างเป็นศัตรูบ้าง แต่ละชีวิตก็ย่อมที่จะเดินไปตามกรรมวิบากของตนที่ได้กระทำไว้ ทุกชีวิตล้วนมีกรรมเป็นเครื่องลิขิต

    อดีตกรรม ถ้ากรรมดี เสวยอยู่
    ปัจจุบันกรรม สร้างกรรมชั่ว ย่อมลบล้าง
    อดีตกรรม กรรมแห่งอกุศล วิบากตน
    ปัจจุบัน สร้างกรรมดี ย่อมผดุง

    เรื่องกฎแห่งกรรม ถ้าเป็นชาวพุทธแล้ว เขาถือว่าเป็นกฎแห่งปัจจังตัง ผู้ที่ต้องการรู้ ต้องทำเอง รู้เอง ถึงเอง แล้วจึงจะเข้าใจ

    นักบุญ
    ...การทำบุญก็ดี การทำสิ่งใดก็ดี ถ้าเป็นการทำตนให้ละทิฏฐิมานะทำเพื่อให้จิตเบิกบาน ย่อมเสวยบุญนั้นในปรภพ มนุษย์ทุกวันนี้ทำแบบมีกิเลส ดังนั้น บางคนนึกว่าเข้าสร้างโบสถ์เป็นหลังๆ แล้วเขาจะไปสวรรค์หรือเปล่า เขาตายไปอาจจะต้องตกนรก เพราะอะไรเล่า เพราะถ้าเขาสร้างด้วยเจตนาไม่บริสุทธิ์ เป็นการทำเพื่อเอาบุญบังหน้าในการเสวยความสุขส่วนตัวก็มี บางคนอาจเรียกได้ว่าหน้าเนื้อใจเสือ คือข้างหน้าเป็นนักบุญ ข้างหลังเป็นนักปล้น

    ละความตระหนี่มีสุข
    ...ดังนั้นบุญที่เขาทำนี้ถือว่า ไม่เป็นสุข หากมาจากการก่อกรรม บุญนั้นจึงมีกระแสคลื่นน้อยกว่าบาปที่เขาทำเอาไว้หากมีใครเข้าใจคำว่า บุญ นี้ดีแล้ว การทำบุญนี้จุดแรกในการทำก็เพื่อไม่ให้เรานี้เป็นคนตระหนี่ รู้จักเสียสละเพื่อความสุขของผู้อื่น ธรรมดาเพื่อนมนุษย์ด้วยกัน เมื่อมีทุกข์ก็ควรจะทุกข์ด้วย เมื่อมีความสุขก็ควรสุขด้วยกัน

    อย่าเอาเปรียบเทวดา
    ...ในการทำบุญ สิ่งที่จะได้ก็คือ ระหว่างเราผู้เป็นมนุษย์เรารู้ว่าสิ่งที่เราทำนี้จะเป็นมงคล ทำให้จิตใจเบิกบานดีนี่คือการเสวยผลแห่งบุญในปัจจุบัน ทีนี้การทำบุญเพื่อจะเอาผลตอบแทนนั้น มนุษย์นี้ออกจะเอาเปรียบเทวดา ทำบุญครั้งใด ก็ปรารถนาเอาวิมานหนึ่งหลังสองหลัง การทำบุญแบบนี้เรียกว่า ทำเพราะหวังผลตอบแทนด้วยความโลภ บุญนั้นก็ย่อมจะไม่มีผล ท่านอย่าลืมว่า ในโลกวิญญาณเขามีกระแสทิพย์รับทราบในการทำของมนุษย์แต่ละคนเขามีห้องเก็บบุญและบาปแห่งหนึ่งอันเป็นที่เก็บบุญและบาปของใครต่อใครและของเรื่องราวนั้นๆ กรรมของใครก็จะติดตามความเคลื่อนไหวของตนๆนั้น ไปตลอดระหว่างที่เขายังไม่สิ้นอายุขัย

    บุญบริสุทธิ์
    ...การที่สอนให้ทำบุญโดยไม่ปรารถนานั้นก็เพื่อให้กระแสบุญนั้นบริสุทธิเป็นขั้นที่นึ่ง จะได้ตามให้ผลทันในปัจจุบันชาติ แต่ถ้าตามไม่ทันในปัจจุบันชาติ ก็ติดตามไปให้เสวยผลในปรภพ คือ เมื่อสิ้นอายุขัยจากโลกมนุษย์ไปแล้ว ฉะนั้น เขาจึงสอนไม่ให้ทำบุญเอาหน้า ทำบุญอย่าหวังผลตอบแทน สิ่งดีที่ท่านทำไปย่อมได้รับสนองดีแน่นอน

    สั่งสมบารมี
    ...โดยเฉพาะอย่างยิ่ง สำหรับนักปฏิบัติธรรมแล้ว การทำบุญทำทานย่อมเป็นการส่งเสริมการปฏิบัติจิตให้บรรลุธรรมได้เร็วขึ้นเป็นบารมีอย่างหนึ่ง ในบารมีสิบทัศที่ต้องสั่งสม เพื่อให้สำเร็จมรรคผลนิพพาน

    เมตตาบารมี
    ...การทำบุญให้ทานเพียงแต่เรียกว่า ทานบารมี หากบำเพ็ญสมาธิจิตจนได้ญาณบารมี และโดยเฉพาะการบำเพ็ญทุกอย่างนั้น ถ้าท่านให้โดยไม่มีเจตนาแห่งการให้ ให้สักแต่ว่าให้เขาท่านก็ย่อมได้กุศลเรียกว่าไม่มากและทัศนคติของอาตมาว่าการบำเพ็ญเมตตาบารมีในภาวนาบารมีนั้นได้กุศลกรรมกว่าการให้ทาน

    แผ่เมตตาจิต
    ...ทุกสิ่งทุกอย่างที่จะสัมฤทธิ์ผลนั้น เกิดจากกรรม 3 อย่าง คือ มโนกรรม เป็นใหญ่ แล้วค่อยแสดงออกมาทางวจีกรรม หรือกายกรรมที่เป็นรูป การบำเพ็ญสมาธิจิตเป็นกุศลดีกว่า เพราะว่า การแผ่เมตตา 1 ครั้ง ได้กุศลมากกว่าสร้างโบสถ์ 1 หลัง ขณะจิตที่แผ่เมตตานั้น จะเกิดอารมณ์แจ่มใส สรรพสัตว์ไม่มีโทษภัย ตัวท่านก็ไม่มีโทษภัย ฉะนั้น เขาจึงว่านามธรรมมีความสำคัญกว่า

    อานิสงส์การแผ่เมตตา
    ...ผู้ปฏิบัติธรรมนั้น ต้องรู้จักคำว่า แผ่เมตตา คือต้องเข้าใจว่า ความวิเวกวังเวงแห่งการคิดนึกของเราแต่ละบุคคลนั้น มีกระแสแห่งธาตุไฟผสมอยู่ในจิตและวิญญาณกระจายออกไปเมื่อจิตของเรามีเจตนาบริสุทธิ์ เมื่อจิตของเราเป็นมิตรกับทุกคน เมื่อนั้นเขาก็ย่อมเป็นมิตรกับเรา เสมือนหนึ่งเราให้เขากินอาหาร คนที่กินอาหารนั้นย่อมคิดถึงคุณของเรา หรืออีกนัยหนึ่งว่าเราผูกมิตรกับเขาๆก็ย่อมเป็นมิตรกับเรา แม้แต่คนอันธพาล เราแผ่เมตตาจิตให้ทุกๆวัน สักวันหนึ่งเขาก็ต้องเป็นมิตรกับเราจนได้ เมื่อจิตเรามีเจตนาดีต่อดวงวิญญาณทุกๆดวง ดวงวิญญาณทุกๆดวงย่อมรู้กระแสแห่งจิตของเรา เรียกว่ามนุษย์เรานี้มีกระแสธาตุไฟออกจากสังขาร เพราะเป็นพลังแห่งการนั่งสมาธิจิต วิญญาณจะสงบ ธาตุทั้ง 4 นั้น จะเสมอแล้วจะเปล่งเป็นพลังงานออกไป ฉะนั้น ผู้ที่นั่งสมาธิปฏิบัติอย่างสม่ำเสมอ จิตแน่วแน่แล้ว โรคที่เป็นอยู่มันจะหายไป ถ้าสังขารนั้นไม่ใช่จะพังเต็มทีแล้ว คือไม่ถึงวาระสิ้นอายุขัย หรือว่าสังขารนั้นร่วงโรยเกินไปแล้ว ก็จะรักษาให้มันกระชุ่มกระชวยได้หรือจะให้มันสบายหายเป็นปกติดั่งเดิมได้

    ประโยชน์จากการฝึกจิต
    ...ผู้ที่ปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐาน จนมีสมาธิแน่วแน่ เมื่อจิตนิ่งก็รู้ตน เริ่มพิจารณาตน รู้ตนเองได้ ปัญญาก็เกิดขึ้น ปัญญานี้เรียกว่า ปัญญาภายในจากจิตวิญญาณ ซึ่งเราจะใช้ปัญญานี้ได้แน่นอน เมื่อเกิดมีปัญหาขึ้นในชีวิตตลอดระยะเวลาอันยาวนานข้างหน้า นี่คือประโยชน์ของการฝึกจิตแล้ว คุณของสมาธิยังเป็นพลังป้องกันไม่ให้เกิดโรคภัย เจ็บป่วยได้ กล่าวคือ การบำเพ็ญจิต จนจิตสงบนิ่งแล้ว ระบบต่างๆทางประสาทจะได้รับการพักผ่อน เป็นการปรับธาตุในกายให้เกิดพลังจิตเข้มแข็ง กายเนื้อก็จะแข็งแรงกระชุ่มกระชวยด้วย โลหิตในร่างกายจะหมุนเวียนสะดวกขึ้น ความตึงเครียดตามร่างกายและประสาทต่างๆ จะผ่อนคลายเป็นปกติ โรคต่างๆจะลดน้อยลงโดยเฉพาะผู้ที่ป่วยเป็นโรคความดันโลหิตสูง หายป่วยได้ด้วยการฝึกจิตและเดินจงกรม


    คัดลอกจากหนังสือ เรียน ธรรมะบูชาพระสุปฏิปันโน เล่มของ สมเด็จพระพุฒาจารย์ โตพรหมรังสี
    posted by thananya, at 2005-07-11 14:27:03 0

    <SCRIPT src="http://www.google-analytics.com/urchin.js" type=text/javascript></SCRIPT><SCRIPT type=text/javascript>_uacct = "UA-569226-1";urchinTracker();</SCRIPT><!-- process time: 0.090829849243164 -->
     
  11. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    http://www.yehyeh.com/webboard/question_detail.php?question_id=9097


    <TABLE borderColor=#9999ff cellSpacing=0 cellPadding=5 width="100%" align=center border=1><TBODY><TR><TD vAlign=top bgColor=#fbfbff height=100>อานิสงส์การสวดมนต์ โดยสมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต) พรหมรังสี

    [​IMG]


    ดังปรากฏในงานของท่านเจ้าพระยาสรรเพชรภักดี จางวางมหาดเล็กในรัชกาลที่ 4 ที่ได้นิมนต์เจ้าประคุณสมเด็จโตมาเทศน์ที่บ้าน
    ครั้นพลบค่ำ ท่านเจ้าประคุณสมเด็จโตพร้อมลูกศิษย์ได้เดินทางจากวัดระฆังมายังบ้านของท่านเจ้าพระยาสรรเพชรภักดี ซึ่งในขณะนั้นมีอุบาสก อุบาสิกา นั่งพับเพียบเรียบร้อยกันเป็นจำนวนมาก ด้วยต้องการสดับรับฟังการเทศน์ของท่านเจ้าประคุณ ณ ที่เรือนของท่านเจ้าพระยา

    เจ้าประคุณสมเด็จโต ได้ขึ้นนั่งบนธรรมาสน์เป็นที่เรียบร้อยแล้ว จึงกล่าวบูชาพระรัตนตรัย เมื่อจบแล้ว ท่านจึงเทศน์
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • 236544337.jpg
      236544337.jpg
      ขนาดไฟล์:
      28.8 KB
      เปิดดู:
      6,464
  12. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    http://www.bloggang.com/viewblog.php?id=pn2474&date=14-09-2007&group=4&gblog=11

    สมเด็จโต (ตอนต้น) เรื่องเล่าจากอดีต
    <!-- Main -->[SIZE=-1]เรื่องเล่าจากอดีต[/SIZE]

    [SIZE=-1]สมเด็จโต (๑)[/SIZE]

    [SIZE=-1]พ.สมานคุรุกรรม[/SIZE]

    [SIZE=-1]ในบรรดาพระภิกษุสงฆ์ที่มีชื่อเสียงสมัยกรุงรัตนโกสินทร์นั้น ท่านที่มีชื่อเสียงโด่งดังเป็นที่เคารพบูชาอย่างยิ่งของมหาชนทั่วไป คงไม่มีท่านผู้ใดเกิน สมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต) พฺรหฺมรังษี เป็นแน่ ซึ่งในปัจจุบันพระเครื่องสมเด็จ ก็เป็นที่นับถือของนักนิยมพระเป็นอย่างสูง และคาถาชินบัญชร ของท่านก็มีผู้นิยมสวดกันแทบทุกบ้านเรือน[/SIZE]

    [SIZE=-1]ส่วนประวัติของท่านนั้นมีอยู่หลายสำนวน ซึ่งก็แตกต่างคลาดเคลื่อนกันไป มากบ้างน้อยบ้าง ทั้งวันเดือนปีเกิดบางแห่งก็ว่า วันพุธเดือน ๖ ปีวอก อีกแห่งหนึ่งว่า วันขึ้น ๑๒ ค่ำ เดือน ๕ ปีวอก มารดาชื่อ นางงุด บ้าง นางเกตุ บ้าง ถิ่นที่อยู่อาศัยของมารดาเดิมอยู่เมืองกำแพงเพชร ต่อมาย้ายมาอยู่ เมืองพิจิตร อีกเล่มหนึ่งว่าอยู่ ตำบลท่าอิฐ อำเภอบ้านโพธิ์ จังหวัดอุตรดิตถ์ เมื่อบรรพชาเป็นสามเณรที่ วัดใหญ่ เมืองพิจิตร บ้าง วัดระฆัง บ้าง และอุปสมบทที่วัดตะไกร เมืองพิษณุโลก บ้าง วัดพระศรีรัตนศาสดาราม บ้าง ตลอดจนรายละเอียดต่าง ๆ ที่เป็นตำนานเล่าสืบต่อ ๆ กันมา แม้แต่วันมรณภาพ ซึ่งบ้างก็ว่าเป็นเดือนห้า ปีวอก บางรายก็ว่า เป็นวันเสาร์ แรม ๒ ค่ำ เดือน ๘ ปีวอก แต่ตรงกันที่ จุลศักราช ๑๒๓๔ เป็นปีที่ ๕ ในรัชกาลที่ ๕ แห่งบรมราชวงศ์จักรี ตรงกับวันที่ ๒๒ มิถุนายน ๒๔๑๕ อายุ ๘๔ ปี ซึ่งวันทาง สุริยคตินั้นเป็นที่รับรองกันอยู่ในปัจจุบัน เพราะมีการสร้างพระสมเด็จร้อยปีวัดระฆัง เมื่อ ๒๒ มิถุนายน ๒๕๑๕ ซึ่งถือว่าเป็นวันครบ ๑๐๐ ปีแห่งการมรณภาพของท่าน[/SIZE]

    [SIZE=-1]ดังนั้นเมื่อนับย้อนหลังไปถึงวันเกิดของท่าน ก็ควรจะเป็น พ.ศ.๒๓๓๑ หรือ จ.ศ.๑๑๕๐ เป็นปีที่ ๗ ในรัชกาลที่ ๑ แต่กลับไม่ตรงกับประวัติของท่าน ที่ว่าเกิดในรัชสมัยของพระเจ้ากรุงธนบุรี เพราะฉะนั้นถ้าพิจารณาอีกครั้ง ที่ว่าท่านมรณภาพเมื่อ อายุ ๘๔ ปี ก็น่าจะไม่ถูกต้องเหมือนกัน เพราะเมื่อเทียบระยะเวลาตั้งแต่เริ่มรัชกาลที่ ๑ จนถึงปีที่ ๕ ของรัชกาลที่ ๕ ก็เป็นเวลา ๙๑ ปีแล้วและไม่ทราบว่าจะมีท่านผู้ใดได้ชำระประวัติของท่านให้ถูกต้องสมบูรณ์แล้วหรือยัง[/SIZE]

    [SIZE=-1]ประวัติโดยสังเขปของท่านก็คือ เมื่ออายุได้ ๗ ปี เริ่มเรียนหนังสือ[/SIZE]
    [SIZE=-1]อายุ ๑๓ ปี บรรพาชาเป็นสามเณร[/SIZE]
    [SIZE=-1]อายุ ๑๘ ปี สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้ากรมหลวงอิศรสุนทร ในรัชกาลที่ ๑ รับสามเณรโต ไว้อุปถัมภ์บำรุง และส่งไปพำนักอยู่กับสมเด็จพระสังฆราช (มี) วัดมหานิพพานนาราม หรือวัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษดิ์ ในปัจจุบัน[/SIZE]
    [SIZE=-1]อายุ ๒๑ ปี อุปสมบทเป็นพระภิกษุ และจำพรรษาอยู่ที่วัดมหานิพพานนาราม ตามเดิมจนเปลี่ยนเป็นรัชกาลที่ ๒ [/SIZE]
    [SIZE=-1]อายุ ๔๙ ปี เปลี่ยนเป็นรัชกาลที่ ๓ [/SIZE]
    [SIZE=-1]อายุ ๕๔ ปี มารดาถึงแก่กรรม[/SIZE]
    [SIZE=-1]อายุ ๖๕ ปี เป็นพระราชาคณะที่ พระธรรมกิติ เจ้าอาวาสวัดระฆังโฆสิตาราม ใน รัชกาลที่ ๔[/SIZE]
    [SIZE=-1]อายุ ๖๗ ปี เป็นที่ พระเทพกวี [/SIZE]
    [SIZE=-1]อายุ ๗๘ ปี เป็นที่ สมเด็จพระพุฒาจารย์ [/SIZE]
    [SIZE=-1]สมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต) ถึงมรณภาพที่ศาลาใหญ่ วัดบางขุนพรหมใน ขณะที่ไปดูการก่อสร้างหลวงพ่อโต วัดนี้ได้รับขนานนามว่า วัดอินทรวิหาร เมื่อ พ.ศ.๒๔๗๐[/SIZE]

    [SIZE=-1]จากบันทึกของ มหาอำมาตย์ตรี พระยาทิพโกษา (สอน โลหะนันท์) ในหนังสืออนุสรณ์ งานพระราชทานเพลิงศพ อาจารย์ เทพ สาริกบุตร เมื่อ ๙ มกราคม ๒๕๓๗ มีความนำและ เนื้อเรื่องเป็นทำนองร่าย ดังจะได้ยกมาบางตอน เช่น[/SIZE]

    [SIZE=-1]เพราะเจ้าประคุณองค์นี้เป็นที่ฦๅชาปรากฏ เกียรติศัพท์เกียรติคุณเกียรติยศ ขจรขจายไปหลายทิศหลายแคว มหาชนพากันสรรเสริญออกเซ็งแซ่กึกก้องซ้องสาธุการ บ้างก็บ่นร่ำรำพรรณประสาขาน ประกาศรุ่นกล่าวถึงบุญคุณสมบัติจริยสมบัติของท่าน เป็นนิตยกาลนานมา ทุกทิวาราตรีมิรู้มีความจืดจาง [/SIZE]

    [SIZE=-1]ดังนั้น จึงมีชาวบ้านไปหา นายพร้อม สุดดีพงศ์ บ้านอยู่ตลาดไชโย เมืองอ่างทองให้เดินทางลงมากรุงเทพ ฯ เข้าไปหา พระมหาสว่าง ( ม.ล.สว่าง เสนีย์วงศ์ ณ อยุธยา ) ที่วัดสระเกษ เพื่อขอให้เล่าเนื้อความตามที่อยากรู้ พระมหาสว่างจึงพาคนเหล่านั้นข้ามฟากไปวัดระฆัง ขึ้นยังกุฏิ เจ้าคุณพระธรรมถาวร (ช้าง) อายุ ๘๘ ปี ซึ่งเป็นศิษย์ผู้ใกล้ชิดกับ สมเด็จพระพุทธาจารย์ (โต) วัดระฆัง ตั้งแต่ยังเป็นเด็กเล็ก ๆ ชั้นเหลน [/SIZE]

    [SIZE=-1]เจ้าคุณพระธรรมถาวร ก็เล่าถึงความหลังให้ฟังหลายสิบเรื่อง ล้วนแต่เป็นเรื่องน่าควรคิดพิศวงมาก ลงท้ายท่านจึงบอกว่า อันญาติวงศ์พงษ์พันธุ์และภูมิสถานบ้านเดิมนั้น เจ้าของท่านได้ให้ช่างเขียนไว้ที่ฝาผนังโบสถ์วัดอินทรวิหาร บางขุนพรหม พระนคร พระมหาสว่างกับนายพร้อม จึงนมัสการลาท่านเจ้าคุณ ข้ามฟากกลับมาหา ท่านพระครูสังฆรักษ์ เจ้าอธิการวัดอินทรวิหาร บางขุนพรหม แล้วขออนุญาตดูภาพเรื่องราวของสมเด็จพระพุทฒาจารย์ (โต) ซึ่งท่านพระครูสังฆรักษ์ ก็เต็มใจจึงนำพาลงไปในโบสถ์พร้อมกัน แล้วเปิดหน้าต่างประตูให้ดูได้ตามปรารถนา[/SIZE]

    [SIZE=-1]เราจะได้ตามไปดูภาพเขียนเหล่านั้น ว่ามีเรื่องราวเป็นอย่างไร[/SIZE]

    [SIZE=-1].......................(๒)..........................[/SIZE]

    [SIZE=-1]ภาพเขียนที่ผนังโบสถ์วัดอินทรวิหารเหล่านั้น เริ่มด้วย เมืองกำแพงเพชรเป็นเมืองว่างว่างไม่มีคน มีแต่ขุนนางขี่ม้าออก เขียนวัดบางลำภูบนติดกับเมืองกำแพงเพชร เขียนบางขุนพรหม เขียนรูปเด็กอ่อนนอนหงายแบเบาะอยู่มุมโบสถ์วัดบางลำภู เขียนรูปนางงุดกกลูก เขียนรูปตาผล เขียนรูปอาจารย์แก้วกำลังกวาดลานวัด เขียนรูปนายทองนางเพียรนั่งยองยองยกมือทั้งสองไหว้พระอาจารย์แก้ว เขียนรูปพระอาจารย์แก้วกำลังพูดกับตาผลบนกุฏิ เขียนรูปเรือเหนือจอดที่ท่าบางขุนพรหม[/SIZE]

    [SIZE=-1]เขียนรูปเมืองพิจิตร เจ้าเมืองพิจิตรกำลังมีงาน เขียนรูปวัดใหญ่ในเมืองพิจิตร รูปท่านพระครูใหญ่ เขียนรูปสามเณรโตเรียนหนังสือ สามเณรโตทดลองวิชาที่เรียนจากท่านพระครูใหญ่วัดใหญ่ เขียนบ้านเรือนตาผล ยายลา นางงุด[/SIZE]

    [SIZE=-1]เขียนท่าวัดเมืองไชยนาทบุรี จรเข้ขึ้นทางหัวเรือ เขียนคนหัวเรือนอนหลับ เขียนคนที่สองตกใจตื่นลุกขึ้นยงโย่ฉุดคนหัวเรือให้ถอยเข้ามาเพื่อพ้นปากจรเข้ เขียนคนแจวคนที่สามนั่งไขว่ห้างหัวเราะ เขียนคนบนบ้านสามแม่ลูกยายเหนี่ยวรั้งกันขึ้นบ้านเรือน กระเตงกระต่องกระแต่งเพื่อหนีจรเข้ เขียนตาผลนายเรือออกมายืนตัวแข็งอยู่ที่อุเรือ เขียนรูปสามเณรโตเรียนคัมภีร์กับท่านพระครูจังหวัด วัดเมืองไชยนาทบุรี[/SIZE]

    [SIZE=-1]เขียนรูปสมเด็จพระวันรัต เขียนรูปอาจารย์แก้ว เขียนรูปวัดตะไกร เขียนบ้านเจ้าเมือง เขียนคนมาช่วยงานทั้งทางน้ำทางบก เขียนพวกขบวนแห่นาค เขียนรูปท่านนิวัติออกเป็นเจ้านาค เขียนพวกเต้นรำทำท่าต่าง ๆ เขียนคนพายเรือน้ำเป็นคลื่น[/SIZE]

    [SIZE=-1]เขียนรูปพระสังฆราช(มี) เขียนรูปท่านเข้าไปไหว้ลา เขียนรูปวัดระฆัง เขียนรูป พระบรมมหาราชวัง รูปฉันในบ้านตระกูลต่าง ๆ รูปพระสังฆราชนาค[/SIZE]

    [SIZE=-1]เขียนรูปบ้านพระยาโหรา รูปเสมียนตราด้วง รูปสมเด็จพระสังฆราช(นาค) รูปพระเทพกวี(โต) รูปวัดอินทรวิหาร รูปวัดกัลยาณมิตร รูปเด็กแบกคัมภีร์ในงานฉลองวัดทั้งสอง และรูปป่าพระพุทธบาท รูปป่าพระฉาย รูปพระอาจารย์เสม รูปพระอาจารย์รุกขมูล รูปเมืองเขมร รูปสู้เสือที่ทางไปเมืองเขมร รูปเจ้าเขมร ฯลฯ[/SIZE]

    [SIZE=-1]พระมหาสว่างจึงให้นายพร้อมจดจำภาพเหล่านั้นไว้ แล้วท่านจะช่วยแปลความหมาย โดยอาศัยพงศาวดารเทียบนิยายนิทานต่าง ๆ ตามที่ผู้เฒ่าผู้แก่บอกเล่าสืบกันมา แล้วนำมาเรียบเรียงเป็นเรื่องราว ประวัติของท่านเจ้าประคุณ สมเด็จพระพุทธาจารย์ (โต) ตั้งแต่วันที่ ๑๕ กรกฎาคม พ.ศ.๒๔๗๓ เป็นต้นมา[/SIZE]

    [SIZE=-1]ส่วนพระยาทิพโกษา (สอน โลหะนันท์) นั้น ท่านเล่าว่าเมื่อสมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต) มรณภาพนั้น ท่านมีอายุประมาณเจ็ดขวบ ขณะที่ท่านเรียบเรียงประวัตินี้เป็นเวลาหลังจากสมเด็จได้มรณภาพไปแล้ว ๖๑ ปี ท่านจึงมีอายุประมาณ ๖๘ ปี ท่านได้สรุปท้ายเรื่องไว้ว่า[/SIZE]

    [SIZE=-1]ข้าพเจ้าผู้เรียบเรียงเรื่องราวของ สมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต) นี้ ได้ทรงจำและเสาะสางสืบค้นฉบับตำรับกะรุ่งกะริ่ง และได้อาศัยพึ่งพิงท่านผู้หลักผู้ใหญ่ผู้สูงอายุ เล่ากล่าวสืบ ๆ มา จนติดอยู่ในสมองของข้าพเจ้า และได้ถือเอาคำของเจ้าคุณพระธรรมถาวร (ช้าง) ผู้มีอายุยาว ๘๘ ปีบ้าง อนุมัติดัดแปลงบ้าง ประมาณบ้าง สันนิษฐานบ้าง วิจารณ์บ้าง เทียบศักราชในพงศาวดารบ้าง บรมราชประวัติแห่งรัชสมัยบ้าง พอให้สมเหตุผล ให้เป็นต้นเป็นปลาย พิจารณาในรูปภาพที่ฝาผนังโบสถ์วัดอินทรวิหารบ้าง เห็นว่าสมเหตุสมผลแล้วจึงเขียนลง แต่คงไม่คลาดจากความจริง ถ้าว่าไม่ได้ยินกับหู ไม่ได้รู้กับตา มากล่าวเล่าสู่กันฟัง คล้ายกับเล่านิทาน เหมือนเล่าเรื่องศรีธนนชัย เรื่องไกรทอง เรื่อง ขุนช้างขุนแผน เรื่องอะไรทั้งหมดที่เรียกว่านิทานแล้ว ธรรมดาต้องมีต่อ มีเติม มีตัด ไม่ให้ขัดลิ้นขัดหูแต่ไม่ผิดหลักแห่งความจริง เพราะสิ่งที่จริงมีปรากฏ เป็นพยานของคำนั้น[/SIZE]

    [SIZE=-1]ถ้าจะถือว่าหนังสือแต่งใหม่ก็ดีเหมือนกัน ถ้าท่านเห็นถ่องแท้ว่าผิดพลาด โปรดฆ่ากาแต้มแต่งตัดเติมได้ ให้ถูกต้องเป็นดี[/SIZE]

    [SIZE=-1]ต่อมา นายเทพย์ สาริกบุตร ได้จัดพิมพ์ขึ้นโดยไม่ทราบปีที่พิมพ์ ท่านได้ลงท้ายไว้ว่า บันทึกประวัติของเจ้าพระคุณ สมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต) ฉบับของมหาอำมาตย์ตรี พระยาทิพโกษา ซึ่งเป็นฉบับที่รวบรวมโดย ม.ล.พระมหาสว่าง เสนีย์วงศ์ ณ อยุธยา ได้รวบรวมขึ้นเมื่อปี พ.ศ.๒๔๗๓ ตามคำโคลงท้ายนี้[/SIZE]

    [SIZE=-1]ประวัติคัดข้อย่อ คำขาน[/SIZE]
    [SIZE=-1]สมเด็จพระพุฒาจารย์ เจอดไว้[/SIZE]
    [SIZE=-1]โต นามชื่อเดิมจาน จารึก เรื่องมี[/SIZE]
    [SIZE=-1]เชิญอ่านเชิญฟังได้ ถ่องแท้แปลความ ฯ[/SIZE]

    [SIZE=-1]ลงมือที่สิบห้า กรกฏ[/SIZE]
    [SIZE=-1]วันที่สามกันย์หมด แต่งแก้[/SIZE]
    [SIZE=-1]พ.ศ.ล่วงกำหนด สองสี่เจ็ดตรี[/SIZE]
    [SIZE=-1]เดือนหนึ่งมีเศษแท้ สิบเก้าวันตรง ฯ[/SIZE]

    [SIZE=-1]ได้จัดพิมพ์ขึ้นตามข้อความเดิมในต้นฉบับทุกประการ โดยมิได้แก้ไขในเรื่องศักราชวันเดือนปี เลย[/SIZE]

    [SIZE=-1]และหนังสือฉบับนี้เอง ที่ทายาทได้นำมาพิมพ์เป็นอนุสรณ์ ในงานพระราชทานเพลิงศพของท่าน ตามที่ได้กล่าวข้างต้น หากท่านผู้อ่านต้องการทราบความโดยละเอียดพิศดาร ซึ่งมีความยาวถึง ๑๐๓ หน้าแล้ว กรุณาไปค้นหาอ่านได้ที่ หอสมุดแห่งชาติ ท่าวาสุกรี ถนนสามเสน กรุงเทพมหานคร ห้อง ๒๑๔ ในวันเวลาราชการ แต่ถ้าท่านไม่มีเวลาว่าง ก็น่าจะต้องรออ่านเรื่องราวบางส่วนในตอนหน้า[/SIZE]


    [SIZE=-1].............. (๓)....................[/SIZE]


    [SIZE=-1]ประวัติของ สมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต) วัดระฆังโฆสิตาราม จากหนังสืออนุสรณ์ งานพระราชทานเพลิงศพ อาจารย์เทพ สาริกบุตร เมื่อ ๙ มกราคม ๒๕๓๗ โดย มหาอำมาตย์ตรี พระยาทิพโกษา มีความว่า[/SIZE]

    [SIZE=-1]นางงุดมารดา และนายผลผู้เป็นตา นางลาผู้เป็นยาย เป็นชาวกำแพงเพชร ในรัชสมัยพระเจ้ากรุงธนบุรี ได้พากันลงเรือบรรทุกสินค้าทางเหนือมาขายที่บางขุนพรหม โดยอาศัยจอดเรืออยู่ที่ท่าน้ำหน้าบ้านนายทองนางเพียน ซึ่งเป็นชาวเหนือด้วยกัน ขายของหมดแล้วก็ซื้อของทางใต้กลับไปขายเมืองเหนือ ตั้งแต่นครสวรรค์ขึ้นไปจนถึงกำแพงเพชร เมื่อมีเงินทองพอสมควรจึงปลูกบ้านเป็นเรือนแพสองหลัง แลซื้อที่ดินเหนือบ้านนายทองขึ้นไปสักสี่วาเศษ ปลูกโรงขึ้นเพื่อเป็นที่พักและเก็บสิ่งของที่เป็นสินค้า จะได้ขนไปค้าขายโดยสะดวก [/SIZE]

    [SIZE=-1]ขณะนั้นนางงุดได้มีครรภ์อยู่ เมื่อครบกำหนดคลอด ท่านได้บรรยายไว้ว่า[/SIZE]

    [SIZE=-1]นางงุดปั่นป่วนครรภ์เป็นสำคัญ รู้กันว่าจะคลอดบุตร จึงจัดแจงห้องนางงุดให้เป็นที่คลอดบุตรโดยฉับไว บนเรือนที่ปลูกใหม่บางขุนพรหมนั้น ครั้นได้ฤกษ์งามยามดี นางงุดก็คลอดบุตรเป็นชายพีลำสัน หมู่ญาติมิตรก็ได้มาพร้อมกัน ช่วยอภิบาลบำรุงรักษาพยาบาล ฯ[/SIZE]

    [SIZE=-1]วาระนั้นเป็นปลายรัชสมัยพระเจ้ากรุงธนบุรี มารดาก็ตั้งชื่อทารกว่าหนูโต มีรูปลักษณะพิเศษคือ กระดูกแขนเป็นท่อนเดียว และมีปานดำอยู่กลางหลัง จึงมีคนทักทายไปต่าง ๆ นา ๆ นางงุดมารดาจึงพาเด็กชายโตไปถวายเป็นบุตรท่านอาจารย์แก้ว วัดบางลำภูบน ท่านก็ยินดีรับไว้แต่ให้นางงุดมารดาเลี้ยงดูต่อไป จนอายุเด็กเจริญขึ้นได้สามเดือนจึงทำการโกนผมไฟ แล้วไว้จุกตามธรรมเนียมโบราณ การค้าขายของนางงุดแลนายผลผู้บิดาก็เจริญขึ้นตามลำดับ ท่านร่ายไว้ว่า[/SIZE]

    [SIZE=-1]ครั้นจัดการทำบุญให้ทานเสร็จแล้ว พักผ่อนพอหายเหนื่อย จึงจัดสรรพสินค้าเมืองปักษ์ใต้ได้เต็มระวางแล้ว จึงออกเรือไปเมืองเหนือ จำหน่ายแล้วก็จัดรองสินค้าเมืองเหนือมาจำหน่ายในบางกอก กระทำพานิชกรรมสัมมาอาชีวะอย่างนี้เสมอมา ก็บันดาลผลให้เกิดหมุนพูลเถา มั่งคั่งสมบูรณ์ขึ้นหลายสิบเท่า พ่อค้าแม่ค้าทั้งปวงก็รู้จักมักคุ้นมากขึ้นเป็นลำดับมา ตาผลยายลานางงุด จึงได้ละถิ่นฐานทางเมืองกำแพงเพชรเสีย ลงมาจับจองจำนองที่ดินเหนือเมืองพิจิตร ปลูกคฤหสถานตระหง่านงามตามวิสัย มีเรือนอยู่หอนั่งครัวไฟ บันไดเรือนบันไดน้ำโรงสี โรงกระเดื่องโรงพักสินค้าโรงเรือ รั้วล้อมบ้านประตูหน้าประตูหลังบ้าน ได้ทำบุญให้ทานที่วัดใหญ่ในเมืองพิจิตรนั้น จึงได้มีความชอบชิดสนิทกับท่านพระครูใหญ่ วัดใหญ่นั้น มีธุระปะปังอันใดก็ได้สังสรรไปมา ทายกแจกฎีกาไม่ว่าการอะไร มาถึงแล้วไม่ผลัก ยินดีรักในการบุญการกุศล เลยเป็นบุคคลมีหน้าปรากฏในเมืองพิจิตรสืบไป ฯ[/SIZE]

    [SIZE=-1]ต่อมาเมื่อสิ้นแผ่นดินพระเจ้ากรุงธนบุรี เป็นปีที่สมเด็จเจ้าพระยามหากษัตริย์ศึก ได้ขึ้นเถลิงถวัลย์ราชย์ ปราบดาภิเษกเปลี่ยนปฐมบรมจักรีพระองค์แรก และย้ายพระมหานครมาข้ามฝั่งตะวันออกแห่งกรุงธนบุรี ตรงหัวแหลมระหว่างวัดโพธิ์กับวัดสลัก เป็นวัดเก่ามากทั้งสองวัด ทรงขนานนามพระนครใหม่ว่า กรุงเทพพระมหานคร ฯ[/SIZE]

    [SIZE=-1]สมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก รัชกาลที่ ๑ กรุงเทพ ฯ ทรงตั้งเจ้าพระยาสุรสีห์ น้องชาย เป็นสมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้ามหาสุรสีหนาท กรมพระราชวังบวรสถานมงคล ทรงตั้งพระมเหสีเดิมเป็น สมเด็จพระ อมรินทรามาตย์ ทรงตั้งพระราชโอรสที่ ๔ อันมีพระชนมพรรษาได้ ๑๖ พระพรรษา เป็นสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้ากรมขุนอนุรักษ์เทเวศร์ ขึ้นเป็นสมเด็จพระเจ้าภาคิเณยราช กรมพระราชวังบวรสถานพิมุข ฝ่ายพระราชวังหลังรับพระราชบัญชา ฯ[/SIZE]

    [SIZE=-1]ขณะนั้นเด็กชายโตมีอายุได้เจ็ดปี บ้านเมืองสงบเรียบร้อยเป็นปกติแล้ว นางงุดจึงได้นำหนูโตเข้าไปถวายพระครูใหญ่เมืองพิจิตร ให้เป็นศิษย์เรียนหนังสือไทยหนังสือขอม และกิริยามารยาท ขนบธรรมเนียมการวัดการบ้านการเมือง การโยธาการเรือนการค้าขาย เลขวิธี จนอายุได้สิบสามปี จึงได้ทำการโกนจุกเมื่อเดือนหก และพอถึงเดือนแปดในปีวอกนั้นเอง ก็ได้บรรพชาเป็นสามเณรที่วัดใหญ่เมืองพิจิตร ได้ร่ำเรียนวิชาการต่าง ๆ จากท่านพระครูอุปัชฌาย์ ทั้งพุทธศาสตร์แลไสยศาสตร์อยู่สองปีก็เจนจบ คล่องแคล่วชำนิชำนาญ ใช้ได้ดังประสงค์ทุกประการ สามเณรโตก็กราบเรียนท่านพระครูผู้เป็นอุปัชฌาย์อาจารย์ ขอเรียนคัมภีร์พระปริยัติธรรมต่อไป ท่านอาจารย์ก็แนะนำให้ไปเรียนกับพระครูจังหวัด วัดเมืองไชยนาทบุรี โยมผลและโยมงุดมารดาจึงพาสามเณรไปฝากกับพระครูที่เมืองไชยนาทดังประสงค์[/SIZE]

    [SIZE=-1]เมื่อสามเณรโตได้ร่ำเรียนมาได้สามปี อายุได้สิบแปด ก็จบถึงแปดชั้นบาลี จึงมีความกระหายจะล่องลงมาร่ำเรียนในสำนักราชบัญฑิตนักปราชญ์หลวงบ้าง จึงกราบลาท่านพระครูเจ้าคณะเมืองไชยนาท และไปบอกตาผลยายลานางงุดมารดาที่เมืองพิจิตร ตาผลกับแม่งุดก็พาสามเณรโตมาฝากกับพระอาจารย์แก้ว วัดบางลำภูบน[/SIZE]

    [SIZE=-1]ฝ่ายพระอาจารย์แก้วเมื่อเห็นเวลาฤกษ์ดีแล้ว จึงได้นำพาสามเณรโตไปฝาก พระโหราธิบดี พระวิเชียร กรมราชบัณฑิต ให้ช่วยแนะนำสั่งสอนสามเณรให้มีความรู้ดี ในคัมภีร์พระปริยัติธรรมทั้งสามปิฎก ท่านทั้งสองก็รับและสอนตั้งแต่วันนั้นเป็นต้นมา จนเวลาได้ล่วงไปหนึ่งปี[/SIZE]

    [SIZE=-1]พระชนมายุกาลแห่งสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้ากรมหลวงอิศรสุนทร ย่างขึ้นได้ ๒๘ พรรษา โดยจันทรคตินิยม อายุสามเณรโตก็ได้ ๑๘ ปีบริบูรณ์ ในเดือนห้า ศกนั้น ฯ[/SIZE]


    [SIZE=-1]...................(รอต่อตอนจบ)...................[/SIZE]<!-- End main-->

    <TABLE width="100%" border=0><TBODY><TR><TD width="50%">[SIZE=-1]Last Update : 20 กันยายน 2550 9:29:24 น. [/SIZE]</TD><TD><TD>
    [SIZE=-1]0 comments[/SIZE] ​


    </TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  13. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    http://www.bloggang.com/viewblog.php?id=pn2474&date=14-09-2007&group=4&gblog=12

    สมเด็จโต (ตอนจบ) เรื่องเล่าจากอดีต
    <!-- Main -->[SIZE=-1]เรื่องเล่าจากอดีต[/SIZE]

    [SIZE=-1]สมเด็จโต (ตอนจบ)[/SIZE]

    [SIZE=-1]พ.สมานคุรุกรรม[/SIZE]

    [SIZE=-1]จึงท่านพระโหราธิบดี พระวิเชียร และเสมียนตราด้วง ได้พิจารณาเห็นกิริยาท่าทาง และจรรยาอาการสติปัญญาอย่างเยี่ยม แปลกกว่าที่เคยเห็นมาแต่ก่อน ทั้งมีรัดประคตหนามขนุนคาดด้วย จะทักถามและพยากรณ์เองก็ใช่เหตุ จึงปรึกษาตกลงพร้อมกันว่าควรจะนำเข้าถวายตัวแด่ สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้ากรมหลวงอิศรสุนทร ให้ได้ทรงทอดพระเนตร อนึ่งพระองค์ท่านก็ทรงโปรดพระและเณรที่ร่ำเรียนรู้ในธรรมทั้ง ๒ คือ คันถธุระ วิปัสสนาธุระ บางทีพ่อเณรมีวาสนาดี ก็อาจจะเป็นพระหลวงก็ได้ ครั้นท่านขุนนางทั้งสามปฤกษาตกลงเห็นพร้อมใจกันแล้ว จึงแนะนำสามเณรโตให้รู้ตัวว่า จะนำเข้าเฝ้า สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้ากรมหลวงอิศรสุนทร ในวันเดือนห้า ขึ้นค่ำ ศกนี้เป็นแน่ ฯ[/SIZE]

    [SIZE=-1]ท่านขุนนางทั้งสามก็ได้มาที่วัดบางลำภูบน เรียนกับท่านอาจารย์แก้ว ว่าจะพาสามเณรโต ไปเฝ้า สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ ฯ พระอาจารย์แก้วก็อนุมัติตามใจ แล้วท่านก็เรียกสามเณรมาสั่งสอนขนบธรรมเนียมในการเข้าเฝ้าเจ้าใหญ่นายโตทุกประการ แล้วก็ให้สามเณรครองผ้าคาดรัดประคต ลงเรือแหวดสี่แจวไปกับท่านขุนนางทั้งสาม จนถึงท่าตำหนักแพ หน้าพระราชวังเดิม ฝั่งธนบุรีใต้วัดระฆัง แล้วขึ้นไปเฝ้ายังท้องพระโรงใหญ่ แลพระโหราธิบดีก็กราบทูลเสนอคุณสมบัติของสามเณร ให้ทรงทราบ[/SIZE]

    [SIZE=-1]สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้ากรมหลวง ฯ พระองค์นั้น ทอดพระเนตรเห็นสามเณรโต เปล่งปลั่งรังสี รัศมีกายออกงามมีราศี เหตุด้วยกำลังอำนาจศีลคุณ สมาธิคุณ ปัญญาคุณ หากอบรมสะสมกับผ้ากาสาวะพัตร์ และมีรัดประคตหนามขนุน อย่างของขุนนางนายตำรวจใหญ่ คาดเป็นบริขารมาด้วย ก็ทรงพระเกษมสันติ์โสมนัสยิ่งนัก [/SIZE]

    [SIZE=-1]จึงเสด็จตรงเข้าจับมือสามเณรโต แล้วจูงให้มานั่งพระเก้าอี้เคียงพระองค์ แล้วทรงถามว่า[/SIZE]

    [SIZE=-1]อายุเท่าไร ทูลว่า ฯ ขอถวายพระพรอายุได้ ๑๘ เต็มในเดือนนี้ [/SIZE]

    [SIZE=-1]ทรงถามว่าเกิดปีอะไร? ทูลว่า ฯ ขอถวายพระพรเกิดปีวอกอัฐศก ฯ [/SIZE]

    [SIZE=-1]รับสั่งถามว่า บ้านเกิดอยู่ที่ไหน? ทูลว่า ฯ ขอถวายพระพรบ้านเดิมอยู่ใต้เมืองกำแพงเพชร แล้วย้ายลงมาตั้งบ้านอยู่เหนือเมืองพิจิตร [/SIZE]

    [SIZE=-1]รับสั่งถามว่า ฯ โยมผู้ชายชื่ออะไร? ทูลว่า ฯ ขอถวายพระพรไม่รู้จัก [/SIZE]

    [SIZE=-1]รับสั่งถามว่า ฯ โยมผู้หญิงชื่ออะไร? ทูลว่า ฯ ขอถวายพระพรชื่อแม่งุด ฯ [/SIZE]

    [SIZE=-1]รับสั่งถามว่า ทำไมโยมผู้หญิงไม่บอกตัวโยมผู้ชายให้เจ้ากูรู้จักบ้างหรือ? [/SIZE]

    [SIZE=-1]ทูลว่า ฯ โยมผู้หญิงเพียงแต่กระซิบบอกว่า เจ้าของรัดประคตนี้เป็นเจ้าคุณแม่ทัพ ขอถวายพระพร ฯ[/SIZE]

    [SIZE=-1]ครั้นได้ทรงฟังตระหนักพระหฤทัยแล้ว ทรงปราโมทย์เอ็นดูสามเณรยิ่งขึ้น จึงทรงทึกทักว่า แน่คุณโหราองค์นี้ฟ้าจะเอาเป็นพระโหรานำช้างเผือกมาถวาย จงเป็นเณรของฟ้าต่อไป ฟ้าจะเป็นผู้อุปถัมภ์บำรุงเอง แต่พระโหราต้องเป็นผู้ช่วยเลี้ยงช่วยสอนแทนฟ้า ทั้งพระวิเชียรและเสมียนตราด้วง ช่วยฟ้าบำรุงเณร เณรอย่าสึกเลย ไม่ต้องอนาทรอะไร ฟ้าขอบใจพระโหรามากทีเดียว แต่พระโหราอย่าทอดธุระทิ้งเณร ช่วยสอนต่างหูต่างตา ช่วยดูแลให้ดีด้วย และเห็นจะต้องย้ายเณรให้มาอยู่กับสมเด็จพระสังฆราช มี จะได้ใกล้ ๆ กับฟ้าให้อยู่วัดนิพพานนาราม จะดี ฯ[/SIZE]

    [SIZE=-1]ครั้นรับสั่งแล้ว จึงทรงพระอักษรเป็นลายพระหัตถเลขา มอบสามเณรโตให้แก่สมเด็จพระสังฆราช(มี) ขุนนางทั้งสามก็กราบถวายบังคมลา พาสามเณรลงเรือแจวข้ามฟากมาขึ้นท่าวัดมหานิพพานนาราม ปัจจุบันนี้ก็คือวัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษดิ์ เข้าถวายนมัสการและถวายพระราชหัตถเลขาแก่สมเด็จพระสังฆราช เมื่อทราบความแล้วจึงรับสั่งให้พระครูใบฎีกาไปหาตัวพระอาจารย์แก้ว วัดบางลำภูบนมาเฝ้า แล้วให้อ่านพระราชหัตถเลขานั้น พระอาจารย์แก้วทราบว่าพระยุพราชนิยมสามเณรก็มีความชื่นชม จึงถวายเณรให้อยู่วัดมหานิพพานนาราม ได้รับนิสสัยจากสมเด็จพระสังฆราชแต่วันนั้นมา [/SIZE]

    [SIZE=-1]สามเณรโตนั้นก็อุตส่าห์ทำวัตรปฏิบัติ แก่สมเด็จพระสังฆราชเจ้า และเรียนคัมภีร์พระปริยัติธรรม กับพระอาจารย์เสม อีกองค์หนึ่งด้วย จนชำนิชำนาญดี จนเวลาล่วงมาอีกสามปี สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้ากรมหลวงอิศรสุนทร ทรงพระคำนวณปีเกิดของสามเณรโต เป็นกำหนดครบ ๒๑ ปีบริบูรณ์ จึงรับสั่งให้พระโหราธิบดี เป็นผู้แทนพระองค์ นำสามเณรไปบวชที่วัดตะไกร เมืองพิษณุโลก อาราธนาสมเด็จพระวันรัตวัดระฆัง ไปเป็นอุปัชฌาย์ และนิมนต์พระอาจารย์แก้ว เป็นพระกรรมวาจาจารย์ ท่านอธิการวัดตะไกร เป็นอนุสาวนาจารย์ และให้เจ้าเมืองพิษณุโลก เจ้าเมืองกำแพงเพชร เจ้าเมืองพิจิตร เจ้าเมืองพิชัย และเจ้าเมืองไชยนาทบุรี มาช่วยดูแลจัดงานให้เรียบร้อยในกลางเดือนหกนี้[/SIZE]

    [SIZE=-1]งานอุปสมบทสามเณรโตเป็นพระภิกษุ ก็สำเร็จเรียบร้อยลง ในเวลา ๗ นาฬิกาเช้าวันพุธ ขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือนหก ปีมะเส็ง นพศก นั้นเอง แล้วกลับมาอยู่ที่วัดมหานิพพานนารามตามเดิม[/SIZE]

    [SIZE=-1]ครั้นเข้าพรรษาปีนั้น พระภิกษุโตจึงได้ข้ามไปเรียนคัมภีร์กับสมเด็จพระวันรัตเสมอมา ก็มีความรู้กว้างขวาง แตกฉานลึกซึ้งในธรรมวินัยไตรปิฎกไม่ติดขัด ทั้งท่านก็ปฏิบัติตรงต่อพระธรรมวินัย มีความเคารพยำเกรงต่อผู้ใหญ่ ปฏิบัตินอบน้อมยอมตนให้สม่ำเสมอมา จึงเป็นเหตุให้อำมาตย์ราชเสมา คฤหบดี คฤหปตานี และประชาชนเลื่อมใสศรัทธามากมาย [/SIZE]

    [SIZE=-1]และสมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้ากรมหลวงอิศรสุนทร ก็ถวายองค์เป็นอุปัฏฐาก และท่านก็รุ่งเรืองในกรุงเทพ ฯ แต่นั้นมา[/SIZE]

    [SIZE=-1]ครั้นพระภิกษุโตมีพรรษาได้ ๑๐ เป็นปีที่สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้ากรมหลวงอิศรสุนทร ได้รับพระราชทานพระบวรราชอิศรศักดิ์สูงขึ้น เมื่อเสด็จอุปราชาภิเศกแล้ว พระภิกษุโตได้เข้าเฝ้าถวายพระพรชัยมงคล จึงได้ทรงโปรดพระราชทานเรือพระที่นั่งกราบเป็นเรือสี ถวายแก่พระภิกษุโต โปรดรับสั่งว่า เอาไว้สำหรับไปเทศน์โปรดญาติโยม ทั้งยังทรงตั้งให้เป็น มหาโต แต่นั้นมาทุกคนจึงเรียกท่านมหาโตทั้งแผ่นดิน[/SIZE]

    [SIZE=-1]ส่วนอภินิหารที่เล่าลือต่อ ๆ กันมา จนกลายเป็นตำนานแล้วนั้น คงจะได้นำมาเล่าในตอนหน้า.[/SIZE]



    [SIZE=-1].....................(๕).........................[/SIZE]


    [SIZE=-1]จากหนังสืออนุสรณ์ งานพระราชทานเพลิงศพ อาจารย์ เทพ สาริกบุตร ท่าน มหาอำมาตย์ตรี พระยาทิพโกษา (สอน โลหะนันท์)ได้เรียบเรียงถึงอภินิหารของสามเณรโตไว้ว่า[/SIZE]

    [SIZE=-1]เมื่อสามเณรโตอายุได้ ๑๕ ปี บวชเป็นเณรได้ ๓ พรรษา ได้เล่าเรียนคัมภีร์มูละกัจจายนะปกรณ์จบแล้ว อยากจะเรียนคัมภีร์พระปริยัติเป็นกำลัง พระครูผู้เป็นอุปัชฌาย์ จึงแนะนำให้ไปเรียนกับท่านพระครูจังหวัด วัดเมือง ไชยนาทบุรี สามเณรโตก็มาบอกกับตาผลและแม่งุด ให้พาไปหาพระครูที่เมืองไชยนาทบุรี[/SIZE]

    [SIZE=-1]ครั้นได้เวลารุ่งเช้าสามเณรโตเข้าไปฉันที่บ้าน ครั้นฉันเช้าแล้วก็ออกเรือแจวออกไปทางแม่น้ำ ไชยนาทบุรี ครั้นคนแจวเรือ แจวเรือเป็ดมาสุดระยะทาง ๒ คืนก็ถึงท่าเรือวัด เมืองไชยนาทบุรี จึงได้จอดเรือเข้าที่ท่าในเวลากลางดึก คนแจวเรือเรียบร้อยแล้วจึงอาบน้ำดำเกล้าแล้วนอนพักในเรือทั้ง ๓ คน[/SIZE]

    [SIZE=-1]ครั้นเวลารุ่งสว่างแล้ว จรเข้ใหญ่ในน่านน้ำหน้าท่านั้น ก็เสือกตัวมาตรงหัวเรือเป็ดของตาผลนั้น คนบนตลิ่ง ๓ คนแม่ลูก และผู้หญิงผู้ใหญ่ ลงอาบน้ำหน้าบันไดบ้านแต่เช้า ครั้นเห็นจรเข้ขึ้นจะคาบคนนอนหลับที่หัวเรือใหญ่ จึงพากันตกใจกลัวแล้วร้องบอกกล่าวกันโวยวายขึ้น คนแจวที่ ๒ นอนถัดเข้ามา ได้ยินเสียงคนบนบ้านเรือนนั้นร้องเอะอะโวยวาย จึงตกใจตื่นขึ้น เห็นจรเข้ขึ้นตรงหัวเรือ จึงลุกขึ้นยงโย่ จับบั้นเอวคนนอนหลับหัวเรือ เพื่อจะให้พ้นปากจรเข้ ส่วนคนแจวเรือคนที่ ๓ ก็ตื่นขึ้นนั่งไขว่ห้าง หัวเราะคนบนบ้านที่กำลังหนีจรเข้ ขึ้นบันไดผ้าผ่อนหลุดลุ่ยล่อนจ้อน ลูกเด็กหญิงเหนี่ยวขาแม่ นางแม่เหนี่ยวขายาย ยายผ้าลุ่ยหมดก้าวขาต่อไปก็ก้าวไม่ออก ตาผลอยู่ในเรือก็โผล่ออกมายืนดูอยู่หน้าอุดเรือเฉย จะว่าอย่างไรก็ไม่ว่า[/SIZE]

    [SIZE=-1]ฝ่ายสามเณรโตก็ลุกขึ้นนั่งภาวนาอยู่ในประทุนเรือ จรเข้ขึ้นมาแล้วก็อ้าปากไม่ออก จมไม่ลง และไม่ว่ายมาฟาดหางทั้งนั้น ดูอาการอ่อนมาก คนบนบ้านก็งง คนในเรือก็งันอยู่ท่าเดียว[/SIZE]

    [SIZE=-1]ในสมัยรัชกาลที่ ๔ ขึ้นครองราชย์ พระญาณโพธินำมหาโตเข้าเฝ้า ณ พระที่นั่งอัมรินทร์ ท่ามกลางขุนนาง ข้าราชการ จึงมีพระราชดำรัสว่า[/SIZE]

    [SIZE=-1]เป็นสมัยของฉันปกครองแผ่นดิน ท่านต้องช่วยฉันพยุงพระบวรพุทธศาสนาด้วยกัน [/SIZE]

    [SIZE=-1]แล้วมีพระบรมราชโองการให้กรมสังฆการี วางฎีกาตั้งพระราชาคณะตามธรรมเนียม พระมหาโตก็เข้าไปตามฎีกานิมนต์ จึงทรงถวายสัญญาบัตรตาลปัตรแฉกหักทองขวาง ด้ามงา เป็นพระราชาคณะที่ พระธรรมกิติ เจ้าอาวาสวัดระฆังโฆสิตาราม[/SIZE]

    [SIZE=-1]ท่านก็กลับมาวัดมหาธาตุ ลาพระสงฆ์ทั้งปวงลงเรือกราบสีที่ได้รับพระราชทานมาแต่พระพุทธเลิศหล้า ข้ามไปกับเด็กช้างผู้เป็นหลาน ท่านถือบาตรผ้าไตรและบริขาร ไปบอกพระวัดระฆังว่า[/SIZE]

    [SIZE=-1]เจ้าชีวิตทรงตั้งฉันเป็นที่พระธรรมกิติ มาเฝ้าวัดระฆังวันนี้จ้ะ เปิดประตูโบสถ์รับฉันเถอะจ้ะ ฉันจะต้องเข้าจำวัดเฝ้าโบสถ์ จะเฝ้าวัดตามพระราชโองการรับสั่งจ้ะ [/SIZE]

    [SIZE=-1]ท่านแบกตาลปัตรพัดแฉก สะพายถุงย่ามสัญญาบัตรไปเก้ ๆ กัง ๆ พะรุงพะรัง พวกพระนึกขบขันจะช่วยท่านถือ เจ้าคุณธรรมกิติก็ไม่ยอม พระเลยสนุกตามมุงดูกันแน่น แห่กันเป็นพรวนเข้าไปแน่นโบสถ์ บางองค์จัดโน่นทำนี่ ต้มน้ำบ้าง ตักน้ำถวายบ้าง ตะบันหมากบ้าง กิตติศัพท์เกรียวกราวตลอดกรุง คนนั้นก็มาเยี่ยม คนนั้นก็มาดู เลื่อมใสในจรรยาบ้าง เลื่อมใสในยศศักดิ์บ้าง ท่าทำขบขันมากดูสนุกเป็นมหรสพโรงใหญ่ทีเดียว บางคนชอบหวย ก็เอาไปแทงหวย ขลังเข้าทุก ๆ วันคนก็ยิ่งเอาไปแทงหวย ถูกกันมากรายยิ่งขึ้น เลยไม่ขาดคนไปมาหาสู่บางคนว่าท่านบ้า ท่านก็ว่า[/SIZE]

    [SIZE=-1]เมื่อขรัวโตบ้าพากันนิยมชมว่าขรัวโตเป็นคนดี ยามนี้ขรัวโตเป็นคนดี พูดกันบ่นอู้อี้ว่าขรัวโตบ้า[/SIZE]

    [SIZE=-1]บางวันเขานิมนต์ไปเทศน์ เมื่อจบท่านก็บอกว่า เอวัง พังกุ้ย บ้าง บางวันก็บอกว่า เอวังกังสือ บางวันก็บอก เอวัง บ้วนกิม บางวันก็บอกว่า เอวัง หังหุน เล่ากันต่อ ๆ มาว่าท่านเทศน์ไม่เว้นแต่ละวัน[/SIZE]

    [SIZE=-1]ครั้งหนึ่งได้ถูกนิมนต์เทศน์หน้าที่นั่ง พอเข้าไปถึงพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวก็เสด็จออก จึงปราศรัยสัพยอก[/SIZE]

    [SIZE=-1]ว่าไงเจ้าคุณ เขาพากันชมว่าเทศน์ดีนักนี่ วันนี้ต้องลองดู[/SIZE]

    [SIZE=-1]พระธรรมกิติ (โต) ถวายพระพรว่า[/SIZE]

    [SIZE=-1]ผู้ที่ไม่มีความรู้เหตุผลในธรรม ครั้นเขาฟังรู้เขาก็ชมว่าดีถวายพระพร[/SIZE]

    [SIZE=-1]พระองค์ทรงพระสรวล แล้วทรงถามว่า[/SIZE]

    [SIZE=-1]ได้ยินข่าวเขาว่า เจ้าคุณบอกหวยเขาถูกกันจริงหรือ[/SIZE]

    [SIZE=-1]ทูลว่า ถวายพระพร อาตมาภาพจะขอแถลงแจ้งคำให้การแก้พระราชกระทู้โดยสัจจ์ว่ าตั้งแต่อาตมาภาพได้อุปสมบทมา ไม่เคยออกวาจาว่าหวยจะออก ด กวางเหมง ตรง ๆ เหมือนดังบอก ด กวางเหมง แด่สมเด็จพระบพิตรพระราชสมภารเจ้า อย่างวันนี้ ไม่ได้เคยบอกแก่ใครเลย[/SIZE]

    [SIZE=-1]ในครั้งนั้น พระธรรมกิติตั้งคัมภีร์บอกศักราชต่อจนจบ ถวายพระพรแล้วเดินคาถา จุณณียบท อันมีมาในพรหมณสังยุตตนิกาย ปาฏิกวรรค แปลถวายว่า[/SIZE]

    [SIZE=-1]ยังมีพราหมณ์ผู้หนึ่ง แกนั่งคิดว่า กูจะเข้าไปหาพระสมณโคดม แล้วก็จะถามปัญหากับสมณโคดมดูสักหน่อย พราหมณ์ผู้นั้นคิดฉะนี้แล้ว แกจึงลงอาบน้ำ ดำเกล้าในห้วยแล้ว แกผลัดผ้านุ่งแล้ว แกออกจากบ้านแก แกตั้งหน้าตรงไปพระเชตวนมหาวิหาร ถึงแล้วแกจึงตั้งข้อถามขึ้นต้น แกเรียกกระตุกให้รู้ตัวขึ้นก่อนว่า โภ โคตม นี่แน่ะ พระโดม ฯ[/SIZE]

    [SIZE=-1]ครั้นท่านว่ามาถึงคำว่า นี่แน่ะพระโคดม เท่านี้แล้วก็กล่าวว่า[/SIZE]

    [SIZE=-1]คำถามของพราหมณ์ และคำเฉลยของพระผู้มีพระภาคเจ้านั้น มีอยู่ประการใด สมเด็จพระบรมบพิตรเจ้า ได้ทรงตรวจตราตริตรองแล้ว ก็ได้ทรงทราบแล้วทุกประการ[/SIZE]

    [SIZE=-1]ดังรับประทานวิสัชนามาก็สมควรแก่เวลาแต่เพียงนี้ เอวัง ก็มีด้วยประการดังนี้ ขอถวายพระพร[/SIZE]

    [SIZE=-1]พอยถาสัพพีแล้ว ก็ทรงพระสรวลตบพระหัตถ์ว่าเทศน์เก่งจริง[/SIZE]



    [SIZE=-1]...........................(๖)...........................[/SIZE]



    [SIZE=-1]อีกครั้งหนึ่งเมื่อท่านได้เลื่อนเป็นที่ พระเทพกวี แล้วมีพระวัดระฆังเต้นด่าท้าทายกันขึ้นคู่หนึ่ง ท่านเจ้าคุณโตเอกเขนกนั่งอยู่นอกกุฏิท่าน แลเห็นเข้า ทั้งได้ยินพระทะเลาะกันด้วย[/SIZE]

    [SIZE=-1]ท่านจึงลุกเข้าไปในกุฏิ จัดดอกไม้ธูปเทียนใส่พาน รีบเดินเข้าไปในระหว่างวิวาท ทรุดองค์ลงนั่งคุกเข่าเข้าไปถวายดอกไม้ธูปเทียนพระคู่นั้น แล้วอ้อนวอนฝากตัวว่า[/SIZE]

    [SIZE=-1]พ่อเจ้าประคุ้น พ่อจงคุ้มฉันด้วย ฉันฝากตัวกับพ่อด้วย ฉันเห็นจริงแล้วว่าพ่อเก่งเหลือเกิน เก่งพอใข้เก่งแท้แท้ พระเจ้าประคุ้นลูกฝากตัวด้วย[/SIZE]

    [SIZE=-1]เลยพระคู่นั้นเลิกทะเลาะกัน มาคุกเข่ากราบพระเทพกวี ท่านก็กราบตอบพระ กราบกันอยู่นั่น หมอบกันอยู่นั่นนาน ฯ[/SIZE]

    [SIZE=-1]อีกครั้งหนึ่งขณะท่านเป็นที่พระเทพกวี ได้เข้าไปเทศน์ถวายสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว แต่ไม่พอพระราชหฤทัย จึงทรงไล่ลงจากธรรมาสน์ ไปให้พ้นพระราชอาณาจักร ไม่ให้อยู่ในดินแดนของฟ้า ไปให้พ้น[/SIZE]

    [SIZE=-1]พระเทพกวีออกจากวัง เข้าไปนอนในโบสถ์วัดระฆังออกไม่ได้นาน ใช้บิณฑบาตรบนโบสถ์ลงดินไม่ได้ เกรงผิดพระบรมราชโองการ ครั้นถึงคราวถวายพระกฐินเสด็จมาพบเข้า[/SIZE]

    [SIZE=-1]รับสั่งว่า อ้าวไล่แล้วไม่ให้อยู่ในราชอาณาจักรสยาม ทำไมยังขืนอยู่อีกเล่า[/SIZE]

    [SIZE=-1]ขอถวายพระพร อาตมภาพไม่ได้อยู่ในพระราชอาณาจักร อาตมภาพอาศัยอยู่ในพุทธจักร ตั้งแต่วันมีพระบรมราชโองการ อาตมภาพไม่ได้ลงดินของมหาบพิตรเลย [/SIZE]

    [SIZE=-1]ก็กินข้าวที่ไหน ไปถาน ถานที่ไหน[/SIZE]

    [SIZE=-1]ขอถวายพระพร บิณฑบาตรบนโบสถ์นี้ฉัน ถานในกระโถน เทวดาคนนำไปลอยน้ำ[/SIZE]

    [SIZE=-1]รับสั่งว่า โบสถ์นี้ไม่ใช่อาณาสยามหรือ[/SIZE]

    [SIZE=-1]ถวายพระพร โบสถ์เป็นวิสุงคาม เป็นส่วนหนึ่งจากพระราชอาณาจักร กษัตริย์ไม่มีอำนาจขับไล่ได้ ขอถวายพระพร[/SIZE]

    [SIZE=-1]สมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว จึงทรงขอโทษ ครั้นถวายกฐินเสร็จแล้ว รับสั่งให้อยู่ในราชอาณาจักรสยามได้ แต่วันนี้เป็นต้นไป [/SIZE]
    [SIZE=-1]ต่อมาอีก เมื่อสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยุ่หัว ทรงสถาปนาพระเทพกวี (โต) เป็น สมเด็จพระพุฒาจารย์ คราวหนึ่งนักองค์ด้วง เจ้าแผ่นดินเขมร กลุ้มพระหฤทัย จึงมีใบบอกเข้ามากราบบังคมทูลพระกรุณาให้ทรงทราบ จึงมีพระบรมราชโองการให้เผดียง สมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต) ให้ออกไปแสดงธรรมโปรดนักองค์ด้วง ณ เมืองเขมร [/SIZE]

    [SIZE=-1]คราวนี้สมเด็จพระพุฒาจารย์ถึงกับบ่นที่วัดระฆังว่า[/SIZE]

    [SIZE=-1]สมเด็จพระนั่งเกล้าก็ไม่ใช่โง่ แต่ว่าใช้ขรัวโตไม่ได้ สมเด็จพระจอมเกล้าฉลาดว่องไว กลับมาได้ใช้ขรัวโต ฯ[/SIZE]

    [SIZE=-1]ครั้นถึงวันกำหนด ท่านก็พาพระถานา ๔ รูป ไปลงเรือสยามูปสดัมภ์ เจ้าพนักงานไปส่งถึงเมืองจันทบุรี แล้วขึ้นเกวียนไปทางเมืองตราด ไปถึงหมู่บ้านแห่งหนึ่งแขวงเมืองตราดนั้น เป็นตำบลที่มีเสือชุมมาก มันเผ่นเข้าขวางหน้าเกวียน เวลารอน ๆ จวนค่ำ คนหน้าเกวียนจดพลองเล่นตีกับเสือ เจ้าเสือแยกเขี้ยวหื้อใส่รุกขนาบ คนถือพลองถอยหลังทุกที จนถึงหน้าเกวียนสมเด็จ คนหน้าเกวียนยกเท้ายันคนถือพลองไว้ไม่ให้ถอย ฯ[/SIZE]

    [SIZE=-1]สมเด็จพระพุฒาจารย์ ท่านเห็นเสือมีอำนาจดุมาก ท่านจึงว่า[/SIZE]

    [SIZE=-1]เสือเขาจะธุระฉันคนเดียวดอกจ้ะ ฉันจะพูดจาขอทุเลาเสือสักคืนในที่นี้ [/SIZE]

    [SIZE=-1]ครั้นแล้วท่านก็ลง ส่งเกวียนส่งคนให้ไปคอยอยู่ข้างหน้า ท่านก็นอนขวางทางเสือเสีย เสือก็นั่งเฝ้าท่านคืนหนึ่ง เสือก็ไปไหนไม่ได้ จะไปไล่คนอื่นก็ไปไม่ได้ ต้องเฝ้ายามสมเด็จยันรุ่ง ครั้นเวลาเช้าท่านเชิญเสือให้กลับไป แล้วท่านลาเสือว่า[/SIZE]

    [SIZE=-1]ฉันลาก่อนจ้ะ เพราะมีราชกิจใช้ให้ไปจ้ะ[/SIZE]

    [SIZE=-1]ว่าแล้วท่านก็เดินตามเกวียนไปทันกัน แล้วท่านเล่าให้พระครูปลัดฟัง (พระครูปลัดคือพระธรรมถาวรเดี๋ยวนี้) พวกครัวก็หุงต้มเลี้ยงท่าน เลี้ยงกันเสร็จแล้วก็นิมนต์สมเด็จขึ้นเกวียนคนลาก ท่านไม่ชอบวัวควายเทียมเกวียน[/SIZE]

    [SIZE=-1]ในครั้งนี้เมื่อสมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต) เดินทางไปถึงเมืองพระตะบองแล้ว ก็ได้เทศน์ให้นักองค์ด้วง เจ้านายฝ่ายเขมร และเจ้าพระยา พ่อค้าคฤหบดีเขมรทั้งปวง เข้าใจถึงพระมหากรุณาธิคุณของกรุงสยาม ด้วยเชื่อมกับสาสนปสาสน์ และพระรัฏฐะปสาสน์ ให้กลมเกลียวกลืนกัน เทศน์ให้ยืดโยงหยั่งถึงกัน ชักเอาเหตุผลตามชาดกต่าง ๆ พระสูตรต่าง ๆ ทางพระวินัยต่าง ๆ อานิสงส์สันติภาพ และอานิสงส์สามัคคีธรรม นำมาปรุงเป็นเทศนากัณฑ์หนึ่ง[/SIZE]

    [SIZE=-1]ครั้นจบลงแล้วนักองค์จันทร์มารดานักองค์ด้วง ได้สละราชบุตร ราชธิดา บูชาธรรม และสักการะด้วยแก้วแหวนเงินทองผ้าผ่อน และชัชชะโภชาหารตระการต่าง ๆ เขมรนอกนั้นก็เลื่อมใส เห็นจริงตามเทศนาของสมเด็จทุกคน และต่างก็เกิดความเลื่อมใสในองค์เจ้าประคุณสมเด็จ ฯ[/SIZE]

    [SIZE=-1]สมเด็จพระพุฒาจารย์ จึงได้ฝากนางธิดากุมารีไว้กับมารดาเจ้านักองค์ด้วง รับมาแต่เจ้ากุมารชายคนเดียว นักองค์ด้วงเจ้าเมืองเขมรจึงจัดการส่งสมเด็จ มีเกวียนส่งเข้ามาจนถึงเมืองตราด เจ้าเมืองตราดจัดเกวียนส่งมาถึงเมืองจันทบุรี เจ้าเมืองจันทบุรีจัดเรือใบเรือเสาส่งมาถึงกรุงเทพมหานคร จอดหน้าวัดระฆังทีเดียว[/SIZE]

    [SIZE=-1]บางครั้งเวลาจำวัดอยู่กุฏิของท่านที่วัดระฆังนั้น เจ้าขโมยเจาะพื้นกุฏิล้วงเอาข้าวของที่วางเกลื่อนไว้ เจ้าขโมยล้วงไม่ถึง ท่านก็ช่วยเอาไม้เขี่ยของนั้น ๆ เข้าไปให้ใกล้มือขโมย เจ้าขโมยลักเข็นเรือใต้ถุนกุฏิ ท่านก็เปิดหน้าต่างสอนขโมยว่า[/SIZE]

    [SIZE=-1]เข็นเบา ๆ หน่อยจ้ะ ถ้าดังไปพระท่านได้ยินเข้า ท่านจะตีเอาเจ็บเปล่าจ้ะ เข็นเรือบนแห้งเขาต้อง เอาหมอนรองข้างท้ายให้โด่งก่อนจ้ะ ถึงจะกลิ้งสะดวกดี เรือก็ไม่ช้ำไม่รั่วจ้ะ [/SIZE]

    [SIZE=-1]เลยเจ้าขโมยเกรงใจไม่เข็นต่อไป[/SIZE]

    [SIZE=-1]เกล็ดฝอยในเรื่องอภินิหารของ สมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต) วัดระฆังโฆสิตารามนั้น ยังมีอีกมากมาย ที่นำมาเล่านี้เป็นส่วนน้อยเท่านั้น ท่านผู้เรียบเรียง และผู้จัดพิมพ์ ได้สรุปไว้ว่า[/SIZE]

    [SIZE=-1]สมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต) องค์โน้น ท่านเป็นสัปปุรุษเที่ยงแท้ผู้หนึ่ง เพราะตั้งแต่ต้นจนปลายท่านมิได้เบียฬตน และเบียฬผู้อื่นให้ได้ความทุกข์ยากลำบากเลย แม้สักคนเดียว ตั้งแต่เกิดมาเห็นโลก จนตลอดวันมรณภาพ จนถึงปัจจุบันเดี๋ยวนี้ ก็ยังมีพระโตตั้งไว้ให้เป็นที่ไหว้ที่บูชา แก่บรรดาพุทธศาสนิกชน คนทุกชั้นได้รำพรรณนับถือไม่รู้วาย. [/SIZE]

    [SIZE=-1]###########[/SIZE]

    <!-- End main-->

    <TABLE width="100%" border=0><TBODY><TR><TD width="50%">[SIZE=-1]Last Update : 20 กันยายน 2550 9:28:53 น. [/SIZE]</TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  14. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    http://www.chiangrai.ru.ac.th/ชีวประวัติสมเด็จพระพุฒาจารย์โต.htm


    ชีวประวัติสมเด็จพระพุฒาจารย์โต<O:p</O:p
    <O:p</O:p
    จากบันทึกของ มหาอำมาตย์ตรี พระยาทิพโกษา (สอน โลหะนันท์)


    &middot; คำปรารภและอนุมานสันนิษฐานว่า ประวัติเรื่องความเป็นไปของสมเด็จพระพุฒาจารย์(โต)
    ครั้งในรัชกาลที่ ๔ กรุงเทพฯ นั้นมีความเป็นมาประการใด เพราะเจ้าพระคุณองค์นี้เป็นที่ฤาชาปรากฏเกียรติศัพท์เกียรติคุณเกียรติยศ ขจรขจายไปหลายทิศหลายแคว มหาชนพากันสรรเสริญออกเซ็งแซ่กึกก้องซ้องสาธุการ บางคนก็บ่นร่ำรำพรรณประสานขาน ประกาศกรุ่นกล่าวถึงบุญคุณสมบัติ จริยสมบัติ ของท่านเป็นนิตกาลนานมา ทุกทิวาราตรีมิรู้มีความจะจืดจางฯ
    &middot; อนึ่งพระพุทธรูปของที่ท่านสร้างไว้ในวัดเกตุไชโย ใหญ่ก็ใหญ่โตก็โต วัดหน้าตักกว้างถึงแปด
    เศษนิ้ว เป็นพระก็ก็สูงลิ่ว เป็นพระนั่งทั้งศักดิ์สิทธิ์ ดูรุ่งเรื่องกระเดื่องฤทธิ์มหิศรเดชานุภาพ พระองค์นี้เป็นที่ทราบทั่วกันแล้วตลอดประเทศว่าเป็นพระที่มีคุณพิเศษสามารถอาจจะบันดาลดับระงับทุกข์ภัยไข้ป่วยช่วยป้องกันอันตรายได้ จึงดลอกดลใจให้ประชาชนคนเป็นอันมาก หากมาอภิวันทนาการ สักการะบูชาพลีกรรม บรรณาการเส้นสรวงบวงบล บางคนมาเผดียงเสี่ยงสัตย์อธิษฐาน ก็อาจสำเร็จเสร็จสมปณิธานที่มุ่งมาตร์ปรารถนา จึงเป็นเหตุให้มีสวะนะเจตนาแก่มหาชนจำนวนมากว่าร้อยคน คิดใคร่จะรู้ประวัติของสมเด็จพระพุฒาจารย์(โต) วัดระฆังโฆสิตาราม บ้างก็คืบเที่ยวสืบถามความเป็นไปแต่หลังๆ แต่คราวครั้งดั้งเดิม เริ่มแรกต้นสกุลวงศ์เทือกเถาเหล่ากอ พงษ์พันธุ์พวกพ้อง พื้นภูมิฐาน บ้านช่องข้องแขว แควจังหวัด เป็นบัญญัติของสมเด็จนั้นเป็นประการใดนานมาแล้วจะถามใครๆ ไม่ได้ความ หามีใครตอบตรงคำถามให้ถ่องแท้ จึงได้พากันตรงแร่เข้ามาหานาย พร้อม สุดดีพงศ์ ตลาดไชโย เมืองอ่างทอง จึงได้รีบล่องลงมาสู่หา ท่านพระมหาสว่าง วัดสระเกษ นมัสการแล้วยกเหตุขึ้นไต่ถาม ตามเนื้อความที่ชนหมู่มากอยากจะรู้ จะดูจะฟังเรื่องราวแต่คราวครั้งต้นเดิมวงศ์สกุล ของสมเด็จพระพุฒาจารย์(โต) นั้นเป็นฉันใด ขอพระคุณให้สำแดงให้แจ้งด้วยฯ
    &middot; ตั้งแต่เดิมเริ่มแรก ต้นเดิมวงศ์สกุลของสมเด็จพระพุฒาจารย์(โต) องค์นี้ตั้งคฤหสถานภูมิลำเนา
    สืบวงศ์พงศ์เผ่า พืชพันธุ์พวกพ้อง เป็นพี่น้องต่อแนวเนื่องกันมาแต่ครั้งเก่าบุราณนานมา ณ แถบแถวที่ใกล้ใต้เมืองกำแพงเพชร เป็นชนชาวกำแพงเพชรมาช้านาน ครั้นถึงปีระกา สัปตศกจุลศักราช ๑๑๒๗ ปี จึงพระเจ้าแผ่นดินอังวะ ภุกามประเทศยกพลพยุหประเวสน์สู่พระราชอาณาเขตร์ประเทศสยามนี้ กองทัพพม่ามาราวี ตีหัวเมืองเอกโทตรีจัตวา ไล่ลุกเข้ามาทุกทิศทุกทางทั้งบกทั้งเรือ ทั้งปากใต้ฝ่ายเมืองเหนือและทางตะวันตก ยกเว้นไว้แต่ทิศตะวันออกหัวเมืองชั้นนอก ชั้นกลาง ชั้นโท ต่อรบต้านทานทัพพม่าไม่ไหว ก็ต้องล่าร้างหลบหนีซ่อนเร้นเอาตัวรอด ราษฎรก็พากันทอดทิ้งภูมิลำเนาสถานบ้านเรือน เหลี่ยมหลี้หนีหายพรัดพรากกระจายไป คนละทิศคนละทางห่างๆวันกัน ในปีระกาศกนั้น จำเพาะพระยาตาก(สิน) เจ้าเมืองกำแพงเพชรก็หาได้อยู่ดูแลรักษาเมืองไม่ มีราชการเข้าไปรับสัญญาบัตรเลื่อนที่เป็นพระยาวชิรปราการ แล้วยังมิได้กลับมา พอทราบข่าวศึกพม่าเสนาบดีให้รอรับพม่าอยู่ในกรุงนั้น ครั้นทัพหน้าพม่ารุกเข้ามาถึงกรุง พระยาวชิรปราการก็ต้องคุมพลรบพุ่งต้านทานรบรับทัพพม่า พม่าเข้าล้อมกรุงศรีอยุธยานั้นไว้ กองทัพพม่ามาล้อมกรุงเก่าคราวนั้นเกือบสามปีฯ
    &middot; ครั้นถึงปีกุนนพศก จุลศักราช ๑๒๒๙ ปี ถึง ณ วันอังคารเดือนห้า แรมเก้าค่ำ เวลาบ่ายสามโมงเย็น พม่าจึงนำปืนใหญ่เข้าระดมยิงพระมหานคร พระมหานครก็แตกเสียแก่พม่าในวันอังคาร เดือนห้า ขึ้นเก้าค่ำ ปีกุนศกนั้นฯ
    &middot; ฝ่ายพระยาวชิรปราการเจ้าเมืองกำแพงเพชรได้ถือพล ๕000 ช่วยป้องกัน พระมหานคร ครั้นเห็นว่าชาตากรุงขาด ไม่สามารถจะต่อสู้พม่าได้ก็พาพล ๕000 นั้น ฝ่าฟันหนีออกไปทางทิศตะวันตก ข้ามไปทางเพนียดคล้องช้าง เดินทางไปเข้าเขตเมืองนครนายก แล้วข้ามฟากไปแย่งเอาเมืองจันทรบุรี ตีได้แล้วก็เข้าตั้งมั่นบำรุงพลพาหนะลำเลียงเสบียงอาหาร สรรพศาสตราวุธยุทธภัณฑ์ไว้พร้อมมูลบริบูรณ์เรียบร้อยแล้ว ก็ตั้งตัวเป็นเจ้าชาวเมืองเรียกว่าพระยาตาก ตั้งอยู่เมืองจันทรบุรีก๊กหนึ่งในคราวนั้นฯ
    &middot; ครั้นถึงปีชวดสัมฤทธิศกจุลศักราช ๑๑๓0 ปี พระเจ้าตาก(สิน) ได้ยกพลโยธีแสนยากรเป็นกองทัพ เข้าบุกบั่นรับทัพพม่า ตั้งแต่เมืองปากใต้ฝ่ายตะวันตกวกเข้าตีกองทัพพม่ามาถึงกรุงเก่า กองทัพพม่าสู้มิได้ก็แตกฉานล่าถอยขึ้นไปทางหัวเมืองฝ่ายเหนือแล้วก็เข้าชิงเอากรุงเก่าคืนจากเงื้อมือพม่าข้าศึกได้แล้ว ลอยขบวนมาตั้งราชธานีที่เมืองธนบุรี ตำบลที่วัดมะกอกนอก เหนือคลองบางกอกใหญ่ ใต้คลองคูวัดระฆังโฆสิตาราม ทรงขนานนามเมืองว่ากรุงธนบุรี พระนามาภิธัยว่า พระเจ้ากรุธนบุรี แต่ปีชวดศกนั้นมาฯ
    &middot; จีงหลวงยกกระบัตรเมืองราชบุรี ออกไปตั้งคฤหสถานบ้านเรือนครอบครองทรัพย์สมบัติอยู่ ณ บ้านอัมพวา แขวงเมืองสมุทรสงคราม ได้เข้ามาพร้อมด้วยเอกะภรรยาและน้องแลบุตรทั้ง ๔ เข้ามารับราชการในพระเจ้ากรุงธนบุรี ๆ ได้ทรงตั้งให้หลวงยกกระบัตรเป็นที่พระราชวรินทร์ เจ้ากรมพระตำรวจนอกขวา ถือศักดินา ๑๖00 ไร่ จึงตั้งคฤหสถานบ้านเรือนอยู่เหนือพรราชวังหลวง ใต้วัดบางว้าใหญ่(คือวัดระฆังในบัดนี้) ในปีชวดศกนั้นเองพระเจ้ากรุงธนบุรี พระราชทานเกียรติยศเป็นแม่ทัพถืออาญาสิทธิ์ ยกทัพขึ้นไปปราบเจ้าพิมายมีชัยชำนะกลับลงมา ทรงพระกรุณาเลื่อนขึ้นเป็นที่พระยาอภัยรณฤทธิ์จางวางกรมพระตำรวจซ้าย ทรงศักดินา ๓000ไร่ ครั้นถึงปีขาลโทศก ๑๑๓๒ ปี พระเจ้ากรุงธนบุรีรับสั่งให้พระยาอภัยรณฤทธิ์ ถืออาญาสิทธิ์เป็นแม่ทัพยกกองทัพไปปราบเจ้าพระฝาง เมืองสวางคบุรี ตีกองทัพเจ้าพระฝางแตก จับตัวเจ้าพระฝางได้พร้อมทั้งช้างพังเผือกกับลูกดำ จับตัวและพรรคพวกและช้างลงมาถวาย ส่วนพระยาอภัยรณฤทธิ์รั้งหลังเพือจัดการบ้านเมืองฝ่ายเหนือป่าวร้องให้อาณาประชาราษฎรที่แตกฉานซ่านเซ็น ให้รวมเข้ามาเป็นหมวดหมู่ตั้งอยู่ดังเก่า ตามภูมิลำเนาเดิมของตน ที่ขัดขวางยากจนก็แจกจ่ายให้ปันพอเป็นกำลังสำหรับให้ตั้งตัวต่อไปในภายหน้า เมื่อขณะนี้เองชาวเมืองเหนือจึงได้พากันนิยมสวามิภักดี ต่อท่านพระยาอภัยรณฤทธิ์ รักใคร่สนิทแต่คราวนั้นเป็นต้นเป็นเดิมมา เมื่อกองทัพกลับแล้ว พวกราษฎรชาวเมืองเหนือบางครัว จึงได้พากันมาอยู่ในกรุงเก่าบ้าง เมืองอ่างทองบ้าง เมืองปทุมบ้าง เมืองนนบุรีบ้าง เมืองพระประแดงบ้าง ในกรุงธนบุรีบ้าง ในบางขุนพรหมบ้าง ต่างจับจองจำนองที่ดินซื้อหา ตามกำลังและวาสนาของตนๆ เป็นต้นเหตุ ที่มีผู้คนคับขันขึ้น ทั้งในกรุงและหัวเมืองแน่นหนาขึ้นกว่าแต่ก่อนเป็นลำดับมาฯ
    &middot; ส่วนพระเจ้ากรุงธนบุรี จึงเลื่อนที่ให้พระยาอภัยรณฤทธิ์ขึ้นเป็นเจ้าพระยายมราชเสนาบดีที่จตุสดมภ์ กรมพระนครบาล ทรงศักดินา ๑0000 ไร่ พรรษายุกาลได้ ๓๔ ปี ในปลายปีขาลศกนั้นเอง พระเจ้ากรุงธนบุรี ทรงพระกรุณาโปรดเลื่อนที่ เจ้าพระยมราชขึ้นเป็นเจ้าพระยาจักรี ที่สมุหนายก อรรคมหาเสนาบดี กระทรวงมหาดไทยทรงศักดินา ๑0000 ไร่ฯ
    &middot; ครั้นถึงปีเถาะตรีศกจุลศักราช ๑๑๓๓ ปี พระเจ้ากรุงธนบุรี มีรับสั่งโปรดเกล้าฯ ให้เจ้าพระยาจักรีเป็นแม่ทัพถืออาญาสิทธิ์ต่างพระองค์ ยกกองทัพใหญ่ออกไปปราบปรามเมืองเขมรกัมพูชาประเทศก็มีชัยชำนะเรียบร้อยกลับมา ได้รับพระราชทานรางวัลพิเศษฯ
    &middot; ครั้นถึงปีมะเมียฉศก จุลศักราช ๑๑๓๖ ปี มีพระราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้เจ้าพระยาจักรีเป็นแม่ทัพถืออาญาสิทธิ์ ยกกองทัพใหญ่ขึ้นไปล้อมเมืองเชียงใหม่ที่พม่ารักษาอยู่นั้น พม่าซึ่งรักษาเมืองเชียงใหม่ได้ความอดอยากยากแค้นเข้าก็พากันละทิ้งเมืองเชียงใหม่เสียแล้วหนีไปสิ้น ก็ได้เมืองเชียงใหม่โดยสะดวกง่ายดาย ในปลายปีมะเมียฉศกนั้นเอง อะแซหวุ่นกี้ แม่ทัพพม่าอายุ ๗๒ ปี เป็นเสนาบดีผู้ใหญ่ในพระเจ้ามังระ กรุงอังวะ ครั้งนั้นพระเจ้าอังวะ มีพระราชโองการรับสั่งให้อะแซหวุ่นกี้ถืออาญาสิทธิ์ยกทัพใหญ่เดินกองทัพเข้ามาถึงด่านเมืองตาก แล้วให้พม่าล่ามถามนายด่านว่า พระยาเสืออยู่รักษาเมืองหรือไม่ นายด่านตอบว่าพระยาเสือไม่อยู่ยังไม่กลับฯ
    &middot; อะแซหวุ่นกี้จึงหยุดกองทัพหน้าไว้นอกด่าน แล้วประกาศว่าให้เจ้าเมืองเขากลับมารักษาเมืองเสียก่อน จึงจะยกเข้าตีด่าน เลยเข้าตีเมืองพิษณุโลกทีเดียวฯ (เขียนตามพงศาวดารพม่า)
    &middot; สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี ทรงทราบข่าวศึก จึงกรีฑาทัพหลวงขึ้นไปรักษาเมืองพระพิษณุโลกไว้ แล้วให้หากองทัพกลับจากเมืองเชียงใหม่ ครั้นเจ้าพระยาสุรสีห์ทราบว่ากองทัพพม่าอยู่ปลายด่านเมืองตาก และทราบว่าพระเจ้าอยู่หัวเสด็จกรีฑาทัพหลวงขึ้นมาประทับอยู่เพื่อป้องกันรักษาเมืองพิษณุโลกด้วย จึงรีบยกกองทัพกลับ ครั้นถึงเมืองพิษณุโลกแล้วเข้าเฝ้าถวายบังคมเจ้าพระยาจักรีอยู่จัดการเมืองเชียงใหม่เรียบร้อยแล้ว ได้เลยตั้งข้าหลวงไปพูดจาปลอบโยนชี้แจงแนะนำเจ้าเมืองแพร่ เจ้าเมืองน่าน เจ้าเมืองลำปาง เจ้าเมืองลำพูน เป็นต้นเหล่านี้ ยอมสวามิภักดีต่อกรุงเทพฯ ขอพึ่งพระบารมีโพธิสมภารเป็นข้าขอบขัณฑสีมาสืบไปตลอดกาลนาน เจ้าพระยาจักรีจึงได้เลิกทัพพาเจ้าลาวและพระยาลาวทั้งปวง ลงมาถึงเมืองพิษณุโลก เข้าเฝ้ากราบบังคมทูลพร้อมกัน ณ เมืองพิษณุโลกนั้นฯ
     
  15. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    http://www.chiangrai.ru.ac.th/%E0%B8...2%E0%B8%95.htm

    &middot; สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี ทรงพระโสมนัสนัก จึงได้พระราชทานฐานันดรศักดิ์เจ้าลาว พระยาลาวทั้งปวงนั้นให้กลับขึ้นไปรักษาเมืองดังเก่า แล้วจึงพระราชทานรางวัลเป็นอันมากแก่เจ้าพระยาสุรสีห์นั้น ได้ออกไปรักษาด่านหน้าเมืองตากโดยแข็งแรงกวดขันมั่นคงทุกประการฯ
    &middot; ฝ่ายอะแซหวุ่นกี้แม่ทัพใหญ่พม่า ทราบว่าเจ้าพระยาเสือกลับมาแล้ว ออกมารักษาด่านอยู่ จึงสั่งให้มังเรยางู แม่ทัพหน้าพม่าเข้าตีด่าน ฝ่ายทหารรักษาด่านต้านทานทหารพม่าไม่ไหวก็ร่นเข้ามา กองทัพพม่าก็ตีรุกเข้าไปแล้วตั้งค่ายมั่นลงภายในด่านถึง ๓0 ค่ายฯ
    &middot; ฝ่ายเจ้าพระยาจักรีทราบว่า กองทัพเจ้าพระยาสุรสีห์เสียด่านร่นเข้ามา จึงกราบบังคมทูลรับอาสาช่วยเจ้าพระยาสุรสีห์ สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีมีพระราชโองการรับสั่งว่า ข้าก็อยากเห็นความคิดสติปัญญาของเจ้าและฝีมือของเจ้าว่าจะเข้มแข็งสักเพียงใด ข้าจะขอดูด้วย จงรีบออกไปช่วยสุรสีห์เถิดฯ
    &middot; เจ้าพระยาจักรีกราบถวายบังคมลา ออกมาจัดขบวนทัพพร้อมสรรพ์ แล้วยกออกไปถึงค่ายเจ้าพระยาสุรสีห์ แล้วจึงเจรจาว่า เจ้าถึงแม้ว่าจะเป็นขุนนางผู้ใหญ่ก็จริงอยู่ แต่เจ้าเป็นขุนนางบ้านนอก อะแซหวุ่นกี้แม่ทัพพม่านั้น เขาเป็นเสนาบดีผู้ใหญ่อยู่ในเมืองหลวงพม่าทั้งเขากอปรด้วยความคิดสติปัญญาเยี่ยมยิ่งอยุ่ ความรู้ก็พอตัวที่จะรบเอง ต่อแต่นั้นมา เจ้าพระยาจักรีก็จัดทัพออกรุกรับรบพุ่งกับกองทัพอะแซหวุ่นกี้เป็นหลายครั้ง ผลัดกันแพ้ผลัดกันชนะ ล่วงวันและเวลาช้านานมา จนถึงเดือนห้าเดือนหก ปีมะแมสัปตศก จุลศักราช ๑๑๓๗ ปี เป็นปีที่๘ ในรัชสมัยพระเจ้ากรุงธนบุรีฯ
    &middot; ฝ่ายอะแซหวุ่นกี้แม่ทัพพม่า ก็คิดขยาดระอิดระอา ทั้งทางเมืองพม่าก็ชักจะวุ่นวายขึ้น ทั้งเสบียงอาหารก็บกพร่องจวนเจียนไม่พอจ่าย จึงคิดเพทุบายถามว่า ใครผู้ใดออกมาเป็นแม่ทัพใหญ่บัญชาการ ทหารไทยบอกไปว่าเจ้าพระยาจักรีเป็นแม่ทัพ อะแซหวุ่นกี้จึงประกาศหย่าทัพ ขอดูตัวแม่ทัพไทยฯ
    &middot; ฝ่ายเจ้าพระยาจักรี ก็สั่งสงบชั่ววันกำหนด เจ้าพระยาจักรีก็จัดขบวนยืนทัพเสด็จ ส่วนเจ้าพระยาจักรีก็แต่งตัวอย่างจอมโยธาเต็มที่ ขี่ม้าสีแดง เหน็บกระบี่กั้นกรด ล้วนแล้วแต่เป็นสิ่งของที่ได้รับพระราชทานทั้งนั้นฯ
    &middot; เวลานั้นสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี เสด็จทอดพระเนตรอยู่ในค่ายนั้นด้วยได้ทรงทอดพระเนตรเห็นกิริยาท่าทางสุภาพองอาจ และท่วงทีรูปโฉมของเจ้าพระยาจักรี เมื่อแต่งตัวออกยืนทัพรับอะแซหวุ่นกี้คราวนั้น สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี ทรงพระเกษมสันต์โสมนัสปราโมทย์ถึงกับออกพระโอษฐรับสั่งชมว่า งามเป็นเจ้าพระยากษัตริย์ศึกเจียวหนอ แต่นั้นมานามอันนี้ จึงเป็นนามที่แม่ทัพนายกองแลทหารทั้งปวงพากันนิยมเรียกว่า เจ้าพระยากษัตริย์ศึกแต่คราวนั้นมา ในกองทัพพม่าก็พลอยเรียกว่า เจ้าพระยากษัตริย์ศึก ตลอดจนไปถึงทางราชการฝ่ายพม่า ก็ได้จดหมายเหตุลงพงศาวดารไว้ว่า เจ้าพระยากษัตริย์ศึกเป็นแม่ทัพฝ่ายไทยได้รบกับอะแซหวุ่นกี้แม่ทัพพม่า ที่เมืองพระพิษณุโลก เมื่อปีมะเมียถึงปีมะแมสัปตศกจุลศักราช ๑๑๓๗ ปี ครั้นเมื่อทอดพระเนตรแลทรงชมเชยแล้ว ก็ยาตรากระบวนออกยืนม้าหน้าพลเสนา ณ สนามกลางหน้าค่ายทั้งสองฝ่ายฯ
    &middot; ฝ่ายอะแซหวุ่นกี้ก็จัดกระบวนแต่งตัวเต็มที่อย่างจอมโยธา ออกยืนอยู่หน้ากระบวน ณ กลางสนาม หน้าค่ายทั้งสองฝ่ายเช่นเดียวกัน (ตอนดูตัวนี้ความพิศดารมีแจ้งอยุ่ในพระราชพงศาวดาร) ครั้นอะแซหวุ่นกี้ ได้เห็นได้เจรจาชมเชย พูดจาประเปรยตามชั้นเชิงพิชัยสงครามแล้วก็นัดรบต่อไป แต่อะแซหวุ่นกี้ คิดจะล่าทัพถอยกลับกรุงอังวะเป็นอย่างมากกว่าจะคิดแข็งใจรบเอาเมืองพิษณุโลก แต่แตกแล้วก็ร่นถอยล่าไปออกทางพระเจดีย์ ๓ องค์ ทำกิริยาท่าทางเหมือนจะไปชิงเอาเมืองกำแพงเพชร ทำให้แม่ทัพฝ่ายไทยต้องแบ่งออกเป็นหลายกองติดตามตีพม่า ก้าวสกัดหน้าตีวกหลังตามเชิงกลยุทธ ฝ่ายสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี ก็เสด็จกลับเข้ากรุงธนบุรีป้องกันพระราชธานีต่อไปฯ
    &middot; ฝ่ายพระยาจักรีนั้น ครั้นส่งเสด็จแล้วจึงจัดกองทัพออกติดตามสกัดจับพม่าตีรุกหลังพม่าแตกฉานเป็นหลายทัพจับได้ลี้พลช้างม้าเป็นอันมาก ทั้งตัวเจ้าพระยาจักรีเอง ก็ยกทัพหนุนไปด้วยจนถึงเมืองกำแพงเพชร แล้วจัดการพิทักษ์รักษาเมืองโดยกวดขันส่วนตัวของท่านเจ้าพระยาเอง ก็ออกขี่ม้าสำรวจตรวจตรากองทัพน้อยๆ ทั่วไป เพราะใส่ใจต่อหน้าที่ราชการจนพม่าไม่กล้าหาญชิงเอาเมืองเหนือได้ ต้องส่งออกไปยังด่านชั้นนอกพ้นเขตแดนสยามกองทัพไทยไล่จับพม่าที่ล้าหลังได้ไว้เป็นกำลังราชการเป็นอันมาก ทัพอะแซหวุ่นกี้ล่าทัพออกพ้นประเทศอาณาเขตสยามในคราวนี้ ตามกำหนดมีว่าเดือน ๗ ปีมะแม สัปตศกจุลศักราช ๑๑๓๗ ปีฯ
    &middot; ครั้นนั้นเจ้าพระยาจักรี ตั้งทัพอยู่ ณ เมืองกำแพงเพชร เวลาเช้าวันหนึ่งออกลาดตระเวนกองทัพทั้งปวงเพื่อบัญชาการ และชักม้าวกลัดเพื่อตัดทาง ม้าก็เลยพาท่านเข้าป่าฝ่าพงจำเพาะมายังบ้านปลายนาใต้เมืองกำแพงเพชรเป็นเวลาเย็น จึงแลเห็นโรงหนึ่งตั้งอยู่ปลายทุ่งนา เจ้าคุณแม่ทัพผู้นั้นจึงได้ชักม้าไปถึงโรงนั้น ไม่เห็นมีคนผู้ใหญ่อยู่ ได้เห็นแต่หญิงสาวคนหนึ่งเดินออกมา เจ้าคุณแม่ทัพผู้นั้นจึงบอกแก่นางสาวคนนั้นว่า ข้ากระหายน้ำ เจ้าจงตักน้ำมาให้ข้ากินสักขันเถิด นาวสาวคนนั้นจึงวิ่งด่วนเข้าไปในห้องหยิบได้ขันล้างหน้าใบหนึ่งแล้วจ้วงตักน้ำในหม้อลั่น แล้วล้วงไปหักดอกบัวหลวงในหนองน้อยข้างโรงนั้นสองสามดอก แล้วฉีกกลีบเด็ดเอาแต่เกษรบัวโรยลงไปในขันน้ำนั้นจนเต็ม แล้วนำไปส่งให้บนหลังม้า เจ้าคุณแม่ทัพรับเอามาเป่าเกษรเพื่อแหวกหาช่องน้ำแล้วต้องเอาริมฝีปากเบื้องบนเม้มเกษรไว้ แล้วดูดดื่มน้ำจนหมดขันด้วยอยากกระหายน้ำ ครั้นดื่มน้ำหมดแล้ว เจ้าคุณแม่ทัพจึงถามนางสาวคนนั้นว่า เราอยากกระหายน้ำ สู้อุตส่าห์บากหน้ามาขอน้ำเจ้ากิน เหตุไฉนจึงแกล้งเราเอาเกษรบัวโรยลงส่งให้ เรากินน้ำของเจ้าลำบากนัก เจ้าแกล้งทำเล่นแก่เราหรือฯ
    &middot; นางสาวคนนั้นตอบว่า ดิฉันจะได้คิดแกล้งท่านก็หาไม่ ที่ดิฉันเอาเกษรบัวโรยลงในขันน้ำให้เต็มนั้น เพราะดิฉันเห็นว่าผากแดดแผดลมเหนื่อยมา และกระหายน้ำด้วยก็เพื่อจะป้องกันเสียซึ่งอันตรายแห่งท่าน เพื่อจะกันสำลักน้ำและสะอึกน้ำ และกันจุกแน่นแห่งท่านผู้ดื่มน้ำของดิฉัน ถ้าท่านไม่มีอันตรายในการดื่มน้ำแล้ว น้ำจะได้ทำประโยชน์แก้กระหายแห่งท่าน ดิฉันจะพลอยได้ประโยชน์เพราะให้น้ำแก่ท่าน ท่านสมปรารถนาแล้วก็จะเป็นบุญแก่ดิฉัน เหตุนี้ดิฉันจึงโรยเกษร เจ้าคุณแม่ทัพฟังนางสาวตอบอย่างไพเราะอ่อนหวาน ถ้อยคำที่ให้การมานั้นก็พอฟัง จึงลงมาจากหลังม้าแล้วถามว่า ตัวของเจ้าก็เป็นสาวเป็นเนื้อแล้วมีใครๆ มาหมั้นหมายผูกสมัครรักใคร่เจ้าบ้างหรือยัง นางสาวบอกว่ายังไม่เห็นมีใครๆ มารักใคร่หมั้นหมายดิฉัน และดิฉันก็ยังไม่ได้ไปเที่ยวบอกใครว่าเป็นสาวมัวแต่หลบหัวซ่อนตัวอยุ่ ด้วยบ้านเมืองเกิดยุ่งนุงถุงมานานจนกาลบัดนี้ จึงมิได้มีใครเห็นว่าดิฉันเป็นสาว เจ้าคุณแม่ทัพว่า ถ้ากระนั้นเราเองเป็นผู้ที่ได้มาเห็นเจ้าเป็นสาวก่อนคน เจ้าต้องยอมตกลงเป็นคู่รักของเรา เราจะต้องเป็นคู่ร่วมรักของเจ้าสืบไป เจ้าจะพร้อมใจยินยอมเป็นคู่รักของเราโดยสุจริตหรือว่าประการใดฯ
    &middot; นางสาวตอบว่า การที่ท่านจะมาเป็นคู่รักของดิฉันนั้น ก็เป็นพระเดชพระคุณยิ่งอยู่แล้ว แต่ทว่าการจะมีผัวมีเมียกันตามประเพณีนั้น ดิฉันไม่ทราบเรื่อง จะว่าประการใดแก่ท่านก็ไม่มีอะไรจะว่า เรื่องการผัวการเมียนั้นท่านต้องเจรจากับผู้ใหญ่จึงจะทราบการ เจ้าคุณแม่ทัพถามว่า ผู้ใหญ่ของเจ้าไปไหน นางสาวตอบว่าไปรดน้ำถั่วจวนจะกลับแล้ว เจ้าคุณแม่ทัพขยับเดินเข้าให้ใกล้ นางสาวไพล่วิ่งปรู๋ออกแอบที่หลังโรงเลยไม่เข้าหา ท่านเจ้าคุณแม่ทัพก็ต้องนั่งเฝ้าโรงคอยท่านบิดามารดาของนางสาวต่อไป จนเกือบตะวันตกดินจวนค่ำฯ
    &middot; ฝ่ายตาผล ยายลา กลับมาถึงโรงแล้ว เจ้าคุณแม่ทัพได้เห็นแล้วจึงยกมือขึ้นไหว้ ตายายก็น้อมตัวก้มลงไหว้ตอบ ท่านเจ้าคุณแม่ทัพก็ก้มลงไหว้ให้ต่ำลงไปอีก ตายายก็หมอบลงไปไหว้อีก ท่านแม่ทัพก็หมอบไหว้อยู่นั้น ต่างคนต่างหมอบแต้วกันอยู่นั้นทั้งสองฝ่าย ฝ่ายยายแกเป็นคนปากเร็ว แกนึกขันและประหลาดใจแกจึงเปิดปากถามออกไปก่อนว่า นี่เป็นขุนนางมาแต่บางน้ำบางกอก เหตุไฉนจึงมาหมอบกราบไหว้ข้าเจ้า เป็นชาวบ้านนอกเป็นชาวทุ่งชาวป่า เป็นคนยากจน ท่านจะมาหมอบไหว้ข้าพเจ้าทำไม เจ้าคุณแม่ทัพบอกว่า ฉันจะสมัครเข้ามาเป็นลูกเขยท่านทั้งสองจ๊ะจ๊ะฯ
    &middot; ยายถามว่าท่านเห็นดีเห็นงามอย่างไร เห็นลูกสาวฉันเป็นอย่างไร ท่านจึงจะมายอมตัวเป็นลูกเขยเล่า เจ้าคุณแม่ทัพว่า ฉันเห็นบุตรสาวท่านดีแล้วพอใจแล้วจึงเข้ามาอ่อนน้อมยอมตัวเป็นลูกเขยท่าน ท่านเจ้าคุณแม่ทัพเล่าถึงกาลแรกมาขอน้ำ และนางเอาเกษรบัวโรยลงและได้ต่อว่านางได้โต้ตอบถ้อยคำน่าฟังน่านับถือจึงทำให้เกิดความรักปราณีขึ้น และตั้งใจจะเลี้ยงดูจริงๆ จึงต้องทนอยู่คอยท่าน เพื่อจะแสดงความเคารพและขอเป็นเขย ขอให้แม่พ่อมีเมตตากรุณาเห็นแก่ไมตรีที่ได้มาอ่อนน้อมพูดจาโดยเต็มใจจริงๆ ไม่ได้มีแยบยลอะไร ตั้งใจช่วยทนุบำรุงนางสาวกับพ่อแม่ให้บริบูรณ์พูลเถิดไม่เริดร้างจริงๆ ตามวาจาที่ว่ามานี้ทุกอย่าง ขอพ่อแม่ได้โปรดอนุญาติยกนางสาวลูกนั้นให้เป็นสิทธิแก่ฉันในวันนี้ ยายตาแกร้องขึ้นด้วยความตกใจว่า โอตายจริงข้าเจ้าเป็นคนยากจนข่นแค้นและต่ำศักดิ์ ทั้งผ้าผ่อนที่หลับที่นอนก็เหม็นตืดเหม็นสาบ ทั้งเครื่งเย้ามาเรือนก็ขัดขวาง ทั้งถ้วยชามรามไหมที่ดีงามก็ไม่มีฉิบหายป่นปี้แต่ครั้นบ้านเมืองเกิดยุ่งนุงนังหลายครั้งหลายครามา แลตัวนางหนูเล่าก็ยังไม่เป็นภาษา ทั้งจริตกิริยาก็ยังป่าเถื่อนไม่เหมือนชาวใต้ จะใฝ่สูงเกินศักดิ์เกินสมควรไปละกระมังพ่อคุณฯ
    &middot; เจ้าคุณแม่ทัพว่า ข้อนั้นพ่อแม่อย่ามีความวิตกหวาดกลัวอะไรเลย ข้อสำคัญก็คือแม่พ่อยกให้เป็นกรรมสิทธิแก่ฉันเด็ดขาดแล้ว ต่อไปเป็นหน้าที่ของฉันฝ่ายเดียว ตามที่แม่พ่อยกขึ้นเป็นทางปรารมภ์นั้น เป็นธุระของฉันหมดทุกอย่าง ขอแต่ว่าอย่าเกี่ยงงอนขัดขวางดิฉันเลยฯ
    &middot; ยายลา ตาผล ขอทุเลาถามเจ้าตัวว่า มันจะอยากมีผัวหรืออย่างไรไม่ทราบ แล้วก็ออกไปตามหาที่หลังโรง ตายายพูดจากับลูกสาว ลูกสาวพูดกับพ่อกับแม่ได้ยินแต่กระจู๋กระจี๋กระเส่าๆ กระซิบกระซาบอยู่ครู่หนึ่งแล้วก็กลับมา แล้วนั่งลงถามว่าในเวลานี้ท่านก็มาแต่ตัวกับม้าตัวหนึ่ง ถ้าหากว่าดิฉันทั้งสองจะพร้อมใจยกอีงุดลูกสาวฉันให้เป็นเมียท่าน ท่านจะจัดการประการใดแก่ดิฉันเพื่อให้เป็นมงคล จงว่าให้ดิฉันฟังก่อนเถิดเจ้าข้ะฯ
    &middot; เจ้าคุณแม่ทัพ ถอดแหวนออกจากนิ้วแล้วบอกว่าแหวนวงนี้มีราคาสูง ถ้าว่าท่านบิดามารดายินยอมพร้อมใจกันยกแม่งุดให้เป็นเมียเป็นสิทธิแก่ฉันแล้ว ฉันจะยกแหวนวงนี้ ตีราคาทำสัญญาให้ไว้เป็นสินถ่าย ๒0 ชั่ง คิดเป็นทุนเป็นค่าทองหมั้นขันหมากผ้าไหว้อยู่ใน ๒0 ชั่ง ทั้งค่าเครื่องเย่าเครื่องเรือนเบี้ยเลี้ยงค่าเลี้ยงค่าดู ค่าเครื่องเส้นวักตั๊กกระแตนเสร็จในราคา ๒0 ชั่ง ด้วยแหวนวงนี้สองตายายได้ฟังดีใจ เต็มใจพร้อมใจตกลงยกลูกสาวให้ตามปรารถนา เจ้าคุณแม่ทัพก็จัดแจงยืมพานปากกระจับทองเหลืองมาแล้วเขียนสัญญาถ่ายแหวนแล้วเอาใบตองรองก้นพาน แล้ววางแหวนที่ว่านั้นลงบนใบตองรองในพาน เชิญเข้าไปคุกเข่าส่งให้ตายายๆ ก็ให้ศีลให้พรเป็นต้นว่าขอให้พ่อมีความเจริญขึ้นด้วยลาภและยศ ให้เป็นเจ้าคนนายคนเถิด แล้วจัดแจงหุงข้าวต้มแกงพล่ายำตำน้ำพริกต้มผักเผาปลาเทียบสำรับตามป่าๆ แล้วเชิญให้อาบน้ำทาดินสอพอง ยายตาก็อาบน้ำ ลูกสาวก็อาบน้ำ ตาตักน้ำให้ม้ากิน พาไปเลี้ยงให้กินหญ้า ครั้นคุณแม่ทัพอาบน้ำทาดินสีพองแล้วลูกสาวทาขมิ้นแล้ว ยายก็ยกสำรับปูเสื่อลำแพน แล้วเอาผ้าขาวม้าปูบนเสื่อลำแพน ยายเชิญเจ้าคุณแม่ทัพให้รับประทานฯ
    &middot; ยายตาก็รับประทานพร้อมกัน นางงุดนั้นให้กินภายหลัง ครั้นรับประทานอาหารแล้วต่างคนนั่งสั่งสนทนากัน ครั้นเวลา ๔ ทุ่มจึงพาลูกสาวออกมารดน้ำรดท่าเสร็จ แล้วก็ส่งตัวมอบหมายฝากฝังตามธรรมเนียมของชาวเมืองกำแพงเพชร อันเคยทำพิธีมาแต่ก่อนฯ
    &middot; ส่วนเจ้าคุณแม่ทัพรับตัวแล้ว ก็หลับนอนอยู่ด้วยนางงุดในกระท่อมโรงนาจนรุ่งสางสว่างฟ้าแล้ว ตื่นขึ้นอาบน้ำ รับประทานอาหารแล้วก็ลาตายายขึ้นม้ามาบัญชาการที่กองทัพ พอเวลาค่ำสั่งการเสร็จสรรพแล้ว ห่อเงิน ๒0 ชั่งมาสู่โรงบ้านปลายนา ถ่ายแหวนคืนสัญญาแล้วก็หลับนอน เช้ากลับค่ำไปหา เป็นนิยมมาดังนี้ แม่ทัพนายกองทั้งปวงจะได้ล่วงรู้และร่ำลือให้อื้อฉาวก็เป็นอันว่าหามิได้ แต่บุตรชายของเจ้าคุณแม่ทัพซึ่งนอนอยู่ในค่ายมีอายุ ๘ ขวบโดยปี จะรู้ก็เข้าใจว่าไปดูแลตรวจตราบัญชาการ แต่เป็นดังนี้นานประมาณเดือนเศษ ตามสังเกตรู้ว่านางงุดตั้งครรภ์ ต่อแต่นั้นก็เพียงแต่ไปมาถามข่าวฯ
    &middot; ครั้นมีท้องตราหากองทัพกลับ เจ้าคุณแม่ทัพก็ไปร่ำลาและสั่งสอนกำชับกำชาโดยนานับประการ จนนางเข้าใจราชการตลอดรับคำทุกประการ แล้วท่านก็คุมกองทัพกลับกรุงธนบุรีฯ
     
  16. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    http://www.chiangrai.ru.ac.th/%E0%B8...2%E0%B8%95.htm

    &middot; ครั้นนางงุดได้แต่งงานแล้ว เมื่อเดือนแปด ปีมะแมสัปตศก แล้วก็ตั้งครรภ์ เมื่อครรภ์ยังอ่อนๆ อยู่นั้น นางงุดไปปรึกษาหารือด้วยตาผล ยายลาผู้เป็นบิดามารดาว่าจะคิดการขึ้นล่องค้าขายกรุงธนบุรีและเมืองเหนือนั้น ครั้นคนทั้งสามปรึกษาตกลงเห็นชอบพร้อมใจกันแล้ว คนทั้งสามจึงได้รวบรวมเงินต้นทุนที่ได้ไว้ปันส่วนออกเป็นค่าเรือ ค่าสินค้า ค่ารองสินค้า ค่าจ้างคน ค่าซ่อมแซมอุดยาเรือมั่นคงเรียบร้อยแล้วจึงละโรงนานั้นเสีย ส่วนนาและไร่ผักก็ให้เขาเช่าเสียแล้วพากันลงอยู่ในเรือใหญ่ จัดการซื้อสินค้าบรรทุกเรือนั้นเต็มระวางฯ
    &middot; ครั้นถึงกำหนดล่องกรุงธนบุรี จึงเรียกคนแจวออกเรือ ล่องลงมาถึงบ้านบางขุนพรหม ฝั่งตะวันออกแห่งกรุงธนบุรีแล้ว เข้าจอดเรืออาศัยท่าหน้าบ้านนายทอง นางเพียนบางขุนพรหม เป็นคนเคยอยู่เมืองเหนือแต่ก่อน และนายทองนางเพียนได้ลงมาอยุ่บางขุนพรหม ครั้นตาผลจัดการจอดเรือเรียบร้อยแล้ว จึงผ่อนสินค้าขายส่งจนหมดลำจึงจัดซื้อสินค้าบางกอกและสินค้าเมืองปักษ์ใต้บรรทุกเรือตามระวางแล้วพอถึงวันกำหนดจึงแจวกลับขึ้นไปปากน้ำโพจำหน่ายในตลาดเมืองเหนือ ตั้งแต่เมืองนครสวรรค์ขึ้นไป จนถึงเมืองกำแพงเพชร ครั้นคนทั้งสามซื้อและขายสินค้าหมดเสร็จแล้วก็กลับบรรทุกสินค้าเมืองเหนือกลับล่องเรือลงมาจอดท่าหน้าบ้านนายทองนางเพียนบางขุนพรหม ค้าขายมาโดยนิยมดังนี้ ล่วงวันและราตรีมาถึงเก้าเดือน ได้กำไรมากพอแก่การปลูกเรือนแล้ว จึงเหมาช่างไม้ให้ปลูกเรือนแพสองหลังแฝด มีชานสำหรับผึ่งแดดพร้อมทั้งครัวไฟ บันไดเรือนบันไดน้ำจำนองที่ดินลงในถิ่นบางขุนพรหมเหนือบ้านนายทอง นางเพียนขึ้นไปสัก ๔ วาเศษ เพื่อเหตุจะได้อาศัยคลอดลูกและใช้ผูกพักผ่อนหย่อนสินค้า เห็นเป็นการสะดวกดีที่สุดฯ
    &middot; ครั้นถึง ณ วันพุธ เดือนหก ปีวอก อัฏฐศก จุลศักราช ๑๑๓๘ ปี นางงุดปั่นป่วนครรภ์เป็นสำคัญรู้กันว่าจะคลอดบุตร จึงจัดแจงห้องนางงุดให้เป็นที่คลอดบุตรโดยฉับไว บนเรือนที่ปลูกใหม่บางขุนพรหมนั้น ครั้นได้ฤกษ์งามยามดี นางงุดก็คลอดบุตรเป็นชายที่ล่ำสัน หมู่ญาติมิตรก็ได้มาพร้อมกันช่วยอภิบาลบำรุงรักษาพยาบาลฯ
    &middot; ครั้นบุตรนั้นเจริญวัฒนาการประมาณได้สักเดือนเศษ ญาติมิตรพากันมาสังเกตตรวจตราจับต้อง ประคองทารกน้อยขึ้นเชยชม บางคนคลำถูกกระดูกแขนเห็นเป็นแกนกระดูกเป็นท่อนเดียวกัน ก็พากันเฉลียวใจโจทย์กันไปโจทย์กันมา ครั้นช้อนทารกขึ้นนอนบนขาเพื่อจะอาบน้ำจึงพากันเห็นปานดำที่กลางหลังอยู่หนึ่งดวงต่างคนต่างก็ทักท้วงกันไปทายกันมาพูดกันไปต่างๆ นานา เป็นวาจาต่ำบ้างสูงบ้างเป็นความเห็นของคนหมู่มากทักทายหลายประการ จึงทำความรำคาญให้แก่นางงุดไม่สบายใจ เกรงไปว่าวาสนาตัวน้อยจะไม่สามารถคอยเลี้ยงลูกคนนี้ยาก นางงุดจึงออกปากอ้อนวอนบิดา นายทองและนางเพียนให้ช่วยสืบเสาะดูให้รู้ว่าพระสงฆ์องค์เจ้ารูปใดอยู่วัดไหนที่อย่างดีมีอยู่บ้างในแถวนี้ เห็นพระสงฆ์ที่ดี มีศีลธรรมวิชาภูมิรู้ปฏิบัติเคร่งครัดอยู่ในวัดใด ขอได้ช่วยพาบุตรไปถวายเป็นลูกท่านองค์นั้นในวัดนั้นด้วยเถิดฯ
    &middot; นายทองนางเพียนจึงพากันนิ่งนึกตรึกตราไปทุกวัดในแถบนั้นจึงคิดถึงหลวงพ่อแก้ว วัดบางลำภูบน จึงบอกแก่นายผลว่า หลวงพ่ออาจารย์แก้ววัดบางลำภูบนนี้ท่านดีจริง ดีทุกสิ่งตามที่กล่าวมานั้น ทั้งเป็นพระสำคัญเคร่งครัด ปริยัติ ปฏิบัติก็ดี วิชาก็ดีมีผู้คนไปมานับถือขึ้นท่านมาก ถ้าพวกเราไปออกปากฝากถวายเจ้าหนูแก่ท่าน เห็นท่านจะไม่ขัดข้อง เพราะท่านมีอัธยาศัยกว้างขวางดี เมื่อคนทั้ง ๔ นั่งปฤกษาหารือตกลงเห็นพร้อมใจกันแล้ว จึงได้พากันลงเรือช่วยกันแจวล่องมาวัดบางลำภูบนเมื่อเวลาบ่าย ๔ โมงเย็น ถึงแล้วก็พากันขึ้นวัด นางงุดอุ้มเบาะลูกอ่อนพาไปนอนแบเบาะไว้มุมโบสถ์วัดบางลำภูตอนข้างใต้หน้ากุฏิพระอาจารย์แก้ว แล้วนายทองนางเพียนจึงไปเที่ยวตามหาพระอาจารย์แก้ว เวลาเย็นนั้นท่านพระอาจารย์แก้วเคยลงกระทำกิจกวาดลานวัดทุกๆ วันเป็นนิรันดรมิได้ขาดฯ
    &middot; นายทอง นางเพียน หามาพบหลวงพ่อ กำลังกวาดลานข้างตอนเหนืออยู่ นายทองนางเพียนจึงทรุดตัวนั่งยองยองยกมือทั้งสองขึ้นประนมไหว้แล้วออกวาจาปราศรัยบอกความตามที่ตนประสงค์มาทุกประการ ฝ่ายหลวงพ่ออาจารย์แก้ว ฟังคำนายทองนางเพียนแล้ว ตรวจนิ้วมือดูรู้ฤกษ์ยามตามตำรา ท่านจึงพิงกวาดไว้ที่ง่ามต้นไม้ แล้วก็ขึ้นมากุฏิ ออกนั่งที่สำหรับรับแขกบ้านทันทีฯ
    &middot; ตาผล นางงุด ก็ประคองบุตรน้อยขึ้นกุฏิ เข้ากราบกรานพระอาจารย์แก้ว แล้วจึงกล่าวคำว่า กระผมเป็นตาของอ้ายหนูน้อย อีแม่มันนั้นเป็นลูกสาวของกระผมๆ กับอีแม่มันมีความยินยอมพร้อมใจกันยกอ้ายหนูน้อยถวายหลวงพ่อเป็นสิทธิขาดแต่วันนี้ ขอหลวงพ่อได้ปรานีโปรดอนุเคราะห์ รับอ้ายหนูน้อยเป็นลูกของหลวงพ่อด้วยเถิดภ่ะค่ะ ครั้นกล่าวคำเช่นนั้นแล้ว จึงพร้อมอุ้มเบาะทารกขึ้นวางบนตักหลวงพ่อพระอาจารย์แก้วแล้วก็ถอยมานั่งอยู่ห่างตามที่นั่งอยู่เดิมนั้นฯ
    &middot; ฝ่ายพระอาจารย์แก้ว ตั้งใจรับเด็กอ่อนไว้แล้ว ท่านก็ตรวจตราพิจารณาดู ท่านก็รู้ด้วยการพิจารณา รู้ว่าเด็กคนนี้มีปัญยาสามารถ ทั้งเฉลียวฉลาดในการร่ำเรียนทั้งประกอบด้วยความเพียรและความอดทน ทั้งจะเป็นบุคคลที่เปรื่องปราชญ์อาจหาญ ทั้งจะเป็นคนที่เชี่ยวชาญวิทยาคม ทั้งจะมีแต่คนนิยมฦาชาปรากฏ ทั้งจะเป็นคนกอปรด้วยอิสริยศบริวารยศมาก ทั้งจะเป็นคนประหลาดแปลกกว่าคน ทั้งจะเจริญทฤฑชนม์มีอายุยืนนาน ครั้นพระอาจารย์แก้วตรวจวิจารณ์ชะตาราศีแล้วจึงผูกข้อมือเสกเป่าเข้าปากนวดนาบด้วยนิ้วของท่านเพื่อรักษาเหตุการณ์ตาลทราง หละ ละลอก ทรพิศม์ มิให้มีฤทธ์มารบกวนแก่กุมารน้อยต่อไป แล้วท่านก็ฝากให้นางงุดช่วยเลี้ยงกว่าจะได้สามขวบเป็นค่าจ้างค่าน้ำนมข้าวป้อนเสร็จปีละ ๑00 บาท แล้วท่านประสาทสั่งซ้ำว่า อย่าให้มารดากินของขมและของเผ็ดร้อน และของบูดแฉะเกรงขีระรสธาราจะเสีย แล้วท่านก็กำชับสั่งนายผลให้เอาใจใส่ระวังระไวคอยเตือน อย่าให้นางแม่มันเล่นเล่อเหม่อประมาทคอยขู่ตวาดนางแม่มันอย่าให้กินของแสลงตามที่เราห้าม จงทำตามทุกประการฯ
    &middot; ฝ่ายตาผล นางงุด พนมมือรับปฏิญาณแล้วกราบกรานลา รับเบาะลูกน้อยมาแล้วลงกุฏิ พากันมาลงเรือปู้แหระ ช่วยกันแจวแชะแชะมาจนถึงเรือใหญ่ท่าหน้าบ้านบางขุนพรหมแล้วก็รออยู่พอหายเหนื่อย จนอายุเด็กเจริญขึ้นได้ ๓ เดือน จึงหาฤกษ์โกนผมไฟในเดือน ๙ ปีวอก ฉศกนั้น ครั้นกำหนดวันฤกษ์แล้วจึงนายผลออกไปวัดบางลำภูบนนิมนต์ท่านพระอาจารย์แก้ว แล้วขอเผดียงสงฆ์อีก ๔ รูปรวมเป็น ๕ เข้ามาเจริญพระปริตพุทธมนต์ในเวลาเย็น รุ่งขึ้นฤกษ์โกนผมไฟ แล้วนิมนต์รับอาหารบิณฑบาตร
    &middot; ครั้นนายผลทราบว่า พระอาจารย์ทราบแล้ว จึงนมัสการลากลับมา เที่ยวบอกงานและจัดหาเครื่องบูชา เครื่องใช้สอย โตกถาดภาชนะ ทั้งเครื่องบุดาดอาสนะพร้อมแม่ครัว เมื่อถึงวันกำหนด พระสงฆ์มาพร้อมจึงเผดียงขึ้นสู่โรงพิธีบนเรือนแพที่ปลูกใหม่นั้น แล้วพระสงฆ์เริ่มการสวดมนต์ ครั้นสวดมนต์แล้ว พระสงฆ์กลับแล้วจึงจัดการเลี้ยงดูกันฯ
    &middot; ครั้นรุ่งเช้าพระสงฆ์มาพร้อมนั่งอาสน์ จึงนำเด็กออกมาฟังพระสวดมนต์ พระสงฆ์สวดชัยมงคลคาถาแล้วโกนผมไฟกันไปเรื่อย แล้วจัดอาหารบิณฑบาตรอังคาสแก่พระสงฆ์แล้ว พระสงฆ์ทำภัตตกิจ อนุโมทนาแล้วกลับ จึงจัดการประพรหมเย่าเรือนจุณเจิมเรือและเรือนเสร็จฯ
    &middot; ครั้นจัดการทำบุญให้ทานเสร็จแล้ว พักผ่อนพอหายเหนื่อย จึงจัดสรรพสินค้าเมืองปักษ์ใต้ ได้เต็มระวางแล้วจึงออกเรือไปเมืองเหนือ จำหน่ายสินค้า ก็จัดรองสินค้าเมืองเหนือมาจำหน่ายในบางกอก กระทำพานิชกรรมสัมมาอาชีวะอย่างนี้เสมอมา ก็บันดาลผลให้เกิดหนุนภูลเถามั่งคั่งสมบูรณ์ขึ้นหลายสิบเท่า พ่อค้าแม่ค้าทั้งปวงก็รู้จักมักคุ้นมากขึ้นเป็นลำดับมา ตาผล ยายลา นางงุด จึงได้ละถิ่นฐานทางเมืองกำแพงเพชรเสียลงมาจับจองจำนองหาที่ดินเหนือเมืองพิจิตร ปลูกคฤหสถานตระหง่านงามตามวิสัย มีเรือนอยู่ หอนั่ง ครัวไฟ บันไดเรือน บันไดน้ำ โรงสี โรงกระเดื่อง โรงพักสินค้า โรงเรือ รั้วล้อมบ้าน ประตูหน้าบ้าน ประตูหลังบ้าน ได้ทำบุญให้ทานที่วัดใหญ่ในเมืองพิจิตรนั้น จึงได้มีความชอบชิดสนิทกับท่านพระครูใหญ่ วัดใหญ่นั้น มีธุระปะปังอันใดก็ได้สังสรรไปหาทายกแจกฎีกาไม่ว่าการอะไร มาถึงแล้วไม่ผลักยินดีรักในการทำบุญการกุศล เลยเป็นบุคคลมีหน้าปรากฏในเมืองพิจิตรสืบไปฯ
    &middot; ท่านพระครูใหญ่ วัดใหญ่ในเมืองพิจิตรนั้น ท่านองค์นี้ดีมากในทางรู้วิชาคาถาอาคมก็ขลังมาก วิชาฝ่ายนักเลงต่างๆ พอใช้ เป็นที่เคารพยำเกรงของหมู่นักเลงขยั้นเกรงกลัวท่านมาก ท่านพระครูใหญ่วัดใหญ่พระองค์นี้ เชี่ยวชาญชำนาญชอบรู้ในคัมภีร์มูลประกรณ์ทั้ง ๕ คัมภึร์หาผู้มีเปรียบเทียบเท่าท่านในเมืองนั้นในคราวนั้นมิได้ใช่แต่เท่านั้นท่านขลังในอาคมทางอยู่ยงคงกระพันชาตรีทางภูตทางผีทางปีศาจก็เก่งพร้อมห้ามเสือห้ามจรเข้ ห้ามสัตว์ร้ายก็ได้ ป่าเสกให้คนและสัตว์ร้ายอ่อนเพลียเสียกำลัง ยืนงงนั่งจังงังก็ทำได้ พระสงฆ์ในเมืองพิจิตรเกรงกลัวท่านมากตลอดแขวงตลอดคุ้ม ไม่มีวัดไหนล่วงบัญญัติกัตติสัญญาณาบัติเลย ทั้งเจ้าเมืองกรมการก็ยำเกรงขามท่านพระครูวัดใหญ่มาก ใช่แต่เท่านั้น ท่านกอปรด้วยเมตตากรุณาอนุกูล สัปปุรุส อุบาสิกา สานุศิษย์ มิตรญาติ สงเคราะห์อนุเคราะห์ อารีอารอบทั่วไป มีอัธยาศรัยกว้างขวางเผื่อแผ่เอื้อเฟื้อเกื้อกูลคนที่ควรสงเคราะห์ไม่จำเพาะบุคคล ข่มขี่ขัดเกลากิเลสด้วยไม่โลภโมห์โทสันต์ ขันติธรรมก็พอใช้ วินัยก็พอชม มีผู้นิยมสู่หามาไปมิได้ขาด ทั้งฉลาดในข้อปฏิสันฐานการวัดก็จัดจ้านเอาใจใส่ การปฏิสังขรก็เข้าใจปะติปะต่อก่อปรุงถาวรวัตถุกรรม แนะนำภิกษุสามเณรและอุบาสกอุบาสิกา ให้รู้จักกิจถือพระพุทธศาสนาให้กอปรด้วยประสาทะศรัทธามั่นคง จำนงแน่ในพระรัตนตรัยหมั่นเอาใจใส่สอนศิษ์ให้รู้ทางประโยชน์ดีฯ
    &middot; เมื่อตาผล ยายลา นางงุด จะล่องลงมาค้าขาย ก็ต้องออกไปร่ำลารดน้ำมนต์รับน้ำมาพรหมสินค้า และพรหมเรือพรหมคนแจว พรหมบ้านเรือน เพื่อให้พ้นภัยอันตรายให้ซื้อง่ายขายคล่อง เวลาตาผลนางงุดกลับ ก็ต้องขึ้นสักการะท่านพระครู จึงบันดาลให้มีผู้นิยมรักแรงแข็งขอบไปทั้งเมืองเหนือเมืองใต้ มีคนเกรงใจเชื่อหน้าถือตา เมื่อจะค้าก็ไม่ต้องลงทุนได้ผ่อนทรัพย์ออกไปหมุนหาดอกเบี้ย และปัวเปียเข้าหุ้นกับพ่อค้าใหญ่ๆ ก็ได้ทำกำไรงอกงาม ตามประวัติการแห่งพานิชกรรมร่ำมาด้วยประการดังนี้ฯ
    &middot; ครั้นถึงปีขาล จัตวาศก จุลศักราช ๑๑๔๔ แผ่นดินพระเจ้ากรุงธนบุรีสิ้นอำนาจแล้ว เป็นปีที่สมเด็จเจ้าพระยามหากษัตริย์ศึกได้ขึ้นเถลิงถวัลยราชย์ปราบดาภิเษกเปลี่ยนเป็นปฐมบรมจักรีพระองค์แรก และย้ายพระมหานครมาข้างฝั่งตะวันออกแห่งกรุงธนบุรี ตรงหัวแหลมระหว่างวัดโพธิ์และวัดสลัก เป็นวัดเก่ามากทั้ง ๒ วัด เป็นคราวผลัดแผ่นดินใหม่ ทรงขนานนามพระนครใหม่ว่า กรุงเทพพระมหานคร ฯลฯ พระบรมราชนามาภิไธยว่า สมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก รัชกาลที่ ๑ กรุงเทพฯ ทรงตั้งเจ้าพระยาสุรสีห์น้องชาย เป็นสมเด็จพระอนุชาธิราชเจ้าฟ้ามหาสุรสีหนาทกรมพระราชวังบวรสถานมงคล ทรงตั้งพระมเหสีเดิม เป็นสมเด็จพระอมรินทรามาตย์ ทรงตั้งพระราชโอรสที่ ๔ อันมีพระชนม์พรรษาได้ ๑๖ พรรษา เป็นสมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้ากรมหลวงอิศรสุนทร ทรงตั้งสมเด็จพระเจ้าหลานเธอเจ้าฟ้ากรมขุนอนุรักษ์เทเวศร์ ขึ้นเป็นสมเด็จพระเจ้าภคิเณยราช กรมพระราชวังบวรสถานพิมุขฝ่ายพระราชวังหลังรับพระราชบัญชาฯ
    &middot; ฝ่ายหนูโตบุตรชายของนางงุดเมืองพิจิตรนั้น มีชนมายุได้ ๗ ขวบ ครั้นการบ้านเมืองสงบเรียบร้อยเป็นปกติแล้ว นางงุดจึงได้นำหนูโต อายุ ๗ ขวบ นั้นเข้าไปถวายท่านพระครูใหญ่เมืองพิจิตรให้เป็นศิษย์เรียนหนังสือไทยหนังสือขอมและกิริยามารยาทและขนบธรรมเนียมการวัด การบ้าน การเมือง การโยธา การเรือน การค้าขาย เลขวิธีการของผู้อยู่การของผู้ไป การรับการส่ง การที่เจ้าจะใช้นายจะวาน การไว้ท่าวางทาง ทำท่วงทำทีสำหรับผู้ลากมากดี ในสำนักนี้ ท่านพระครูใหญ่วัดใหญ่นั้นฯ
    &middot; คั้นถึงปีวอกสัมฤธิศก จุลศักราช ๑๑๕0 อายุหนูโตได้ ๑๓ ขวบ เป็นคราวที่จะทำการโกนจุกแล้ว ตาผล นางงุดจึงรับเข้าพักอยู่ที่บ้าน เพื่อระวังเหตุการณ์ แล้วจึงจัดบ้านช่องค้ำจุนหนุนเตาหม้อ ก่อเตาไฟ ซ่อมบันได เตรียมเครื่องครัวพร้อม กำหนดวันฤกษ์งามยามดี หนีกาฬกิณีตามวิธีโหราจารย์บุราณประเพณีได้วันดีแล้วในเดือน ๖ ข้างขึ้น จึงเผดียงท่านพระครูใหญ่ พระอาจารย์ พระเจ้า อธิการวัด พระฐานา พระที่เป็นญาติ และพระที่เป็นมิตรรวม ๑๑ รูป กำหนดวันเวลาแล้วเผดียงสวดมนต์ฉันเช้า และเชิญท่านเจ้าเมืองกรรมการผู้ใหญ่ พ่อค้า แม่ค้า คฤหบดี คฤหปตานี เจ้าภาษีนายอากร อำเภอ กำนัน พันทะนายบ้าน นายกองขุนตำบล และคณะญาติผู้ใหญ่ผู้น้อยรอบคอบแล้ว จัดกระจายใบบัวบรรจุขนมของกินและผลาผลกับปิยจรรหรรมัจฉมังสาหาร เป็นเครื่องไทยทาน ถวายแถมพกตอนเช้า ผ้าไตรจีวรถวายตอนเย็น หาเสภามาขับตลอดกลางคืน หาละครสมโภชในตอนทำขวัญ แล้วบุดาษมุงบัง ปู ปัด จัดตั้ง พร้อมทุกสิ่งทุกประการฯ
    &middot; ครั้นถึงวันกำหนด พระสงฆ์มา แขกก็มา จัดบุคคลที่สมควรรับรองเชื้อเชิญ นั่งลุกตามขนบธรรมเนียมอย่างชาวเหนือในเวลานั้น เริ่มการสวดมนต์ตั้งหม้อเต้าน้ำสังข์มังสี มีดโกนด้ามสามกษัตริย์ บัตรบายศรีมีพร้อมในโรงพิธี บนหอนั่งเป็นที่เอิกเกริก สวดมนต์พระสงฆ์แล้วก็จัดแจงเลี้ยงดูกันอิ่มหนำสำราญ พอตกพลบค่ำ ก็จุดตามประทีปโคมไฟไสวสว่างมีเสภารำต่อไปฯ
    &middot; ครั้นเวลาเช้าวันรุ่งขึ้น พระสงฆ์มาพร้อมตามเวลา แขกที่เชิญมานั่งพร้อมตามกำหนดนัด นำหนูโตออกจากเรือน มานั่งในโรงพิธีที่หอนั่ง ฟังพระสงฆ์สวดชัยมงคลคาถาแล้ว ได้เวลากำหนดฤกษ์ พระสวดชะยันโต ท่านเจ้าเมืองหยิบกรรไกรยกกระบัตรแหวกจุกผูกสามจอมเรียกว่า ไตรสิงขร พระสวดถึง(ปัลลังเกสีเส) ท่านเจ้าเมืองลงกรรไกรคีบจุกขาดออกทั้งสามจอมแล้วโกนด้วยมีดด้ามนาก ด้ามเงิน ด้ามทอง เรียกว่ามีดสามกษัตริย์
    &middot; ครั้นพนักงานโกนผมที่ศีรษะหนูโตหมดแล้ว จึงอุ้มหนูโตออกไปนั่งเตียงเบญจาท่านเจ้าเมืองรดน้ำมนต์ด้วยสังข์ก่อนแล้วบรรดาแขกที่เชิญมาและคณะญาติมิตรก็ช่วยลดน้ำหลั่นกันลงไป เสร็จการรดน้ำแล้วก็อุ้มหนูโตเข้าเรือนจัดแจงเปลี่ยนเสื้อผ้าต่อไปฯ
    &middot; ฝ่ายพนักงานยกสำรับก็ยกมา พวกใส่บาตรก็ใส่ไป เสร็จแล้วก็ยกประเคนพระ พระลงมือฉัน ครั้นพระเสร็จการภัตตกิจแล้ว เจ้าของงานก็จัดแจงถวายเครื่องไทยทานตามที่จัดไว้ และเพิ่มเติมค่าจตุปัจจัยตามสมควร พระอนุโมทนาแล้วกลับไปฯ
    &middot; ฝ่ายจ้างงานก็จัดแจงเลี้ยงดูปูเสื่อกันเสร็จ แล้วจึงตั้งระเบียบบายศรี แว่นเวียนแวดล้อมญาติมิตรคนเชิญขวัญก็มานั่ง จึงอุ้มหนูโตออกมานั่งกลางหอนั่งให้คอยฟังคนเชิญขวัญร่ำรำพรรณ พรรณาสิ้นวาระ ๓ จบแล้ว ก็ออกเทียน แว่นที่มีรูปหอยออกก่อนเวียนเป็นทักษินาวัฏ ๓ รอบแล้ว ผู้อวยพรก็รับมาเศกวิศณุเวทย์มนตราคมน์ เป่าลมแล้วระบายควันดับเทียนนั้นเป่าควันให้กุมารได้รับสัมผัส แล้วผจงผลัดผ้าหุ้มคลุมบายศรี หยิบเครื่องพลี มีกุ้งพล่าและปลายำ สิ่งละคำคลุกเข่าป้อน เปิดมะพร้าวอ่อน ช้อนตักน้ำนำให้ซดจุณจันทน์บทกระแจะเจิมเสกส่งเสริมสวัสดี ตามพิธีไสยศาสตร์ พวกพิณพาทย์บรรเลงเพลงครื้นเครงครึกโครม เสียงส่งสำเนียงโห่สนั่น เมื่อทำขวัญกุมารโตเป็นทะโหราดิเรกเป็นเอ้เอก อึกกระธึก ที่ระลึกทั่วไป สำหรับให้เป็นตัวอย่างคนลางบางในภายหลังจะได้ฟังเป็นการดี ครั้นทำพิธีทำขวัญแล้ว เป็นที่แผ้วผ่องภิญโญ กุมารโตจึงส่งผ้าให้มารดารับไว้เก็บเข้าไปในเรือนพลัน พวกลงขันยื่นเงินตราให้เสื้อผ้าตามฐานะ ไม่เกณฑ์กะเป็นอัตราเคยมีมาแต่โบราณฯ
     
  17. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    http://www.chiangrai.ru.ac.th/%E0%B8...2%E0%B8%95.htm

    &middot; ครั้นการนั้นเสร็จแล้ว โดยสะดวกเรียบร้อยทุกประการ พวกละครรำก็โหมโรงเล่นไปวันหนึ่งจึงเลิกงาน แล้วเลี้ยงดูกันสำราญในเวลาเย็นอีกคราวหนึ่ง ครั้นล่วงมาอีก ๗ วัน นางงุดจึงนำกุมารโตบุตรออกไปมอบถวายท่านพระครูวัดใหญ่ในเมืองพิจิตรอีก แล้วให้ท่านสอนสามเณรสิกขา นาสะนังคะให้รู้ข้อปฏิบัติในวัตรทางสามเณรภูมิต่อไปฯ
    &middot; ครั้นถึงเดือน ๘ ปีวอกนั้นเอง นางงุดมารดาและคณาญาติใหญ่น้อย นางงุดมารดา และคณาญาติใหญ่น้อย ได้จัดบริขารไตรจีวร และย้อมรัดประคตของบิดา ที่ได้กำชับมอบหมายไว้แต่เดิมนั้นเป็นองคะพันธะบริขารพร้อมทั้งบาตร์โอตะลุ่ม เสื่อมุ้งน้ำมันมะพร้าวตะเกียง กับเครื่องถวายพระอุปัชฌาย์ และถวายพระอันดับอีก ๔ องค์ แล้วพากันออกไปที่วัด อาราธนาท่านพระครูให้ประทานบรรพชาแก่กุมารโตและขอสงฆ์นั่งปรกอีก ๔ องค์รวมเป็น ๕ ทั้งพระอุปัชฌาย์ลงโบสถ์ พระครูก็อนุมัติตามทุกประการ ฯ
    &middot; ครั้นสามเณรโตได้บรรพชาเสร็จแล้ว ก็ตั้งใจเคร่งครัด เกรงต่อพระพุทธอาญาอุตส่าห์เอาใจใส่ปรนนิบัติพระอุปัชฌาย์ทุกวันวาร อุตส่าห์กิจการงานในหน้าที่ อุตส่าห์เล่าเรียนคัมภีร์มูละกัจจายนะปกรณ์ เป็นต้นว่าเล่าสูตร์จบเล่าโจทย์จบจำได้แม่นยำดี เรียนบาลีไวยกรณ์ตั้งแต่ สนธิ นาม และสมาส ตัทธิต อุณณาท กริต การก และสนธิ พาลาวะการ สัททะสาร สัททะพินธุ์ สัททะสาลินี คัมภีร์มูลทั้งสิ้นจบบริบูรณ์แม่นยำจำได้ดี ถึงเวลาค่ำราตรีก็จุดประทีปถวายพระอุปัชฌาย์นวดบาทาบีบแข้งขานวดเฟ้น หมั่นไต่ถามสอบทานในการที่เรียนเพียรหาความตามประสาเด็ก ถามเล็กถามน้อยค่อยๆ ออเซาะพูดจาประจ๋อประแจ๋ กระจุ๋มกระจิ๋มยิ้มย่องเป็นที่ต้องใจในท่านพระครูอุปัชฌาย์ ท่านเกิดเมตตากรุณาแนะนำธรรมปริยาย ท่านต้องขยายเวทมนต์ดลคาถาสำหรับ แรด หมี เสือ สางช้างม้า มะหิงษา โคกระทิงเถื่อนที่ดุร้าย จรเข้เหราว่ายวนเวียนไม่เข้าใกล้ สุนัขป่า สุนัขไน สุนัขบ้าน อันธพาล คนเก่งกาจฉกรรจ์เป่าไปให้งงงันยืนจังงัง ตั้งฐานภาวนาบริกรรมทำสูนย์ตรงนี้ๆ ตั้งสติไว้เบื้องหน้าแห่งวิถีจิตต์อย่างนี้ๆ ท่านบอกกะละเม็ด วิธีสองสามเณรให้ชำนิชำนาญ รอบรู้ในวิทยาคุณคาถามหานิยมเกิดเป็นมหาเสน่ห์ทั่วไป สามเณรโตก็อุตส่าห์ร่ำเรียนได้ในอาคมต่างๆ หลายอย่างหลายประการ ออกป่าเข้าบ้านทดลองวิชาความรู้ในวันโกนวันพระ ที่ว่างเรียนมูละปกรณ์แล้วก็ต้องทดลองวิชาเบ็ดเตล็ดเป็นนิตยกาล จนคล่องแคล่วชำนิชำนาญ ใช้ได้ดังประสงค์ทุกอย่าง ฯ
    &middot; ครั้นถึงปีจอโทศก จุลศักราช ๑๑๕๒ ปี อายุสามเณรโตได้ ๑๕ ปี บวชเป็นสามเณรได้สามพรรษา เล่าเรียนคัมภีร์มูละกัจจายนะปกรณ์จบ เข้าใจไวยากรณ์ รู้สัมพันธ์บริบูรณ์ ครั้นถึงเดือน ๑๒ ปีจอโทศกนั้น สามเณรโตเกิดกระสันใคร่เรียนคัมภีร์พระปริยัติศาสนาเป็นกำลัง ทนความกระหายการเรียนพระปริยัติธรรมนั้นไว้ไม่ได้ จึงคลานเข้าไปนั่งพนมก้มกราบไหว้ท่านพระครูผู้เป็นพระอุปัชฌาย์ แล้วอ้อนวอนขอเรียนคัมภีร์พระปริยัติศาสนาต่อไป ฯ
    &middot; ฝ่ายท่านพระครูได้ฟังคำสามเณรโต เข้ามาร้องขอเรียนคัมภีร์พระปริยัติธรรมอีกท่านก็อั้นอกอึกอักอีกด้วยคัมภีร์พระปริยัติได้กระจัดกระจายตกเรี่ยเสียหายป่นปี้มาแต่ครั้งพม่าเข้ามาตีกรุง ซ้ำสังฆราชเรือง เผยอตั้งตัวขึ้นเป็นพระเจ้าแผ่นดิน ทำให้สมบัติของวัดวาอารามเสียหายหมดอีกเป็นคำรบ ๒ ซ้ำร้ายพวกผู้ร้ายเข้าปล้นพระพุทธศาสนาคว้าเอาพระคัมภีร์ปริยัติสำหรับวัดนี้ไปจนหมดสิ้นเป็นคำรบ ๓ และวัดแถบนี้ก็หายากหาตำราหยิบยืมกันยาก ถึงจะมีบ้างก็เล็กน้อยสักวัดละผูกสองผูกก็จะไม่พอแก่สติปัญญาของออสามเณรโต จะเป็นทางกระดักกระเดิด ครั้นกูจะปิดบังเณรเพื่อหน่วงเหนี่ยวชักนำไปทางอื่นก็จะเป็นโทษมากถึงอเวจี ควรกูจะต้องชี้ช่องนำมรรคาจึงจะชอบด้วย พระพุทธศาสนาตามแบบพระอรหันตาขีณาสพแต่ก่อนๆ ท่านได้กุลบุตรที่ดีมีสติปัญญาวิสาระทะแกล้วกล้าสามารถจะทำกิจพระศาสนาได้ตลอด ท่านก็มิได้ทิ้งทอดหวงห้ามกักขังไว้ ท่านย่อมส่งกุลบุตรนั้นๆ ไปสู่สำนักพระมหาเถระเจ้าซึ่งเชี่ยวชาญต่อๆ ไปเป็นลำดับจนตลอดกุลบุตรนั้นๆ ลุล่วงสำเร็จกิจตามประสงค์ทุกๆ พระองค์มา ก็กาลนี้สามเณรโตเธอมีปรีชาว่องไวมีอุปนิสัยยินดีต่อบวรพุทธศาสนามากอยู่ ไม่ควรตัวกูเป็นอุปัชฌาย์อาจารย์จะทานทัดขัดไว้ ฯ
    &middot; ครั้นท่านดำริเห็นแจ่มแจ้งน้ำใจที่ถูกต้องตามคลองพระพุทธศาสนานิกมณฑลฉะนี้แล้ว ท่านจึงมีเถระบัญชาแก่สามเณรโตดังนี้ ฯ
    &middot; เออแน่ะ สามเณรโต ตัวกูนี้มีคัมภีร์มูล กูชอบและกูสอนกุลบุตรได้ตลอดทุกคัมภีร์ แต่กูก็มีแต่คัมภีร์มูลครบครัน เหตุว่ากูรักกูนิยม กูรวบรวมรักษาไว้ ถึงว่าจะขาดเรี่ยเสียหายกระจัดกระจายไป ก็จัดงานซ่อมแซมขึ้นไว้จึงเป็นแบบแผนพร้อมเพรียงอยู่ เพราะกูมีนิสัยรู้แต่เรื่องมูลและไวยากรณ์เท่านั้น แต่คัมภีร์ปริยัติธรรมนั้นเป็นของสุดวิสัยกู กูจึงไม่ได้สะสมตำรับตำราไม่มีคัมภีร์ฎีกาอะไรไว้เลย ในตู้หอไตรเล่าก็มีแต่หอและตู้อยู่เปล่าๆ ถ้าหากว่ากูจะเที่ยวยืมมาแต่อารามอื่นๆ มาบอกมาสอนเธอได้บ้าง แต่กูไม่ใคร่จะไว้ใจตัวกูก็คงบอกได้แต่ก็คงไม่ได้ เพราะกูไม่สู้ชำนาญในคัมภีร์พระปริยัตินัก จะกักเธอไว้ ก็จะพาเธอโง่งมงายไปด้วย เพราะครูโง่ลูกศิษย์ก็ต้องโง่ตาม กูเองก็เป็นเพราะเหตุนี้จึงได้ยอมโง่ แต่ครั้นมาถึงเธอเข้า จะทำให้เธอโง่ตามนั้นไม่ควรแก่กู และว่าถ้าเธอมีศรัทธาอุสาหะใคร่แท้ในทางเรียนคัมภีร์พระปริยัติศาสนาแน่นอนแล้ว กูจะบอกหนทางให้ กูจะแนะนำไปถึงท่านพระครูวัดเมืองไชยนาท ท่านพระครูเจ้าคณะพระองค์นี้ดีมาก ทั้งท่านก็คงแก่เรียน ทั้งเป็นผู้เอาใจใส่หมั่นตรวจตราสอบสวนศัพท์แสงถ้อยคำบทบาทพระศาสนาเสมอ ทั้งบอกพระบอกเณรเสมอ จึงเรียกว่ามีความรู้กว้างขวางทางคัมภีร์พระพุทธศาสนา อรรถกถาฎีกาก็มีมาก ทั้งท่านเอาใจใส่ตรวจตรารวบรวมหนังสือไว้มาก ถึงนักปราชญ์ในกรุง ท่านก็ไม่หวั่นหวาดสยดสยอง
    &middot; ถ้าเธอมีความอุตส่าห์จริงๆ เธอก็พยายามหาหนทางไปเรียนกับท่านให้ได้จะรู้ธรรมดีทีเดียว ฯ
    &middot; ฝ่ายสามเณรโต ได้สดับคำแนะนำของท่านพระครูผู้เป็นพระอุปัชฌาย์ดังนั้นเธอยิ่งมีกระสันเกิดกระหายใจใคร่เรียนรู้ จึงกราบลาท่านพระครู เลยเข้าไปบ้ายอ้อนวอนมารดาและคุณตาโดยเอนกประการ เพื่อจะให้นำไปถวายฝากมอบกับท่านพระครูจังหวัด วัดเมืองไชยนาทบุรี ฯ
    &middot; ฝ่ายคุณตาผล นางงุดโยมผู้หญิง ฟังสามเณรโตมาออดแอดอ้อนวอนก็คิดสงสารไม่อาจขัดขวางห้ามปรามได้ จึงได้รับคำสามเณรว่าจะนำจะพาไปฝากให้ ขอรอให้จัดเรือจัดคนจัดเสบียงอาหารสัก ๒ วัน จะพาไป สามเณรโตได้ฟังก็ดีใจกลับมาสู่อารามเดิม
    &middot; ครั้นรุ่งขึ้นเวลาเย็นๆ นางงุด ตาผล จึงออกไปกราบเรียนบอกความประสงค์ของสามเณรโตแก่ท่านพระครูวัดใหญ่ทุกประการ แล้วขอลาพาเณรไปส่งตามใจในวันรุ่งเช้าพรุ่งนี้ ท่านพระครูก็ยินดีอนุญาตตามประสงค์ทั้ง ๒ ผู้ใหญ่นั้นก็ลากลับมาบ้านจัดเรือจัดคนจัดเสบียงอาหารไว้พร้อมเสร็จบริบูรณ์ ครั้นได้เวลารุ่งเช้าสามเณรโตเข้าไปฉันที่บ้าน ครั้นฉันเช้าแล้วก็ออกเรือแจวออกไปทางแม่น้ำไชยนาทบุรี ฯ
    &middot; ครั้นคนแจว แจวเรือเป็ดมาสุดระยะทาง ๒ คืนก็ถึงท่าเรือวัดเมืองไชยนาทบุรี จึงได้จอดเรือเข้าที่ท่าในเวลากลางคืน คนแจวเรือจอดเรือเรียบร้อยแล้ว จึงอาบน้ำดำเกล้าแล้วพักผ่อนในเรือทั้ง ๓ คน ฯ
    &middot; ครั้นเวลารุ่งเช้าสว่างแล้ว เจ้าจรเข้ใหญ่ในน่านน้ำหน้าท่านั้น ก็ขึ้นเสือกตัวมาตรงหัวเรือเป็ดของตาผลนั้น คนบนเรือริมตลิ่ง ๓ คน แม่ลูกและหญิงผู้ใหญ่ลงอาบน้ำหน้าบันไดบ้านแต่เช้า ครั้นเห็นจรเข้ขึ้นจะคาบคนนอนหลับที่หัวเรือใหญ่ จึงพากันตกใจกลัว แล้วร้องบอกกล่าวกันโวยวายขึ้น คนแจวที่ ๒ นอนถัดเข้ามา ได้ยินเสียงคนบนบ้านเรือนนั้นร้องเอะอะโวยวายจึงตกใจตื่นขึ้น เห็นจรเข้ขึ้นตรงหัวเรือ ลุกขึ้นโยงโย่จับบั้นเอวคนนอนหลับหัวเรือ เพื่อจะให้พ้นจากปากจรเข้ ส่วนคนแจวเรือคนที่ ๓ ก็ตื่นขึ้นนั่งไขว่ห้างหัวเราะคนบนบ้านที่กำลังหนีจรเข้ขึ้นบันไดผ้าผ่อนหลุดลุ่ยล่อนจ้อน ลูกเด็กหญิงเหนี่ยวขาแม่นางแม่เหนี่ยวขายาย ยายผ้าลุ่ยหมดก้าวขาต่อไปก็ก้าวไม่ออก ตาผลอยู่ในเรือก็โผล่ออกมายืนดูอยู่หน้าอุดเรือเฉย จะว่าอย่างไรก็ไม่ว่าดูชอบกล ฯ
    &middot; ฝ่ายสามเณรโตก็ลุกขึ้นนั่งภาวนาอยู่ในประทุนเรือ จรเข้ขึ้นมาแล้วก็อ้าปากไม่ออกจมก็ไม่ลง และไม่ว่ายไม่ฟาดหางทั้งนั้น ดูอาการอ่อนมาก คนบนบ้านก็งง คนในเรือก็งันอยู่ท่าเดียว ฯ
    &middot; ครั้นเวลาเช้า โยมของสามเณรโต ก็จัดแจงหุงต้มอาหารอยู่ตอนท้ายเรือเป็ดนั้น ครั้นได้เวลาก็จัดแจงเลี้ยงดูกัน ถวายอาหารให้เณรขบฉันเสร็จแล้วพอถึงเวลา ๓ โมงเช้าก็พาเณรขึ้นจากเรือ เณรเดินหน้า ตาผลตามเณร นางงุดโยมผู้หญิงพากันเดินตามเป็นแถว ขึ้นกุฏิท่านพระครู ครั้นถึงท่านพระครูแล้วต่างคนต่างปูผ้าลงกราบกันเป็นแถว เณรก็ยืนวันทา แล้วลงกราบท่านพระครูแล้วนั่ง ฯ
    &middot; ฝ่ายท่านพระครูวัดเมืองไชยนาทบุรี จึงมีปฏิสันฐานปราศรัยไต่ถามถึงเหตุการณ์ที่มา ถามถึงบ้านช่องและถามความประสงค์ ฯ
    &middot; ฝ่ายตาผลจึงกราบเรียนท่านว่า เณรหลานชายของเกล้ากระผมบวชอยู่ในสำนักท่านพระครูใหญ่ เจ้าคณะวัดใหญ่ในเมืองพิจิตร ได้ร่ำเรียนบาลีไวยากรณ์ทั้ง ๕ คัมภีร์จบแล้ว เณรใคร่จะเรียนคัมภีร์ใหญ่ต่อไป จึงขอเรียนที่ท่านพระครูวัดใหญ่ แต่ท่านไม่เต็มใจสอนเณรและท่านพระครูวัดใหญ่ได้แนะนำเณรให้ได้มาสู่สำนักพระเดชพระคุณเพื่อเล่าเรียนคัมภีร์ใหญ่กับพระเดชพระคุณแล้ว จะมีความรู้ดีกว่าเรียนกับท่านๆ แนะนำมาดังนี้ เณรดีใจเต็มใจใคร่เรียนในสำนักของพระเดชพระคุณ เณรจึงมารบเร้าเกล้ากระผมและมารดาเณร ขอร้องให้เกล้ากระผมเป็นผู้นำพามาสู่สำนักพระเดชพระคุณ ในวันนี้เกล้ากระผมพร้อมด้วยมารดาเณร ขอถวายเณรให้เป็นศิษย์เรียนพระคัมภีร์กับพระเดชพระคุณต่อไป ฯ
    &middot; ครั้นกล่าวสุดถ้อยคำแล้ว จึงบอกให้เณรถวายดอกไม้ธูปเทียนต่อท่านพระครู ฝ่ายท่านพระครูผู้รู้พระปริยัติธรรมวัดเมืองไชยนาทบุรี จึงรับเครื่องสักการะแล้ว พิจารณาดูเณรก็รรู้ด้วยการพินิจพิจารณาว่า สามเณรนี้มีวาสนาบารมีธรรมประจำอยู่สรรพอวัยวะก็สมบูรณ์โตพร้อมไม่บกพร่องต้องตามลักษณะ ท่านก็ออกวาจาว่า รูปจะช่วยแนะนำเสี้ยมสอนให้มีความรู้ในคัมภีร์ต่างๆ ตามวัยและภูมิของสามเณรดังที่โยมทั้ง ๒ ได้อุตส่าห์มาทางไกล ไม่เป็นไรรูปจะช่วยให้สมดังประสงค์ทุกประการ ฯ
    &middot; ตาผลและนางงุดก็ดีใจ กราบไหว้แล้วมอบหมายฝากฝังทุกสิ่งอัน แล้วถวายกับปิยะจรรหรรมัจฉะมังสาหารทั้งปวงแล้ว พระสมุห์ของท่านก็เรียกคนมายกถ่ายทันที แล้วจัดห้องหับให้พักอาศัยสำราญ ตาผลและนางงุดก็ยกบริขารของสามเณรเข้าบรรจุจัดปูอาศน์เรียบเรียงตั้งไว้ตามตำแหน่งที่ แล้วออกมากราบลาท่านพระครูลงไปพักในเรือค้างคืนคอยปรนนิบัติสามเณรดูลาดเลา การอยู่การขบฉันบิณฑบาตรยาตรา เห็นว่าสะดวกดีไม่คับแค้นเดือดร้อน พอเป็นที่ไว้วางใจได้แล้วจึงขึ้นนมัสการลาท่านพระครู กลับมายังบ้าน ณ แขวงเมืองพิจิตร ฯ
    &middot; ตั้งแต่สามเณรโตได้เข้าสู่สำนักท่านพระครูวัดเมืองไชยนาทบุรีแล้ว เป็นปรกติก็หมั่นทำกรณียกิจตามหน้าที่และอนุโลมตามข้อกติกาไม่ฝ่าฝืน ชะอ้อนอ่อนน้อมต่อพระลูกวัดมิให้ขัดอัชฌาสัย เพื่อนศิษย์เพื่อนเณรเหล่านั้นก็ปราณีปรานอมกันพร้อมหน้าไม่ไว้ท่า ไม่ถือตัว ไม่หัวสูง อดเอาเบาสู้ ระงับไม่หาเหตุแข่งดีกว่าเพื่อนไม่ส่อเสียดสอพลอพร่อย เรียบร้อยหยิบเสงี่ยมเจียมตัวหมั่นเอาใจใส่รับใช้รับปฏิบัติท่านพระครู ระแวดระวังหน้าหลัง ท่านมีกิจธุระจะไปไหน ก็จัดการสิ่งของที่จะต้องเอาไป ไม่เกี่ยงงอนเพื่อนศิษย์เวลาท่านจะกลับ ก็รับรองเก็บงำสม่ำเสมอตลอดมา ครั้นถึงเวลาเรียนก็เข้าเรียน ถึงคราวฟังก็ฟัง ตั้งสติสัมปชัญญะ สำเหนียกสำเนาเสมอ เรียนแล้วจดจำตกแต้มกำหนดกฏหมาย กลางคืนก็เข้ารับโอวาทปริยายของท่านพระครู สิ่งใดที่ไม่รู้ก็ถาม รู้เท่าไม่ถึงความก็ซัก ที่ตรงไหนขัดข้องไม่ต้องกันก็หารือ ตามบาฬีที่มีมาในพระคัมภีร์นั้นๆ ถ้าบทไหนบาฐไหนเป็นนิรุติ ไม่ชอบด้วยเหตุผลไม่เข้ากัน เธอก็ยังไม่ลงมติไม่ถือเอาความคิดเห็นความรู้ของตนเองป็นประมาณ ตั้งใจวิจารณ์จนเห็นถ่องแท้แน่นอนตามพระบาฬี ในธรรมบททีปะนีทศะชาติ (๑0 ชาติ) สาราตถ์ สามนต์ ฎีกาโยชนาคันฐี ในคัมภีร์พระไตรปิฎกธรรมนั้น ทุกวันทุกเวลาเรียน แปลเป็นภาษาลาวบ้าง แปลเป็นภาษาเขมรบ้าง แปลเป็นภาษาพม่าบ้างตามเวลา ครั้งล่วงมาได้ ๓ ปี เรียนจบถึงแปดบั้นบาฬี สามเณรโตไม่มีอุปสรรคกีดกั้น ไม่มีอาการเจ็บป่วยไข้ สดวกดีทุกเวลาทั้งไม่เบื่อไม่หน่าย นิยมอยู่แต่ที่จะหาความจริงซึ่งยังบกพร่องภูมิปัญญาอยู่ร่ำไป
    &middot; ครั้งถึงเดือน ๑๒ ปีฉลู เบญจศก จุลศักราช ๑๑๕๕ สามเณรโตมีความกระหายใคร่จะล่องลงมาร่ำเรียนในสำนักราชบัณฑิตย์นักปราชญ์หลวงบ้าง ใคร่จะเข้าสู่สำนักพระเถระเจ้าผู้สูงศักดิ์อรรคฐานในกรุงเทพพระมหานครโดยความเต็มใจ ฯ
    &middot; ครั้นสามเณรโต อายุได้ ๑๘ ปีย่าง ปลงใจแน่วแน่แล้วในการที่จะละถิ่นฐานญาติโยมได้ จะทนทานในการอนาถาในกรุงเทพ ฯ ได้แน่ใจแล้ว จึงได้กราบกรานท่านพระครูจังหวัดบรรยายแถลงยกย่องพิทยาคุณและความรู้ของท่านพระครูเมืองไชยนาทบุรี พอเป็นที่ปลื้มปราโมทย์ปราศจากความลบหลู่ดูหมิ่น ด้วยระเบียบถ้อยคำอันดีพอสมควรแล้ว ขอลาว่าเกล้ากระผมขอถวายนมัสการลาฝ่าท้าวเพื่อจะลงไปสู่สำนักราชบัณฑิตย์ ผู้สูงศักดิ์อรรคฐานให้เป็นการเชิดชูเกียรติคุณของฝ่าท้าวให้แพร่หลายในกรุงเทพฯ ขอบารมีฝ่าท้าวจงกรุณาส่งเกล้ากระผมให้ถึงญาติโยม ณ แขวงเมืองพิจิตรด้วย ฯ
     
  18. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    http://www.chiangrai.ru.ac.th/%E0%B8...2%E0%B8%95.htm

    &middot; ฝ่ายท่านพระครูเจ้าคณะเมืองไชยนาทบุรีได้ฟัง ซึ่งมีความพอใจอยู่แล้วในการที่จะแสวงหาศิษย์ที่ดีมีสาระทะแกล้วกล้าองค์อาจ ฉลาดเฉลียวรอบรู้คัมภีร์ คิดจะส่งศิษย์อย่างดีเข้ากรุงเทพฯ เพื่อช่วยเผยแพร่ให้ความรู้และความดีของท่านนั้นโด่งดังปรากฏแพร่หลายไปในกรุงเทพฯ บ้าง แทนคำประกาศโฆษณา ก็พอดีที่สามเณรโตขอลากลับไปบ้านเพื่อให้ญาติจัดการส่งเข้ากรุงเทพฯ อนึ่งสามเณรองค์นี้ก็เป็นคนดี มีความรู้ กอปร์ด้วยคติสติปัญญา ความเพียรก็กล้าไม่งอนง้อท้อถอยเลย หัวใจก็จดจ่ออยู่แต่การเล่าเรียนหาความรู้ดูฟังตั้งใจจริง ไม่เป็นคนโง่งมซมเซา พอจะเข้าเทียบเทียมเมธีที่กรุงเทพพระมหานครได้ ท่านพระครูเห็นสมควรจะอนุญาติได้ ท่านจึงกล่าวเถระวาทสุนทรกถาเป็นการปรุงปลูกผูกอาลุยแก่สามเณรพอสมควรแล้ว ท่านก็ออกวาจาอนุญาติว่า
     
  19. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    http://www.chiangrai.ru.ac.th/%E0%B8...2%E0%B8%95.htm

    &middot; ครั้นถึงวันเดือนห้า ปีขาล ฉศกจุลศักราช ๑๑๕๖ เป็นปีที่ ๑๓ ในรัชกาลที่ ๑ กรุงเทพพระมหานครฯ พระชนมายุกาลแห่งสมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอเจ้าฟ้ากรมหลวงอิศรสุนทรย่างขึ้นได้ ๒๘ พระพรรษาโดยจันทรคตินิยม อายุสามเณรโตก็ได้ ๑๘ ปีบริบูรณ์ในเดือน ๕ ศกนั้น ฯ
    &middot; จึงท่านพระโหราธิบดี,พระวิเชียร,และเสมียนตราด้วง ได้พิจารณาเห็นกิริยาท่าทาง และจรรยาอาการสติปัญญาอย่างเยี่ยมแปลกกว่าที่เคยได้เห็นมาแต่ก่อน ทั้งมีรัดประคด หนามขนุนคาดด้วย จะทักถามและพยากรณ์เองก็ใช่เหตุ จึงปรึกษาเห็นตกลงพร้อมกันว่าควรจะนำเข้าถวายตัวแด่สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้ากรมหลวงอิศรสุนทรให้ได้ทรงทอดพระเนตร อนึ่งพระองค์ท่านก็ทรงโปรดพระและเณรที่ร่ำเรียนรู้ในธรรมทั้ง ๒ คือ คัณถธุระและวิปัสสนาธุระ บางทีพ่อเณรมีวาสนาดีก็อาจจะเป็นพระหลวง เณรหลวงก็ได้ ครั้นท่านขุนนางทั้ง ๓ ปฤกษาตกลงเห็นพร้อมใจกันแล้ว จึงแนะนำสามเณรโตให้รู้ตัวว่าจะนำเข้าเฝ้าสมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอเจ้าฟ้าอิศรสุนทร ในวันเดือน ๕ ขึ้น ๕ ค่ำศกนี้เป็นแน่ ฯ
    &middot; ฝ่ายสามเณรโตรู้ตัวแล้วจึงเตรียมตัวสุผ้าย้อมผ้า และสุย้อมรัดประคดหนามขนุนของโยมผู้หญิงให้มานั้น ซึ่งโยมผู้หญิงกระซิบสั่งสอนเป็นความลับกำกับมาด้วย ฟอกย้อมรัดประคดสายนั้นจนใหม่เอี่ยมดี
    &middot; ครั้นถึงวันกำหนด จึงพระโหราธิบดี,พระวิเชียร และเสมียนตราด้วงได้ออกมาที่วัดบางลำภู เรียนกับท่านอาจารย์แก้วให้รู้ว่าจะพาสามเณรโต, เข้าเฝ้าถวายตัวแด่สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้ากรมหลวงอิศรสุนทรฯ พระอาจารย์แก้วก็อนุมัติตามใจ แล้วท่านจึงเรียกสามเณรโต มาซ้ำร่ำสอนทางขนบธรรมเนียมเดินนั่ง พูดจากับเจ้าใหญ่นายโตใช้ถ้อยคำอย่างนั้นๆ เมื่อจะทรงถามอะไรมาให้มีสติระวังระไว พูดมากเป็นขี้เมาก็ใช้ไม่ได้ พูดน้อยจนต้องซักต่อก็ใช้ไม่ได้ ไม่พูดก็ใช้ไม่ได้ พูดเข้าตัวก็ใช้ไม่ได้ จงระวังตั้งสติสัมปะชัญญะไว้ในถ้อยคำของตน เมื่อพูดอย่าจ้องหน้าตรงพระพักตร์ เมื่อพูดอย่าเมินเหม่อไปอื่น ตั้งอกตั้งใขฃจเพ็ดทูลให้เหมาะถ้อยเหมาะคำ ให้ชัดถ้อยชัดคำ อย่าหัวเราะ อย่าตกใจ อย่ากลัว อย่ากล้า จงทำหน้าที่ให้ดีอย่ามีความสะทกสะท้าน จงไปห่มผ้าครองจีวรให้เรียบร้อยไปกับพระคุณเดี๋ยวนี้ ฯ
    &middot; สามเณรโตน้อมคำนับรับเถโรวาใส่เกล้าแล้ว ไปเข้าห้องครองผ้า คาดรัดประคดเสร็จแล้ว จุดธูปเทียนอาราธนาพระบริกรรมภาวนาประมาณอึกใจหนึ่ง แล้วก็ออกเดินมาหาพระโหราธิบดี พระวิเชียร เสมียนตราด้วง ท่านทั้ง ๓ จึงนมัสการลาพระอาจารย์แก้ว แล้วพาสามเณรโตลงเรือแหวด ๔ แจว คนแจวล่องลงมาจอดที่ท่าตำหนักแพ หน้าพระราชวังเดิม แล้วนำพาเณรขึ้นไปบนท้องพระโรงในพระราชวังเดิม ณ ฝั่งธนบุรีใต้ วัดระฆังนั้น ฯ
    &middot; ฝ่ายพนักงานหน้าท้องพระโรง นำความขึ้นกราบทูลว่า พระโหราธิบดี พาสามเณรมาเฝ้า จึงเสด็จออกท้องพระโรง ทรงปราศรัยทักถามพระโหราธิบดี พระวิเชียร และเสมียนตราด้วงแล้ว ได้ทรงสดับคำพระโหราธิบดีกราบทูลเสนอคุณสมบัติของสามเณรขึ้นก่อน เพื่อให้ทรงทราบ ฯ
    &middot; จึงทอดพระเนตรสามเณรโต ทรงเห็นสามเณรโตเปล่งปลั่งรังษีรัศมีกายออกงามมีราษี เหตุด้วยกำลังอำนาจศีละคุณ สมาธิคุณ ปัญญาคุณหากอบรมสมกับผ้ากาสาวะพัตร์ และมีรัดประคดหนามขนุน อย่างของขุนนางนายตำรวจใหญ่,คาดเป็นบริขารมาด้วย ฯ
    &middot; สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอเจ้าฟ้ากรมหลวงฯ พระองค์นั่น ทรงพระเกษมสันต์โสมนัสยิ่งนัก จึงเสด็จตรงเข้าจับมือสามเณรโตแล้ว จูงมาให้นั่งพระเก้าอี้เคียงพระองค์แล้วทรงถามว่าอายุท่ไรฯ ทูลว่า ขอถวายพระพรอายุได้ ๑๘ เต็มในเดือนนี้ฯ ทรงถามว่าเกิดปีอะไรฯ ทูลว่า ขอถวายพระพรเกิดปีวอกอัฐศกฯ รับสั่งถามว่า บ้านเกิดอยู่ที่ไหนฯ ทูลว่าขอถวายพระพรฯ บ้านเดิมอยู่ใต้เมืองกำแพงเพชร์ แล้วย้ายลงมาตั้งบ้านอยู่เหนือเมืองพิจิตร ขอถวายพระพรฯ รับสั่งถามว่า โยมผู้ชายชื่ออะไรฯ ทูลว่าขอถวายพระพรไม่รู้จักฯ รับสั่งถามวง่า โยมผู้หญิงชื่ออะไรฯ ทูลว่าขอถวายพระพร ชื่อแม่งุดฯ รับสั่งถามว่า ทำไมโยมผู้หญิงไม่บอกตัวโยมผู้ชายให้เจ้ากูรู้จักบ้างหรือฯ ทูลว่า โยมผู้หญิงเป็นแต่กระซิบบอกว่า เจ้าต้องรัดประคดนี้เป็นเจ้าคุณแม่ทัพขอถวายพระพร ฯ
    &middot; ครั้นได้ทรงฟัง ตระหนักพระหฤทัยแล้ว ทรงพระปราโมทย์เอ็นดูสามเณรยิ่งขึ้น จึงทรงรับสั่งทึกทักว่า แน่ะคุณโหราเณรองค์นี้ ฟ้าจะทึกเอาเป็นพระโหรานำช้างเผือกเข้ามาถวาย จงเป็นเณรของฟ้าต่อไป ฟ้าจะเป็นผู้อุปถัมภ์บำรุงเอง แต่พระโหราต้องเป็นผู้ช่วยเลี้ยงช่วยสอนแทนฟ้า ทั้งพระวิเชียรและเสมียนตราด้วง ช่วยฟ้าบำรุงเณร เณรก็อย่าศึกเลยไม่ต้องอนาทรอะไร ฟ้าขอบใจพระโหรามากทีเดียว แต่พระโหราอย่าทอดธุระทิ้งเณรช่วยเลี้ยง ช่วยสอนต่างหูต่างตาช่วยดูแลให้ดีด้วย และเห็นจะต้องย้ายเณรให้มาอยู่กับสมเด็จพระสังฆราชมี จะได้ใกล้ๆ กับฟ้า ให้อยู่วัดนิพพานารามจะดี (วัดนิพพานาราม คือวัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษดิ์เดี๋ยวรนี้) ฯ
    &middot; ครั้นรับสั่งแล้ว จึงทรงพระอักษรเป็นลายพระราชหัตถเลขามอบสามเณรโตแก่สมเด็จพระสังฆราช (มี) แล้วส่งลายพระราชหัตถเลขานั้นมอบพระโหราธิบดีให้นำไปถวาย พระโหราธิบดีน้อมเศียรคำนับรับมาแล้วกราบถวายบังคมลา ทั้งพระวิเชียรและเสมียนตราด้วง สามเณรโตก็ถวายพระพรลา ฯ
    &middot; ฝ่ายขุนนางทั้ง ๓ ก็พาสามเณรลงเรือแจวข้ามฟากมาขึ้นท่าวัดมหานิพพานารามตามคำสั่ง พาเณรเดินขึ้นบนตำหนักสมเด็จพระสังฆราช (มี) ครั้นพบแล้วต่างถวายนมัสการ พระโหราธิบดีก็ทูลถวายลายพระราชหัตถเลขาแก่สมเด็จพระสังฆราชเจ้าฯ คลี่ลายพระหัตถออกอ่านดูรู้ความในพระกระแสรับสั่งนั้นแล้ว จึงรับสั่งให้พระครูใบฎีกาไปหาตัวพระอาจารย์แก้ว วัดบางลำภูบน ซึ่งเป็นเจ้าของสามเณรเดิมนั้นขึ้นมาเฝ้า ครั้นพระอาจารย์แก้วมาถึงแล้วจึงรับสั่งให้อ่านพระราชหัตถเลขา พระอาจารย์แก้วอ่านแล้วทราบว่าพระยุพราชนิยมก็มีความชื่นชม อนุญาติถวายเณรให้เป็นเณรอยู่วัดนิพพานารามต่อไปได้รับนิสัยแต่สมเด็จ พระสังฆราชด้วย แต่วันนั้นมา ฯ
    &middot; สามเณรโตนั้นก็อุตส่าห์ทำวัดปฏิบัติแก่สมเด็จพระสังฆราชเจ้า และเข้าเรียนคัมภีร์พระปริยัติธรรม จนทราบสัทธิวิธีของสมเด็จพระสังฆราชเจ้าจนชำนิชำนาญดี และเรียนกับพระอาจารย์เสมวัดนิพพานารามอีกอาจารย์หนึ่งด้วย ฯ
    &middot; ครั้นถึงเดือน ๖ ปีมะเส็ง นพศก จุลศักราช ๑๑๕๙ เป็นปีที่ ๑๖ ในรัชกาลที่ ๑ กรุงเทพพระมหานครฯ จึงสมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้ากรมหลวงอิศรสุนทร ทรงพระคำนวนปีเกิดของสามเณรโต เป็นกำหนดครบ ๒๑ ปีบริบูรณ์ควรอุปสมบทได้แล้ว จึงรับสั่งให้พระโหราธิบดีกับเสมียนตราด้วงมาเฝ้า แล้วทรงรับสั่งโปรดว่า พระโหราฯ ต้องไปบวชสามเณรโตแทนฟ้า ต้องบวชที่วัดตะไกร เมืองพิษณุโลก แล้วทรงมอบกิจการทั้งปวงแก่พระโหราธิบดี พร้อมทั้งเงินที่จะใช้สอย ๔00 บาท ทั้งเครื่องบริขารพร้อม และรับสั่งให้ทำขวัญนาค เวียนเทียนแต่งตัวนาคอย่างนาคหลวง การซู่ซ่าแห่แหนนั้นอนุญาติตามใจญาติโยมและตามคติชาวเมือง แล้วรับสั่งให้เสมียนตราด้วง แต่งท้องตราบัวแก้วขึ้นไปวางให้เจ้าเมืองพิษณุโลก ให้เจ้าเมืองเป็นธุระช่วยการบวชนาคสามเณรโตให้เรียบร้อยดีงาม ตลอดทั้งการเลี้ยงพระเลี้ยงคน ให้อิ่มหนำสำราญทั่วถึงกัน กับทั้งให้ขอแรงเจ้าเมืองกำแพงเพชร์ เจ้าเมืองพิจิตร เจ้าเมืองพิชัย และเจ้าเมืองไชยนาทบุรี ให้มาช่วยกันดูแลการงานให้เจ้าเมืองพิษณุโลกจัดการงานในบ้านในจวนนั้นให้เรียบร้อยและให้ได้บวชภายในข้างขึ้นเดือน ๖ ปีนี้ แล้วแต่จะสะดวกด้วยกันทั้งฝ่ายญาติโยมของเณร ฯ
    &middot; รับสั่งให้สังฆการีในพระราชวังบวรวางฎีกาอาราธนาสมเด็จพระวันรัต วัดระฆังให้ขึ้นไปบวชนาคที่วัดตะไกร ให้ขึ้นไปแต่ข้างขึ้นอ่อนๆ ให้สำเร็จกิจบรรพชาอุปสมบทภายในกลางเดือน ให้ไปนัดหมายการงานต่อเจ้าเมืองพิษณุโลกพร้อมด้วยญาติโยมของเณร และตามเห็นดีของเจ้าเมืองด้วย ฯ
    พระโหราธิบดี เสมียนตราด้วง รับพระกระแสร์รับสั่งแล้วถวายบังคมลา ออกมาจัดกิจการตามรับสั่งทุกประการ ฯ
    &middot; ฝ่ายข้างญาติโยมของสามเณรโต ทราบพระกระแสร์รับสั่งแล้ว จึงจัดเตรียมข้าวของไว้พร้อมสรรพ แล้วไปนิมนต์ท่านพระอาจารย์แก้ววัดบางลำภูบนให้เป็นพระกรรมวาจาจารย์รับขึ้นไปพร้อมด้วยตน แล้วนิมนต์ท่านเจ้าอธิการวัดตะไกรเป็นอนุสาวนาจารย์ จะเป็นวัดไหนก็แล้วแต่สมเด็จพระอุปัชฌาย์จะกำหนดให้ และเผดียงพระสงฆ์อันดับ ๒๕ รูป ในวัดตะไกรบ้าง วัดที่ใกล้เคียงบ้าง ให้คอยฟังกำหนดวันที่ๆ สมเด็จพระอุปัชฌาย์จะกำหนดให้ ฯ
    &middot; ฝ่ายพระโหราธิบดี เสมียนตราด้วง จึงจัดเรือญวณใหญ่ ๖ แจว ๑ ลำ เรือญวณใหญ่ ๘ แจว ๑ ลำ,เรือครัว ๑ ลำคนแจวพร้อม และจัดหาผ้าไตรคู่สวดอุปัชฌาย์ จัดเทียนอุปัชฌาย์คู่สวด จัดเครื่องทำขวัญนาคพร้อมผ้ายกตลอมพอกแว่น เทียน ขัน ถม ผ้าคลุม บายศรี เสร็จแล้วเอาเรือ ๖ แจว ไปรับสมเด็จพระวันรัต ลาเณรจากสมเด็จพระสังฆราช แล้วนำมาลงเรือ ๖ แจว ส่วนพระโหราธิบดี เสมียนตราด้วง ไปลงเรือ ๘ แจว ฯ
    &middot; เรือสมเด็จพระวันรัตและสามเณรโต เรือพระโหราธิบดี เสมียนตราด้วงออกเรือแจวขึ้นไปทางแม่น้ำเจ้าพระยาตามกันเป็นแถวขึ้นไปรอนแรมค้างคืนตามหนทางล่วง ๒ คืน ๒ วัน ก็ถึงเมืองพิษณุโลก ตรงจอดที่ท่าหน้าจวนพระยาพิษณุโลก เสมียนตราด้วงจึงขึ้นไปเรียนท่านผู้ว่าราชการเมือง ให้เตรียมตัวรับท้องตราบัวแก้ว และรับรองเจ้าประคุณสมเด็จพระวันรัตวัดระฆังตามพระกระแสร์รับสั่ง ฯ
    &middot; ครั้นท่านพระยาพิษณุโลกทราบแล้ว จึงจัดการรับท้องตราก่อน เสมียนตราด้วงจึงเชิญท้องตราบัวแก้วขึ้นไปบนจวน เชิญท้องตราตั้งไว้ตามที่เคยรับมาแต่กาลก่อน เมื่อเจ้าเมืองยกกระบัตร กรมกรามาประชุมพร้อมกันแล้ว เสมียนตราด้วงจึงแกะครั่งประจำถุงตรา เปิดซองออกอ่านท้องตรา ให้เจ้าเมือง ยกกระบัตร กรมการฟัง ทราบพระประสงค์ และพระกระแสร์รับสั่งตลอดเรื่องแล้ว เจ้าเมืองกรมการน้อมคำนับถวายบังคมพร้อมกันแล้ว เสมียนตราด้วงจึงวางไว้บนพานถมบนโต๊ะแล้วคุกเข่าถวายบังคมภายหลังแล้วจึงคำนับท่านเจ้าเมือง ไหว้ยกกระบัตรกรมการทั่วไป ตามฐานันดรแลอายุท่านเจ้าเมืองจึงลงไปอาราธนาสมเด็จพระวันรัต แลสามเณรโตขึ้นพักบนหอนั่งบนจวนกระทำความคำนับต้อนรับเชื้อเชิญตามขนบธรรมเนียม โดยเรียบร้อยป็นอันดี ผู้ว่าราชการจึงสั่งหลวงจ่าเมือง หลวงศุภมาตรา ๒ นาย ให้ออกไปบอกข่าวท่านสมภารวัดตะไกรให้ทราบว่า สมเด็จพระวันรัตวัดระฆัง มาถึงตามรับสั่งแล้ว ให้ท่านสมภารจัดเสนาศ์ ปูอาศนะให้พร้อมไว้ ขาดแคลนอะไร หลวงจ่าเมือง หลวงศุภมาตรา ต้องช่วยท่านสมภารสั่งหลวงแพ่ง หลวงวิจารณ์ ให้จัดที่พักคนเรือ และนำเรือเข้าโรงเรือ เอาใจใส่ดูแลรักษาเหตุการณ์ทั่วไป สั่งขุนสรเลขให้ขอแรงกำนันที่ใกล้ๆ ช่วยยกสำรับเลี้ยงพระเลี้ยงคนในตอนพรุ่งนี้ จนตลอดงาน สั่งพระยายกกระบัตรให้มีตราเรียกเจ้าเมืองทั้ง ๔ ให้มาถึงปะรืนนี้ สั่งหลวงจู๊ให้ขอกำลังเลี้ยงผู้พายบางกอก สั่งรองวิจารณ์ รองจ่าเมือง ให้นัดประชุมกำนันในวันปะรืนนี้ สั่งรองศุภมาตราให้เขียนใบเชิญพ่อค้าคฤหบดี ครั้นเวลาเย็นเห็นว่าที่วัดจัดการเรียบร้อยแล้ว จึงอาราธนาสมเด็จวันรัต ออกไปพักผ่อนอิริยาบทที่วัด สบายกว่าพักบ้านตามวิสัยของพระส่วนท่านเจ้าเมืองพร้อมด้วยเสมียนติดตาม ส่งสมเด็จพระวันรัต ณ วัดตะไกร และนัดหมายสามเณรโตให้นัดญาติโยมพร้อมหาฤากันใน ๒ วันนี้ ฯ
    &middot; ครั้นท่านเจ้าเมืองมาส่งสมเด็จพระวันรัตที่วัดตะไกรถึงแล้ว ได้ตรวจตราเห็นว่าเพียงพอถูกต้องแล้ว จึงสั่งกรรมการ ๒ นายให้อยู่ที่วัดคอยระวังปฏิบัติ และให้กำนันตำบลนี้คอยดูแลระวังพวกเรือญาติโยมของสามเณรโต อย่าให้มีเหตุการณ์ได้ ครั้นสั่งเสียแล้วจึงนมัสการลาสมเด็จพระวันรัต นัดหมายกับท่านว่าอีก ๒ หรือ ๓ วัน จึงจะออกมาให้พร้อมจะได้นัดหมายการงานให้รู้กัน แล้วนมัสการลามาจัดแจงการเลี้ยงดูที่บ้านอีก ท่านเจ้าเมืองได้สั่งให้หลวงชำนาญคดีจัดห้องบนจวนให้ข้าหลวงและเสมียนตราพักให้เป็นที่สำราญ สั่งในบ้านหุงต้มเลี้ยงคนเลี้ยงแขกเลี้ยงกรรมการ ที่มีหน้าที่ทำงานในวันพรุ่งนี้ต่อไปติดกันไปในการเลี้ยง ฯ
    &middot; ครั้นล่วงมาอีก ๓ วัน เจ้าเมืองกำแพงเพชร์ ๑ เจ้าเมืองพิจิตร ๑ เจ้าเมืองไชยนาท ๑ เจ้าเมืองพิชัย ๑ พ่อค้าคฤหบดี กำนันในตำบลเมืองพิษณุโลก กรมการเมืองพิษณุโลกทั้งสิ้นมาประชุมพร้อมที่จวนท่านเจ้าเมืองพิษณุโลก จึงได้พาคนทั้งปวงออกไปประชุมที่ศาลใหม่วัดตะไกร โดยอาราธนาสมเด็จพระวันรัต ให้ลงมาประชุมร่วมด้วยพร้อมทั้งตาผลนางงุดและคณะญาติของสามเณรโต ครั้นเข้าในที่ประชุมเรียบร้อยแล้ว ท่านเจ้าเมืองพิษณุโลกจึงขอความตกลงที่แม่งุด เจ้าของนาคหลวงนั้นก่อนว่าการบวชนาคหลวงครั้งนี้ มีพระกระแสร์รับสั่งโปรดเกล้า ให้เจ้าเมือง กรมการ อำเภอ เจ้าภาษี นายอากร คฤหบดี ทั้งปวงนี้เป็นผู้ช่วยสนับสนุนการจนตลอดแล้วโดยเรียบร้อย แต่รับสั่งให้อนุมัติตามเจ้าของนาคหลวง ก็ฝ่ายแม่งุดเป็นมารดาจะคิดอ่านอย่างใดขอให้แจ้งมา ฝ่ายบ้านเมืองจะเป็นผู้ช่วยอำนวยการทั้งสิ้น ฯ
    &middot; ฝ่ายนางงุดจึงเรียนท่านเจ้าเมืองพิษณุโลกว่า ดิฉันกะไว้ว่าจะบวชแต่เช้าบวชแล้วเลี้ยงเช้าทั้ง ๒๙ รูป เลี้ยงเพลอีก ๒๙ รูป ดิฉันจะตั้งโรงครัวที่วัดนี้ ดิฉันใคร่จะมีพิณพาทย์ กลองแขกตีกระบี่กระบอง มีแห่นาคมีแห่พระใหม่ มีการสมโภชฉลองพระใหม่ ดิฉันใคร่จะนิมนต์ท่านพระครูวัดใหญ่ที่เมืองพิจิตร ๑ ท่านพระครูที่วัดเมืองไชยนาท ๑ มาสวดมนต์ฉันเช้าในการฉลองพระใหม่ มีการทำขวัญเวียนเทียน มีการสมโภชพระใหม่ มีการมหรสพด้วยเจ้าคะ ท่านเจ้าเมืองพิษณุโลก ก็รับที่จะจัดทำตามทุกประการ ฯ
     
  20. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    http://www.chiangrai.ru.ac.th/%E0%B8...2%E0%B8%95.htm

    &middot; ท่านเจ้าเมืองพิษณุโลก หันเข้าขอประทานมติ ต่อสมเด็จพระวันรัต ต่อไปว่า เมื่อวันไหนจะสะดวกในรูปการเช่นนี้ สมเด็จพระวันรัตตอบว่า โครงการที่ร่างรูปเช่นนี้เป็นหน้าที่ๆ เจ้าคุณจะดำริห์และสั่งการ จะนานวันสักหน่อย ข้าพเจ้าคิดเห็นเหมาะว่า วันขึ้น ๑๔ ค่ำเดือน ๖ ปีมะเส็งนพศกนี้ เป็นวันนิวัติสามเณรออกมาเป็นเจ้านาค สามโมงเย็นวันนั้นห้อมล้อมอุปสัมปทาเปกเข้าษ์ไปทำขวัญในจวน ให้นอนค้างในจวน เช้ามืดจัดขบวนแล้วแห่มา วันขึ้น ๑๕ ค่ำเดือน ๖ เวลา ๑ โมงเช้า บวชเสร็จ ๒ โมงเช้าพระฉัน มีมหรสพเรื่อยไปวันยังค่ำ พอ ๕ โมงเย็นจัดกระบวนแห่พระใหม่ เข้าไปในจวนเจ้าคุณ เริ่มการสวดมนต์ธรรมจักร์ต่อ ๑๓ ตำนานตามแบบหลวง แล้วรุ่งเช้าฉัน ฉันแล้วเลี้ยงกัน มีเวียนเทียน แล้วมีการเล่นกันไปวันยังค่ำอีกค่ำลงเสร็จการ เจ้าเมืองรับเถรวาทว่าสาธุ เอาละ ฯ
    &middot; ครั้นท่านเจ้าเมืองพิษณุโลก หารือด้วยสมเด็จพระวันรัต ลงมติกำหนด การกำหนดวันเป็นที่มั่นคงแล้ว จึงประกาศให้บรรดาที่มาประชุมกันรู้แน่ว่า วันขึ้น ๑๔ ค่ำเดือน ๖ เป็นวันทำขวัญ วันขึ้น ๑๕ ค่ำเดือน ๖ เป็นวันบวชเช้า ตามโครงการบวชนาคหลวงคราวนี้มีรายงานอย่างนั้นๆ ท่านทั้งหลายทั้งผู้ใหญ่และผู้น้อย จงได้กำหนดไว้ทุกคน และขอเชิญไปฟังคำสั่งที่แน่นอนที่จวนอีกครั้ง แล้วท่านเจ้าเมืองพิษณุโลกก็นมัสการลาสมเด็จพระวันรัตและพระสงฆ์ทั้งปวง นำเจ้าเมืองทั้ง ๔ กับบรรดาที่มาประชุมกันสู่จวนท่านเจ้าเมืองพิษณุโลกจึงแสดงสุนทรกถาชลอเกียรติคุณของทางพระรัฎฐะปสาสน์ ปลุกน้ำใจข้าราชการ และราษฎรทั้งปวงให้มีความเอื้อเฟื้อต่อพระกุศลอันนี้ พอเป็นที่พร้อมใจกันแล้ว จึงสั่งกิจการทั้งปวงและแบ่งหน้าที่ทุกแห่งตำแหน่งการ ทั้งทางที่วัดและจัดที่บ้านตลอดการปรุงปลูกมุงบังบุดาษปูปัดจัดตั้งแบกหามยกขน และขอแรงมาช่วยเพิ่มพระบารมีกุศลตามมีตามได้ ตามสติกำลังความสามารถ จงทุกกำนันเป็นต้นว่าขอเลี้ยงกันเข้าโรงครัวถั่วผัก มัจฉมังสากระยาหารตาลโตนด ตาลทราย หมาก มะพร้าว ข้าวเหนียว ข้าวสาร เจ้าภาษี นายอากรขุนตำบลช่วยกันให้แข็งแรง พวกที่ไม่มีจะให้ มีแต่ตีเป่าเต้นรำทำท่าพิณพาทย์ กลองแขก กระบี่กระบอง ชกมวย มวยปล้ำ ให้มีอะไรมาช่วยกันให้พร้อมทั้งของข้าว นำมาเข้าโรงครัว แต่ ณ วันขึ้น ๘ ค่ำ เดือน ๖ เป็นต้นไป จนถึงขึ้น ๑๓ ค่ำ สิ้นกำหนดส่งจะลงบัญชีขาด การโยธาเล่าให้เรียบร้อยแล้วเสร็จ ในวันขึ้น ๑๓ ค่ำเหมือนกัน ฝ่ายท่านเจ้าเมืองทั้ง ๔ จงนำฎีกาสวดมนต์ฉันเช้า ไปวางฎีกาอาราธนาพระครูจังหวัดทั้ง ๔ มาสวดมนต์พระธรรมจักรแล ๑๒ ตำนาน ในการสมโภชพระบวชใหม่ที่จวนนี้ ในวันขึ้น ๑๕ ค่ำ รุ่งขึ้นวันแรม ๑ ค่ำเดือนนี้ ศกนี้ นิมนต์ฉัน เจ้าเมืองทั้ง ๔ ต้องนำบอกงานแก่ผู้มีชื่อในจังหวัดของเมืองนั้นๆ จงทั่วหน้า ฯ
    &middot; ถ้าหากว่าผู้ที่จะมาช่วยงานในการนี้ ติดขัดมาไม่สดวก ขอเจ้าเมืองจงเป็นธุระส่งแลรับให้ไปมาจงสดวกทุกย่านบ้านบึงบาน ขอให้เจ้าเมืองมอบเมืองแก่ยกกระบัตร กรมการ ให้กำนันเป็นธุระเฝ้าบ้านเฝ้าควายเฝ้าเกวียน แก่บรรดาผู้ที่จะมาในงานนี้ แต่ ณ วันขึ้น ๑๓ ค่ำเดือนนี้ศกนี้ ท่านเจ้าเมืองทั้ง ๔ จงมาถึงให้พร้อมกัน คำสั่งดังกล่าวนี้จงอย่าขาดเหลือได้ กิจการทั้งวัดทั้งบ้านทั้งใกล้ทั้งไกล ขอให้ยกกระบัตรเป็นพนักงานตรวจตรา แนะนำตักเตือนต่อว่าเร่งรัดจเรทั่วไปจนตลอดงานนี้ หลวงจ่าเมือง รองจ่าเมือง เป็นหน้าที่พนักงานตรวจตราอาวุธ การทะเลาะวิวาทอย่าให้มีในการนี้ หลวงแพ่ง รองแพ่ง เป็นหน้าที่รับแขกคนเชิญนั่ง หลวงวิจารณ์ รองวิจารณ์ เป็นพนักงานจัดการเลี้ยงน้ำร้อนน้ำชา ทั้งพระทั้งแขกคนที่จะมาจะไป หลวงชำนาญ รองชำนาญ เป็นพนักงานเลี้ยงหมากพลูยาสูบ ทั้งพระทั้งแขกคนเตรียมเครื่องด้วยหลวงศุภมาตรา รองศุภมาตราเป็นพนักงานจัดการหน้าฉากทุกอย่าง ทั้งการพระ การแขก ขุนสรเลข เป็นเสมียนจดนามผู้นำของมา จดทั้งบ้านเมืองอำเภอหมู่บ้านให้ละเอียด ทั้งมากทั้งน้อย พระธำรงผู้คุมต้องเป็นพนักงานปลูกปรุงมุงบังบุดาษ เสมียนทนายดูเลี้ยง หลวงจ่าเมืองต้องจัดหาตะเกียงจุดไฟทั่วไป ขัดข้องต้องบอกข้าพเจ้าช่วยกันให้เต็มฝีมือด้วยกัน สั่งการเสร็จแล้ว สั่งแขกที่เชิญมากลับไป ส่งเจ้าเมืองทั้ง ๔ กลับขึ้นบ้านเมือง ฯ
    &middot; ส่วนผู้ว่าราชการเมืองพร้อมด้วยโหราธิบดี เสมียนตราด้วง คิดการจัดไทยทานถวายพระ จัดซื้อผ้าดอกผ้ายี่โป้ไว้สำหรับสำร่วยการมหรสพทั้งปวง ขอแรงภรรยากรมการเป็นแม่ครัว ท่านผู้หญิงเป็นผู้อำนวยการครัว พระยกกระบัตรเป็นพนักงานเลี้ยงพระเลี้ยงคนด้วย พวกผู้หญิงลูกหลานพี่น้องกรมการ ขอแรงเย็นบายศรี เจียนหมากจีบพลู มวนยาควั่น เทียน ตำโขลก ขนมจีน ทำน้ำยาเลี้ยงกัน ครั้นท่านผู้ว่าราชการเมือง จัดการสั่งการเสร็จสรรพแล้ว พักผ่อนพูดจากับท่านเสมียน ท่านพระโหราธิบดี ตามผาสุขสำราญคอยเวลา ฯ
    &middot; ตั้งแต่วันที่กำหนดส่งของเข้าครัว อาหารก็ล้นไหลเรื่อยมาแต่ขึ้น ๘ ค่ำ จนถึงขึ้น ๑๓ ค่ำ ทางเจ้าเมืองส่งไปครัวทางวัดบ้าง เข้าครัวบ้านบ้าง คนทำกิจการงานได้ บริโภคอิ่มหนำตลอดถึงกรมการและลูกเมีย กำนันและลูกบ้านที่ยังค้างอยู่ก็ได้บริโภคอิ่มหนำทั่วกัน นายอากรสุราก็ส่งสุรามาเลี้ยงกันสำราญใจ ต่างก็ชมเชยบารมีพ่อเณร และชมอำนาจเจ้าคุณผู้ว่าราชการเมืองและชมเชยพระยุพราชกุศลกัลยาณวัตรของสมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอเจ้าฟ้าพระองค์นี้ เป็นที่สนุกสนานทั่วกัน ฯ
    &middot; ครั้นรุ่งขึ้น ณ วันขึ้น ๑๔ ค่ำเดือนหก ปีมะเส็งนพศก จุลศักราช ๑๑๕๙ ปี เวลาเช้าเจ้าเมืองทั้ง ๔ ก็มาถึงพระครูจังหวัดก็มาถึง ผู้มีชื่อที่มาช่วยกิจการอุปสมบทนี้ ก็มาถึงพร้อมกันทั้งใกล้ไกล ท่านเจ้าเมืองพิษณุโลกก็ยิ้มแย้มทักทายต้อนรับ พระยายกกระบัตรก็ดูแลเลี้ยงดูเชื้อเชิญให้รับประทานทั่วถึงกัน ตลอดจนพวกมหรสพ ฝีพาย ทั้งเรือพระเรือเจ้าเมือง เรือคฤหบดี ก็เรียกเชิญเลี้ยงดูอิ่มหนำทุกเวลา ฯ
    &middot; ครั้นเวลาเที่ยงแล้ว ท่านผู้ว่าราชการเมืองพิษณุโลก พร้อมด้วยเจ้าเมืองทั้ง ๔ และพระโหราบดี เสมียนตราด้วงกับทั้งพวกกระบวนแห่ก็เตรียมออกไปรับนาคที่วัด สมเด็จพระวันรัตก็ให้สามเณรโตลาสิกขาบท นิวัติออกเป็นนาค ท่านสมภารวัดตะไกร ก็สั่งพระให้โกนผมเจ้านาคแล้ว พระโหราธิบดีก็บอกให้ญาติโยมช่วยกันอาบน้ำขัดถู แต่อย่าทาขมิ้น ครั้นอาบน้ำขัดถูกันเสร็จแล้ว พระโหราก็แต่งตัวเจ้านาค นำเครื่องผ้ายกออกจากหีบ เสื้อกรุยเชิงมีดอกพราวออกแล้ว นุ่งจีบโจงหางโหง ชักพก แล้วติดผ้าหน้าเรียกว่าเชิงงอน ที่ภาษชวาเรียกว่า
     

แชร์หน้านี้

Loading...