พระวังหน้า ที่หลวงปู่บรมครูเทพโลกอุดรเสก ถ้าต้องการที่จะได้.....

ในห้อง 'งานบุญอื่นๆ' ตั้งกระทู้โดย sithiphong, 23 ธันวาคม 2005.

  1. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    ท่านใดที่คัดลอกไป อย่าลืมจดไว้ด้วยนะครับว่านำมาจากที่ไหน ท่านใดเป็นผู้เขียน เพื่อเป็นการระลึกถึงพระคุณผู้เขียน และผู้ที่พิมพ์ครับ

    กว่าจะเขียนได้ และพิมพ์เสร็จ ใช้ความพยายามอย่างสูงมากๆครับ

    .
     
  2. narongwate

    narongwate เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    15 มิถุนายน 2007
    โพสต์:
    885
    ค่าพลัง:
    +3,840
    น่าสนใจจริง ๆ แม้ว่าผมยังอ่านไม่จบ แต่พบว่าสำนวน ภาษา ที่ใช้ในการเขียน สวยงามมากครับ

    โมทนาบุญ กับท่านผู้เขียน ผู้พิมพ์ และผู้นำมาให้ชม ครับ

    สาธุ สาธุ สาธุ
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 27 กันยายน 2007
  3. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
  4. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    http://www.somdejto.com/somdejto/viewtopic.php?t=16&start=0

    <TABLE class=forumline cellSpacing=1 cellPadding=3 width="100%" border=0><TBODY><TR><TH class=thLeft noWrap width=150 height=26>ผู้ตั้ง</TH><TH class=thRight noWrap>ข้อความ</TH></TR><TR><TD class=row1 vAlign=top align=left width=150>sithiphong



    เข้าร่วม: 18 Sep 2007
    ตอบ: 28

    </TD><TD class=row1 vAlign=top width="100%" height=28><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD width="100%">[​IMG]ตอบเมื่อ: Mon Sep 24, 2007 10:03 am เรื่อง: เรียน อ.ระฆัง ครับ</TD><TD vAlign=top noWrap>[​IMG] </TD></TR><TR><TD colSpan=2><HR></TD></TR><TR><TD colSpan=2>ผมเองได้ศึกษาเรื่องพระกรุวัดพระแก้ว ,พระวังหน้า ,พระสมเด็จ มาพอสมควร องค์ความรู้ที่ผมมีอยู่นั้น ผมมีน้อยมากเมื่อเทียบกับรุ่นพี่ที่ได้ศึกษามาก่อนผม แต่องค์ความรู้ที่ผมมีอยู่นั้น สามารถที่จะอธิบายในสิ่งต่างๆได้พอสมควร

    ผมมิได้มีเจตนาที่จะมาป่วน ,มาทำให้ชื่อเสียงของ อ.ระฆัง ไม่ดี

    สิ่งหนึ่งที่ผมจะเรียน อ.ระฆังก็คือ การเผยแพร่ความรู้นั้น เป็นดาบสองคม หากเผยแพร่องค์ความรู้ที่ถูกต้อง จะเป็นบุญกุศลกับผู้ที่เผยแพร่องค์ความรู้ แต่ตรงกันข้าม ถ้าเผยแพร่องค์ความรู้ที่ไม่ถูกต้อง จะเป็นกรรมกับผู้ที่เผยแพร่องค์ความรู้นั้นๆ

    เรียนมาเพื่อความเข้าใจในตัวผม

    หากมีสิ่งหนึ่งสิ่งใดที่ทำให้ อ.ระฆัง เกิดความไม่สบายใจ ,ความขัดข้องใจ ผมขออภัยมา ณ ที่นี้ แต่หากว่า อ.ระฆัง เห็นว่า องค์ความรู้ที่ผมนำมาพูดคุย,บอกกล่าวนั้น ไม่ถูกต้อง และไม่ต้องการให้ผมเข้ามาในเว็บไซด์สมเด็จโตอีก ก็บอกผมมาได้นะครับ ผมยินดีที่จะทำตามความประสงค์ของ อ.ระฆัง และผมขออนุญาต อ.ระฆัง นำสิ่งที่ผมได้มาเรียน อ.ระฆังนี้ ไปไว้ในกระทู้ พระวังหน้าฯ ที่เว็บพลังจิต และเว็บวัดถ้ำเมืองนะ ครับ

    ขอบคุณมากครับ
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE class=forumline cellSpacing=1 cellPadding=3 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=row2 vAlign=top align=left width=150>ringside



    เข้าร่วม: 15 Sep 2007
    ตอบ: 6

    </TD><TD class=row2 vAlign=top width="100%" height=28><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD width="100%">[​IMG]ตอบเมื่อ: Mon Sep 24, 2007 10:42 am เรื่อง: </TD><TD vAlign=top noWrap>[​IMG] </TD></TR><TR><TD colSpan=2><HR></TD></TR><TR><TD colSpan=2>เรียน คุณ Sithiphong

    การที่คุณไปศึกษาข้อมูลในตำราที่เขียนโดย ปรัศนีย์ ประชากร นั้นก็เป็นการดีครัีบ
    เป็นการเปิดหูเปิดตา แต่เป็นข้อมูลแค่ในวัดพระแก้ว วังหลวงและวังหน้า แล้วไปติดยึดว่า ข้อมูลนั้นถูกต้องที่สุด มีแค่นี้เอง สามารถสรุปได้ว่า ไม่มีข้อมูลอื่นใดมากเกินกว่าที่มีในตำราของ
    ปรัศนีย์ ประชากร

    ปรัศนีย์ ประชากร ก็อาศัยการค้นคว้าจากข้อมูลเดิมที่มีอยู่แล้วจากตำราและคำบอกเล่า บวกประสพการณ์ในการสะสมและศึกษาพระมานาน จึงออกมาเป็นตำรา

    แต่ถ้าถามว่า อยู่ๆก็เขียนตำราขึ้นมาโดยมีจุดประสงค์ในการเผยข้อมูลเพื่อเป็นวิทยาทานหรือไม่
    หรือมีเจตนาอย่างอื่นแอบแฝง คุณต้องรู้อยู่บ้างนะครับ

    การที่อาจารย์ระฆัง นำข้อมูลอีกด้านหนึ่งมาเปิดเผย ผมว่า ถ้าคุณนับถือ สมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต)
    จริงๆแล้ว คุณน่าจะอนุโมทนา แล้วศึกษาความเป็นไปได้ว่าข้อมูลถูกต้องหรือไม่ ถ้าไม่ถูกต้องคุณแย้งมา
    อย่างสร้างสรร จะดีกว่าไหม?

    ขอสะกิดคุณอีกนิด ข้อมูลที่คุณนำมาเปิดเผยในเวปพลังจิตและสมเด็จโต อย่าลืมให้เครดิตแก่
    ปรัศนีย์ ประชากร ด้วยนะครับ
    ผมยืนยันว่าข้อมูลที่คุณนำมาเปิดเผยทั้งสองเวป มีอยู่ในหนังสือ 2-3 เล่มเท่านั้นแหละ

    ด้วยความปราถนาดีครับ
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE class=forumline cellSpacing=1 cellPadding=3 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=row1 vAlign=top align=left width=150>sithiphong



    เข้าร่วม: 18 Sep 2007
    ตอบ: 28

    </TD><TD class=row1 vAlign=top width="100%" height=28><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD width="100%">[​IMG]ตอบเมื่อ: Mon Sep 24, 2007 11:35 am เรื่อง: </TD><TD vAlign=top noWrap>[​IMG] </TD></TR><TR><TD colSpan=2><HR></TD></TR><TR><TD colSpan=2>สิ่งใดที่ยังไม่รู้ ไม่เห็น ไม่ได้ทำ ไม่ได้ศึกษากันจริงๆจังๆ ไม่ได้ศึกษาอย่างลึกซึ้ง ไม่ใช่ว่าไม่มี ปรัชนี ประชากร สร้างพระพิมพ์เป็นตั้งแต่อายุ 18 ปี , ลบผงในวิชาที่สมเด็จพระพุฒาจารย์โต พรหมรังสี ท่านสอนพระเณรและฆารวาส , ศึกษาประวัติศาสตร์มามากพอสมควร นี่คือหนังสือที่เป็นต้นแบบ แต่ผมยังมีหนังสืออื่นๆอีก ซึ่งผมไม่จำเป็นจะต้องลงให้ทราบกันว่า ผมศึกษาจากหนังสือเล่มใดบ้าง

    สิ่งที่ผมนำมาเผยแพร่ ก็อย่างที่ผมบอก ผมมาพูดคุยเล่าเรื่องไม่เกิน 10 % ขององค์ความรู้ที่ผมมี ย้ำเป็นองค์ความรู้ที่ผมมี ยังไม่ใช่องค์ความรู้ทั้งหมด และการที่ผมนำเรื่องราวของปรัชนี ประชากร มาเผยแพร่ ผมได้ขออนุญาตท่านเรียบร้อยแล้ว และในบางเรื่องที่ผมขออนุญาต ผมเองก็ไม่ได้นำมาเล่าให้ฟังอีกเช่นกัน

    ผมอธิบายเพียงเท่านี้ก่อนครับ
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE class=forumline cellSpacing=1 cellPadding=3 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=row2 vAlign=top align=left width=150>sithiphong



    เข้าร่วม: 18 Sep 2007
    ตอบ: 28

    </TD><TD class=row2 vAlign=top width="100%" height=28><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD width="100%">[​IMG]ตอบเมื่อ: Mon Sep 24, 2007 11:38 am เรื่อง: </TD><TD vAlign=top noWrap>[​IMG] </TD></TR><TR><TD colSpan=2><HR></TD></TR><TR><TD colSpan=2>อีกนิด

    พระพิมพ์ที่สร้างขึ้นในช่วงปี พ.ศ.2447 และ ปี พ.ศ.2451 เรื่องเหล่านี้ไม่มีในหนังสือที่ท่านปรัชนี ประชากรเขียนขึ้นครับ

    .
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE class=forumline cellSpacing=1 cellPadding=3 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=row1 vAlign=top align=left width=150>sithiphong



    เข้าร่วม: 18 Sep 2007
    ตอบ: 28

    </TD><TD class=row1 vAlign=top width="100%" height=28><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD width="100%">[​IMG]ตอบเมื่อ: Mon Sep 24, 2007 12:09 pm เรื่อง: </TD><TD vAlign=top noWrap>[​IMG] </TD></TR><TR><TD colSpan=2><HR></TD></TR><TR><TD colSpan=2>http://www.palungjit.org/board/showthread.php?p=721847#post721847

    วันนี้, 12:20 PM #9880
    วันนี้, 12:20 PM #9880
    :::เพชร:::
    สมาชิก


    คุณๆๆ เนื้อหาในหนังสือ"เล่มนั้น"ที่คุณว่านี้คุณเคยมีโอกาสได้หยิบมาอ่านบ้างหรือเปล่า ? หากได้อ่านจะรู้ว่า ข้างในไม่เพียงความรู้ของพระวังหน้าเท่านั้น หาเอาตามหอสมุดแห่งชาติ แต่...ที่สำคัญอย่าไปหยิบเอาเล่มที่มีคนเขาแอบฉีกไปล่ะ บางทีความรู้ที่คุณสงสัย อาจจะอยู่ในหน้าที่ขาดหายไปนั้นก็ได้ เลยไม่ได้รู้กัน ...สาธุ

    ในงานสัปดาห์หนังสือที่ผ่านมา ร้านหนังสือเก่าแห่งหนึ่ง ตั้งราคาหนังสือสมเด็จโต ของตรียัมปวาย เล่มละ ๗๐,๐๐๐บาท หากแต่เล่มนี้ของอาจารย์ปู่ประถม ๓๐๐,๐๐๐ บาทยังต่ำไป
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE class=forumline cellSpacing=1 cellPadding=3 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=row2 vAlign=top align=left width=150>หมอผี ศิษย์สมเด็จ



    เข้าร่วม: 19 Sep 2007
    ตอบ: 3
    ที่อยู่: แผ่นดินสยามอันศักสิทธิ์

    </TD><TD class=row2 vAlign=top width="100%" height=28><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD width="100%">[​IMG]ตอบเมื่อ: Mon Sep 24, 2007 2:31 pm เรื่อง: </TD><TD vAlign=top noWrap>[​IMG] </TD></TR><TR><TD colSpan=2><HR></TD></TR><TR><TD colSpan=2>จอมยุทธผู้เจนศึก ไม่กระหายสงคราม ก็เพียงเริ่มมีแสงพึงอย่าเพิ่งรีบเปล่งประกาย</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE class=forumline cellSpacing=1 cellPadding=3 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=row1 vAlign=top align=left width=150>โซดาไลท์



    เข้าร่วม: 24 Sep 2007
    ตอบ: 1

    </TD><TD class=row1 vAlign=top width="100%" height=28><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD width="100%">[​IMG]ตอบเมื่อ: Mon Sep 24, 2007 3:14 pm เรื่อง: </TD><TD vAlign=top noWrap>[​IMG] </TD></TR><TR><TD colSpan=2><HR></TD></TR><TR><TD colSpan=2>เย็นไว้นะครับศิษย์อาจารย์เดียวกันทั้งน้าน</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE class=forumline cellSpacing=1 cellPadding=3 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=row2 vAlign=top align=left width=150>sithiphong



    เข้าร่วม: 18 Sep 2007
    ตอบ: 28

    </TD><TD class=row2 vAlign=top width="100%" height=28><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD width="100%">[​IMG]ตอบเมื่อ: Mon Sep 24, 2007 6:25 pm เรื่อง: </TD><TD vAlign=top noWrap>[​IMG] </TD></TR><TR><TD colSpan=2><HR></TD></TR><TR><TD colSpan=2>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  5. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    http://www.somdejto.com/somdejto/vie...p?t=16&start=0

    <TABLE class=forumline cellSpacing=1 cellPadding=3 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=row1 vAlign=top align=left width=150>ringside



    เข้าร่วม: 15 Sep 2007
    ตอบ: 6


    </TD><TD class=row1 vAlign=top width="100%" height=28><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD width="100%">[​IMG]ตอบเมื่อ: Mon Sep 24, 2007 7:07 pm เรื่อง: </TD><TD vAlign=top noWrap>[​IMG] </TD></TR><TR><TD colSpan=2><HR></TD></TR><TR><TD colSpan=2>เรียนคุณ Sithiphong

    นามปากกาของอาจารย์ ประถม อาจสาคร คือปรัศนีย์ ประชากร ครับ ไม่ใช่ ปรัชนี


    ส่วนประโยค เนื้อหาในหนังสือ"เล่มนั้น"

    เล่มไหนละครับ ช่วยเปิดเผยชื่อหน่อยเถอะ
    เผื่อบางทีผมตกสำรวจ จะได้ไปหามาอ่าน

    พระพิมพ์ที่สร้างขึ้นในช่วงปี พ.ศ.2447 และ ปี พ.ศ.2451

    พอมีตัวอย่าง โพสมาให้ชมเป็นขวัญตาบ้างไหมครับ เผื่อหูตาจะได้สว่าง

    ข้อมูลที่ว่า ปรัศนีย์ ประชากร สร้างพระพิมพ์เป็นตั้งแต่อายุ 18 ปี
    คุณ Sithiphong เชื่อหรือครับ เป็นฆารวาสน่ะเนี่ย
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE class=forumline cellSpacing=1 cellPadding=3 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=row2 vAlign=top align=left width=150>sithiphong



    เข้าร่วม: 18 Sep 2007
    ตอบ: 28


    </TD><TD class=row2 vAlign=top width="100%" height=28><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD width="100%">[​IMG]ตอบเมื่อ: Mon Sep 24, 2007 7:26 pm เรื่อง: </TD><TD vAlign=top noWrap>[​IMG] </TD></TR><TR><TD colSpan=2><HR></TD></TR><TR><TD colSpan=2>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE class=forumline cellSpacing=1 cellPadding=3 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=row1 vAlign=top align=left width=150>sithiphong



    เข้าร่วม: 18 Sep 2007
    ตอบ: 28


    </TD><TD class=row1 vAlign=top width="100%" height=28><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD width="100%">[​IMG]ตอบเมื่อ: Mon Sep 24, 2007 7:27 pm เรื่อง: </TD><TD vAlign=top noWrap>[​IMG] </TD></TR><TR><TD colSpan=2><HR></TD></TR><TR><TD colSpan=2>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE class=forumline cellSpacing=1 cellPadding=3 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=row2 vAlign=top align=left width=150>sithiphong



    เข้าร่วม: 18 Sep 2007
    ตอบ: 28


    </TD><TD class=row2 vAlign=top width="100%" height=28><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD width="100%">[​IMG]ตอบเมื่อ: Mon Sep 24, 2007 7:36 pm เรื่อง: </TD><TD vAlign=top noWrap>[​IMG] </TD></TR><TR><TD colSpan=2><HR></TD></TR><TR><TD colSpan=2>ชื่อหนังสือ
    วิเคราะห์พระพิมพ์สมเด็จฯ และพระสมเด็จท่านเจ้าคุณกรมท่า
    เจ้าพระยาภานุวงศ์มหาโกษาธิบดี (ท้วม บุญนาค)
    ซึ่งเขียนโดย ท่านปรัศนี ประชากร

    หนังสืออ้างอิง ที่ใช้ในหนังสือวิเคราะห์พระพิมพ์สมเด็จฯ
    1.ประชุมพงศาวดาร
    2.ตำนานเรื่องเครื่องโต๊ะและถ้วยปั้น พระนิพนธ์ สมเด็จฯ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ
    3.ประวัติ เจ้าประคุณสมเด็จพระพุฒาจารย์โต พรหมรังสี
    4.พระราชประวัติวังหน้า
    5.ประวัติเจ้าพระยาภานุวงศ์มหาโกษาธิบดี(ท้วม บุนนาค) เจ้าคุณกรมท่า ฉบับนายนัฐวุฒิ สุทธิสงคราม

    นอกจากหนังสือเล่มนี้ ซึ่งอธิบายว่า มวลสารแต่ละอย่างมีคุณสมบัติอย่างไร การสร้างพระพิมพ์สร้างอย่างไร มีพิธีพุทธาภิเษกหลวงทำกันอย่างไร ฯลฯ ผมก็ใช้หนังสือของอ.เทพย์ สาริกบุตร , หนังสือของคุณมัตตัญญู ,ประวัติของพระมหากษัตริย์และวังหน้า ฯลฯ รวมทั้งหนังสือของ อ.ระฆัง มาเป็นส่วนในการวิเคราะห์เรื่องพระพิมพ์

    เรื่องอื่นๆนั้น ผมขอสงวนสิทธิ์ไม่ตอบนะครับ
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE class=forumline cellSpacing=1 cellPadding=3 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=row1 vAlign=top align=left width=150>ringside



    เข้าร่วม: 15 Sep 2007
    ตอบ: 6


    </TD><TD class=row1 vAlign=top width="100%" height=28><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD width="100%">[​IMG]ตอบเมื่อ: Wed Sep 26, 2007 11:01 am เรื่อง: </TD><TD vAlign=top noWrap>[​IMG] </TD></TR><TR><TD colSpan=2><HR></TD></TR><TR><TD colSpan=2>เรียนคุณSithiphong

    หนังสือ
    วิเคราะห์พระพิมพ์สมเด็จฯ และพระสมเด็จท่านเจ้าคุณกรมท่า

    เล่มนี้ผมอ่านมาหลายปีแล้วครับ
    อ่านแล้วอ่านอีก ยังไม่บังอาจนำไปอ้างอิงกับใครครับ
    อ่านเป็นแนวทางเท่านั้น
    ไปรับที่บ้านเจ้าของหนังสือนั่นแหละ

    มีเล่มอื่นอีกไหมครับ ถ้ามีช่วยแนะนำด้วยครับ
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE class=forumline cellSpacing=1 cellPadding=3 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=row2 vAlign=top align=left width=150>sithiphong



    เข้าร่วม: 18 Sep 2007
    ตอบ: 28


    </TD><TD class=row2 vAlign=top width="100%" height=28><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD width="100%">[​IMG]ตอบเมื่อ: Wed Sep 26, 2007 2:03 pm เรื่อง: </TD><TD vAlign=top noWrap>[​IMG] </TD></TR><TR><TD colSpan=2><HR></TD></TR><TR><TD colSpan=2>หนังสืออื่นๆที่จะพอบอกได้ก็คื หนังสือของคุณมัตตัญญู ,หนังสือของ อ.เทพย์ สาริกบุตร และหนังสือประวัติศาสตร์ที่เกี่ยวกับพระมหากษัตริย์และวังหน้า ส่วนเล่มอื่นที่นอกเหนือจากนี้ ผมขอสงวนสิทธิ์ไม่บอกนะครับ

    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE class=forumline cellSpacing=1 cellPadding=3 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=row1 vAlign=top align=left width=150>sithiphong



    เข้าร่วม: 18 Sep 2007
    ตอบ: 28


    </TD><TD class=row1 vAlign=top width="100%" height=28><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD width="100%">[​IMG]ตอบเมื่อ: Wed Sep 26, 2007 2:05 pm เรื่อง: </TD><TD vAlign=top noWrap>[​IMG] </TD></TR><TR><TD colSpan=2><HR></TD></TR><TR><TD colSpan=2>อีกเล่มคือ หนังสือของ อ.ระฆังครับ

    ส่วนเล่มอื่น ขอสงวนสิทธิ์ไม่แจ้งให้ทราบครับ

    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE class=forumline cellSpacing=1 cellPadding=3 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=row1 vAlign=top align=left width=150>sithiphong



    เข้าร่วม: 18 Sep 2007
    ตอบ: 28


    </TD><TD class=row1 vAlign=top width="100%" height=28><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD width="100%">[​IMG]ตอบเมื่อ: Wed Sep 26, 2007 2:24 pm เรื่อง: </TD><TD vAlign=top noWrap>[​IMG] </TD></TR><TR><TD colSpan=2><HR></TD></TR><TR><TD colSpan=2>ผมขอจบกระทู้นี้ไว้เพียงเท่านี้

    เนื่องจาก อ.ระฆัง ได้กรุณาเข้ามาตอบผมอีกกระทู้แล้ว

    ขอบคุณครับ
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE class=forumline cellSpacing=1 cellPadding=3 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=row2 vAlign=top align=left width=150>ringside



    เข้าร่วม: 15 Sep 2007
    ตอบ: 6


    </TD><TD class=row2 vAlign=top width="100%" height=28><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD width="100%">[​IMG]ตอบเมื่อ: Wed Sep 26, 2007 6:35 pm เรื่อง: </TD><TD vAlign=top noWrap>[​IMG] </TD></TR><TR><TD colSpan=2><HR></TD></TR><TR><TD colSpan=2>เรียนคุณ Sithiphong

    หนังสือของคุณ มัตตัญญู ถ้าเป็นเล่มนี้
    "พระสมเด็จวังหน้า และหลวงพ่อเงินพิมพ์ช่างหลวง"
    ผมอ่านจนปกเกือบจะขาดอยู่แล้วครับ
    หนังสือของ อาจารย์เทพย์ สาริกบุตร ขนาดพ็อคเก็ตบุค
    มีประมาณ 7-8 เล่มก็อ่านมาแล้วครับ

    ยังมีอีก
    หลวงปู่เทพโลกอุดร ตำนานที่รอการพิสูจน์
    สมเด็จเจ้าคุณกรมท่า ในสมัยที่ยังไม่จัดทำเป็นเล่ม
    หนังสือเหล่านี้ผมอ่านผ่านมาหมดแล้ว และครอบครองอยู่

    มีเล่มอื่นจะแนะนำอีกไหมครับ
    ส่วนของอาจารย์ระฆัง มีครบ 7 เล่มครับ
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE class=forumline cellSpacing=1 cellPadding=3 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=row1 vAlign=top align=left width=150>ringside



    เข้าร่วม: 15 Sep 2007
    ตอบ: 6


    </TD><TD class=row1 vAlign=top width="100%" height=28><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD width="100%">[​IMG]ตอบเมื่อ: Wed Sep 26, 2007 6:48 pm เรื่อง: </TD><TD vAlign=top noWrap>[​IMG] </TD></TR><TR><TD colSpan=2><HR></TD></TR><TR><TD colSpan=2>เพิ่มเติมครับ

    ขอความกรุณาช่วยโพสรูปพระพิมพ์ ที่คุณภูมิใจที่ได้ครอบครอง
    ผมปุถุชน อยากรู้อยากเห็นครับ
    แต่ไม่ยึดติดครับ ขอบพระคุณล่วงหน้าครับ
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>

    ***********************************************

    ขอโทษครับ ผมขอไม่ตอบแล้วครับ

    ขอบคุณและโมทนาสาธุครับ

    .
     
  6. :::เพชร:::

    :::เพชร::: เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    8,584
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +36,137
    พบที่พิมพ์สะกดไว้ผิดก็ช่วยแก้ไขด้วยนะครับ จุดไหนสงสัย ถามไถ่กัน บางคำภาษาสวยเขียนไว้ถูก แต่เราอาจเข้าใจว่าเขียนผิด หรือเป็นภาษาเขียนเมื่อสมัย ๒๔๗๓ อันนี้ไม่ทราบชัด...
     
  7. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    พุทธัง สรณัง คัจฉามิ
    ธัมมัง สรณัง คัจฉามิ

    สังฆัง สรณัง คัจฉามิ
    ทุติยัมปิ พุทธัง สรณัง คัจฉามิ
    ทุติยัมปิ ธัมมัง สรณัง คัจฉามิ
    ทุติยัมปิ สังฆัง สรณัง คัจฉามิ
    ตติยัมปิ พุทธัง สรณัง คัจฉามิ
    ตติยัมปิ ธัมมัง สรณัง คัจฉามิ
    ตติยัมปิ สังฆัง สรณัง คัจฉามิ

    ขอน้อมกราบพระบาทองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าทุกๆพระองค์ ,องค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าพระนามกุกกุสันโธ ,องค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าพระนามสมณโคดม
    ขอน้อมกราบพระปัจเจกพุทธเจ้าทุกๆพระองค์
    ขอน้อมกราบพระอรหันต์ทุกๆพระองค์
    ขอน้อมกราบหลวงปู่บรมครูเทพโลกอุดร และคณะ
    ขอน้อมกราบพระมหาโพธิสัตว์และพระโพธิสัตว์ทุกๆพระองค์
    ขอน้อมกราบสมเด็จพระพุฒาจารย์โต พรหมรังสี
    กราบ กราบ กราบ กราบ กราบ

    [b-wai] [b-wai] [b-wai] [b-wai] [b-wai]
    <!-- / message --><!-- sig -->
     
  8. :::เพชร:::

    :::เพชร::: เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    8,584
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +36,137
    ดูคุ้นมาก...ช่วยลงด้านหลังให้ แต่ด้านข้างไปจินตนาการเอาเอง อิอิ
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

  9. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
  10. :::เพชร:::

    :::เพชร::: เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    8,584
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +36,137
    "หัวใจ" คนอยู่กึ่งกลางอกเยื้องมาทางด้านซ้าย "หัวใจ" พระ ก็อยู่"กึ่งกลาง" ด้านซ้าย ขวา บน ล่าง เหมือนกัน....กึ่งกลางจริงไม๊ครับ คุณ หนุ่ม (b-glass)
     
  11. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    [​IMG] [​IMG]

    http://www.dharma-gateway.com/monk/monk_biography/lp-ngern_hist.htm

    หลวงพ่อเงิน
    [​IMG]วัดหิรัญญาราม (วัดวังตะโก) บางคลาน จ.พิจิตร
    คัดลอกจาก http://www.tumnan.com/father_nerng/history.html
    หลวงพ่อเงิน ท่านเกิดเมื่อ วันที่ ๑๖ กันยายน พ.ศ. ๒๓๕๓ ตรงกับวันศุกร์ เดือน ๑๐ ปีฉลู บิดาชื่อ อู๋ มารดาชื่อ ฟัก ท่านเกิดที่บ้านบางคลาน อำเภอโพธิ์ทะเล จังหวัดพิจิตร บิดาเป็นชาวบางคลาน มารดาเป็นชาวบ้านแสนตอ อำเภอขาณุวรลักษณ์บุรี (แสนตอ) จังหวัดกำแพงเพชร
    ตั้งแต่อายุ ๓ ขวบ ได้ไปอยู่กับลุง ชื่อนายช่วง ที่กรุงเทพฯ และได้เข้าเรียนที่ บ้านตองปุ (วัดชนะสงคราม) จังหวัดพระนคร เมื่ออายุได้ ๑๒ (พ.ศ. 2365) ก็ได้บรรพชาเป็นสามเณรได้ศึกษาธรรมวินัย เวทย์วิทยาการต่างๆ จนแตกฉาน พออายุใกล้อุปสมบทท่านได้สึกจากสามเณรและหลังจาก ได้อุปสมบทแล้วได้จำพรรษาอยู่ที่วัดตองปุ (วัดชนะสงคราม) ได้ร่ำเรียนวิปัสสนาอยู่ ๓ พรรษา แล้วมาอยู่วัดคงคาราม (วัดบางคลานใต้) ได้ ๑ พรรษา ขณะนั้นหลวงพ่อพระอุปัชฌาย์ให้เป็นเจ้าอาวาสอยู่ ท่านเป็นพระเรืองวิชา ชอบเล่นแร่ แปลธาตุ แต่หลวงพ่อเงินท่านเคร่ง ธรรมวินัย ชอบความสงบ ท่านจึงได้ย้ายไปอยู่หมู่บ้านวังตะโก ลึกเข้าไปทางลำน้ำเก่า
    กล่าวกันว่า....เดิมที่ท่านจากวัดคงคารามไปแล้ว ก็มาปลูกกุฏิด้วยไม่ไผ่มุงหลังคาด้วยแฝกอยู่องค์เดียว และพร้อมกันนั้นได้นำกิ่งโพธิ์มาปักไว้ที่ริมตลิ่ง (หน้าพระอุโบสถ) แล้วอธิษฐานว่าถ้าท้องถิ่นนี้จะเจริญรุ่งเรืองเป็นอารามต่อไป ก็ขอให้โพธิ์ต้นนี้งอกงามแผ่กิ่งก้านสาขาเป็นนิมิตดีต่อไปด้วย และเหตุการณ์ก็เป็นจริงดังอธิษฐานไว้ ซึ่งต่อมาพื้นที่แถบนั้นก็ได้ปรากฏเป็น "วัดวังตะโก" เกิดขึ้น พระอารามแห่งนี้ "หลวงพ่อเงิน" ได้เป็นผู้สร้างไว้เมื่อประมาณปี พ.ศ. 2377 ต่อมาวัดวังตะโก หรือวัดหิรัญญารามก็เจริญอย่างรวดเร็ว มีผู้คนเคารพนับถือและถวายตัวเป็นศิษย์ ขอมาฟังธรรม ขอเครื่องรางของขลัง และขอให้หลวงพ่อช่วยรักษาโรคให้ ท่านได้รับแต่งตั้งให้เป็นพระอุปัชฌาย์และสมณศักดิ์เป็นเจ้าคุณฝ่ายวิปัสสนา
    "หลวงพ่อเงิน" นับเป็นพระเกจิอาจารย์ ผู้เลื่องชื่อ ด้านไสยเวทเยี่ยมยอดที่สุดของเมืองพิจิตร จนเมื่อมาอยู่วัดวังตะโดและได้พัฒนาวัดจนรุ่งเรือง เป็นที่รู้จักกันไปทั่วว่า
    หลวงพ่อเงินสามารถรู้ผู้มาเยือนด้วยญาณวิเศษได้อย่างมหัศจรรย์ และยังเป็นหมอเชี่ยวชาญในการรักษาโรคภัยไข้เจ็บให้แก่ชาวบ้านได้อย่างชะงัดอีกด้วย เคยมีผู้ไปลองดีกับท่าน ท่านก็แอ่นอกให้ยิง แต่กระสุนไม่ยอมออกจากลำกล้อง ความศักดิ์สิทธิ์เยี่ยงอัจฉริยะของ "หลวงพ่อเงิน" บางคลาน นับว่าร่ำลือกันไปไกลมาก จนถึงขนาดเสด็จในกรม "กรมหลวงชุมพร เขตอุดมศักดิ์" ก็ยังเสด็จไปฝากตัวเป็นศิษย์ด้วย
    ผลงานที่สำคัญ
    ๑. ด้านการก่อสร้าง หลวงพ่อมักเป็นธุระในเรื่องการสร้างถาวรวัตถุ ท่านเป็นนักก่อสร้าง ท่านควบคุมการก่อสร้างด้วยตนเอง ท่านรวบรวมปัจจัยได้จากการสร้างวัตถุมงคล เงินบริจาค สิ่งที่ท่านชอบสร้างอีกอย่างหนึ่งนอกจากโบสถ์ วิหาร ศาลา ก็คือ ศาลาพักร้อนเพื่อคนสัญจรไปมา
    ๒. ด้านการรักษาโรคด้วยวิชาแพทย์แผนโบราณ หลวงพ่อเงิน เป็นหมอแผนโบราณ ทางด้านการรักษาโรคภัยไข้เจ็บด้วยยาสมุนไพรหรือบางครั้งก็ใช้น้ำมนต์ ซึ่งก็ให้ผลในด้านกำลังใจ ปัจจุบันยังมีตำรายาและสมุดข่อย ของท่านที่เก็บรักษาไว้ที่วัดบางคลาน
    ๓. เป็นพระอาจารย์ที่มีชื่อเสียงด้านวิปัสสนา เป็นศิษย์รุ่นเดียวกันกับหลวงพ่อศุข วัดปากคลองมะขามเฒ่า จังหวัดชัยนาท ซึ่งท่านได้ แนะนำให้กรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์ ได้มาเรียนวิชาทางวิปัสสนากับหลวงพ่อ รวมทั้งสมเด็จพระสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส ก็เสด็จมาประทับที่วัดวังตะโก อยู่หลายวัน เพื่อเรียนทางด้านวิปัสสนา
    ๔. พระเครื่องหรือพระพิมพ์ หลวงพ่อไม่นิยมสร้างพระเครื่อง เพราะท่านบอกว่า คงกระพันชาตรีเป็นเรื่องเจ็บตัว พระเครื่องรุ่นที่ หลวงพ่อยังมีชีวิตอยู่จึงมีน้อย และมีพระคุณานุภาพทรงคุณทางแคล้วคลาดคงกระพันชาตรี เมตตามหานิยม พระเครื่องรุ่นที่ท่านจัดสร้างมี
    - หลวงพ่อเงินชนิดกลม (ลอยองค์ มี ๒ ชนิด คือ พิมพ์ขี้ตาและพิมพ์นิยม)
    - หลวงพ่อเงินชนิดแบนหรือสามเหลี่ยมหน้าจั่ว
    - หลวงพ่อเงินชนิดสามเหลี่ยมหน้าจั่วไข่ปลา
    - พระเจ้าห้าพระองค์
    ท่านมีโรคประจำตัว คือโรคริดสีดวงทวาร ท่านรักษาตัวเองบางครั้งก็หาย บางครั้ง ก็กลับเป็นอีก ท่านเคยกล่าวว่า "คนอื่นร้อยพันรักษาให้หาย แต่ผงเข้าตาตัวเองกลับรักษาไม่ได้" ท่านมรณภาพเมื่อวันศุกร์ แรม ๑๑ ค่ำ เดือน ๑๐ ปีมะแม ตรงกับ พ.ศ.๒๔๖๒ อายุได้ ๑๐๙ ปี
    [​IMG]
     
  12. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    http://www.dharma-gateway.com/monk/monk_biography/lp-ngern_hist-01.htm

    กรมหลวงชุมพร พบ หลวงพ่อเงิน
    [​IMG][​IMG]
    จากกระทู้ในหัวข้อ บทความสาระน่ารู้ เวป uamulet.com โพสท์โดย คุณ Pan เมื่อ 30/5/2546
    http://www.uamulet.com/articleAmuletBoardDetail.asp?qid=2
    <TABLE style="BORDER-RIGHT: medium none; BORDER-TOP: medium none; BACKGROUND: #fffff5; BORDER-LEFT: medium none; BORDER-BOTTOM: medium none; BORDER-COLLAPSE: collapse" cellSpacing=0 cellPadding=0 width="90%" bgColor=#fffff5 border=1><TBODY><TR><TD style="BORDER-RIGHT: maroon 1.5pt solid; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BORDER-TOP: maroon 1.5pt solid; PADDING-LEFT: 5.4pt; PADDING-BOTTOM: 0cm; BORDER-LEFT: maroon 1.5pt solid; PADDING-TOP: 0cm; BORDER-BOTTOM: maroon 1.5pt solid" vAlign=top height="100%">ผมได้มาจากในเวป ของหนังสือพิมพ์ คมชัดลึก ถ้าใครรับหนังสือพิมพ์ประจำก็คงได้อ่านกันแล้ว ที่นำมาลงเพราะเห็นว่าเขียนบรรยายรายละเอียดได้แบบที่ไม่เคยอ่านมาก่อน น่าสนใจดีคับ อ่านแล้วมันส์ดี ทำให้รู้ว่าความศักดิ์สิทธ์ของหลวงพ่อเงินนั้นสุดบรรยายจริงๆ สำหรับพี่ๆเพื่อนๆที่ไม่ได้อ่านก็สามารถอ่านได้ หรือ เข้าไปที่ http://www.komchadluek.com/ komchadluek /phra /2003 /may /2802.php ก็ได้เหมือนกันคับ
    จากคุณ Pan [ 30/5/2546 - 23:03:00 ]
    </TD></TR></TBODY></TABLE>​
    พลเรือเอก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์ เกียรติคุณของพระองค์ท่านไพศาลขนาดไหน เห็นจะไม่ต้องบรรยายความ พระอาจารย์ของพระองค์ยิ่งยงขนาดไหนก็เห็นจะไม่ต้องพรรณนาอีกเหมือนกัน แต่ก็อดที่จะกล่าวถึงมิได้ พระเกจิอาจารย์องค์สำคัญๆ ในอดีตนั้น ล้วนแล้วแต่ได้เคยมีความสัมพันธ์กับพระองค์ทั้งสิ้น เป็นต้นว่า หลวงปู่ศุข วัดปากคลองมะขามเฒ่า จ.ชัยนาท หลวงพ่อกลั่น วัดพระญาติฯ จ.พระนครศรีอยุธยา หลวงปู่ยิ้ม วัดหนองบัว จ.กาญจนบุรี หลวงพ่อพริ้ง วัดบางปะกอก ธนบุรี และยังมีอีกหลายองค์ที่เสด็จ ในกรมได้เสด็จไป ทรงพบและร่ำเรียน ทางเวทมนตร์คาถา และไสยเวทย์ด้วย
    แต่โอกาสนี้จะขอกล่าวถึง "เมื่อเสด็จกรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์ เสด็จไป ทรงพบกับหลวงพ่อเงิน บางคลาน โพธิ์ทะเล จ.พิจิตร" ตามบันทึกความด้วยสมองของผู้ตามเสด็จไปในครั้งนั้น คือคนสนิทของพระองค์ที่มีชื่อว่า "นายหลิ่ม"
    ครั้นเมื่อ...กรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์ เสด็จไปยังวัดปากคลองมะขามเฒ่า ชัยนาท อยู่เสมอๆ ด้วยความศรัทธามั่นต่อหลวงพ่อศุข เกจิอาจารย์ ผู้ปราดเปรื่องเรื่องเวทมนตร์คาถาอาคมนั้น พระองค์ได้พบกับความมหัศจรรย์ทางพุทธเวทย์เป็นที่ประจักษ์แก่สายตานับครั้งไม่ถ้วน จึงยกให้หลวงพ่อศุข เป็นอาจารย์ของพระองค์ ได้รับการถ่ายทอดวิชานานัปการ อันประมาณมิได้จากหลวงพ่อเป็นถ้วนทั่ว ฝึกฝนจนเกิดความชำนาญ มีปรีชาสามารถ ปรากฏตามเรื่องราวของพระองค์กับหลวงพ่อศุข ดังที่ได้เคยมีผู้รจนาไว้จำนวนมาก เป็นที่ทราบความกันดีแล้วๆ นั้น จึงมิขอกล่าวถึงอีก แต่จะกล่าวถึงครั้งหนึ่งที่หลวงพ่อศุขได้ทูลเสด็จในกรมมีความว่า
    "ถ้าจะดูของดีๆ แปลกๆ นอกเหนือจากของฉันแล้ว ก็เห็นจะมีเกลอกันกับฉันอีกองค์หนึ่ง เคยศึกษามาจากอาจารย์เดียวกัน คือท่านเงิน อยู่บางคลาน โพธิ์ทะเล เมืองพิจิตร หากจะไปหาก็จงบอกว่า ฉันแนะทางมาเถิด"
    เมื่อเสด็จในกรมได้ทราบดังนั้นแล้ว จึงมีความปรารถนาอย่างยิ่งที่จะเดินทางไปยังเมืองพิจิตร เพราะพระองค์ชอบ ในการแสวงหาบรรดาเกจิอาจารย์ผู้ทรงวิทยาอาคมขลังอยู่เป็นทุนแล้ว และเมื่อสบโอกาสอันเหมาะควรแล้ว จึงได้ชวนกันกับนายหลิ่มคนสนิท เดินทางไปเมืองพิจิตรทันที
    พิจิตร สมัยนั้นเส้นทางไม่สะดวกเหมือนสมัยนี้ พิจิตรเป็นเพียงเมืองเล็กๆ เมืองหนึ่ง ซึ่งรายรอบไปด้วยป่าทึบโดยทั่วไป ระยะทางจากเมือง ไปยังหมู่บ้านรอบๆ พิจิตร กางกั้นด้วยป่าทึบบ้างป่าโปร่งบ้าง ห้วยละหานลำธารคุ้งคดเลาะลัดอยู่ทั่วๆ ไป การเดินทางจึงลำบาก ส่วนใหญ่นิยมใช้ช้างเดินทางเป็นหลัก เพราะจะต้องอาศัยความแข็งแกร่งของช้างเท่านั้น ที่จะผ่านไพรแบบนั้นไปได้
    โพธิ์ทะเล เป็นตำบลที่ห่างเมืองพิจิตรไปทางทิศใต้ใกล้เขตชุมแสง นครสวรรค์ จึงถูกปกคลุมไปด้วยป่าไม้เป็นส่วนใหญ่ สำหรับ บางคลาน อันเป็นที่ตั้งของวัดบางคลานก็เป็นเพียงหมู่บ้านเล็กๆ ริมแม่น้ำยม ชิดเขตชุมแสง ซึ่งเต็มไปด้วยป่าโปร่งพันธุ์ใหญ่ๆ เกือบทั้งสิ้น รายรอบไว้ทุกด้าน
    เสด็จในกรมฯ กับคนสนิทคือ นายหลิ่ม ใช้ช้างเป็นพาหนะเดินทางจากเมืองนครสวรรค์ ขึ้นไปในฤดูแล้งของปีหนึ่ง ผ่านออกไปทางป่าทึบเมืองชุมแสง ลัดเลาะไปปากเกยชัยแหล่งชุกชุมด้วยจระเข้ ป่าเปลี่ยว เข้าเขตป่าลึกของชุมแสง
    ขณะที่กำลังเดินทางอยู่ วันหนึ่งตอนพระอาทิตย์กำลังพลบค่ำ และถึงเวลาพักช้าง เสด็จกรมหลวงฯ และนายหลิ่มได้ทำเลค้างแรมได้แล้วจึงเตรียมจะจัดทำอาหารนั้นเอง
    ก็ปรากฏร่างชายแก่ในชุดห่มขาว แต่คล่ำไปด้วย ความเก่าและขาดวิ่น หนวดเครายาวรุงรังนั่งสงบนิ่ง อยู่ในซุ้มไม้ใกล้กันนั้น
    ดวงตาหลับสนิท ริมฝีปากขมุบขมิบ บริกรรมพระเวทอยู่ตลอดเวลา เสด็จในกรม จึงตรงเข้าไปหา พร้อมกับนายหลิ่มคนสนิท ทันทีที่เดินเข้าไปใกล้ซุ้มไม้ อันร่มครึ้มนั้นชายแก่ก็ลืมตาขึ้น
    เสด็จในกรม ทราบได้ดีว่าเป็นผู้ทรงศีล จึงทำความเคารพและ ถามว่าเป็นใคร ก็ได้รับคำตอบว่าชื่อ เหมือน เที่ยวหาความสงบอยู่ตามป่าเขตนี้ เพื่อบำเพ็ญสมาธิ หลบหนีจากผู้คนหาความวิเวกอยู่ตามลำพัง
    หลังจากสนทนากันจนเป็นที่พอใจแล้ว นายหลิ่ม จึงชวนเสด็จในกรมให้กลับไปจัดการเรื่องที่พักและอาหารเสียก่อน สักครู่ เสด็จในกรมได้หันไปมองทางชายแก่นั้น น่าประหลาดใจ ไม่พบชายแก่ชื่อเหมือนคนนั้นเสียแล้ว จึงให้นายหลิ่มเดินตามหาในละแวกนั้นก็ไม่พบ เป็นที่แปลกมากในเวลาเพียงไม่นานนักที่ชายแก่ขนาดนั้น จะหลบเร้นหายไปได้อย่างรวดเร็ว นับเป็นเรื่องปาฏิหาริย์โดยแท้
    ลัดเลาะตามไพรทึบ จนถึงชายฝั่งแม่น้ำยม คนนำทางพาเลียบชายฝั่งแม่น้ำยมขึ้นไปทางเหนือ ฤดูแล้งน้ำในแม่น้ำยมขอดแห้ง สักครู่ก็พบวัดเก่าแก่อยู่ฝั่งตรงข้าม คนนำทางบอกว่า นั่นคือ วัดบางคลาน ที่ต้องการมาพบ หลวงพ่อเงิน
    เสด็จในกรมหลวงชุมพรฯ ได้ข้ามแม่น้ำยม ซึ่งมีน้ำไม่มากนัก ช้างเดินข้ามสบาย สอบถามหา หลวงพ่อเงิน ได้ความว่า ออกป่าไปได้สองวันแล้ว ไม่ทราบว่าจะกลับมาเมื่อใด บางทีก็เป็นเวลาหนึ่งเดือนเต็มๆ บางทีก็เจ็ดวัน พระในวัดรูปหนึ่งได้บอกกับเสด็จในกรมว่า ก่อนหน้าที่หลวงพ่อเงินจะออกไปป่าได้พูดเปรยขึ้นกับพระหลายรูปว่า
    "อีกสองวันจะมีคนดี เขามาหาฉัน เห็นทีจะอยู่ไม่ได้แน่ ต้องออกป่าสักพัก" แล้วท่านก็ออกป่าในเย็นวันนั้น
    เสด็จในกรมทรงแปลกพระทัยมาก ครั้นจะคอยอยู่ก็เกรงว่าจะไม่พบ และไม่ทราบว่านานเท่าใดหลวงพ่อจึงจะออกจากป่า จึงตัดสินพระทัยคอยอยู่สองคืน แล้วจึงกลับไปยังนครสวรรค์
    ขณะเดินมาถึงกลางทาง ได้พบกับชายแก่ที่ชื่อเหมือนอีก เสด็จในกรมอยู่บนหลังช้างได้เห็น ชายแก่ผู้นั้นเดินอยู่กลางทุ่งหญ้าไกลๆ จำได้ถนัด เพราะหลังคุ้มและใส่ชุดขาวเก่าคร่ำคร่าขาดวิ่น จึงเร่งช้างให้เข้าไปใกล้โดยเร็ว และทันใดนั้นเอง ชายแก่ก็ลับหายไปในทุ่งหญ้าอย่างรวดเร็ว ถึงแม้เสด็จในกรมจะนั่งช้าง เดินหาจนทั่วบริเวณก็หาพบไม่ ได้ทอดพระทัยและตรัสกับนายหลิ่มว่า เป็นเรื่องแปลกเหลือเกิน มาพิจิตรคราวนี้ต้องการ พบใครก็ไม่พบ
    เสด็จในกรมพักอยู่ที่นครสวรรค์ได้ ๑๐ วัน ตั้งใจจะกลับกรุงเทพฯ แต่ลังเลพระทัย จึงชวนนายหลิ่มว่า ลองขึ้นไปพิจิตรใหม่อีกครั้ง ก่อนออกเดินทางเสด็จในกรมให้นายหลิ่มหาซื้อ เสื้อคอจีนหนึ่งตัว ไม้คานหนึ่งอัน กางเกงจีนหนึ่งตัว สาแหรกและเข่งสองชุด หมวกกุ้ยเล้ยหนึ่งใบ แล้วจึงออกเดินทางด้วยช้างกับคนนำทาง ตรงไป วัดบางคลาน อีกครั้งหนึ่ง
    ระหว่างทางได้ไปพบ จระเข้เผือกขนาดใหญ่ นอนขวางลำน้ำอยู่ที่ปากเกยชัย เสด็จในกรมให้นายหลิ่มเอาขันตักน้ำมาทำน้ำมนต์ แล้วทรงปลุกเสกร่ายพระเวทย์บริกรรมทำน้ำมนต์อยู่เป็นเวลานาน แล้วเทน้ำมนต์ลงไปในน้ำ ซึ่งจระเข้นอนขวางทางอยู่ ทันทีที่น้ำมนต์เทออกจากขัน กระทบผิวน้ำ จระเข้เผือก ที่นอนสงบนิ่งอยู่ ก็ฟาดหางไปมา แล้วดำน้ำหายไปทันที เหลือแต่พรายน้ำวนเป็นวงกลมอยู่เบื้องหน้าเสด็จในกรม
    จากนั้นเสด็จในกรม จึงได้เดินทางต่อไป จนลุถึงริมฝั่งแม่น้ำยม ขณะนั่งพักช้างปล่อยช้างกินหญ้ากินน้ำอยู่นั่นเอง ก็เหลือบไปที่โคนต้นไม้ใหญ่ ใกล้กันนั้นเห็นชายแก่ชื่อเหมือนที่พบกันครั้งก่อนนั่งหลับตาสงบนิ่งอยู่ เสด็จในกรมจึงรีบตรงเข้าไปแสดงความเคารพ
    ผู้เฒ่าเหมือนลืมตาขึ้น แล้วบอกว่า "พรุ่งนี้เข้าไปหาท่านจึงจะพบ"
    เสด็จในกรมนั่งฟังโดยไม่ได้กล่าวอะไร ผู้เฒ่าเหมือนก็เอ่ยขึ้นอีกว่า "หลวงพ่อท่านไม่ชอบเจ้าชอบนาย"
    เสด็จในกรมนั่งเงียบฟังเฉยอยู่ ผู้เฒ่าเหมือนได้ล้วงลงไปในย่าม แล้วหยิบแหวนทองเหลืองออกมาจากย่าม แล้วส่งให้เสด็จในกรมแล้วพูดว่า
    "เก็บไว้ให้จงดี ฉันทำเตรียมไว้แต่ครั้งก่อน แต่ยังเป็นยามไม่เหมาะ จึงให้ไม่ได้"
    เสด็จในกรมรับแหวนจากมือผู้เฒ่า แล้วก้มลงพิจารณาแหวนนั้น เป็นแหวนทองเหลืองอมดำออกสีคล้ำๆ ตรงกลางแหวนมีเหล็กแร่สีดำ เป็นมันฝังอยู่เม็ดเล็กๆ หนึ่งเม็ด แล้วมีอักขระขอมลงด้วยเหล็กจารรอบๆ วง เสด็จในกรมตรัสว่า คงจะเป็น เหล็กไหล แล้วเงยหน้าขึ้นไปมองทางผู้เฒ่าเหมือน ปาฏิหาริย์ ผู้เฒ่าเหมือนหายไปจากตรงนั้นแล้ว รวดเร็วอย่างไม่คาดฝัน เสด็จในกรมถึงกับอุทานออกมา แล้วหันมามองทางนายหลิ่ม ซึ่งนั่งอ้าปากค้างอยู่
    เลียบฝั่งแม่น้ำยม อันแห้งขอดขึ้นไปทางเหนือเหมือนครั้งที่แล้ว มุ่งหน้าตรงเข้า วัดบางคลาน ทันที พบพระอยู่หน้าวัด เสด็จในกรมถามว่า หลวงพ่ออยู่หรือเปล่า ก็ได้รับคำตอบว่า อยู่ที่กุฏิพลางชี้มือไปที่กุฏิ เสด็จในกรมจึงมุ่งหน้าตรงไปที่กุฏิทันที แต่ก็พบกับความว่างเปล่า ไม่มีหลวงพ่อเงินบนกุฏิ ไม่มีหลวงพ่อเงินในบริเวณวัด พระเณรช่วยกันหาเป็นเวลานานก็ไม่พบหลวงพ่อ
    เสด็จในกรมนั่งคอยอยู่ที่กุฏิ จนเย็นเห็นว่าไม่พบแน่ จึงสั่งคนนำทางและนายหลิ่มให้เดินทางกลับในวันนั้น ข้ามแม่น้ำยมมายังฝั่งชุมแสง พักแรมอยู่ในละเมาะไม้ใกล้ชายฝั่ง แล้วตรัสกับนายหลิ่มว่า "พรุ่งนี้เช้ากลับแน่ พักนครสวรรค์สักสองคืนแล้วเข้ากรุง"
    เช้าวันรุ่งขึ้นในตอนสาย เสด็จในกรมถามหาสิ่งของที่ให้นายหลิ่มซื้อมาจากนครสวรรค์ เมื่อได้ของครบแล้ว บอกให้นายหลิ่มไปคอยที่ริมฝั่งแม่น้ำ แล้วเสด็จในกรมหายเข้าไปในป่าสักครู่ ก็ออกมาที่ริมฝั่งแม่น้ำยม ฝั่งตรงข้ามหน้าวัดในชุดชาวจีนหาบของสวมหมวกกุ้ยเล้ย บอกให้นายหลิ่มเดินตามหลังไปห่างๆ แล้วเสด็จข้ามแม่น้ำยม มุ่งไปยังวัดบางคลานทันที ถึงศาลาหน้าวัดเห็นพระแก่รูปร่างใหญ่โต ลักษณะท่าทางน่าจะเป็น หลวงพ่อเงิน นั่งหันหลังออกมาฝั่งที่ขึ้นไป ตัดสินพระทัยแน่นอนว่า ต้องเป็น หลวงพ่อเงิน แน่ จึงรีบวางหาบของแล้ววิ่งเข้าไปทางข้างหลัง เมื่อถึงจึงโอบมือรัดเอวเอาไว้แน่น พลางตรัสขึ้นด้วยเสียงอันดังว่า
    "ได้หลวงพ่อแล้ว ได้หลวงพ่อแล้ว"
    หลวงพ่อหันหน้ามามอง แล้วเอ่ยขึ้นด้วยเสียงอันดังเช่นกันว่า
    "เสียท่าเขาแล้ว เสียท่าเขาเข้าแล้ว"
    เสด็จในกรมก้มเข้ากราบหลวงพ่อเงิน พอเงยหน้าขึ้นมาหลวงพ่อเงินได้พูดว่า
    "วันนี้เป็นยามดี ที่เราจะได้พบกับลูกศิษย์ท่านศุข นี่พยายามดีเหลือเกิน"
    จากนั้นหลวงพ่อเงินได้เดินนำเสด็จในกรมขึ้นไปบนกุฏิ เมื่อถึงบนกุฏิได้นั่งสนทนาถามถึงทุกข์สุขของหลวงพ่อศุขว่าเป็นอย่างไรบ้าง อยู่พอสมควร หลวงพ่อเงินก็เอ่ยขึ้นกับเสด็จในกรมว่า
    "คอยสักครู่เถอะ ฉันจะสรงน้ำก่อน"
    หลวงพ่อเงินพูดแล้วลุกขึ้นจากที่นั่งเดินหายเข้าไปในกุฏิ เป็นเวลาไม่กี่อึดใจ ก็ปรากฏเสียงดัง "กริ๊ก กริ๊กๆๆ" ขึ้นที่กาน้ำซึ่งวางอยู่ข้างเสากลางกุฏิ ทั้งเสด็จในกรมและนายหลิ่มหันไปที่กาน้ำนั้นทันที เสียง "กริ๊ก กริ๊ก กริ๊ก" ยังดังอยู่ต่อไป ทำความแปลกใจให้เสด็จในกรมอย่างยิ่ง จึงอดทนต่อความสงสัยต่อไปไม่ได้ ตรงเข้าไปที่กาน้ำนั้นทันที พลางเปิดฝาออกดูว่ามีสิ่งใดอยู่ภายใน ทันทีที่เสด็จในกรมเปิดฝาออกก็ถึงกับพรึงเพริดพระทัยแทบไม่เชื่อสายตาตนเอง ร้องเรียกว่า
    "ไอ้หลิ่มมาดูอะไรนี่ซิ" นายหลิ่มรีบตรงเข้าไปก้มมองดูในกา ถึงกับอ้าปากค้างพูดอะไรไม่ถูก เพราะว่าภาพที่ปรากฏในกาน้ำใบนั้นคือ
    ร่างของหลวงพ่อเงินขนาดเล็กเท่าปลายนิ้วก้อย มือกำลังสรงน้ำถูเนื้อถูตัวอยู่อย่างขะมักเขม้น น้ำในกากระเพื่อมไปมา จนกระฉอกกระเด็นออกมานอกกาน้ำ
    เสด็จในกรมค่อยๆ ปิดฝากาลงอย่างฉงนพระทัยเป็นอย่างยิ่ง พลางตรัสกับนายหลิ่มว่า
    "ไม่เสียเที่ยวที่มาเมืองพิจิตร หลวงพ่อท่านพูดไว้ถูกทีเดียวว่า จะได้ดูของแปลกๆ นอกเหนือจากท่านก็ให้มาที่นี่"
    [​IMG]
     
  13. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    http://www.phichit.police.go.th/phothalay/PV2.htm

    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top>ประวัติหลวงพ่อเงิน
    วัดท้ายน้ำ ตำบลท้ายน้ำ อำเภอโพทะเล จังหวัดพิจิตร

    </TD></TR><TR><TD vAlign=top></TD></TR><TR><TD vAlign=top>
    [​IMG]


    </TD></TR><TR><TD vAlign=top>หลวงพ่อเงิน เกิดที่บ้านบางคลาน หมู่ที่ 1 ตำบลบางคลาน อำเภอโพทะเล จังหวัดพิจิตร ตรงกับสมัยรัชกาลที่ 1 แห่งรัตนโกสินทร์ สำหรับวันเกิดของท่านนั้นไม่มีหลักฐานที่แน่ชัดยืนยันได้แต่จากการสอบถามกับปีที่ท่านอุปสมบทแล้ว น่าเชื่อได้ว่า ท่านเกิดในปี พ.ศ. 2351 ค่อนข้างจะแน่นอน คุณลุงแปลก สุขนวล ซึ่งเคยมีชีวิตอยู่ทันรับใช้หลวงพ่อบอกว่า ท่านเกิดเมื่อวันศุกร์ เดือน 10 ปีมะโรง พ.ศ. 2531 และมรณภาพเมื่อวันศุกร์ เดือน 10 แรม 11 ค่ำ ปีมะแม เวลา 15.00 น. ตรงกับวันที่ 20 กันยายน 2462 รวมอายุได้ 111 ปี 90 พรรษา ( ถ้าท่านเกิดในปีฉลู จะมีอายุเพิ่มขึ้นอีก 3 ปี เป็น 114 ปี )
    สำหรับวันเกิดของท่าน หากมีหลักฐานอื่นใดที่เป็นลายลักษณ์อักษรยืนยันได้แน่นอนก็จะทำให้ทราบอายุของท่านที่แท้จริงได้ถูกต้อง
    หมายเหตุ หลวงพ่อเงิน วัดคงคาราม หลวงพ่อเงิน วัดท้ายน้ำ และหลวงพ่อเงิน วัดบางคลาน (วัดหิรัญญาราม) คือองค์เดียวกัน
    </TD></TR><TR><TD vAlign=top>[​IMG]

    </TD></TR><TR><TD vAlign=top></TD></TR><TR><TD vAlign=top>
    ชาติภูมิ


    </TD></TR><TR><TD vAlign=top>
    บิดาของหลวงพ่อเงินเป็นชาวบางคลาน มารดาเป็นคนบ้านแสนตอ อำเภอขาณุวรลักษบุรี จังหวัดกำแพงเพชร มีพี่น้องทั้งสิ้นรวม 6 คน ดังนี้
    1. ตาพรหม เป็นพี่ชายคนโต
    2. ยายทับ ( ไม่ทราบนามสกุล )
    3. ตาทอง หรือ ตาภุมรา เป็นนายกองส่วยรัชชูปการ และเป็นหมอใหญ่ที่เชี่ยวชาญในวิชาการแพทย์แผนโบราณในสมัยนั้น มีชื่อเสียงโด่งดังมาก การที่มีชื่อเสียงโด่งดังในทางหมอและเก็บส่วยน้ำผึ้งนี้ จึงได้มีชื่อใหม่ว่า
     
  14. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    รวมกระทู้ พระคาถา บูชาหลวงพ่อเงิน วัดบางคลาน

    คำบูชาหลวงพ่อเงิน วัดบางคลาน พิจิตร
    คาถาบูชาหลวงพ่อเงิน วัดบางคลาน
    คาถา "บูชาหลวงพ่อเงิน พุทธโชติ" วัดท้ายน้ำ
    *********************************************

    http://www.palungjit.org/board/showthread.php?t=22399
    คำบูชาหลวงพ่อเงิน <O:p</O:p
    วัดบางคลาน จ.พิจิตร<O:p</O:p
    <O:p</O:p

    นโม ๓ จบ<O:p</O:p

    <O:p</O:p
    อะกะ อะธิ อะธิ อะกะ ธิอะ กะอะ<O:p</O:p

    วันทามิ อาจาริยัญจะ หิรัญญะ นามะกัง ถิรัง สิทธิ ทันตัง มหาเตชัง อิทธิ มันตัง วะสาทะรัง <O:p</O:p
    ( สิทธิ พุทธัง กิจจัง มะมะ ผู้คนไหลมา นะชาลี ติ สิทธิ ธัมมัง จิตตัง มะมะ ข้าวของไหลมา นะชาลี ติ สิทธิ สังฆัง จิตตัง มะมะ เงินทองไหลมา นะชาลี ติ ฉิมพลี จะ มหาลาภัง ภะวันตุ เม )
    หมายเหตุ ในวงเล็บ จะสวดหรือไม่ก็แล้วแต่ครับ

    http://www.palungjit.org/board/showthread.php?t=36609
    <TABLE class=tborder id=post234596 cellSpacing=0 cellPadding=6 width="100%" align=center border=0><TBODY><TR><TD class=thead style="BORDER-RIGHT: #ffffff 0px solid; BORDER-TOP: #ffffff 1px solid; FONT-WEIGHT: normal; BORDER-LEFT: #ffffff 1px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 1px solid">25-04-2006, 08:28 PM <!-- / status icon and date --></TD><TD class=thead style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid; BORDER-TOP: #ffffff 1px solid; FONT-WEIGHT: normal; BORDER-LEFT: #ffffff 0px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 1px solid" align=right>#1 </TD></TR><TR vAlign=top><TD class=alt2 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid; BORDER-TOP: #ffffff 0px solid; BORDER-LEFT: #ffffff 1px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 0px solid" width=175>guawn<SCRIPT type=text/javascript> vbmenu_register("postmenu_234596", true); </SCRIPT>
    สมาชิก ยอดนิยม
    สมาชิกยอดฮิต

    [​IMG]

    เข้ามาครั้งสุดท้ายเมื่อ: เมื่อวานนี้ 01:13 PM
    วันที่สมัคร: Dec 2005
    ข้อความ: 8,165 <!-- Start Post Thank You Hack -->
    ได้ให้อนุโมทนา 12,656 ครั้ง
    ได้รับอนุโมทนา 27,437 ครั้ง ใน 5,341 โพส <!-- End Post Thank You Hack -->
    พลังการให้คะแนน: 3576 [​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG]



    </TD><TD class=alt1 id=td_post_234596 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid"><!-- icon and title -->คาถาบูชาหลวงพ่อเงิน วัดบางคลาน

    <HR style="COLOR: #ffffff" SIZE=1><!-- / icon and title --><!-- message -->คาถาบูชาหลวงพ่อเงิน พุทธโชติ<O:p</O:p
    หมายเหตุ หลวงพ่อเงิน วัดคงคาราม หลวงพ่อเงิน วัดท้ายน้ำและหลวงพ่อเงิน วัดบางคลาน (วัดหิรัญญาราม) คือองค์เดียวกัน
    วัดท้ายน้ำ ( วัดเก่าหลวงพ่อเงิน ) อำเภอโพทะเล จังหวัดพิจิตร
    <O:p</O:p
    ให้ตั้ง นะโมฯ 3 จบ แล้วสำรวมจิตกล่าวคาถา
    สิทธิพุทธัง กิจจังมะมะ ผู้คนไหลมา นะชาลีติ
    สิทธิธัมมัง จิตตังมะมะ ข้าวของไหลมา นะชาลีติ
    สิทธิสังฆัง จิตตังมะมะ เงินทองไหลมา นะชาลีติ
    ฉิมพลี มหาลาภัง ภะวันตุเม
    <O:p</O:p
    วันนมัสการหลวงพ่อเงิน วันอังคาร วันพฤหัสบดี วันศุกร์ พร้อมด้วยดอกบัวหรือดอกมะลิ 9 ดอก หมาก 3 คำ จัดใส่พาน และธูป 9 ดอก เทียน 1 คู่ ให้ตั้งจิตอธิษฐานขอบารมีพุทธคุณของหลวงพ่อเงินคุ้มครอง ป้องกันภัยจากโจรผู้ร้าย ตลอดจนค้าขายของดีเลิศมีเมตตามหานิยม พุทธคุณของหลวงพ่อเงินเป็นที่รู้จักและเคารพนับถือของประชาชนทั่วไป โดยเฉพาะวัตถุมงคล อาทิเช่น รูปหล่อลอยองค์หลวงพ่อเงินพิมพ์นิยมและพิมพ์ขี้ตา ไข่ปลาหน้าจอบ หน้าจอบเล็ก ตะกรุด และความศักดิ์สิทธิ์ของน้ำมนต์ เป็นต้น ยังมีความอภินิหารอีกมากสุดที่จะนำมากล่าวนี้
    คาถาหลวงพ่อเงิน สำหรับคงกระพัน ว่าดังนี้ <O:p</O:p
    พระพุทธัง พระเจ้าคงหนัง<O:p</O:p
    พระธัมมัง พระเจ้าคงเนื้อ<O:p</O:p
    พระสังฆัง พระเจ้าคงกระดูก<O:p</O:p
    โอม เพชรคงคา ตรีคงสวาหะ

    คาถาหลวงพ่อเงิน เวลาเดินทางไปไหนใช้ภาวนา
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 27 กันยายน 2007
  15. :::เพชร:::

    :::เพชร::: เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    8,584
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +36,137
    ครั้งหนึ่งที่หลังจากทาน"หมากเสก"ของ"พระอาจารย์รูปนั้น" เวลาหลังเพลไปหน่อยนึง ก็พบเหตุการณ์ทำนองนี้นะ แต่แปลกกว่านั้นตรงที่ตลาดนั้นคราคร่ำไปด้วยผู้คนทั้งชายหญิง เป็นไปได้ยังไงที่ท่านจะเดินเร็วขนาดนั้น จีวรไม่ถูก"สีกา"เลย แปลกจริงๆ จึงขอ copy บันทึกคำพูดที่ว่า "น่าประหลาดใจ ไม่พบชายแก่ชื่อเหมือนคนนั้นเสียแล้ว จึงให้นายหลิ่มเดินตามหาในละแวกนั้นก็ไม่พบ เป็นที่แปลกมากในเวลาเพียงไม่นานนักที่ชายแก่ขนาดนั้น จะหลบเร้นหายไปได้อย่างรวดเร็ว นับเป็นเรื่องปาฏิหาริย์โดยแท้"
     
  16. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    อ้างอิง:
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=6 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=alt2 style="BORDER-RIGHT: 1px inset; BORDER-TOP: 1px inset; BORDER-LEFT: 1px inset; BORDER-BOTTOM: 1px inset">ข้อความดั้งเดิมโดยคุณ sithiphong [​IMG]
    http://www.dharma-gateway.com/monk/m...rn_hist-01.htm

    กรมหลวงชุมพร พบ หลวงพ่อเงิน
    [​IMG][​IMG]
    จากกระทู้ในหัวข้อ บทความสาระน่ารู้ เวป uamulet.com โพสท์โดย คุณ Pan เมื่อ 30/5/2546
    http://www.uamulet.com/articleAmulet...tail.asp?qid=2
    ...................

    หลังจากสนทนากันจนเป็นที่พอใจแล้ว นายหลิ่ม จึงชวนเสด็จในกรมให้กลับไปจัดการเรื่องที่พักและอาหารเสียก่อน สักครู่ เสด็จในกรมได้หันไปมองทางชายแก่นั้น น่าประหลาดใจ ไม่พบชายแก่ชื่อเหมือนคนนั้นเสียแล้ว จึงให้นายหลิ่มเดินตามหาในละแวกนั้นก็ไม่พบ เป็นที่แปลกมากในเวลาเพียงไม่นานนักที่ชายแก่ขนาดนั้น จะหลบเร้นหายไปได้อย่างรวดเร็ว นับเป็นเรื่องปาฏิหาริย์โดยแท้

    ......................​

    </TD></TR></TBODY></TABLE>

    เราสองคนเจอเรื่องที่ไม่คาดคิด ไม่คาดฝันว่าจะเจอ คงเป็นวาสนาบารมีสำหรับเรื่องนี้ สำหรับผมและคุณเพชรนะครับ

    .
     
  17. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    http://www.dharma-gateway.com/monk/monk_biography/lp-sook-hist-index.htm

    [​IMG]

    ประตูสู่ธรรม
    หมวด : ประวัติอาจารย์
    หลวงปู่ศุข
    วัดปากคลองมะขามเฒ่า
    สารบัญ
    ๑. ประวัติของท่าน
    ๒.หลวงปู่ศุข กับ กรมหลวงชุมพรเขตรอุดมศักดิ์
    บางส่วนจากบทความเรื่อง
    กฤติยาคม กรมหลวงชุมพรเขตรอุดมศักดิ์
    ๓. หลวงปู่ศุข เจอผีสมภารวัดร้างลองดี
    กลับสารบัญหลัก

    http://www.dharma-gateway.com/monk/monk_biography/lp-sook-hist.htm
    หลวงปู่ศุข
    วัดปากคลองมะขามเฒ่า อำเภอวัดสิงห์ จังหวัดชัยนาท
    (ที่มา : หนังสือ PRECIOUS VOL.1 )
    [​IMG]
    นามเดิม :- ศุข นามสกุล เกษเวช (ต่อมาลูกหลานได้ใช้ เกษเวชสุริยา ก็มี)
    เกิดเมื่อวันจันทร์ เดือน ๔ ขึ้น ๘ ค่ำ ปีวอก พ.ศ. ๒๓๙๐ ที่บ้านมะขามเฒ่า ( เรียกกันในสมัยนั้น ปัจจุบันเรียก บ้านปากคลอง ) ตำบลมะขามเฒ่า อำเภอวัดสิงห์ จังหวัดชัยนาท
    โยมบิดา - มารดา :- ชื่อ นายน่วม และนางทองดี ตั้งบ้านเรือนอยู่ที่ตำบลมะขามเฒ่า
    มีบุตรและธิดา ด้วยกัน ๙ คน
    ๑. หลวงปู่ศุข
    ๒. นางอ่ำ
    ๓. นายรุ่ง
    ๔. นางไข่
    ๕. นายสิน
    ๖ .นายมี
    ๗. นางขำ
    ๘. นายพลอย
    ๙ .หลวงพ่อปลื้ม
    ปัจจุบันยังมีลูกหลานของท่านอยู่ที่บ้านใต้วัดมะขามเฒ่าอีกหลายคน หรือแม้แต่ร้านค้าขายภายในบริเวณวัดเองก็ยังมี
    หลวงปู่นั้น ท่านมีลุงคนหนึ่งชื่อ แฟง ตั้งบ้านเรือนอยู่ที่ตำบลบางเขน จังหวัดพระนคร ( ในสมัยนั้น ) มีอาชีพ ทำสวน ไม่มีบุตรหรือธิดา จึงได้มาขอหลานจากโยมบิดามารดาหลวงปู่ศุขไปเลี้ยง โยมท่านก็อนุญาตให้เลือกเอา ลุงแฟงก็เลือกเอาคนโต หรือ เรียกว่าคนหัวปี คือ หลวงปูศุข เข้าใจว่าขณะนั้นอายุประมาณ ๑๐ ขวบ เมื่อหลวงปู่ศุขไปอยู่กับลุงแฟง เจริญเติบโตที่ตำบลบางเขน
    เมื่อหลวงปู่ฯ อยู่ในวัยฉกรรจ์ ท่านได้เดินทางเข้ามากรุงเทพฯ ทำมาหากินค้าขายเล็กๆ น้อยๆ โดยยึดลำคลองบางเขน ซึ่งมีปากคลองเชื่อมกับแม่น้ำเจ้าพระยาตอนใต้จังหวัดนนทบุรีลงมา ปัจจุบันอยู่ข้างทางเข้าวัดทางหลวง เป็นที่ทำมาหากิน
    คลองบางเขนนี้ทอดขึ้นไปเชื่อมกับคลองรังสิต เมื่อก่อนนี้เป็นเส้นทางหลักในการคมนาคมทางน้ำที่สำคัญและกว้างขวางเป็นอย่างมาก เมื่อการคมนาคมทางบกเจริญขึ้น การสัญจรทางน้ำก็หมดความสำคัญลง ปัจจุบันคงจะตื้นเขินไปแล้วก็ได้ เพราะขาดการทะนุบำรุงเท่าที่ควร
    หลวงปู่ฯ ท่านทำมาหากินอยู่ในคลองบางเขนอยู่ระยะหนึ่ง จนอายุได้ ๑๘ ปี ได้ภรรยาชื่อ นางสมบูรณ์ และเกิดบุตรชายคนหนึ่งชื่อ สอน เกศเวชสุริยา
    หลวงปู่ฯ ท่านครองเพศฆราวาสอยู่ไม่นาน พออายุท่านครบ ๒๒ ปี ท่านได้ลาไปอุปสมบท ณ วัดโพธิ์บางเขนหรือปัจจุบันชื่อว่า วัดโพธิ์ทองล่าง ซึ่งอยู่ปากคลองบางเขนตอนล่าง ส่วนวัดโพธิ์ทองบน อยู่ตอนเหนือของปากคลองบางเขน ตอนบนบริเวณจังหวัดปทุมธานี
    อุปสมบท :-
    การอุปสมบทของหลวงปู่ศุขนั้น ท่านได้อุปสมบทเมื่ออายุได้ ๒๒ ปี ที่วัดโพธิ์บางเขน ( ต่อมาเปลี่ยนชื่อเป็นวัดโพธิ์ทองล่าง ) โดยมี พระครูเชย จนฺทสิริ วัดโพธิ์บางเขน เป็น พระอุปัชฌาย์ พระถายมเป็นพระคู่สวด การอุปสมบทนี้มีลุงแฟงเป็นผู้อุปการะทั้งสิ้น ส่วนโยมบิดามารดาไม่ได้มาร่วมพิธีด้วย เพราะการเดินทางสมัยนั้นลำบากมาก จากชัยนาทถึงกรุงเทพฯ ก็กินเวลาอย่างน้อย ๒ ถึง ๓ วัน จึงจะถึง
    พระอุปัชฌาย์ของท่านชื่อ หลวงพ่อเชย จันทสิริ อดีตท่านเจ้าอาวาสวัดโพธิ์ทองล่าง ซึ่งเป็นพระสงฆ์ฝ่ายรามัญที่ถือเคร่งในวัตรปฏิบัติและพระธรรมวินัยเป็นอย่างยิ่ง โดยเฉพาะอย่างยิ่ง หลวงพ่อเชยท่านยังเป็นอาจารย์ทางฝ่ายวิปัสสนาธุระมีความรู้และความชำนาญรู้แจ้งแทงตลอด อีกทั้งทางด้านวิทยาคมก็แก่กล้าเป็นยิ่งนัก หลวงปู่ฯ ท่านได้รับถ่ายทอดวิชาความรู้จากอุปัชฌาย์ของท่านมาพร้อมกับอาจารย์เปิง วัดชินวนาราม และหลวงปู่เฒ่า วัดหงษ์ จังหวัดปทุมธานี ซึ่งเป็นศิษย์ในสายหลวงพ่อเชย วัดโพธิ์ทองล่างเหมือนกัน
    เมื่อได้อุปสมบทแล้วอยู่กับพระอุปัชฌาย์ เพื่อศึกษาเล่าเรียนพระธรรมวินัยพอสมควรแล้ว ท่านก็ได้ออกเดินธุดงค์หาที่สงบฝึกวิปัสสนากัมมัฏฐาน และวิชาอาคมต่าง ๆ จากสำนักที่มีชื่อเสี่ยงโด่งดังในสมัยนั้นจนชำนาญดีแล้ว จึงกราบลาอาจารย์กลับบ้านเกิดของท่าน โดยมาพักอยู่ที่วัดร้างแห่งหนึ่งข้างหมู่บ้านของท่าน ชื่อวัดอู่ทอง ปัจจุบันนี้เรียกว่า วัดปากคลอง ชาวบ้านแถวนั้นมีความศรัทธาเลื่อมใสจึงนิมนต์ให้ท่านจำพรรษาอยู่ที่นั้น เพื่อที่ว่าจะได้สร้างวัดขึ้นมาใหม่ ดังนั้นท่านจึงได้อยู่ ณ ที่นั้นมาจนท่านมรณภาพ ในระหว่างที่ท่านมีชีวิตอยู่นั้น ได้เริ่มพัฒนาในท้องถิ่นให้เจริญรุ่งเรืองด้วยจากวัดร้างที่ไม่มีอะไรเลย จนถึง พุทธาวาส ธรรมาวาส และสังฆาวาส เป็นวัดที่สมบูรณ์แบบจนถึงทุกวันนี้ ยังมีพระอุโบสถและมณฑป ปรากฏให้เห็นอยู่ ส่วนการอบรมสั่งสอนนั้นท่านได้แนะแนวการประพฤติดี ปฏิบัติชอบ ให้เห็นคุณและโทษของผลการปฏิบัติตนในทางที่ดีหรือไม่ดีอย่างไร จนประชาชนแถวนั้นมีความประพฤติดีมีศีลธรรมเป็นส่วนมาก
    หลวงปู่ฯ ท่านเพลินอยู่ในธรรมเสียหลายปี จนกระทั่งมารดาท่านที่วัดปากคลองมะขามเฒ่า อำเภอวัดสิงห์ จังหวัดชัยนาท ได้ชราภาพลงตามอายุขัย และความเจ็บไข้มาเยือนอยู่บ่อยครั้ง ด้วยความเป็นห่วงเป็นใยในบิดามารดาของท่านจึงได้เดินทางกลับสู่ภูมิลำเนาเดิม และได้อยู่จำพรรษาปีแรกๆ ที่วัดอู่ทองปากคลองมะขามเฒ่า ซึ่งเป็นวัดเก่าแก่โบราณที่อยู่ลึกเข้าไปในคลองมะขามเฒ่า หรือบริเวณต้นแม่น้ำท่าจีนในปัจจุบัน แต่ทว่าสภาพของวัดอู่ทองขณะนั้นได้เกิดการชำรุดทรุดโทรมลงตามสภาพ เกินกว่าที่จะบูรณปฏิสังขรณ์ให้กลับคืนมาสู่สภาพที่ดีได้ต่อไป ท่านจึงได้ขยับขยายออกมาที่ริมฝั่งแม่น้ำเจ้าพระยา และได้สร้างกุฏิขึ้นครั้งแรกหนึ่งหลังพอเป็นที่อยู่อาศัยไปพลางก่อน
    สืบต่อมามารดาของหลวงปู่ๆ ได้ถึงแก่กรรมและได้จัดการฌาปนกิจศพ และในงานนี้เอง หลวงปู่ฯ ท่านได้สร้างวัตถุมงคลในรูปพระพิมพ์สี่เหลี่ยมซุ้มรัศมีออกแจกเป็นของที่ระลึกเป็นครั้งแรก เมื่อผู้ที่ได้รับแจกพระเครื่องจากท่านไปได้ปรากฏอภินิหารทางอยู่ยงคงกระพัน โดยเฉพาะอย่างยิ่งเรื่องกันเขี้ยวงา คือสุนัขกันไม่เข้า ซึ่งเป็นปรากฏการณ์ที่บังเกิดขึ้นบ่อยครั้ง เพราะบ้านนอกอย่างในชนบทสมัยก่อนนั้นไม่ค่อยจะมีรั้วรอบขอบชิดเสียเป็นส่วนใหญ่ ก็ได้อาศัยสุนัขที่เลี้ยงไว้เป็นยามเฝ้าบ้าน ฉะนั้นการที่จะแวะเวียนไปบ้านหนึ่งบ้านใดนั้นจะต้องระวังเรื่องสุนัขลอบกัดให้ดี มิฉะนั้นท่านจะถูกสุนัขกัดเอาง่ายๆ พระของหลวงปู่ฯ จึงมีชื่อเรื่องสุนัขกันไม่เข้า เป็นปฐมเหตุก่อน จึงบังเกิดความนิยมไปขอท่านมาแขวนคอบุตรหลานเพื่อกันเขี้ยวงาและภยันตรายต่างๆ สมัยก่อนพระวัดปากคลอง เนื้อตะกั่ว จะมีแขวนอยู่ในคอเด็กในท้องถิ่นเกือบจะทุกคน แล้วถ้าจะไปขอพรหลวงปู่ศุข ท่านมักจะถามว่า
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

  18. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    เสด็จในกรมหลวงชุมพรฯฝากตัวเป็นศิษย์ :-
    [​IMG]อนึ่ง มีผู้กล่าวว่าท่านมีวิชาอาคมเวทย์มนต์เก่งมาก สามารถเสกใบไม้ให้เป็นตัวต่อ ตัวแตน เสกหัวปลีให้เป็นกระต่าย เสกก้านกล้วยให้เป็นงูได้ และเรื่องอภินิหารของขลัง คงกระพันชาตรี มีอีกมากมาย อาจจะเป็นด้วย บุญกุศลของหลวงปู่ศุข กับ เสด็จในกรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์ พระบิดาแห่งราชนาวี ซึ่งเป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๕ นับลำดับราชสกุลวงศ์เป็นพระองค์ที่ ๒๘ และเป็นพระเจ้าลูกยาเธอพระองค์ที่ ๑ ในเจ้าจอมมารดาโหมด ธิดาพระยาสุรวงศ์ไวยวัฒน์ (วร บุนนาค) ได้สร้างสมกันมาแต่ชาติปางก่อน ดลบันดาลให้เสด็จในกรมฯ ซึ่งทรงศรัทธาเลื่อมใสในทางมหาพุทธาคมอยู่แล้วได้เสด็จประพาสไปในภาคเหนือ จึงเป็นเหตุให้หลวงปู่ศุขและพระองค์ท่านได้พบกัน และเป็นที่ต้องอัธยาศัยซึ่งกันและกัน จึงได้ฝากตัวเป็นศิษย์ – อาจารย์ เพื่อจักได้ศึกษาทางมหาพุทธาคม และปรากฏว่า พระองค์เป็นศิษย์ที่มีความรู้ความสามารถได้ศึกษาแตกฉานจนกระทั่งหลวงพ่อเองก็หมดความรู้ จึงได้ให้เสด็จในกรมฯ ไปศึกษาเคล็ดวิชากับหลวงพ่อเงิน วัดบางคลาน จังหวัดพิจิตรต่อ ดังเป็นที่ทราบกันอยู่แล้วนั้นและได้วาดภาพพุทธประวัติด้วยพระหัตถ์ของพระองค์เอง ที่อุโบสถด้านในหน้าอุโบสถ ซึ่งปรากฏจนทุกวันนี้ หลวงปู่ศุข ท่านมีเมตตามากจึงมีศิษย์เป็นอันมากที่มาเรียนวิชาเหล่านี้ ท่านได้รับสมณศักดิ์ เป็นพระครูวิมลคุณากร และเป็นเจ้าคณะแขวง ( ปัจจุบันเรียกว่าเจ้าคณะอำเภอ ) เป็นองค์แรกของอำเภอวัดสิงห์ ไม่ปรากฏหลักฐานว่าเมื่อใด
    เมื่อหลวงปู่ศุข ท่านมีลูกศิษย์อย่างเสด็จในกรมฯ จึงเป็นกำลังสำคัญให้ท่านสามารถที่สร้างวัดปากคลองมะขามเฒ่าให้เสร็จสมบูรณ์ ถาวรวัตถุทางพุทธศาสนาที่คงเหลือเป็นประจักษ์พยานในปัจจุบันนี้ก็คือ ภาพเขียนฝีมือเสด็จในกรมฯ บนฝาผนังพระอุโบสถ วัดปากคลองมะขามเฒ่า ที่ยังรักษาไว้ได้อย่างสมบูรณ์ และเป็นภาพเขียนฝีมือเสด็จในกรมฯ บนฝาผนังพระอุโบสถ วัดปากคลองมะขามเฒ่า ที่ยังรักษาไว้ได้อย่างสมบูรณ์ และเป็นภาพเขียนสีน้ำที่ทางกรมศิลป์ยกย่องว่าเสด็จในกรมฯ ทรงฝีมือในการเขียนภาพเป็นอย่างมาก และทรงสอดแทรกอารมณ์ขันในภาพพระพุทธเจ้าชนะมาร ในกระแสน้ำที่พระแม่ธรณีบีบมวยผมทำให้เกิดอุทกธาราหลากไหลพัดพาเอาทัพพระยามารไปนั้น พระองค์ท่านเขียนเป็นภาพลิงใส่นาฬิกาและหนีบขวดวิสกี้กำลังเดินตุปัดตุเป๋ไปเลย และโดยเฉพาะอย่างยิ่ง ฤาษีปัญจวัคคีเมื่อเห็นเจ้าชายสิทธัตถะเลิกทรมานการหันมากินอาหาร ก็นึกว่าพระองค์คงจะถ้อถอยละความเพียรแล้ว จึงพากันผละหนีพระองค์ไปนั้น เสด็จในกรมฯ ท่านเขียนใบหน้าของฤาษีปัญจวัคคี โดยสอดอารมณ์ที่ยิ้มเยาะเย้ยหยันอย่างไม่อะไรไยดีต่อพระองค์ เน้นความรู้สึกได้เด่นชัดมาก
    ฝีมือของเสด็จในกรมฯ อีกชิ้นหนึ่งก็คือภาพเขียนสีน้ำมันเป็นรูปหลวงปู่ศุขยืนเต็มตัวและถือไม้เท้า ภาพนี้เขียนขึ้นในขณะที่หลวงปู่มีอายุมากแล้วจึงต้องเดินสามขา
    ศิลปวัตถุในพุทธศาสนาที่วัดปากคลองมะขามเฒ่า นอกจากพระอุโบสถแล้วยังมีมณฑปจตุรมุขประดิษฐ์บานรอยพระพุทธบาท ประตูทั้ง ๔ บานนั้นแกะด้วยไม้สัก แกะลวดลายลึกถึงสามชั้น เคยมีคนสมคบกันเอาบานประตูมณฑปจตุรมุขออกขาย เอาลงมากรุงเทพฯ เตรียมใส่เรือกระแชงในคลองมหานาคเพื่อออกต่างประเทศ ด้วยดวงวิญญาณในหลวงปู่ศุขท่านผูกพันอยู่กับศาสนาวัตถุที่ท่านสร้างเอาไว้ในบวรพุทธศาสนา ท่านจึงเข้าประทับทรงจากหิ้งบูชาจังหวัดนครสวรรค์ รับเอาท่านแม่ทัพที่นครสวรรค์ (ขออภัยผู้เขียนจำชื่อท่านไม่ได้) และมารับเอาท่านนายอำเภอประจำจังหวัดชัยนาทในขณะนั้น คือ คุณสุธี โอบอ้อม แล้วนั่งรถเข้ากรุงเทพฯ ร่างทรงหลวงปู่ฯ ได้พาคณะลดเลี้ยวเข้าครอกเข้าซอยจนมาถึงเรือกระแชงที่บรรทุกบานประตูมณฑปเตรียมขนออกนอกได้อย่างทันท่วงที ยึดเอาบานประตูทั้ง ๔ บาน คืนกลับไป ขณะนั้นยังคงเก็บรักษาไว้ที่วัดป่าพานิชวนาราม อำเภอวัดสิงห์ จังหวัดชัยนาท และยังไม่ได้ส่งคืนวัดปากคลองมะขามเฒ่า เพราะเหตุอะไรนั้น ชาวจังหวัดชัยนาทเขาทราบกันดี
    ปัจจุบันชาวจังหวัดชัยนาทผู้มีจิตศรัทธาเลื่อมใส ได้ร่วมกันสร้างรูปหุ่นขี้ผึ้งไว้ที่วัดปากคลองมะขามเฒ่า เพื่อจะได้ทำการสักการบูชาโดยทั่วกัน กรมทหารเรือเห็นความสำคัญ จึงได้ทำการบูรณะซ่อมแซมมณฑป เมื่อ พ.ศ. ๒๕๔๕ ทำให้ประชาชนทั้งใกล้และไกลต่างจังหวัด หลั่งไหลมาสักการะบูชาทุก ๆ วันมิได้ขาด วัดปากคลองมะขามเฒ่า จึงเป็นสถานที่ท่องเที่ยวแห่งหนึ่งของจังหวัดชัยนาทต่อไป
    เรื่องทรงเจ้าเข้าผีนี้ จะไม่เชื่อก็ไม่ได้ แต่ที่ทรงจริงๆ นั้นมันมีน้อย อย่างในกรณีดวงวิญญาณหลวงปู่ศุขประทับทรงแล้วซอกแซกลงมาจากนครสวรรค์ถึงกรุงเทพฯ เกือบ ๓๐๐ กม. แล้วยังพาคณะเข้าครอกตรอกซอยจนถึงเรือกระแชงที่จอดลอยลำอยู่ในคลองมหานาคนั้นมันเป็นการเดินทางที่สลับวับซ้อนและวกวนน่าดู แต่ร่างทรงก็พาคณะไปจนพบและยึดบานประตูกลับคืนมาได้นั้น มันเป็นเหตุการณ์อันมหัศจรรย์เป็นอย่างยิ่ง และบานประตูมณฑปทั้ง ๔ บานดังกล่าวแล้วนั้น ทั้งเสด็จในกรมฯ และหลวงปู่ศุขได้ช่วยกันสร้างเป็นชิ้นสุดท้าย ระบุปี พ.ศ. ๒๔๖๕ อยู่ที่ซุ้มหน้ามณฑปอีกด้วย
    ส่วนความสัมพันธ์ระหว่างอาจารย์กับลูกศิษย์นอกจากจะถูกอัธยาศัยกันเป็นยิ่งนัก จักเดินทางไปมาหาสู่กันเสมอแล้ว ถ้าเสด็จในกรมฯ ติดราชการงานเมือง หลวงปู่ก็จะลงมาหา โดยเสด็จในกรมฯ ได้สร้างกุฏิอาจารย์ไว้กลางสระที่วังนางเลิ้ง ซึ่งเต็มไปด้วยดอกบัววิคตอเรีย มีใบกลมใหญ่ขนาดถาด และรู้สึกว่ากลางใบจะมีหนามคมด้วย อันนี้ได้รับคำบอกเล่าจากลุงผล ท่าแร่ ซึ่งเป็นลูกศิษย์ติดสอยห้อยตามหลวงปู่ฯ มาแต่เล็ก ท่านเป็นชาวอุตรดิตถ์หรือพิษณุโลกจำได้ไม่ถนัดนัก หลวงปู่ศุขท่านขอพ่อแม่มาเลี้ยงเป็นบุตรบุญธรรม เมื่อสิ้นบุญหลวงปู่ฯ ท่านก็เลยลงหลักปักฐานได้ภริยาอยู่ที่ตำบลท่าแร่ อำเภอวัดสิงห์ ชัยนาท เลยเรียกกันติดปากว่า ลุงผล ท่าแร่
    แต่อย่างไรก็ตาม ภายในกำหนด ๑ ปี หลวงปู่ศุขท่านจะต้องลงมากรุงเทพฯ ๑ ครั้งเป็นอย่างน้อย เพราะเสด็จในกรมท่านจะกระทำพิธีไหว้ครูราวๆ เดือนเมษายน งานจะจัดเป็น ๓ วัน วันแรกไหว้ครูกระบี่กระบอง วันที่สองไหว้ครูหมอยาแผนโบราณ และวันที่สามจะไหว้ครูทางวิทยายุทธ์พุทธาคมและไสยศาสตร์ จัดเป็นงานใหญ่มีมหรสพสมโภชทุกคืนกับมีการแจกพระเครื่องรางของขลังจากหลวงปู่ศุขอีกด้วย แต่ในระยะหลังๆ หลวงปู่ศุขท่านมีอายุมากแล้วสุขภาพไม่ค่อยจะสมบูรณ์เท่าใดนัก ท่านจึงไม่ค่อยจะได้ลงมา
    จากการที่ผู้เขียนได้เคยศึกษาตำราอักขระเลขยันต์จากอาจารย์ท่านมหาโพธิ์ วัดคลองมอญ อำเภอวัดสิงห์ ชัยนาท ผู้สืบสายมาจากท่านใบฎีกายัง วัดหนองน้อย อำเภอวัดสิงห์ ชัยนาท ซึ่งเป็นฐานาในหลวงปู่ศุข และเป็นลูกศิษย์เอกของหลวงปู่ศุขรูปหนึ่ง ตำราอักขระเลขยันต์ซึ่งคุณหมอสำนวน ปาลวัฒน์วิไชย แห่งโรงพยาบาลประจำจังหวัดชัยนาท ซึ่งท่านได้ใช้เวลาค้นคว้าและรวบรวมพระเครื่องในหลวงปู่ศุข ตลอดจนประวัติและเรื่องราวของท่านตลอดมาเป็นเวลาหลายสิบปี ได้นำออกมาตีพิมพ์เผยแพร่เป็นหนังสือรวมเล่มขนาดหนานั้น ได้ตีพิมพ์ตำราอักขระเลขยันต์ของหลวงปู่ศุขที่สอนให้กับลูกศิษย์ของท่างลงไปด้วย และบางตอนบางหน้ายังเป็นลายมือของหลวงปู่อีกด้วย นับว่าเป็นการเปิดหูเปิดตาสำหรับผู้ที่สนใจจริงๆ แต่ทว่าในตำราอักขระเลขยันต์ของท่านนั้นเป็นความรู้ขั้นพื้นฐานทั่วๆ ไป ซึ่งมีอยู่ในตำรามหาพุทธาคมที่เราได้ร่ำเรียนกันอยู่ในปัจจุบันนี้ อย่างเช่นการเรียนสูตรสนธ์จากคัมภีร์รัตนมาลา ในพระอิติปิโส ๕๖ พระคาถาห้องพระพุทธคุณ ลงเป็นยันต์เกราะเพชรหรือตาข่ายเพชร ยันต์พระไตรสรณาคมน์ตลอดจนคัมภีร์นะ ๑๐๘ และ นะพินธุ หรือ นะปฐมกัลป์ หรือ นะโมพุทธายะใหญ่ และยันต์ประจำตัวของท่านที่ท่านใช้อยู่เป็นประจำก็คือ ตัวพุทธมวันโลก ที่ท่านใช้จารลงที่หลังพระพิมพ์สี่เหลี่ยมของท่าน นอกจากนั้นยังลงด้วยยันต์สามลง มะ อะ อุ ที่ขมวดยันต์ลงหลังรูปถ่ายของท่าน เรียกว่า ยันต์เพชรหลีกน้อย นอกจากนั้นท่านจะนิยมหนุนหรือล้อมด้วยธาตุทั้ง ๔ คือ นะ มะ พะ ทะ
    อนึ่งการที่ท่านทำพระเครื่องรางของขลังได้ประสิทธิมีฤทธิ์มีเดชทั้งๆ ที่ใช้อักษรเลขยันต์พื้นๆ นั้น เป็นเพราะอำนาจจิตที่ท่านได้ฝึกฝนมานั้นกล้าแกร่งยิ่งนัก โดยเฉพาะกสิณธาตุทั้ง ๔ มี ดิน น้ำ ไฟ ลม นั้นเป็นพื้นฐานที่สำคัญ เป็นบ่อเกิดแห่งอำนาจอิทธิฤทธิ์ทางใจเลยทีเดียว สำหรับการสำเร็จวิชาชั้นสูงเรียกว่า มายาการ คือความเชื่อถือ และการปฏิบัติ ที่มุ่งหมายให้เกิดผล ด้วยการใช้พลัง หรืออำนาจเหนือธรรมชาติ เช่น ของขลัง พิธีกรรม หรือหลีกลี้ลับ บังคับให้เป็นไปตามที่ตนต้องการ เช่น ท่านเสกใบมะขามให้เป็นตัวต่อตัวแตน เสกหัวปลีให้เป็นกระต่าย ตลอดจน การผูกหุ่นพยนต์ด้วยฟางข้าว เสกคนให้เป็นจระเข้ เป็นต้น มันเป็นมายาการชั้นสูง คือการบังคับให้เป็นไปตามที่ตนต้องการ แท้ที่จริงแล้วใบมะขามก็คงเป็นใบมะขาม หัวปลีก็คงเป็นหัวปลี และหุ่นฟางก็คงเป็นหุ่นฟางเหมือนเดิม เว้นแต่ด้วยอำนาจจิตของท่านทำให้เราเห็นไปเอง
    จากหนังสือ “พระกฐินพระราชทาน สมาคมศิษย์อนงคาราม ปี พ.ศ. ๒๕๑๙ เรื่องพระใบมะขาม” ท่านผู้เขียนอดีตเป็นพระมหา มีหน้าที่ไปอุปัฏฐากหลวงปู่ศุข ขณะที่อาราธนาท่านมาปลุกเสกพระชัยวัฒน์ และพระปรกใบมะขาม (พ.ศ. ๒๔๕๙) ได้กล่าวไว้ตอนหนึ่งว่า
    “เมื่อข้าพเจ้าไปอุปัฏฐากหลวงพ่อแล้ว มีชาวบ้านชาววัดมาขอให้หลวงพ่อลงกระหม่อมบ้าง ลงตะกรุดพิสมรบ้าง โดยยื่นแผ่นเงิน ทอง นาก ให้ลงคาถา บางคนขอเมตตา บางคนขอการค้าขาย หลวงพ่อให้ข้าพเจ้าเป็นผู้ลง
    ข้าพเจ้าถามว่าการค้าขาย จะให้ลงว่ากระไร?
    หลวงพ่อบอกว่า “นะชาลิติ”
    บางคนขอเมตตา ข้าพเจ้าถามว่า จะให้ลงว่ากระไร?
    หลวงพ่อพูดติดตลกว่า “เมตยายไม่เอาหรือ เอาแต่เมตตาเท่านั้นหรือ?”
    คนขอจึงบอกขอเมตตาอย่างเดียว ข้าพเจ้าถามว่า จะให้ลงว่ากระไร?
    ท่านบอกว่า “นะเมตตา โมกรุณา พุทธปราณี ธายินดี ยะเอ็นดู”
    ข้าพเจ้าจึงบอกว่า “หลวงพ่อครับ ผมไม่มีความขลัง ลงไปก็จะไม่ได้ประโยชน์อะไร”
    หลวงพ่อบอกว่า “มันอยู่ที่ผมเสกเป่านะคุณมหา”
    ข้อนี้ยืนยันว่าเป็นความจริง เพราะระหว่างนั่นข้าพเจ้าให้หลวงพ่อลงกระหม่อม แล้วท่านเสกเป่าไปที่ศีรษะตั้งหลายครั้ง เมื่อท่านเป่าที่กระหม่อมที่ไร ข้าพเจ้าขนลุกชันทั่วทั้งตัวทุกครั้ง ทั้งที่ข้าพเจ้าฝืนใจไม่ให้ขนลุกก็ลุกซู่ทุกครั้งที่ท่านเป่า ข้อนี้เป็นมหัศจรรย์จริงๆ ข้าพเจ้าคิดว่าจะเป็นแต่ข้าพเจ้าคนเดียว ไปสอบถามภิกษุอุปัฏฐากรูปอื่นๆ ก็ได้รับคำตอบเช่นเดียวกัน ข้อนี้ข้าพเจ้าเชื่อมั่นว่า “ท่านสำเร็จสมถะภาวนาแน่ๆ”
    อนึ่ง ท่านเป็นพระที่น่าเคารพนับถือ สำรวมในศีลเป็นอย่างดี ไม่ใคร่พูดจา นั่งสงบอารมณ์เฉยๆ ไม่ถามอะไร ท่านก็ไม่ตอบไม่พูด บางอย่างข้าพเจ้าถามหลวงพ่อ หลวงพ่อก็ตอบเลี่ยงไปทางอื่น เช่น “เขาว่าหลวงพ่อเสกใบไม้เป็นต่อ และเสกผ้าเช็ดหน้าเป็นกระต่ายได้ และแสดงให้กรมหลวงชุมพรฯ เห็นจนยอมเป็นศิษย์”
    หลวงพ่อตอบข้าพเจ้าว่า “ลวงโลก” แล้วท่านก็นิ่งไม่ตอบว่าอะไรอีก
    หลวงพ่อพูดต่อไปว่า “เวลานี้กรมหลวงชุมพรฯ ไปต่างประเทศ (เข้าใจว่าไปรับเรือพระร่วง) ถ้าอยู่ก็ต้องมาหาท่าน และปรนนิบัติท่านจนท่านกลับวัด และว่ากรมหลวงชุมพรฯนี้ตกทะเลไม่ตาย แม้จะมีสัตว์ร้ายก็ไม่ทำอันตรายได้”
    หลวงพ่ออยู่ที่กุฏิสมเด็จพระพุฒาจารย์ (นวม) พุทธสรมหาเถรเป็นเวลาสิบวันเศษ ได้ทราบว่าสมเด็จเรียนวิทยาคมกับหลวงพ่ออีกด้วย
    มรณภาพ :-
    ท่านมรณภาพเมื่อ เดือน ๑ ปีกุน พ.ศ. ๒๔๖๖ ไม่ปรากฏวันที่ที่แน่นอน คำนวณอายุได้ ๗๖ ปี วันสวดพระพุทธมนต์ทำศพอยู่ ๗ วัน ๗ คืน จึงประชุมเพลิง
    อนึ่ง การที่เราคนรุ่นหลังจักเขียนเรื่องราวและวัตรปฏิบัติของหลวงปู่ศุข ซึ่งท่านมรณภาพล่วงไปแล้วกว่าครึ่งศตวรรษให้ได้ใกล้เคียงกับความจริงนั้น นับว่าเป็นเรื่องที่ยากมากๆ อาศัยหลักฐานทางเอกสารที่หลงเหลืออยู่บ้าง จากการไต่ถามบรรดาลูกศิษย์ลูกหาของท่านซึ่งส่วนมากจักล้มหายตายจากกันไปเสียเป็นส่วนใหญ่ ดังนั้น การที่ท่านได้รับรู้จากการเขียนของ “ท่านมหา” ซึ่งเคยอุปัฏฐากหลวงปู่ ดังกล่าวแล้วนั้นคงจักทำให้ท่านมองเห็นสภาพของหลวงปู่ศุข ได้ใกล้เคียงความจริงมากที่สุด
    [​IMG]
     
  19. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    http://www.dharma-gateway.com/monk/monk_biography/lp-sook-hist-02.htm

    หลวงปู่ศุข กับ กรมหลวงชุมพรเขตรอุดมศักดิ์
    บางส่วนของบทความเรื่อง : กฤติยาคม กรมหลวงชุมพรเขตรอุดมศักดิ์
    แหล่งข้อมูล http://www.geocities.com/tdamrongsak/Chumporn.doc.
    [​IMG]
    เป็นที่ทราบกันดีอยู่แล้วว่า กรมหลวงชุมพรเขตรอุดมศักดิ์ ท่านเป็นชายชาตรี ใช้ชีวิตกลางแจ้งเพื่อศึกษาชีวิตของราษฎรตามหัวเมืองต่าง ๆ และที่สำคัญท่านชื่นชอบพุทธเวท ไสยเวท เป็นอย่างมาก
    ด้วยเหตุนี้เมื่อพระองค์เสด็จประพาสไปที่ใด หากทราบว่ามีพระอาจารย์ดีเรื่องอาคมเป็นที่ศรัทธาของคนทั่วไป พระองค์จะไปกราบนมัสการสนทนาในเรื่องของธรรมะและพุทธาคมอยู่เป็นนาน พร้อมกับฝากตัวเป็นศิษย์อีกด้วย ในจำนวนพระเกจิอาจารย์มีชื่ออยู่ในยุคนั้นที่เสด็จในกรมทรงศรัทธามากเป็นพิเศษและไปมาหาสู่บ่อย ๆ คือ “หลวงปู่ศุข” หรือ “ท่านพระครูวิมลคุณากร” แห่งวัดปากคลองมะขาวเฒ่า อำเภอสิงห์บุรี จังหวัดชัยนาท
    แล้วก็เป็นเรื่องที่น่าแปลง เมื่อกล่าวถึงพุทธาคมของหลวงปู่ศุข ก็จะต้องเขียนเรื่องกรมหลวงชุมพรฯ และถ้าหากเขียนเรื่องเสด็จในกรมในเรื่องความขมังเวท ก็จะต้องมีเรื่องของหลวงปู่ศุข เข้ามาเกี่ยวข้องกันจนแยกไม่ออก
    หลวงปู่ศุข เกิดเมื่อปี พ.ศ.2396 ความเป็นมาในช่วงวัยเด็กจนเป็นหนุ่มรุ่นนั้น ข้อมูลมีกันอยู่หลายกระแส คือท่านเป็นเด็กซุกซน ชอบลงว่ายน้ำเกาะเรือโยงในแม่น้ำเป็นชีวิตจิตใจ ทำให้มารดาของท่านเป็นห่วง ห้ามปรามก็ไม่เชื่อ ทำให้มารดาโกรธและทำโทษเฆี่ยนตีสั่งสอน แต่ผลจากการลงโทษนั้นทำให้เด็กชายศุขโกรธผู้เป็นแม่ รุ่งขึ้นจึงเกาะเรือโยงหนีออกจากบ้าน
    แต่อีกข้อมูลก็แจ้งว่า ตอนเมื่อท่านเยาว์วัยอายุประมาณ 7 ปี มารดานำไปฝากเรียนหนังสือกับพระอาจารย์ผู้เรืองอาคม วัดปากคลองมะขามเฒ่า จนมีความรู้ความชำนาญในเรื่องภาษาไทย จากนั้นจึงได้อำลาพระอาจารย์ไปแสวงหาวิชาความรู้เพิ่มเติมในกรุงเทพฯ โดยที่ท่านยังไม่บวชเป็นพระภิกษุหรือสามเณรแต่อย่างใด
    ขณะที่อยู่ในกรุงเทพฯ จนถึงวัยหนุ่มอายุ 18 ปี ได้พบเนื้อคู่ซึ่งเป็นสาวสายย่านบางเขน ชื่อสมบูรณ์ หนุ่มศุขใช้ชีวิตครองเรือนจนมีบุตรคนหนึ่งซื่อสอน (บ้างก็ว่าชื่อชวน) ใช้ชีวิตอย่างปุถุชนธรรมดาจนเบื่อ
    ในที่สุดท่านก็ตัดสินใจหักคานเรือน หนีภรรยาและบุตรไปอุปสมบทเป็นพระภิกษุอยู่ที่วัดโพธิ์ทอง จังหวัดนนทบุรี โดยมีอาจารย์เชย เป็นพระอุปัชฌาย์
    ครั้นบวชเป็นพระภิกษุเรียบร้อยแล้ว หลวงปู่ศุขก็มุ่งวิปัสสนากัมมัฏฐานอย่างเคร่งครัด ถือวัตรธุดงค์อยู่ตามสถานที่วิเวกสันโดษ เยี่ยงพระอนาคาริกทั้งหลายในสมัยนั้น
    การธุดงค์ไปตามป่าเขาของหลวงปู่ศุข ทำให้ท่านได้พบพระวิปัสสนาจารผู้ทรงคุณและมีความรู้หลายท่าน จนมีความเจนจบในไสยศาสตร์หลายสาขาอีกด้วย
    ครั้นมารดาของท่านถึงแก่กรรมลง หลวงปู่ศุขก็ได้กลับบ้านเพื่อจัดการฌาปนกิจศพเป็นที่เรียบร้อย ขณะเดียวกันท่านก็ได้ตั้งจิตอธิษฐานว่านับแต่นี้ไปในกาลภายหน้าจะยึดมั่นในบวรพุทธศาสนา โดยจะถือเพศบรรพชิตอยู่ในวัดปากคลองมะขามเฒ่าไปจนตลอดชีวิต ตั้งแต่นั้นมาหลวงปู่ศุข ก็อยู่อย่างพระวิปัสสนาในวัดปากคลองมะขามเฒ่า มีความเคร่งครัดในศีลาจารวัตร เป็นที่เลื่อมใสศรัทธาของผู้คนทั่วไป โดยเฉพาะในเรื่องพรหมวิหาร 4 คือ เมตตา กรุณา มุทิตา อุเบกขา
    พระครูวิมลคุณากร หรือ หลวงปู่ศุข วัดปากคลองมะขามเฒ่า นอกจากจะเป็นพระวิปัสสนาจารที่สามารถแล้ว ท่านยังเป็นผู้ที่รอบรู้ด้านปริยัติธรรม มีความรู้แตกฉานในหลักธรรมและพระไตรปิฎก โดยเฉพาะในเรื่องวิชาไสยศาสตร์ วิทยาคมต่าง ๆ นั้นท่านเป็นผู้เชี่ยวชาญเป็นเลิศ มีหลักฐานบันทึกของสานุศิษย์ผู้ใกล้ชิดผู้หนึ่งว่า
    “หลวงปู่ศุขสำเร็จในอารมณ์กำหนดธาตุทั้ง 4 มี ปฐวีธาตุ อาโปธาตุ เตโชธาตุ ซึ่งถือว่าเป็นผลแห่งฌานด้วย “กสิณ” สมาบัติ สามารถทำอะไร ๆ ได้ เช่น ผูกหุ่นพยนต์ ล่องหนหายตัวกำบังกาย ทั้งสามารถระเบิดน้ำลงดำในทะเล หรือเดินบนผิวน้ำ สะเดาะโซ่ตรวจ สะกดทัพ ท่านสามารถทำในสิ่งเหล่านี้ได้”
    จากหนังสือ กรมหลวงชุมพรฯ เรียบเรียงโดย บุรี รัตนา
    เดือนยี่ปีนั้นกำลังอยู่ในหน้าแล้ง มีชาวเหนือทางจังหวัดอุตรดิตถ์ เดินทางมาค้าขายโดยมีช้างเป็นพาหนะประมาณ 8-9 เชือก แต่สินค้าที่ขายกันนั้นไม่ทราบแน่ชัดว่าเป็นอะไรแน่ สมัยนั้นปรากฏว่าการคมนาคมไม่สะดวกราบรื่นเท่าที่ควร 2 ข้างทางเต็มไปด้วยป่าพงดงดิบ พ่อค้ากลุ่มนี้มีประมาณ 15 คน เดินทางจากจังหวัดอุตรดิตถ์ ผ่านสุโขทัย กำแพงเพชร นครสวรรค์ อุทัยธานี จนถึงชัยนาท พ่อค้าเหล่านั้นได้พากันพักแรมอยู่ที่ใต้ถุนศาลาวัดปากคลองมะขามเฒ่า แต่แล้วบรรดาพ่อค้านี้ได้ปล่อยช้างให้กินใบไผ่ใบหญ้าอยู่ตามบริเวณวัด 2-3 วัน แล้วก็ช้าง 8-9 เชือกนี้เองบังเอิญไปเหยียบย่ำต้นไม้ของหลวงพ่อที่ปลูกไว้ เช่น ต้นกล้วย ผัก พริก มะเขือ และไม้ดอกสีต่าง ๆ บางทีช้างก็ใช้งวงเอาใบกล้วยมากินจนแหลกลาญเสียหาย
    ความจริงหลวงพ่อก็มิได้เอ่ยว่าประการใด บรรดาชาวบ้านแถวนั้นก็จูงลูกเด็กเล็กแดงมายืนดูช้างอยู่ในวัดจำนวนมาก เพราะมีทั้งช้างสีดอ ช้างพัง ช้างพลาย และลูกช้างอีกราว 2-3 เชือก ขณะนั้นเป็นเวลาประมาณ 16.30 น. พวกเลี้ยงช้างที่มานั้นพากันหุงข้าวปลาอาหารอยู่ใต้ถุนศาลา กะว่ารุ่งขึ้นจะพากันเดินทางลงใต้ คือผ่านจังหวัดสิงห์บุรี ระหว่างที่หุงข้าวกันอยู่นั้น ชาวบ้านก็ได้ยินกลุ่มชาวเหนือที่กำลังนึ่งข้าวกันอยู่นั้นพากันบ่นว่า ข้าวไม่พอกินกัน อีกคนหนึ่งจึงพูดว่า
    "จะไปยากอะไร นกพิราบอยู่บนหลังคาโบสถ์เป็นฝูง ๆ ปืนเราก็มี หน้าไม้ก็มี จัดการเอาเลย"
    ชาวบ้านแห่งวัดมะขามเฒ่าได้ฟังดังนั้นจึงช่วยกันห้ามปราม อธิบายให้ฟังทั่ว ๆ กันว่า การกระทำดังนั้นจะผิดเจตนารมณ์ของหลวงพ่อ หลวงพ่อเคยห้ามไว้นานแล้วว่าไม่ให้ยิงนกภายในบริเวณวัด แม้ว่าจะเป็นการพูดทักท้วงที่ละมุนละม่อมเพียงไร เขาก็หาฟังเสียงไม่ คนหนึ่งคว้าปืนแก๊ปขึ้นประทับบ่ายิงไปยังนกพิราบฝูงนั้น สับนกดังเชี๊ยะ ๆ ตั้งหลายครั้งหลายครา พยายามยิงเท่าไหร่ลูกปืนก็หาออกไปสังหารชีวิตนกพิราบแม้แต่ตัวเดียว
    พวกที่หมายมั่นจะกิจเนื้อนกพิราบให้จงได้ก็พยายามต่อไป คือเปลี่ยนเป็นหยิบหน้าไม้ออกไปยิง แต่เมื่อยิงทีไรลูกศรก็ตกจากร่องหน้าไม้ทุกที เป็นที่น่าประหลาดใจแก่ผู้พบเห็นตาม ๆ กัน ร้อนถึงชายฉกรรจ์วัยกลางคนผู้หนึ่ง ท่าทางภูมิฐานเอาเรื่อง เปล่งเสียงออกมาอย่างเกรี้ยวกราดตามอารมณ์ดีเดือดว่า
    “ขรัวตาวัดนี้มีอะไรดีหรือวะ ชะ ชะ”
    พูดแล้วก็คว้าได้ขวานสั้นคมกริบเล่มหนึ่ง ฟันลงที่หน้าแข้งเสียงดังฉาด ๆ กระเด็นออกมาเป็นฟืนหุงข้าว ทำให้ผู้คนที่ต่างมุงดูอยู่บังเกิดความพิศวงเป็นกำลัง เพราะเห็นขวานกระทบหน้าแข้งกระเด็นออกมาเป็นท่อนฟืนได้
    ชาวเหนือผู้เลี้ยงช้างยิ่งแลเห็นผู้คนสนใจในอาคมของตนก็ยิ่งกำเริบใจ วางท่าหนักขึ้นไปอีก แสดงอาการถากหน้าแข้งต่อไปไม่หยุดยั้ง ในที่สุดก็ได้ฟืนเป็นกองใหญ่
    ขณะนั้นมีชาวบ้านคนหนึ่งวิ่งตะลีตะลานไปรายงานกับหลวงพ่อวัดปากคลองมะขามเฒ่าว่า บัดนี้มีคนดีมาจากเหนือแสดงอาการถากหน้าแข้งให้เป็นฟืนหุงข้าวก็ได้ สร้างความตื่นเต้นให้แก่ใคร ๆ ที่ได้พบเห็นยิ่งนัก
    หลวงพ่อถามโพล่งออกมาว่า “ใครวะ คนดีคนเก่ง”
    ชาวบ้านตอบว่า “คนเลี้ยงช้างครับหลวงพ่อ”
    หลวงพ่อได้ฟังคำตอบชัดแจ้งดีแล้วก็พูดด้วยเสียงอันดังฉุนเฉียวว่า
    “เอ ไม่ได้การเสียแล้วไอ้ห่านี่บังอาจมาฉากเสาศาลาของกู เดี๋ยวเหอะ กำแหงใหญ่แล้วพวกนี้”
    ขณะนั้นเป็นเวลาพลบค่ำพอดี หลวงพ่อจึงคิดจะทำการดัดสันดานพวกนี้ให้เข็ดหลาบเสียบ้าง ไม่รู้จักว่าใครเป็นใคร มันไม่รู้จักกู ดีละ เพราะท่านทราบว่าจวนถึงเวลาที่พวกเลี้ยงช้างจะต้องต้อนช้างไปผูกแล้วสุมไฟให้นอน หลวงพ่อเผ่นลงจากุฏิพร้อมด้วยกะลามะพร้าวซีกหนึ่ง เดินไปลานหญ้าหน้ากุฏิ หยุดบริกรรมร่ายพระเวทอันศักดิ์สิทธิ์เรียกฝูงช้างให้มารวมกัน จากแรงฤทธิ์อิทธิเดชของเวทมนต์หลวงพ่อ ช้างก็ถูกลมพัดปลิวเหลือตัวเท่าแมลงวันตกอยู่ตรงหน้า แล้วท่านก็เอากะลาครอบลง เอาเท้าเหยียบตรึงด้วยพระคาถาอันศักดิ์สิทธิ์ เป่าลงบนกะลาครอบนั้น จากนั้นหลวงพ่อก็เดินกลับเข้าไปในกุฏิ
    ส่วนพวกเลี้ยงช้างนั้นเล่า หลังจากกิจข้าวปลาอาหารจนอิ่มหนำสบายใจดีแล้วก็นึกขึ้นได้ว่ายังไม่ได้ต้อนช้างให้เข้านอน แต่เมื่อมุ่งหน้าไปยังที่ช้างอยู่ก็หาเห็นช้างแม้สักเชือกไม่ ช้างหายไปไหนหมด ทุกคนพบกับปัญหาที่คาดไม่ถึง แล้วก็ออกค้นหากันไป จนกระทั่งอ่อนใจ หนักเข้าถึงกับร้องไห้ขึ้นไปกราบเท้าหลวงพ่อพลางปรับทุกข์ให้ท่านฟัง “ถ้าช้างถูกขโมยไปหมดแล้ว พวกเขาจะกลับบ้านไม่ได้” พวกเขาว่าอย่างนี้ หลวงพ่อฟังแล้วก็เลยถือโอกาสสั่งสอนว่า
    “เรามาทำมาหากิจ ก็จงทำมาหากิจโดยซื่อสัตย์สุจริต มีความอุตสาหะหมั่นเพียร อย่าได้คิดเบียดเบียนคนอื่นให้เกิดความเดือดร้อน จะได้เอาเงินกลับไปบ้านเลี้ยงลูกเลี้ยงเมีย แต่นี่พวกมึงกำแหงมาก ศาลาของกูสร้างต้องเสียเงิน แต่มึงเอาขวานมาถากศาลาของกูเสียหาย”
    พวกเลี้ยงช้างต่างฟังกันเงียบไม่ยอมปริปากประการใด หลวงพ่อก็พูดต่อไปว่า
    “ศาลาของกูเสียหายอย่างนี้ มึงต้องเอาเงินมาเปลี่ยนทำเสาศาลากูให้ดีเหมือนเดิม กูถึงจะคืนช้างให้พวกมึง”
    พวกเลี้ยงช้างเหล่านั้นจำใจต้องยอมรับผิดเพราะตนผิดจริง ๆ แล้วมอบเงินให้กับหลวงพ่อให้พอกับการเปลี่ยนเสาศาลาให้มีสภาพดีเหมือนเดิม เมื่อหลวงพ่อได้รับเงินแล้วก็พูดว่า
    “มึงตามมา แล้วพรุ่งนี้มึงต้องไปนะ ต้นไม้ต่าง ๆ ของกูฉิบหายหมด เห็นไหม”
    พวกเลี้ยงช้างค่อย ๆ เดินตามหลวงพ่อมา จนกระทั่งถึงที่ช้างถูกกะลาครอบเอาไว้
    “นี่ ช้างของมึง กูเอากะลาครอบเอาไว้”
    พูดจบหลวงพ่อก็เปิดกะลาที่ครอบออก ช้างที่เล็กเท่าตัวแมลงวันก็กลับกลายร่างใหญ่โตเท่าเดิม เหล่าชาวเหนือเห็นดังนั้นก็ก้มลงกราบแทบเท้าหลวงพ่อแล้วนำช้างกลับไปพักผ่อนตามปกติ
    ความแก่งกล้าสามารถในด้านวิชาไสยศาสตร์ของหลวงปู่ศุข วัดปากคลองมะขามเฒ่า มีผู้บอกเล่ากันต่อไปในที่ต่าง ๆ โด่งดังไปถึงในรั้วในวัง และทำให้กรมหลวงชุมพรฯ ทราบเรื่องที่ว่านี้มาตลอด แต่ก็ทรงเฉย ๆ อยู่
    มีอยู่คราวหนึ่งพระองค์เจ้าวิบูลย์พรรณฯ ได้นำพระเครื่องเก่าองค์หนึ่งมาถวายแก่กรมหลวงชุมพรฯ แล้วทูลว่าพระเครื่ององค์นั้นมีความศักดิ์สิทธิ์เป็นยอด ตกทอดมาตั้งแต่วังหน้า เนื่องจากพระองค์ชอบพิสูจน์หรือทดลองให้เห็นจริง จึงให้มหาดเล็กนำพระเครื่ององค์นั้นไปแขวนที่ปลายไม้ จากนั้นพระองค์จึงมีพระบัญชาให้นาวาเอกพระยาพลพยุหรักษ์ เป็นผู้ทดลองยิงพระเครื่ององค์นั้น โดยใช้ปืน ร.ศ. บรรจุกระสุนที่เลือกแล้วเป็นอย่างดี ท่ามกลางผู้ที่ยืนดูการทดลองจำนวนมาก จากการยิง 3 นัด ผลปรากฏว่าปืนกระบอกนั้นไม่มีเสียงระเบิดทั้ง 3 นัด คงมีเสียงสับนกกระทบตูดชนวนลูกปืนดัง แชะ แชะ แชะ อันหมายความว่า กระสุนด้านและไม่ทำงาน เสด็จในกรมทรางมีบัญชาให้หันลำกล้องปืนไปทางอื่นและยิงใหม่ ปรากฏว่ากระสุนเดิมทั้ง 3 นัด ส่งเสียงสนั่น อันหมายถึงกระสุนมิได้ด้าน
    นับตั้งแต่ครั้งนั้นกรมหลวงชุมพรฯ จึงมีความเชื่อถือในพลังอำนาจศักดิ์สิทธิ์ของไสยศาสตร์และ พุทธานุภาพ พร้อมกันนั้นได้เริ่มเสาะแสวงหาอาจารย์ดี เพื่อศึกษาวิชาไสยศาสตร์จากผู้ทรงคุณต่าง ๆ
    ครั้นชื่อเสียงกิตติคุณของหลวงปู่ศุขมีมากขึ้น ก็มีความสนพระทัย ความคิดใคร่จะไปทดลองดูให้เป็นที่ประจักษ์แก่ตาว่าเป็นอย่างไร หากมีโอกาสเมื่อใดก็จะไปพบหลวงปู่ศุขให้จงได้ ในครั้งนั้น กรมหลวงชุมพรฯ เสด็จไปตากอากาศภาคเหนือและเสด็จกลับด้วยเรือทหารล่องลงมาทางแม่น้ำเจ้าพระยา แต่แทนที่จะล่องกลับถึงกรุงเทพฯ พระองค์ทรงรับสั่งให้เรือกลไฟที่จูงเรือประเทียบล่องลงมาตามลำน้ำท่าจีน อันแม่น้ำท่าจีนนั้นแยกจากแม่น้ำเจ้าพระยาที่ชัยนาท ไหลลงสู่อ่าวไทยที่เมืองสมุทรสาคร มีความยาวถึง 200 กม. และเส้นทางสายแม่น้ำท่าจีนนี้ได้ไหลผ่านวัดปากคลองมะขามเฒ่าด้วย เมื่อเรือพระที่นั่งล่องมาถึงวัด ก็บังเอิญให้เรือมีอันขัดข้องโดยไม่ทราบสาเหตุ แม้จะพยายามแก้ไขเครื่องยนต์อย่างไรก็ไม่สำเร็จ (ภายหลังหลายคนเชื่อว่าคงเป็นการสำแดงอิทธิฤทธิ์ของหลวงปู่ศุข) ในที่สุดก็เลยต้องชะลอเรือทั้งหมดเข้าไปจอดที่ศาลาวัดปากคลองมะขามเฒ่า ขณะที่เรือประเทียบและเรือกลไฟเข้ามาเทียบอยู่ที่ศาลาท่าน้ำ พระองค์ทรงแลเห็นเด็กลูกศิษย์วัดกำลังชุลมุนอยู่กับการตัดหัวปลีเอามากองที่ข้างศาลาทีละหัวสองหัว จนเรือเข้าเทียบศาลาท่าน้ำนั่นแหละจึงเห็นหัวปลีกองโตขึ้น ขณะเสด็จในกรมทรงยืนบนเรือมองดูการกระทำของเด็กวัดเหล่านั้นด้วยความฉงนพระทัย ได้มีพระภิกษุชรารูปหนึ่งเดินตรงเข้ามาที่กองหัวปลี ท่าทางเคร่งขรึม ท่านมองรอบ ๆ กองหัวปลีอยู่ 2-3 อึดใจ แล้วจึงหย่อนร่างนั่งบนกองหัวปลีนั้น พระภิกษุรูปนั้นนั่งหลับตาภาวนาอยู่ครู่หนึ่ง จากนั้นท่านก็หยิบหัวปลีขึ้นมาเป่าลูบไล้ไปมา จากนั้นท่านเหวี่ยงหัวปลีลงพื้น แล้วเสด็จในกรมตลอดจนทหารข้าราชบริพารต้องตกตะลึงเพราะหัวปลีนั้นเมื่อตกถึงพื้นกลายเป็นกระต่ายสีขาวนวล กระโดดโลดเต้นอยู่ไปมา ภิกษุรูปเดิมหาได้หยุดเสกเป่าหัวหลี ท่านทำอย่างต่อเนื่อง หัวปลีกลายเป็นกระต่ายขาวหลายตัววิ่งอยู่บนศาลาและพื้นดินเต็มไปหมด
    เมื่อเห็นเหตุอัศจรรย์เช่นนี้ กรมหลวงชุมพรฯ พร้อมด้วยนายทหารและข้าราชบริพารทั้งปวงในที่นั้นก็เข้าไปแสดงอาการคารวะต่อพระภิกษุรูปนั้นโดยทั่วหน้ากัน
    ครั้นกระต่ายวิ่งมาหาท่านทีละตัว ท่านก็เอามือลูบคลำไปมาสักครู่ แล้วปล่อยวางลงกับพื้น กระต่ายก็กลับเป็นหัวปลีอย่างเดิม และทำอยู่อย่างนั้นทุกตัว จนกลายเป็นหัวปลีกองโตเหมือนเดิม
    กรมหลวงชุมพรฯ ได้สอบถามพูดคุยกับหลวงพ่อองค์นั้น (ขณะนั้นเสด็จในกรมเรียกหลวงพ่อ) จึงทราบว่าพระภิกษุที่อยู่เบื้องหน้าท่านก็คือ “หลวงปู่ศุข วัดปากคลองมะขามเฒ่า” ที่พระองค์ได้ยินชื่อเสียงมาช้านานนั่นเอง
    และหลวงปู่ศุขก็รู้ว่าผู้ที่อยู่เบื้องหน้าคือพระราชโอรสแห่งพระพุทธเจ้าหลวง “กรมหลวงชุมพรฯ” นั่นเอง
    การพูดคุยกันวันนั้นเป็นที่ถูกอัธยาศัยกันทั้ง 2 ฝ่าย เสด็จในกรมจึงอยากพักอาศัยอยู่ที่วัดปากคลองมะขามเฒ่าสักหลายวัน หลวงปู่ศุขก็มิได้ว่ากระไร ยกศาลาท่าน้ำให้เป็นที่จอดเรือ ความสัมพันธ์ระหว่างพระภิกษุชราและโอรสของเจ้าเหนือหัวได้เริ่มขึ้นแล้ว
     
  20. :::เพชร:::

    :::เพชร::: เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    8,584
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +36,137
    มีโอกาสได้อ่านเรื่องราวของ"หลวงพ่อเงิน วัดบางคลาน" น่าประทับใจมาก เสด็จในกรมฯ หรือเสด็จเตี่ยท่านกว่าจะได้พบหลวงพ่อเงิน ใช้ความมานะบากบั่นขนาดนี้ การได้พบครั้งแรกจึงเป็นภาพความปิติ และความประทับใจไม่รู้ลืม..ขอโมทนาด้วยครับ เสียดายคนตายไม่ได้อ่าน
     

แชร์หน้านี้

Loading...