มีวัตถุมงคลสายพระป่ากรรมฐานให้บูชาราคาเบาๆ

ในห้อง 'พระเครื่อง วัตถุมงคล' ตั้งกระทู้โดย Somchai 2510, 8 กันยายน 2019.

  1. Somchai 2510

    Somchai 2510 Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กันยายน 2019
    โพสต์:
    1,740
    ค่าพลัง:
    +125
    รายการที่ 883 #พระสมเด็จผงของขวัญ หลวงปู่สิม วัดถ้ำผาปล่อง เชียงใหม่ เป็นพระเนื้อผงบรรจุกรุ สร้างในปี 2517 มีบรมสารีริกธาตุ ของแท้ บรรุจุอยู่ด้วยที่ฐานขององค์พระด้านหน้า หายากมาก เพราะอยู่ในความครอบครองของลูกศิษย์ลูกหาในสมัยนั้นเท่านั้น และพระชุดนี้ได้ผสมผงหลวงปู่ทิม อิสริโก วัดระหารไร่ จังหวัดระยอง ด้วยครับ มีพระเกศาหลวงปู่มาบูชาเป็นมงคลด้วยครับ *******บูชาที่ 555 บาทฟรีส่งems SAM_7682.JPG SAM_7684.JPG SAM_7605.JPG
     
  2. shaj

    shaj เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 พฤศจิกายน 2012
    โพสต์:
    7,906
    ค่าพลัง:
    +6,807
    ขอจองครับ
     
  3. Somchai 2510

    Somchai 2510 Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กันยายน 2019
    โพสต์:
    1,740
    ค่าพลัง:
    +125
    ******เรียนเพื่อนสมาชิกทราบ ผมไม่ได้อยู่หน้าจอหลายวัน เพราะคุณยายผ่าตัดตาต้อ เลยไปเฝ้าไข้ครับ
     
  4. Somchai 2510

    Somchai 2510 Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กันยายน 2019
    โพสต์:
    1,740
    ค่าพลัง:
    +125
    SAM_7478.JPG รายการที่ 884 พระปิดตาผงอุดมโชคหลวงพ่อสมเกียรติ ชิตมาโร พระอรหันต์เจ้าวัดป่าถํ้าพระนิมิต อ.กุดจับ จ.อุดรธานี สร้างปี 2561 มีมวลสารที่สร้างตามใบฝอยที่ลงให้ดูครับ มาพร้อมพระเกศารวมของพระอรหันต์พ่อเเม่ครูอาจารย์สายหลวงปู่มั่น *******มีตอกโค๊ตหลุมเเละโค๊ตหมึก >>>>บูชาที่ 375 บาทฟรีส่งems SAM_7670.JPG SAM_7671.JPG SAM_7672.JPG SAM_7673.JPG SAM_7674.JPG มีพระเกศารวมของพระอรหันต์สายหลวงปู่มั่นมาบูชาด้วย เช่นเกศา 1,หลวงปู่บุญมา คัมภีรธัมโม วัดป่าสีห์พนม, 2,หลวงปู่บุญเพ็ง เขมาภิรโต วัดถํ้ากลองเพล,3,หลวงปู่บุญพิน กตปุญโญ วัดผาเทพนิมิตร,4 หลวงปู่บุญหนา ธัมมทินโน วัดป่าโสติถิผล,5 หลวงปู่เเฟ็บ สุภัทโท วัดป่าดงหวาย,6 หลวงปู่เปลี่ยน ปัญญาปทีโป วัดป่าอรัญวิเวก,7, หลวงปู่สิงห์ทอง ปภากโร วัดป่าสุนทราราม,8 หลวงปู่เเปลง สุนทโร วัดป่าอุดมสมพร,9 หลวงตาเเตงอ่อน กัลยาณธัมโมีพระเกศารวมของพระอรหันต์สายหลวงปู่มั่นมาบูชาด้วย เช่นเกศา 1,หลวงปู่บุญมา คัมภีรธัมโม วัดป่าสีห์พนม, 2,หลวงปู่บุญเพ็ง เขมาภิรโต วัดถํ้ากลองเพล,3,หลวงปู่บุญพิน กตปุญโญ วัดผาเทพนิมิตร,4 หลวงปู่บุญหนา ธัมมทินโน วัดป่าโสติถิผล,5 หลวงปู่เเฟ็บ สุภัทโท วัดป่าดงหวาย,6 หลวงปู่เปลี่ยน ปัญญาปทีโป วัดป่าอรัญวิเวก,7, หลวงปู่สิงห์ทอง ปภากโร วัดป่าสุนทราราม,8 หลวงปู่เเปลง สุนทโร วัดป่าอุดมสมพร,9 หลวงตาเเตงอ่อน กัลยาณธัมโม วัดป่าโชคไพศาล,10, หลวงป่ศรีจันทร์ วัณณาโภ วัดสุทธาวาส(วัดเลยหลง,11, หลวงปู่เพียร วิริโย วัดป่าหนองกอง,12, หลวงปู่ไม อินทสิริ วัดป่าเขาภูหลวง,13, หลวงปู่ศรี สิริธโร วัดป่าโนนทองอินทร์ 14 ,หลวงปู่รินทร์ สันตมโน วัดป่าธรรมมาราม ,15, หลวงปู่มั่น ถาวโร วัดป่าหัวภูลังกาใต้,16, หลวงปู่เเสง ญานวโร,17, หลวงปู่ขันตี ญาณวโร วัดป่าม่วงไข่,17 ,หลวงปู่เหลือง ฉันทาคโม วัดกระดึงทอง,18, หลวงปู่จันทร์เเรม เขมิโย วัดระหาน,19, หลวงปู่สมภาร ปัญญาวโร วัดป่าวิเวกพัฒนาราม,20, หลวงปู่เคน เขมาสโย วัดป่าหนองหว้า, 21, หลวงปู่ผ่าน ปัญญาปทีโป วัดป่าประทีปปุญญาราม,22, คุณเเม่ชีบุญฮู้ พรหมเทพ สำนัดชีภูกระเเต เป็นต้น มาบูชาเป็นมงคลด้วยครับม
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 12 ตุลาคม 2020
  5. SIR2010

    SIR2010 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 สิงหาคม 2010
    โพสต์:
    2,954
    ค่าพลัง:
    +5,658
    จอง รายการที่ 884
     
  6. Somchai 2510

    Somchai 2510 Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กันยายน 2019
    โพสต์:
    1,740
    ค่าพลัง:
    +125
    SAM_7685.JPG >>>>>เช้าวันนี้ได้จัดส่งวัตถุมงคลให้เพื่อนสมาชิก 1 ท่านครับ เลขที่จัดส่งems ตามใบฝอยที่ลงครับ
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 12 ตุลาคม 2020
  7. Somchai 2510

    Somchai 2510 Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กันยายน 2019
    โพสต์:
    1,740
    ค่าพลัง:
    +125
    รายการที่ 885 พระผงมงคลขุนเเผนหลวงพ่อสมเกียรติ ชิตมาโร พระอรหันต์เจ้าวัดป่าถํ้าเทพนิมิต อ.กุดจับ จ.อุดรธานี หลวงพ่อสมเกียรติเป็นศิษย์หลวงปู่บุญมี ปริปุณโณ วัดป่านาคูณ(ศิษย์รุ่นใหญ่หลวงตามหาบัว วัดป่าบ้านตาด) องค์พระสร้างปี 2561 ,มีมวลสารที่สร้างตามใบฝอยที่ลง มีตอกโค๊ตหมึกหลังองค์พระ หายากครับ มาพร้อมเกศารวมพ่่อเเม่ครูอาจารย์(เกศาพระอรหันต์สายหลวงปู่มั่น ภูริทัตโต ) มีพระเกศารวมของพระอรหันต์สายหลวงปู่มั่นมาบูชาด้วย เช่นเกศา 1,หลวงปู่บุญมา คัมภีรธัมโม วัดป่าสีห์พนม, 2,หลวงปู่บุญเพ็ง เขมาภิรโต วัดถํ้ากลองเพล,3,หลวงปู่บุญพิน กตปุญโญ วัดผาเทพนิมิตร,4 หลวงปู่บุญหนา ธัมมทินโน วัดป่าโสติถิผล,5 หลวงปู่เเฟ็บ สุภัทโท วัดป่าดงหวาย,6 หลวงปู่เปลี่ยน ปัญญาปทีโป วัดป่าอรัญวิเวก,7, หลวงปู่สิงห์ทอง ปภากโร วัดป่าสุนทราราม,8 หลวงปู่เเปลง สุนทโร วัดป่าอุดมสมพร,9 หลวงตาเเตงอ่อน กัลยาณธัมโมีพระเกศารวมของพระอรหันต์สายหลวงปู่มั่นมาบูชาด้วย เช่นเกศา 1,หลวงปู่บุญมา คัมภีรธัมโม วัดป่าสีห์พนม, 2,หลวงปู่บุญเพ็ง เขมาภิรโต วัดถํ้ากลองเพล,3,หลวงปู่บุญพิน กตปุญโญ วัดผาเทพนิมิตร,4 หลวงปู่บุญหนา ธัมมทินโน วัดป่าโสติถิผล,5 หลวงปู่เเฟ็บ สุภัทโท วัดป่าดงหวาย,6 หลวงปู่เปลี่ยน ปัญญาปทีโป วัดป่าอรัญวิเวก,7, หลวงปู่สิงห์ทอง ปภากโร วัดป่าสุนทราราม,8 หลวงปู่เเปลง สุนทโร วัดป่าอุดมสมพร,9 หลวงตาเเตงอ่อน กัลยาณธัมโม วัดป่าโชคไพศาล,10, หลวงป่ศรีจันทร์ วัณณาโภ วัดสุทธาวาส(วัดเลยหลง,11, หลวงปู่เพียร วิริโย วัดป่าหนองกอง,12, หลวงปู่ไม อินทสิริ วัดป่าเขาภูหลวง,13, หลวงปู่ศรี สิริธโร วัดป่าโนนทองอินทร์ 14 ,หลวงปู่รินทร์ สันตมโน วัดป่าธรรมมาราม ,15, หลวงปู่มั่น ถาวโร วัดป่าหัวภูลังกาใต้,16, หลวงปู่เเสง ญานวโร,17, หลวงปู่ขันตี ญาณวโร วัดป่าม่วงไข่,17 ,หลวงปู่เหลือง ฉันทาคโม วัดกระดึงทอง,18, หลวงปู่จันทร์เเรม เขมิโย วัดระหาน,19, หลวงปู่สมภาร ปัญญาวโร วัดป่าวิเวกพัฒนาราม,20, หลวงปู่เคน เขมาสโย วัดป่าหนองหว้า, 21, หลวงปู่ผ่าน ปัญญาปทีโป วัดป่าประทีปปุญญาราม,22, คุณเเม่ชีบุญฮู้ พรหมเทพ สำนัดชีภูกระเเต เป็นต้น มาบูชาเป็นมงคลด้วยครับ>>>>>บูชาที่ 355 บาทฟรีส่งems SAM_7687.JPG SAM_7677.JPG SAM_7667.JPG SAM_7489.JPG
     
  8. Somchai 2510

    Somchai 2510 Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กันยายน 2019
    โพสต์:
    1,740
    ค่าพลัง:
    +125
    *******ด่วนมากครับ #เรียนเพื่อนสมาชิกทุกท่านที่พักอาศัยอยู่รอบๆกรุงเทพมหานคร นี้เป็นสิ่งที่ผมเองเฝ้ารอคอยมาตั้งเเต่ต้นปี 2561 เเล้วครับ หลวงปู่รินทร์ สันตมโน พระอาจารย์ของผมท่านได้บอกผมไว้ตั้งเเต่ปี 2561 ว่าท่านได้เกิดนิมิตจากการเข้านิโรธสมาบัติเห็นว่าจะเกิดนํ้าท่วมใหญ่กรุ่งเทพ(่ท่วมใหญ่กว่าปี 2554) จะมีคนตายเสียชีวิตเยอะเเละจะพากันหนีตายขึ้นมาทางโคราช-ชัยภูมิ เกิดเหตุปลายปี 2563 นะสมชาย ปู่เห็นเเล้วน่ากลัวมากเเละสงสารลูกหลานจริงๆหลวงปู่รินทร์ท่านพูดไปด้วยขนเเขนลุกไปด้วย ผมเองก็เฝ้ารอคำเตือนของหลวงปู่มาตลอด 3 ปี ผมเองปีนี้เฝ้ารอดูว่ามวลนํ้าจากภาคเหนือจะมาเมื่อไหร่ จนปีนี้พายุก็ไม่เข้าภาคเหนือ เเต่กลับกลายว่าพายุเข้าทางภาคตะวันออกเเละอีสานตอนล่างเเทน ผมเองไม่อยากให้เกิดเหตุการณ์นี้ขึ้นเลย เพราะว่าผมมีน้องชายเเละน้องสะใภ้เเละหลานชาย 2 คนอาศัยอยู่เเถวบางพลี สุวรรณภูมิ หลวงปู่บอกผมเอาไว้ว่าเพื่อความไม่ประมาทให้บอกญาติๆเพื่อนๆพี่ๆน้องๆ เติมนํ้ามันไว้เต็มถังตลอดเลยนะ ฉุกเฉินขึ้นมาจะได้รีบออกมาทันไม่ต้องเเวะเติมนํ้ามันตามปั๊ม(เพราะคนเเย่งกันเติมนํ้ามันไม่มีที่ว่างเลย) โดยส่วนตัวผมเเล้วผมเชื่อหลวงปู่ ล้านเปอร์เซนต์ เพราะท่านเป็นพระอรหันต์ ผมจึงได้เเจ้งบอกคำเตือนของหลวงปู่รินทร์มาให้เพื่อนสมาชิกที่สนใจอ่านกระทู้ของผมไว้ทราบ เพราะว่ายังมีพายุเหลืออีก 2 ลูกจะเข้ามาทางกรุงเทพโดยตรงเลย เเละปัจจุบันนี้ตอนนี้เขื่อนขุนด่านปราการชลที่นครนายกเต็มเเล้ว ยํ้าเอาไว้นะครับเตรียมตัวไว้ก่อนเพื่อความไม่ประมาทถ้ามันเกิดขึ้นจริง เเต่ถ้าไม่เกิดอะไรผมเองก็ดีใจด้วย เพราะผมเองก็ห่วงน้องชายเเละครอบครัวเขาเเละเพื่อนสมาชิกทุกท่านที่ติดตามกระทู้ของผม ******ผมจึงเเจ้งเตือนมาให้ทราบด่วนเพราะการที่เราได้มาเจอกันในปัจจุบันชาตินี้เพราะเราเคยทำบุญร่วมกันมาก่อนครับ(นี้เป็นรูปภาพปัจจุบันที่เพือนผมทำงานการไฟฟ้าส่งมาให้ดูครับ) SAM_7688.JPG SAM_7689.JPG SAM_7691.JPG SAM_7694.JPG SAM_7693.JPG SAM_7692.JPG SAM_7690.JPG *****รูปภาพของหลวงปู่รินทร์ที่ได้ไปถ่ายหน้าองค์พระธาตุพนม ขณะที่ถ่ายถาพเป็นเวลาบ่ายโมง เเดดจ้ามากท้องฟ้าโปร่ง เเต่พอช่างภาพถ่ายภาพออกมาจะเห็นมีมวลก้อนเมฆมาเป็นก้อนรวมตัวกันที่ยอดองค์พระธาตุพนมตลอด จนช่างที่รับจ้างถ่ายภาพที่วัดพระธาตุพนม บอกว่าพอถ่ายหลวงปู่รินทร์ที่ไหร่ภาพที่ถ่ายออกมาเสียทุกที จนหลวงปู่บอกให้ช่างภาพที่ถ่ายรูปหลวงปุ่มาให้ดู พอหลวงปู่เห็นภาพถ่ายตัวเองหลวงปู่ก็หัวเราะทันี เเล้วบอกช่างภาพที่รับจ้างถ่ายภาพว่าหลวงปู่ขอเอารูปที่เสียนี้หละ เพื่อนสมาชิกจะสังเกตุเห็นว่าจะมีเเสงสีเเดงนวลกลมลอยขึ้นจากตัวองค์หลวงปู่ลอยขึ้นไปหายอดองค์พระธาตุพนมเเละจะมีก้อนเมฆมารวมกันโดยอัตโนมัติที่ยอดองค์พระธาตุพนม
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 12 ตุลาคม 2020
  9. Somchai 2510

    Somchai 2510 Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กันยายน 2019
    โพสต์:
    1,740
    ค่าพลัง:
    +125
    รายการที่ 886
    พระบูชารูปเหมือนขนาดหน้าตักกว้าง 4 นิ้ว สูงจากฐาน 9 นิ้วหลวงปู่พระอุปคุตเถระเจ้า พระอรหันต์เจ้าผู้มีฤทธิ์สมัยพุทธกาล สร้างปี 2549 โดยวัดเทพนิมิตวนาราม อ.เมือง จ.ยโสธร เนื้อทองเหลืองรมมันปู หายากมากๆ ผมบูชาที่หิ้งพระหลายปีเเล้วครับ ปลุกเสกอฐิษฐานจิตโดยหลวงตาพวง สุขินททริโย พระอรหันต์เจ้าวัดศรีธรรมมาราม(ศิษย์รุ่นสุดท้ายหลวงปู่มั่น) >>>>>>>>>>>>>>>>>>>รายการนี้มีเเถมมอบพระอุปคุตองค์เล็กขนาดห้อยคอมาบูชาเพิ่มด้วยครับ พระห้อยคอรุ่นนี้ปลุกเสก 2 วาระ 1,พระอาจารย์สมบัติ จิตตปัญโญ วัดป่าโพธิ์ศรีวิไล ลูกศิษย์ของหลวงปู่เหรียย วรลาโภ วัดอรัญบรรพต ,2 ,หลวงพ่อสายทอง เตชะธัมโม วัดป่าห้วยกุ่ม อ.คอนสาร จ.ชัยภูมิด้วยครับ*******ภายในบรรจุเกศารวมของพระอรหันต์สายหลวงปู่มั่นไม่น้อยกว่า 20 อรหันต์เเละพระธาตุของหลวงปู่ลือเเละมีบรรจุพระธาตุข้าวบิณฑ์ของพระพุทธเจ้าพร้อมเกศา,จีวร,สำลีเช็นํ้าตาครูบาวงศาพัฒนา เเละรูปถ่ายขนาดล็อกเก็ตของหลวงปู่จันทาที่ถ่ายเเล้วมีเเสงสีขาวนวลปรากฏในรูปภาพที่ถ่าย มาบูชาด้วครับสร้างโดย พระอาจารย์สมบัติ จิตตปัญโญ วัดป่าโพธิ์ศรีวิไล(เป็นศิษย์ของหลวงปู่เหรียญ วรลาโภ วัดอรัญบรรพต หนองคาย) *********พระอุปคุต ( พระบัวเข็ม ) เจ้าแห่งโชดลาภอุดมสมบูรณ์ และยังมีฤทธิ์ทางปราบมารขจัดศัตรู ในงานบุญมหาเวส ( อิสาณ เรียก บุญผะเวส ) จะมีการแห่พระอุปคุต เพื่อมาปัดเป่ารังควานด้วย
    องค์นี้รมมันปู ขนาด 4 นิ้ว สูง 9 นิ้ว ออกที่ วัดเนรมิตรวนาราม ( บ๋านางเจิม ป่าช้าแขกเดิม ) ที่เป็น วัดสาขาของท่าน หลวงปู่มา สันติวิเวก ร้อยเอ็ด เป็นประธานจุดเทียนชัย นั่งปรก หลวงตาพวง นั่งปรกและดับเทียนชัย พร้อม หลวงตาสรวง หลวงพ่อพระครูประกาศ วัดป่าหนองไคร้ หลวงปู่สอ หลวงปู่บุญหลาย พร้อมคณาจารย์สายกรรมฐานนั่งปรกตลอดคืน สร้างปี 2549 ครับ สวยเดิมๆ ทุกวันนี้ไม่ค่อยเห็นแล้วครับเก็บกันหมด
    รับประกันตามกฎทุกกรณี
    *****คาถาบูชาและวิธีตั้งบูชา******
    คาถาบูชาพระอุปคุต
    อุปคุตโต จะมะหาเถโร สัมพุทเธนะ วิยากะโต มารัญจะ มารัญจะ มาระพะลัญจะ โส อิทานิ มะหาเถโร นะมัสสิตตะวา ปะติฏฐิโต อะหัง วันทามิ อิทาเนวะ อุปะคุตตัง จะมะหาเถรัง ยัง ยัง อุปัททะวัง ชาตัง วิธัง เสติ อะเสสะโต มะหาลาภัง ภะวันตุ ฯ
    คาถาบทนี้ สวดบูชาพระอุปคุตทุกวัน จะบันดาลให้บังเกิดโชคลาภ ทรัพย์สินเงินทองมากมาย และป้องกันภัยอันตรายทั้งปวงแก่ผู้บูชา หากมีเวลาจำกัด อาจสวดแบบย่อก็ได้ ดังนี้
    อุปะคุตโต จะ มะหาเถโร ยักขาเทวา นะระปูชิโต โส ระโห ปัจจะยาทิมหิ มะ หาลาภัง ภะวันตุ เม ฯ
    คาถาขอลาภพระอุปคุต
    มะหาอุปคุต จะ มะหาลาโภ พุทโธลาภัง สัพเพชะนา พะหูชะนา ราชาปุริโส อิถีโยมานัง นะโม โจรา เมตตาจิตตัง เอหิจิตติจิตตัง ปิยังมะมะ สะเทวะกัง สะพรหมมะกัง มนุสสานัง สัพพะลาภัง ภะวันตุ เม ฯ
    เอหิจิตติจิตตัง พันธะนัง อุปะคุตโต จะมหาเถโร พุทธะสาวะกะอานุภาเวนะ มาระวิชะยะ นิระภะยะ เตชะปุณณะตา จะ เทวะตานัมปิ มะนุสสานัมปิ เอหิจิตตัง ปิยังมะมะ อิมัง กายะพันธะนัง อะทิถามิ ปะอัยยิสสุตัง อุปัจสะอิ
    คาถาพระอุปคุตผูกมาร
    มหาอุปะคุตโต มหาอุปะคุตตัง กายะพันทะนัง อมยิสะ พุทธังทะเถโร ธัมมังทะเถโร สังฆังทะเถโร ปะอัยยะสุตัง อุปัจสะอิ อิมังกายะพันทะนัง อะทิถามิ
    >>>>>>มีพระเกศาหลวงตาพวงมาบูชาเป็นมงคลด้วยครับ ****บูชาที่ 7600 บาทฟรีส่งems sam_6794-jpg.jpg sam_7438-jpg.jpg sam_7440-jpg.jpg sam_7439-jpg.jpg sam_7442-jpg.jpg sam_7443-jpg.jpg sam_7444-jpg.jpg sam_7445-jpg.jpg sam_7446-jpg.jpg sam_7447-jpg.jpg sam_7448-jpg.jpg sam_7449-jpg.jpg sam_7451-jpg.jpg sam_7450-jpg.jpg sam_7452-jpg.jpg sam_7453-jpg.jpg sam_7455-jpg.jpg sam_7457-jpg.jpg sam_7458-jpg.jpg sam_7464-jpg.jpg sam_7465-jpg.jpg sam_7460-jpg.jpg sam_7461-jpg.jpg sam_7462-jpg.jpg sam_5550-jpg.jpg

     
  10. Somchai 2510

    Somchai 2510 Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กันยายน 2019
    โพสต์:
    1,740
    ค่าพลัง:
    +125
    รายการที่ 887 ล็อกเก็ตนวสิริสันติมงคลรุ่นเเรกของวัดสันติธรรม อ.เมือง จ.เชียงใหม่
    ล็อกเก็ตนวสิริสันติมงคล วัดสันติธรรม จังหวัด เชียงใหม่ สุดยอดแห่งมวลสาร สร้างปี 2551 นำมาเเจกผู้ร่วมทำบุญกฐินปี2552 ล็อกเก็ตพระนวสิริสันติมงคล สร้างขึ้นแด่ผู้ร่วมทำบุญสร้างอาคารพิพิธภัณฑ์พระธาตุบูรพาจารย์ วัดสันติธรรม ต.ช้างเผือก อ.เมือง จ.เชียงใหม่
    ..... องค์นี้สวยไม่มีรอยราน พระธาตุเยอะ ถอดจากคอครับ มีเกศารวมพระอรหันต์สายหลวงปู่มั่นมาบูชาด้วยครับ เช่น เกศาหลวงปู่ท่อน ญาณธโร วัดศรีอภัยวัน,หลวงปู่หลอด ปโมฑิโต วัดใหม่เสนานิคม,หลวงปู่สมภาร ปัญญาวโร,หลวงปู่บุญเพ็ง เขมาภิรโต วัดถํ้ากลองเพล,หลวงปู่ศรีจันทร์ วัณณาโภ วัดเลยหลง,หลวงปู่แปลง สุนทโร วัดป่าอุดมสมพร,หลวงปู่สิงห์ทอง ปภากโร วัดป่าสุนทราราม,หลวงปู่เนย สมจิตโต วัดป่าโนนแสนคำ,หลวงปู่บุญมา คัมภีรธัมโม วัดป่าสีห์พนม,หลวงปู่พัน ฐิตธัมโม วัดป่าบ้านนํ้าภู จ.เลย,หลวงปู่มหาโส กัสสโป วัดป่าคำเเคนเหนือ,หลวงปู่แฟ๊บ สุภัทโท วัดป่าดงหวาย,หลวงปู่เปลี่ยน ปัญญาปทีโป วัดอรัญวิเวก,หลวงปู่เสน ปัญญาธโร วัดป่าหนองเเซง,หลวงปู่รินทร์ สันตมโน,หลวงปู่เคน เขมาสโย วัดป่าหนองหว้า,คุณเเม่ชีบุญฮู้ พรหมเทพ วัดป่าภูกระเเต เป็นต้น >>>>>>>>>บูชาที่ 735 บาทฟรีส่งems(ออกจากวัดปี 52 ก็ 500 เเล้วครับ พื้นที่ 1,000 บาทขึ้นครับ)
    รายละเอียด พ่อเเม่ครูอาจารย์ที่มาพักหรือจำพรรษา ณ วัดสันติธรรม ได้แก่
    ๑. หลวงปู่มั่น ภูริทตฺโต วัดป่าสุทธาวาส จ.สกลนคร

    ๒. หลวงปู่เทสก์ เทสฺรํสี วัดหินหมากเป้ง จ.หนองคาย
    ๓. หลวงปู่ชอบ ฐานสโม วัดป่าสัมมานุสรณ์ จ.เลย
    ๔. หลวงปู่ขาว อนาลโย วัดถ้ำกลองเพล จ.หนองบัวลำภู
    ๕. หลวงปู่แหวน สุจิณฺโณ วัดดอยแม่ปั๋ง จ.เชียงใหม่
    ๖. หลวงปู่ตื้อ อจลธมฺโม วัดอรัญญวิเวก จ.นครพนม
    ๗. หลวงปู่สิม พุทฺธาจาโร วัดถ้ำผาปล่อง จ.เชียงใหม่
    ๘. หลวงปู่เหรียญ วรลาโภ วัดอรัญบรรพต จ.หนองคาย
    ๙. หลวงพ่อมหาทองอินทร์ กุสลจิตฺโต วัดสันติธรรม จ.เชียงใหม่


    ด้านหลังของล็อกเก็ตบรรจุมวลสารศักดิ์สิทธิ์ ดังนี้
    ๑. ขี้ผึ้งเทียนชัย งานพุทธาภิเษกพระสีวลีมหาลาภ วัดสันติธรรมรุ่น ๑ ปี ๒๕๕๐ ,
    งานพุทธาภิเษกพระสีวลีมหาลาภ วัดสันติธรรมรุ่น ๒ ปี ๒๕๕๑ ,

    งานเถราภิเษกรูปเหมือนหลวงพ่อประสิทธิ์ วัดสันติธรรม ปี ๒๕๕๒
    ๒. ผงพระธาตุพระอรหันต์ จากถ้ำเชียงดาว จ.เชียงใหม่
    ๓. อิฐยอดเจดีย์และใบพระศรีมหาโพธิ์ สถานที่ตรัสรู้ของพระพุทธเจ้า พุทธคยา
    ประเทศอินเดีย , ดินและอิฐจากสังเวชนียสถานทั้ง ๔ ประเทศอินเดีย
    ๔. ผงพระเก่า พระปางเปิดโลกจากอินเดีย, พระนางพญาจากอินเดีย,
    พระอัฏฐารสวัดเจดีย์หลวง เชียงใหม่,พระปิดตาจัมโบ้หลวงปู่โต๊ะ,
    พระปิดตามหาลาภ วัดถ้ำเหง้า แม่ฮ่องสอน, พระผงหลวงพ่อเกษม เขมโก,
    พระผงหลวงปู่ผาง จิตฺตคุตฺโต, พระสมเด็จหลวงปู่ชอบ ฐานสโม,
    ธรรมจักรอธิษฐานจิตของหลวงปู่สังข์ สงฺกิจฺโจ
    ๕. ผงไม้กุฏิหลวงปู่มั่น ภูริทตฺโต วัดป่าภูริทัตตถิราวาส จ.สกลนคร
    ๖. ผงอังคารหลวงปู่เทสก์ เทสฺรํสี วัดหินหมากเป้ง จ.หนองคาย,
    หลวงปู่ตื้อ อจลธมฺโม วัดอรัญญวิเวก จ.นครพนม,
    หลวงปู่สิม พุทฺธาจาโร วัดถ้ำผาปล่อง จ.เชียงใหม่,
    หลวงปู่พุธ ฐานิโย วัดป่าสาลวัน จ.นครราชสีมา,
    หลวงปู่ชื้น พุทธสโร วัดญาณเสน จ.พระนครศรีอยุธยา
    ๗. ผงอังคารหลวงพ่อมหาทองอินทร์ กุสลจิตฺโต วัดสันติธรรม จ.เชียงใหม่
    ๘. ผ้าเพดานเมรุพระราชทานเพลิงศพ หลวงพ่อมหาทองอินทร์ กุสลจิตฺโต วัดสันติธรรม จ.เชียงใหม่
    ๙. ข้าวก้นบาตรหลวงปู่ครูบาดวงดี ยติโก วัดบ้านฟ่อน,
    ข้าวก้นบาตรหลวงปู่ครูบาจันทร์แก้ว คนฺธสีโล วัดศรีสว่าง จ.เชียงใหม่
    ๑๐. สายสิญจน์, ข้าวตอก, ดอกไม้, ถั่ว, งา ที่พระเถระโปรยในงานเถราภิเษก รูปเหมือนหลวงพ่อประสิทธิ์ ปี ๒๕๕๒
    ๑๑. แร่กินบ่เสี้ยง
    ๑๒. ข้าวสารหิน
    ๑๓. หินพญานาค
    ๑๔. ไม้สักกลายเป็นหิน
    ๑๕. หินอุกกมณี
    ๑๖. ผงว่านมงคลร้อยแปด
    ๑๗. ตะกรุดพุทธคุณจารและอธิษฐานจิตโดย พระอาจารย์บุญอุ้ม อาภัสสโร วัดป่าโนนแพง อ.บ้านแพง จ.นครพนม เป็นเวลา ๓ คืน

    >>>>>อธิฐานจิตโดยพระเกจิอาจารย์อาทิ
    1.ครูบาดวงดี สุภัทโท วัดท่าจำปี จ.เชียงใหม่
    2.ครูบาดวงดี ยติโก วัดบ้านฟ่อน จ.เชียงใหม่
    3.ครูบาตั๋น ปัญโญ สำนักสงฆ์ม่อนปู่อินทร์ จ.เชียงใหม่
    4.ครูบาศรีจันทร์แก้ว คันธสีโล วัดศรีสว่าง จ.เชียงใหม่
    5.หลวงปู่ฟัก สันติธัมโม วัดเขาน้อยสามผาน จ.จันทบุรี
    6.หลวงพ่อบุญกู้ อนุวัฑฒโน วัดพระศรีมหาธาตุ บางเขน กรุงเทพฯ
    7.หลวงพ่อเจริญ ญาณวุฒโฒ วัดถ้ำปากเปียงจ.เชียงใหม่
    8.หลวงปู่สังข์ สังกิจโจ วัดป่าอาจารย์ตื้อ จ.เชียงใหม่
    9.หลวงพ่อเปลี่ยน ปัญญาปทีโป วัดอรัญวิเวก จ.เชียงใหม่
    10.หลวงพ่อประสิทธิ์ ปุญญมากโร วัดป่าหมู่ใหม่ จ.เชียงใหม่
    11.หลวงพ่อไพโรจน์ วิโรจโน สำนักสงฆ์ดอยปุย จ.เชียงใหม่
    12.หลวงปู่กวง โกสโร วัดป่านาบุญ จ.เชียงใหม่
    13.พระอาจารย์บุญอุ้ม อาภสฺสโร วัดป่าโนนแพง จ.นครพนม SAM_7695.JPG SAM_7698.JPG SAM_7699.JPG
     
  11. Somchai 2510

    Somchai 2510 Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กันยายน 2019
    โพสต์:
    1,740
    ค่าพลัง:
    +125
    รายการที่ 888 เหรียญรุ่นปลอดภัย+เหรียญกษาปณ์เม็ดเเตง 6 รอบหลวงปู่เปลี่ยน ปัญญาปทีโป พระอรหันต์เจ้าวัดอรัญวิเวก อ.เเม่เเตง จ.เชียงใหม่ หลวงปู่เปลี่ยนเป็นศิษย์หลวงปู่ตื้อ อจลธัมโม วัดป่าอาจารย์ตื้อ,หลวงปู่เเหวน สุจิณโณ วัดดอยเเม่ปั๊ง เป็นต้น เหรียญรุ่นปลอดภัยสร้างปี 2548 เนื้อทองเเดงรมนํ้าตาลมันปู สร้างโดยกรมทางหลวง ส่วนเหรียญกษาปณ์สร้างปี 2548 สร้างเนื่องด้วยหลวงปู่อายุครบ 6 รอบ เนื้ออัลปาก้า>>>>>>>มีพระเกศาหลวงปู่มาบูชาเป็นมงคลด้วยครับ *******บูชาที่ 335 บาทฟรีส่งems sam_3033-jpg-jpg.jpg

    sam_7361-jpg.jpg sam_7364-jpg.jpg sam_7365-jpg.jpg sam_7359-jpg.jpg

    SAM_7605.JPG
     
  12. Somchai 2510

    Somchai 2510 Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กันยายน 2019
    โพสต์:
    1,740
    ค่าพลัง:
    +125
    รายการที่ 889
    พระกริ่งเเซยิด 86 ปี+ผ้ายันต์รอยเท้าผืนใหญ่หลวงปู่เเว่น ธนปาโล พระอรหันต์เจ้าวัดถํ้าพระสบาย อ.เเม่ทะ จ.ลำปาง หลวงปู่เเว่นเป็นศิษย์หลวงปู่มั่นยุคกลาง องค์พระกริ่งสร้างปี 2539 สร้างเนื่ององค์หลวงปู่อายุครบ 86 ปี เนื้อกะไหล่เงิน มีพระเกศาหลวงปู่มาบูชา ********บูชาที่ 445 บาทฟรีส่งems sam_7478-jpg-jpg.jpg sam_6226-jpg-jpg.jpg sam_6230-jpg-jpg.jpg sam_6232-jpg-jpg.jpg sam_6703-jpg-jpg.jpg sam_6704-jpg-jpg.jpg sam_1377-jpg-jpg.jpg

     
  13. Somchai 2510

    Somchai 2510 Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กันยายน 2019
    โพสต์:
    1,740
    ค่าพลัง:
    +125
    รายการที่ 890 พระผงหลวงปู่ทวดรุ่นเเรกเเช่นํ้ามนต์หลวงปู่ท่อน ญาณธโร พระอรหันต์เจ้าวัดศรีอภัยวัน อ.เมือง จ.เลย หลวงปู่ท่อนเป็นศิษย์เอกหลวงปู่คำดี ปภาโส วัดถํ้าผาปู่ สร้างปี 2543 รุ่นนี้หลวงปู่เเช่นํ้ามนต์อฐิษฐานจิตตลอดไตรมาส 3 เดือน องค์นี้พิเศษมีพระธาตุผุดขึ้นเยอะมาพร้อมกล่องเดิมๆจากวัดหายากผมมีองค์เดียว หลังองค์พระเป็นยันต์ประจำตัวหลวงปู่ท่อน มีพระเกศาหลวงปู่มาบูชาเป็นมงคล ******บูชาที่ 555 บาทฟรีส่งems

    8%E0%B8%97%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%99-%E0%B8%8D%E0%B8%B2%E0%B8%93%E0%B8%98%E0%B9%82%E0%B8%A3-09a.jpg 8%E0%B8%97%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%99-%E0%B8%8D%E0%B8%B2%E0%B8%93%E0%B8%98%E0%B9%82%E0%B8%A3-10a.jpg
    8%E0%B8%97%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%99-%E0%B8%8D%E0%B8%B2%E0%B8%93%E0%B8%98%E0%B9%82%E0%B8%A3-12a.jpg 8%E0%B8%97%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%99-%E0%B8%8D%E0%B8%B2%E0%B8%93%E0%B8%98%E0%B9%82%E0%B8%A3-13a.jpg
    8%E0%B8%97%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%99-%E0%B8%8D%E0%B8%B2%E0%B8%93%E0%B8%98%E0%B9%82%E0%B8%A3-14a.jpg 8%E0%B8%97%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%99-%E0%B8%8D%E0%B8%B2%E0%B8%93%E0%B8%98%E0%B9%82%E0%B8%A3-15a.jpg
    8%E0%B8%97%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%99-%E0%B8%8D%E0%B8%B2%E0%B8%93%E0%B8%98%E0%B9%82%E0%B8%A3-16a.jpg 8%E0%B8%97%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%99-%E0%B8%8D%E0%B8%B2%E0%B8%93%E0%B8%98%E0%B9%82%E0%B8%A3-17a.jpg

    8%E0%B8%97%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%99-%E0%B8%8D%E0%B8%B2%E0%B8%93%E0%B8%98%E0%B9%82%E0%B8%A3-18a.jpg
    8%E0%B8%97%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%99-%E0%B8%8D%E0%B8%B2%E0%B8%93%E0%B8%98%E0%B9%82%E0%B8%A3-19a.jpg

    8%E0%B8%97%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%99-%E0%B8%8D%E0%B8%B2%E0%B8%93%E0%B8%98%E0%B9%82%E0%B8%A3-20a.jpg

    8%E0%B8%97%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%99-%E0%B8%8D%E0%B8%B2%E0%B8%93%E0%B8%98%E0%B9%82%E0%B8%A3-21a.jpg

    8%E0%B8%97%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%99-%E0%B8%8D%E0%B8%B2%E0%B8%93%E0%B8%98%E0%B9%82%E0%B8%A3-22a.jpg

    8%E0%B8%97%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%99-%E0%B8%8D%E0%B8%B2%E0%B8%93%E0%B8%98%E0%B9%82%E0%B8%A3-24a.jpg

    8%E0%B8%97%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%99-%E0%B8%8D%E0%B8%B2%E0%B8%93%E0%B8%98%E0%B9%82%E0%B8%A3-25a.jpg

    8%E0%B8%97%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%99-%E0%B8%8D%E0%B8%B2%E0%B8%93%E0%B8%98%E0%B9%82%E0%B8%A3-28a.jpg

    8%E0%B8%97%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%99-%E0%B8%8D%E0%B8%B2%E0%B8%93%E0%B8%98%E0%B9%82%E0%B8%A3-29a.jpg 8%E0%B8%97%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%99-%E0%B8%8D%E0%B8%B2%E0%B8%93%E0%B8%98%E0%B9%82%E0%B8%A3-30a.jpg
    8%E0%B8%97%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%99-%E0%B8%8D%E0%B8%B2%E0%B8%93%E0%B8%98%E0%B9%82%E0%B8%A3-31a.jpg 8%E0%B8%97%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%99-%E0%B8%8D%E0%B8%B2%E0%B8%93%E0%B8%98%E0%B9%82%E0%B8%A3-32a.jpg
    8%E0%B8%97%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%99-%E0%B8%8D%E0%B8%B2%E0%B8%93%E0%B8%98%E0%B9%82%E0%B8%A3-33a.jpg 8%E0%B8%97%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%99-%E0%B8%8D%E0%B8%B2%E0%B8%93%E0%B8%98%E0%B9%82%E0%B8%A3-34a.jpg
    8%E0%B8%97%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%99-%E0%B8%8D%E0%B8%B2%E0%B8%93%E0%B8%98%E0%B9%82%E0%B8%A3-80a.jpg 8%E0%B8%97%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%99-%E0%B8%8D%E0%B8%B2%E0%B8%93%E0%B8%98%E0%B9%82%E0%B8%A3-82a.jpg
    8%E0%B8%97%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%99-%E0%B8%8D%E0%B8%B2%E0%B8%93%E0%B8%98%E0%B9%82%E0%B8%A3-84a.jpg 8%E0%B8%97%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%99-%E0%B8%8D%E0%B8%B2%E0%B8%93%E0%B8%98%E0%B9%82%E0%B8%A3-85a.jpg
    8%E0%B8%97%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%99-%E0%B8%8D%E0%B8%B2%E0%B8%93%E0%B8%98%E0%B9%82%E0%B8%A3-87a.jpg 8%E0%B8%97%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%99-%E0%B8%8D%E0%B8%B2%E0%B8%93%E0%B8%98%E0%B9%82%E0%B8%A3-88a.jpg
    8%E0%B8%97%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%99-%E0%B8%8D%E0%B8%B2%E0%B8%93%E0%B8%98%E0%B9%82%E0%B8%A3-89a.jpg 8%E0%B8%97%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%99-%E0%B8%8D%E0%B8%B2%E0%B8%93%E0%B8%98%E0%B9%82%E0%B8%A3-79a.jpg
    8%E0%B8%97%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%99-%E0%B8%8D%E0%B8%B2%E0%B8%93%E0%B8%98%E0%B9%82%E0%B8%A3-90a.jpg 8%E0%B8%97%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%99-%E0%B8%8D%E0%B8%B2%E0%B8%93%E0%B8%98%E0%B9%82%E0%B8%A3-91a.jpg
    8%E0%B8%97%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%99-%E0%B8%8D%E0%B8%B2%E0%B8%93%E0%B8%98%E0%B9%82%E0%B8%A3-92a.jpg 8%E0%B8%97%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%99-%E0%B8%8D%E0%B8%B2%E0%B8%93%E0%B8%98%E0%B9%82%E0%B8%A3-78a.jpg
    SAM_7702.JPG SAM_7704.JPG SAM_7706.JPG SAM_7707.JPG SAM_7708.JPG SAM_7709.JPG SAM_7712.JPG SAM_7713.JPG SAM_7616.JPG 8%E0%B8%97%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%99-%E0%B8%8D%E0%B8%B2%E0%B8%93%E0%B8%98%E0%B9%82%E0%B8%A3-09a.jpg 8%E0%B8%97%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%99-%E0%B8%8D%E0%B8%B2%E0%B8%93%E0%B8%98%E0%B9%82%E0%B8%A3-10a.jpg 8%E0%B8%97%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%99-%E0%B8%8D%E0%B8%B2%E0%B8%93%E0%B8%98%E0%B9%82%E0%B8%A3-12a.jpg 8%E0%B8%97%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%99-%E0%B8%8D%E0%B8%B2%E0%B8%93%E0%B8%98%E0%B9%82%E0%B8%A3-13a.jpg 8%E0%B8%97%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%99-%E0%B8%8D%E0%B8%B2%E0%B8%93%E0%B8%98%E0%B9%82%E0%B8%A3-14a.jpg 8%E0%B8%97%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%99-%E0%B8%8D%E0%B8%B2%E0%B8%93%E0%B8%98%E0%B9%82%E0%B8%A3-15a.jpg 8%E0%B8%97%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%99-%E0%B8%8D%E0%B8%B2%E0%B8%93%E0%B8%98%E0%B9%82%E0%B8%A3-16a.jpg 8%E0%B8%97%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%99-%E0%B8%8D%E0%B8%B2%E0%B8%93%E0%B8%98%E0%B9%82%E0%B8%A3-17a.jpg 8%E0%B8%97%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%99-%E0%B8%8D%E0%B8%B2%E0%B8%93%E0%B8%98%E0%B9%82%E0%B8%A3-18a.jpg 8%E0%B8%97%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%99-%E0%B8%8D%E0%B8%B2%E0%B8%93%E0%B8%98%E0%B9%82%E0%B8%A3-19a.jpg 8%E0%B8%97%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%99-%E0%B8%8D%E0%B8%B2%E0%B8%93%E0%B8%98%E0%B9%82%E0%B8%A3-20a.jpg 8%E0%B8%97%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%99-%E0%B8%8D%E0%B8%B2%E0%B8%93%E0%B8%98%E0%B9%82%E0%B8%A3-21a.jpg 8%E0%B8%97%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%99-%E0%B8%8D%E0%B8%B2%E0%B8%93%E0%B8%98%E0%B9%82%E0%B8%A3-22a.jpg 8%E0%B8%97%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%99-%E0%B8%8D%E0%B8%B2%E0%B8%93%E0%B8%98%E0%B9%82%E0%B8%A3-24a.jpg 8%E0%B8%97%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%99-%E0%B8%8D%E0%B8%B2%E0%B8%93%E0%B8%98%E0%B9%82%E0%B8%A3-25a.jpg 8%E0%B8%97%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%99-%E0%B8%8D%E0%B8%B2%E0%B8%93%E0%B8%98%E0%B9%82%E0%B8%A3-28a.jpg 8%E0%B8%97%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%99-%E0%B8%8D%E0%B8%B2%E0%B8%93%E0%B8%98%E0%B9%82%E0%B8%A3-29a.jpg 8%E0%B8%97%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%99-%E0%B8%8D%E0%B8%B2%E0%B8%93%E0%B8%98%E0%B9%82%E0%B8%A3-30a.jpg 8%E0%B8%97%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%99-%E0%B8%8D%E0%B8%B2%E0%B8%93%E0%B8%98%E0%B9%82%E0%B8%A3-31a.jpg 8%E0%B8%97%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%99-%E0%B8%8D%E0%B8%B2%E0%B8%93%E0%B8%98%E0%B9%82%E0%B8%A3-32a.jpg 8%E0%B8%97%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%99-%E0%B8%8D%E0%B8%B2%E0%B8%93%E0%B8%98%E0%B9%82%E0%B8%A3-33a.jpg 8%E0%B8%97%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%99-%E0%B8%8D%E0%B8%B2%E0%B8%93%E0%B8%98%E0%B9%82%E0%B8%A3-34a.jpg 8%E0%B8%97%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%99-%E0%B8%8D%E0%B8%B2%E0%B8%93%E0%B8%98%E0%B9%82%E0%B8%A3-80a.jpg 8%E0%B8%97%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%99-%E0%B8%8D%E0%B8%B2%E0%B8%93%E0%B8%98%E0%B9%82%E0%B8%A3-82a.jpg 8%E0%B8%97%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%99-%E0%B8%8D%E0%B8%B2%E0%B8%93%E0%B8%98%E0%B9%82%E0%B8%A3-84a.jpg 8%E0%B8%97%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%99-%E0%B8%8D%E0%B8%B2%E0%B8%93%E0%B8%98%E0%B9%82%E0%B8%A3-85a.jpg 8%E0%B8%97%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%99-%E0%B8%8D%E0%B8%B2%E0%B8%93%E0%B8%98%E0%B9%82%E0%B8%A3-87a.jpg 8%E0%B8%97%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%99-%E0%B8%8D%E0%B8%B2%E0%B8%93%E0%B8%98%E0%B9%82%E0%B8%A3-88a.jpg 8%E0%B8%97%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%99-%E0%B8%8D%E0%B8%B2%E0%B8%93%E0%B8%98%E0%B9%82%E0%B8%A3-89a.jpg 8%E0%B8%97%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%99-%E0%B8%8D%E0%B8%B2%E0%B8%93%E0%B8%98%E0%B9%82%E0%B8%A3-79a.jpg 8%E0%B8%97%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%99-%E0%B8%8D%E0%B8%B2%E0%B8%93%E0%B8%98%E0%B9%82%E0%B8%A3-90a.jpg 8%E0%B8%97%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%99-%E0%B8%8D%E0%B8%B2%E0%B8%93%E0%B8%98%E0%B9%82%E0%B8%A3-91a.jpg 8%E0%B8%97%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%99-%E0%B8%8D%E0%B8%B2%E0%B8%93%E0%B8%98%E0%B9%82%E0%B8%A3-92a.jpg 8%E0%B8%97%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%99-%E0%B8%8D%E0%B8%B2%E0%B8%93%E0%B8%98%E0%B9%82%E0%B8%A3-78a.jpg
     
  14. Khun Kriang

    Khun Kriang สมาชิกใหม่

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 กุมภาพันธ์ 2019
    โพสต์:
    290
    ค่าพลัง:
    +4
    จองนะครับ
     
  15. sp-pol

    sp-pol เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    26 กรกฎาคม 2012
    โพสต์:
    1,280
    ค่าพลัง:
    +563
    บูชารายการ 887 และ 888 ครับ
     
  16. Somchai 2510

    Somchai 2510 Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กันยายน 2019
    โพสต์:
    1,740
    ค่าพลัง:
    +125
    รายการที่ 891 เหรียญเจิญพรบนหลวงปู่เคน เขมาสโย พระอรหันต์เจ้าวัดป่าหนองหว้า อ.สว่างเเดนดิน จ.สกลนคร เหรียญสร้างปี 2557 เนื้อทองเเดงรมมันปู มีตอกโค๊ตยันต์ นะ หน้าเหรียญ
    *******ประวัติโดยย่อพอสังเขปหลวงปู่เคน เขมาสโย
    วัดป่าบ้านหนองหว้า อ.สว่างแดนดิน สกลนคร
    ชีวประวัติและปฏิปทาหลวงปู่เคน เขมาสโย ท่านมีชาติกำเนิดในสกุล “นิ่งแนน” ถือกำเนิดเมื่อวันที่ ๗ กุมภาพันธ์ พ.ศ.๒๔๗๑ ตรงกับ วันจันทร์ แรม ๑๔ ค่ำ เดือน ๓ ณ บ้านนาเตียง ต.ตาลเนิ้ง อ.สว่างแดนดิน จ.สกลนคร เป็นบุตรของคุณพ่อไพ คุณแม่บับ ท่านเกิดได้ไม่นานแม่ก็เสียชีวิต น้าสาวเลยเอาท่านไปเลี้ยงเป็นลูก แล้วเปลี่ยนนามสกุลเป็น “ฤกษ์งาม”
    ในสมัยเด็ก ๆ องค์ท่าน มีจิตใจในทางเมตตา ใฝ่ใจใคร่รู้ในทางธรรมมาก และมีจิตเมตตา สงสารในสัตว์เล็ก สัตว์น้อย และมีชีวิตที่ไม่โลดโผนมากนัก ผิดกับวัยรุ่นวัยหนุ่ม ที่คะนองตามแบบหนุ่มบ้านนอกลูกทุ่งโดยทั่วไป ด้วยใจที่ใฝ่ในทางธรรม จึงออกปากขอโยมพ่อ โยมแม่ ขอออกบวช ก็เป็นที่น่ายินดีกับทุกคนที่ได้รับฟังเวลานั้น ช่วงนั้นเป็นเดือน ๑๑ เป็นช่วงเก็บเกี่ยวข้าว พอตอนเย็น ท่านกับเพื่อน ๆ ที่พร้อมจะบวชด้วยกันทั้ง ๔ คน ก็มาฝึกขานนาคกับหลวงปู่หอม ซึ่งเป็นศิษย์ของหลวงปู่พรหม จิรปุญฺโญ ที่วัดป่าสามัคคีบำเพ็ญผล บ้านนาเตียง
    ท่านอุปสมบทเมื่ออายุ ๒๓ ปี ณ สิมกลางน้ำ วัดป่าบ้านหนองดินดำ(ภายหลังเปลี่ยนเป็น วัดป่าคามวาสี) ต.ตาลโกน อ.สว่างแดนดิน จ.สกลนคร เมื่อวันที่ ๒๑ ธันวาคม พ.ศ.๒๔๙๓ ตรงกับวันขึ้น ๑๒ ค่ำ เดือนอ้าย ปีขาล โดยมีพระอธิการพุฒ ยโส (ภายหลังได้รับสมณศักดิ์ เป็นพระครูพุทธิวาคม) เป็นอุปัชฌาย์ หลวงปู่นนท์ โกวิโท เป็นพระกรรมวาจาจารย์ หลวงปู่หอม เป็นพระอนุสาวนาจารย์
    พระอาจารย์เคน ได้รับฉายาว่า "เขมาสโย" แปลว่า "ผู้ยินดีอาศัยในธรรม" ในการบวชครั้งนั้นได้มีการเข้าพิธีบรรพชาอุปสมบทพร้อมกัน ๔ นาค คือ
    ๑.นาคเคน ฤกษ์งาม หรือท่านพระอาจารย์เคน เขมาสโย
    ๒.นาคประสาร รำไพ หรือท่านพระอาจารย์ประสาร ปัญญาพโล
    ๓.นาคสมัย โสภาจาร หรือท่านพระอาจารย์สมัย ทีฆายุโก
    ๔.นาคชาลี โคตรสมบูรณ์ บวชเป็นสามเณร เพราะอายุยังไม่ถึง ต่อมาได้ลาสิกขาบท
    หลังจากท่านบวชแล้วก็ติดตามหลวงปู่นนท์ โกวิโท เที่ยวไปธุดงค์ที่ จ.นครพนม ได้ไปศึกษาธรรมอยู่กับหลวงปู่บุญมา มหายโส ที่วัดอรัญญิกาวาส อ.เมือง จ.นครพนม อยู่พักหนึ่ง
    ภายหลังหลวงพ่อวัน อุตตโม แห่งวัดถ้ำอภัยดำรงธรรม อ.ส่องดาว จ.สกลนคร ได้ฝากให้ท่านไปอยู่จำพรรษากับหลวงปู่คำ ยสกุลปุตโต เพื่อให้ท่านสอนวิปัสสนากรรมฐานในเบื้องต้นให้ ซึ่งขณะนั้นหลวงปู่คำ มีอายุ ๖๐ ปี ที่วัดศรีจำปาชนบท บ้านพังโคน อ.พังโคน จ.สกลนคร เป็นพรรษแรก คือปี พ.ศ.๒๔๙๔ หลวงปู่คำ ให้อาตมาฝึกนั่งสมาธิเจริญคำภาวนาว่า “พุทโธ” ด้วยการให้พิจารณาการหายใจเข้าหายใจออกอย่างสม่ำเสมอ และให้มีสติกำหนดรู้อยู่ในการหายใจ ฝึกอยู่ได้หนึ่งพรรษาจิตยังหยาบอยู่ จึงต้องตั้งสติอยู่ในความไม่ประมาทอยู่เสมอ
    จากนั้นจึงไปศึกษาธรรมอยู่กับท่านพระอาจารย์จันทร์ ไปอยู่บ้านนาเหมือง จ.สกลนคร ท่านพระอาจารย์จันทร์ ได้สอนการอ่านตัวธรรมที่จารอยู่ในใบลานต่าง ๆ ควบคู่ไปกับการฝึกจิตเจริญวิปัสสนากรรมฐาน จนจิตใจสงบดีขึ้นเป็นลำดับ ทำให้จิตใจไม่ฟุ้งซ่านเหมือนเมื่อก่อน จึงทำให้หูตาสว่างไสวไปอีกขั้นหนึ่ง คือมองอะไรก็เป็นธรรมดา จิตใจไม่ว้าวุ่นเป็นสมาธิดี ท่านพระอาจารย์เคนอยู่อบรมธรรมกับพระอาจารย์จันทร์อยู่ ๓ พรรษา คือปี พ.ศ.๒๔๙๕ ถึงปี พ.ศ.๒๔๙๗ จากนั้นก็ไปจำพรรษาที่วัดโนนแสนคำ บ้านทุ่งคำ อ.เจริญศิลป์ จ.สกลนคร ณ ที่นี้ ก็เป็นสัปปายะดี คือเป็นสถานที่ดี มีความสงบสงัด เป็นที่ถูกใจ เหมาะแก่การภาวนาปฏิบัติธรรมเป็นอย่างยิ่ง ท่านอยู่จำพรรษาที่นี่ ๑ พรรษ คือปี พ.ศ.๒๔๙๘
    จากนั้นจึงมาอยู่ศึกษาธรรมกับหลวงปู่หอม ซึ่งเป็นศิษย์ของหลวงปู่พรหม จิรปุญฺโญ ที่วัดป่าสามัคคีบำเพ็ญผล บ้านนาเตียง อ.สว่างแดนดิน จ.สกลนคร ๔ พรรษา คือ ปี พ.ศ. ๒๔๙๙ ถึงปี พ.ศ.๒๕๐๒ จากนั้นท่านทราบข่าวว่าหลวงปู่อ่อน ญาณสิริ เป็นลูกศิษย์รูปหนึ่งของหลวงปู่มั่น ภูริทัตโต เป็นพระที่มีปฏิปทาที่น่าเลื่อมใส จึงได้เดินทางไปฝากตัวเป็นศิษย์ศึกษาอบรมธรรมอยู่กับหลวงปู่อ่อน ญาณสิริ ที่วัดป่านิโครธาราม บ้านหนองบัวบาน อ.หนองวัวซอ จ.อุดรธานี อีก ๑ พรรษา คือปี พ.ศ. ๒๕๐๓ หลวงปู่อ่อน ได้อบรมสั่งสอนในเรื่องทางการฝึกจิต ความเจริญทางจิตใจนั้น เราจะปล่อยไปเองตามธรรมชาติไม่ได้ เพราะใจจะไหลลงต่ำ ไม่ดีงาม เราต้องรู้จักควบคุมบังคับ ฝืนไม่ให้อาหารในทางเสื่อม ไม่อย่างนั้นจิตใจจะไม่เจริญก้าวหน้า ท่านสอนให้ยึดคำบริกรรม “พุทโธ” เป็นหลัก เพราะไม่มีคำบริกรรมอย่างใดจะดีเท่าการสรรเสริญพระพุทธเจ้า
    หลวงปู่อ่อน ญาณสิริ อบรมเรื่องการอยู่ป่าเป็นวัตร เมื่อไปอยู่ป่าแล้ว อย่าไปยึดป่า อย่ามีอุปาทานในป่า เรามีนี่เพื่อทำปัญญาให้เกิด ถ้ายังไม่มีปัญญา ก็จะเห็นว่า รูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ ธรรมารมณ์นั้น เป็นปฏิปักษ์กับเรา เป็นข้าศึกกับเรา ถ้าปัญญาดีแล้ว รูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ ธรรมารมณ์นั้น ไม่ใช่ข้าศึก แต่เป็นสภาวะที่ให้ความรู้ความเห็นแก่เราอย่างแจ้งชัด เมื่อสามารถกลับความเห็นอย่างนี้ แสดงว่าปัญญาได้เกิดขึ้นแล้ว เมื่อท่านพระอาจารย์เคน รับการอบรมจากหลวงปู่อ่อนแล้ว ก็ได้กราบลา แล้วธุดงค์ไปที่ดงหม้อทอง แล้วไปอยู่ตามเขาตามถ้ำต่าง ๆ ที่ อ.บ้านผือ
    สมัยนั้นยังมีป่าไม้ให้ร่มเย็น สมัยที่องค์ท่านออกเดินธุดงค์ ไม่ต้องกล่าวถึงความสะดวกสบายในการเดินทาง เรียกว่า มีแต่ป่ากับป่า ท่านเล่าว่าสิงสาราสัตว์ อย่างเสือ กวาง เก้ง แม้ช้างป่า มากมายจริง ๆ แต่ก็ไม่ทำให้องค์ท่านท้อในการเดินทางเข้าหาพ่อแม่ครูอาจารย์ การไปอยู่ ณ ที่ใด ก็ได้พิจารณายึดเอาคำสอนของครูบาอาจารย์ทั้งหลาย ที่ท่านได้แนะนำให้ไปปฏิบัติตามครรลองของพระพุทธศาสนา การบิณฑบาตในสมัยนั้นก็ได้แต่ข้าวเหนียว ไม่มีกับข้าว อดบ้างอิ่มบ้างก็อดทนอดกลั้น แม้จะพบความยากลำบาก ก็ไม่กังวลกับสิ่งใดใด
    ท่านพระอาจารย์เคน เขมาสโย ได้ธุดงค์ข้ามไปฝั่งลาว ขึ้นไปธุดงค์อยู่รุกขมูลตามร่มไม้ เพิงหิน โถงถ้ำที่ภูเขาควาย ประเทศลาว ที่ภูเขาควายนี้เป็นที่มีอาถรรพณ์ และศักดิ์สิทธิ์ เต็มไปด้วยภูตผีวิญญาณร้าย พระธุดงค์มากมายเอาชีวิตมาทิ้งไว้ที่นี่เป็นจำนวนมาก ท่านเล่าว่า ที่ภูเขาควายนี้เป็นภูเขาที่สูงมากของฝั่งลาว สูงกว่าดอยสุเทพเสียอีก เป็นภูเขาที่น่ากลัวจริง ๆ เพราะเป็นป่าทึบดงดิบหนา มีสัตว์ป่ามากมาย เช่นช้าง เสือ หมี งู และสัตว์มีพิษอื่น ๆ อยู่มาก ที่สำคัญอากาศบนยอดเขาภูเขาควายหนาวเย็นมาก ถ้ามองรอบตัวจะไม่เห็นอะไรเลย เพราะป่ามันทึบมาก
    เวลาขึ้นเขาไปต้องค่อย ๆ มีสติเหยียบก้อนหินขึ้นไปทีละก้อนอย่างเชื่องช้า เพราะหินบางก้อนลื่นมาก เขาก็สูงชันมาก กลัวจะพลาดตกลงไป ทั้งบนบ่าก็แบกกลด แบกบาตรอัฐบริขารหนักมาก ท่านนึกถึงตนเองสมัยนั้นก็น่าสงสารตนเองยิ่งนัก แต่เราเป็นพระที่ขึ้นชื่อว่าเสียสละในทุกสิ่งทุกอย่างก็เลยปลงได้ เพราะถือว่าครูบาอาจารย์ก็เคยลำบากมาก่อนแล้ว ท่านจึงได้ดีมีอรรถมีธรรม ครูบาอาจารย์ที่เคยมาเยือนที่ภูเขาควายแห่งนี้ในสมัยก่อน ได้แก่ หลวงปู่เสาร์ กันตสีโล หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต หลวงปู่แหวน สุจิณโณ หลวงปู่เครื่อง ธัมมธโร หลวงปู่ขาว อนาลโย และพระอาจารย์ของท่านคือ หลวงปู่อ่อน ญาณสิริ ท่านพระอาจารย์วัน อุตตโม ก็เคยมาเยือนที่ภูเขาควายเพื่อบำเพ็ญสมณธรรม ณ สถานที่ศักดิ์สิทธิ์แห่งนี้แล้วทั้งนั้น
    เมื่อขึ้นมาถึงยอดเขา ท่านพระอาจารย์เคน ได้เห็นตาผ้าขาว กำลังกวาดใบไม้อยู่บนพลาญหิน จึงรู้สึกดีใจว่าบนยอดภูเขาควายนี้ ก็มีผู้มาบำเพ็ญสมณธรรมเช่นกัน ท่านจึงรีบเดินตรงเข้าไปหาหวังพูดคุยเจรจาด้วย เพราะไม่ได้พูดคุยกับใครมานานแล้ว แต่พอไปถึงที่นั้นกลับไม่พบใคร มีแต่ความว่างเปล่า หรือจะเป็นเทพเทวดาอารักษ์รักษาป่าก็เกินจะคาดเดาได้ คืนนั้นท่านพระอาจารย์เคน พักอยู่ในถ้ำแห่งหนึ่ง ถ้ำที่ท่านไปอยู่ก็มีโครงกระดูก ไม่ทราบเป็นของพระธุดงค์หรือของโยมชาวบ้านที่มาล่าสัตว์ คงจะมาพักแล้วโดนงูกันตายก็เป็นได้ เพราะมีสิ่งของบางอย่างวางทิ้งไว้เช่นกาน้ำ การมาอยู่ที่ภูเขาควายก็ได้ความสงบสงัด ความวิเวกดี ได้ความก้าวหน้าในสมาธิตามลำดับ ท่านได้เที่ยวไปที่ต่าง ๆ ในเขตฝั่งลาวอยู่ถึง ๒ พรรษา คือปี พ.ศ.๒๕๐๔ ถึงปี พ.ศ.๒๕๐๕
    ในช่วงนั้นเกิดความไม่สงบของบ้านเมืองในประเทศลาว ชาวบ้านจึงให้ความเห็นให้ท่านเดินทางกลับมาฝั่งไทยจะดีกว่า ท่านธุดงค์ข้ามมาทางบึงกาฬ-ปากคาด-โซ่พิสัย เรื่อยมาทางคำตะกล้า-บ้านม่วง ผ่านวานรนิวาส จนมาถึงสว่างแดนดิน ท่านพระอาจารย์เคน เขมสโย ได้มาวิเวกมาบำเพ็ญสมณธรรมอยู่ที่บ้านหนองหว้าครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ.๒๕๐๕ บริเวณด้านหลังกุฏิไม้(หลังเก่า)ขององค์ท่าน ท่านว่าหลวงตามหาบัว ญาณสัมปันโน เคยมาปักกลดอยู่ที่นี่ เมื่อก่อนแถบนี้เป็นป่ารกชัฏ แล้วก็ยังมีเสืออยู่ แต่ปัจจุบันก็เป็นอย่างที่เห็น กลายเป็นไร่นาของชาวบ้านหมดแล้ว สมัยที่ท่านพระอาจารย์เคน มาวิเวกอยู่ที่นี่ครั้งแรก มีชายรูปร่างสูงใหญ่ เป็นคนโบราณ ตัวดำทมึน เดินเข้ามาหา บอกว่าตามมาดูแลรักษา มิให้เกิดอันตรายใดใดทั้งสิ้น ขอให้ปฏิบัติธรรมไปด้วยความสบายใจ เขาบอกว่าเขาตามมาจากฝั่งลาว จะมาขออยู่ด้วยตลอดไป ท่านพระอาจารย์เคน ก็ไม่ได้ว่าอะไร
    จากนั้นท่านพระอาจารย์เคน ได้เข้าไปศึกษาอบรมธรรมอยู่กับท่านพระอาจารย์วัน อุตตโม ที่ถ้ำพวง ภูผาเหล็ก อ.ส่องดาว จ.สกลนคร ท่านพระอาจารย์วัน เป็นพระที่มีเมตตาธรรมมาก เป็นพระปฏิบัติดีเคร่งครัดพระธรรมวินัยรูปหนึ่ง มีลูกศิษย์ลูกหามากมาย ท่านพระอาจารย์วัน นับเป็นอาจารย์ใหญ่ของท่านพระอาจารย์เคน ที่ท่านมีแต่ให้มาตลอด ข้อธรรมที่ไม่รู้ ท่านก็สอนให้รู้โดยไม่ปิดบังแต่อย่างใด ท่านสอนให้พิจารณษสังขารร่างกายนั้นเป็นของไม่เที่ยงเป็นทุกข์ อย่าไปยึดติดในสิ่งที่อยู่นอกกาย เช่น เนื้อหนังมังสาที่สวยงาม ล้วนแต่เป็นอนิจจังเป็นของไม่เที่ยงแท้ทั้งนั้น
    ในช่วงปี พ.ศ.๒๕๐๖ ท่านได้มากลับมาอยู่กับหลวงปู่อ่อน ญาณสิริ ที่วัดป่านิโครธาราม บ้านหนองบัวบาน อ.หนองวัวซอ จ.อุดรธานี มีโยมอุบาสกคนหนึ่งชื่อ “จันทร์เรียน” ได้มาฝึกขานนาคด้วย มีท่านพระอาจารย์เคน และท่านพระอาจารย์สมัย ทีฆายุโก ช่วยกันสอนการออกเสียงอักขระ การขานนาคให้กับท่านจันทร์เรียน ท่านพระอาจารย์เคน จึงถือได้ว่าเป็นพระอาจารย์ และเมื่อครั้งท่านอาจารย์จันทร์เรียน อุปสมบทที่วัดโพธิสมภรณ์ ท่านพระอาจารย์เคน ก็ได้เป็นพระกรรมวาจาจารย์ของท่านพระอาจารย์จันทร์เรียน คุณวโร แห่งวัดถ้ำสหาย อีกด้วย
    จากนั้นท่านพระอาจารย์เคน ได้กลับไปวิเวกอยู่ที่ป่าช้า บ้านหนองหว้าอีกครั้งนึง แล้วจึงได้อยู่โปรดญาติโยม จนได้สร้างเป็นวัดป่าหนองหว้า ได้อยู่จำพรรษาตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา
    ในช่วงปี พ.ศ.๒๕๔๖ หลวงปู่เคน เขมาสโย ท่านไปจำพรรษาที่วัดถ้ำสหายกับหลวงพ่อจันทร์เรียน คุณวโร เนื่องจากหลวงปู่เคนท่านอาพาธ หลวงพ่อจันทร์เรียนเลยอาราธนานิมนต์ท่านไปอยู่ด้วย ท่านเล่าว่าสมัยอยู่วัดป่านิโครธาราม ญาติโยมเอาหลวงพ่อจันทร์เรียนไปฝากท่านให้สอนขานนาคเนื่องจากหลวงปู่อ่อน ญาณสิริไม่อยู่ เพราะหลวงปู่อ่อนไปทำธุระที่กรุงเทพ ฯ ที่แรกท่านว่าจะไม่รับ รอหลวงปู่อ่อนกลับมาค่อยเอามาฝากหลวงปู่อ่อนใหม่ ญาติโยมไม่ยอม จำเป็นท่านเลยรับไว้ และก็สอนขานนาคให้ หลวงพ่อจันทร์เรียน นึกถึงบุญคุณครูบาอาจารย์สมัยหลวงปู่เคน ท่านเคยสอนนาค และอยู่อบรมธรรมด้วยกันมาเสมอ
    หลวงปู่เคน เขมาสโย มีเพื่อนสหธรรมิกที่สนิทสนมกันมาตั้งแต่เป็นเด็ก คือ
    ๑.หลวงปู่ประสาร ปัญญาพโล วัดคามวาสี บ้านหนองดินดำ ต.ตาลโกน อ.สว่างแดนดิน จ.สกลนคร
    ท่านมรณภาพแล้ว เมื่อวันพุธที่ ๓๑ ธันวาคม ๒๕๕๑
    ๒.หลวงปู่สมัย ทีฆายุโก วัดป่าโนนแสงทอง ต.แวง อ.สว่างแดนดิน จ.สกลนคร
    ท่านมรณภาพแล้ว เมื่อวันพฤหัสบดีที่ ๗ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๑
    ๓.หลวงปู่เกิ่ง วิทิโต วัดป่าสามัคคีบำเพ็ญผล บ้านนาเตียง ต.ตาลเนิ้ง อ.สว่างแดนดิน จ.สกลนคร
    ท่านมรณภาพแล้ว วันที่ ๒๘ พฤศจิกายน ๒๕๔๖
    หลวงปู่เคน เขมาสโย ท่านเป็นพระที่มีเมตตาธรรมสูง อารมณ์ดี เยือกเย็นเสมอ พร้อมให้การสังเคราะห์ต่อศรัทธาญาติโยม ท่านมีอัธยาศัยเป็นพระที่ไม่ค่อยเก่งในการปฏิสัณฐานกับศรัทธาญาติโยมมากนัก เรียกว่าไม่ค่อยพูด นอกเสียจากว่านาน ๆ ครั้งองค์ท่านก็มีเมตตาสอนให้ข้อคิดคติธรรมบ้าง ในลักษณะคำสอนสั้น ๆ แต่ก็ถึงใจกับลูกศิษย์ลูกหา เมื่อได้น้อมใจที่พยายามเข้าใจในธรรมที่องค์ท่านเมตตาสอน ทั้งผิวพรรณขององค์ท่านก็สดใส ขาวผ่อง สมกับความเป็นพระอริยเจ้าผู้มีคุณธรรมขั้นสูง หลวงพ่อจันทร์เรียน คุณวโร ศิษย์ผู้มีความผูกพันกับหลวงปู่เคน เคยกล่าวไว้ว่า "พระผู้เฒ่าไม่ต้องห่วงแล้ว ท่านสบายแล้ว”
    หลวงปู่เคน เขมาสโย ท่านได้เข้ารับการรักษาตัวที่โรงพยาบาลสมเด็จยุพราชสว่างแดนดิน เนื่องจากลื่นหกล้มที่กุฏิ ในช่วงก่อนวันคล้ายวันเกิดในวันที่ ๗ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗ ซึ่งทำให้สะโพกท่านหัก ภายหลังจึงได้นำตัวท่านส่งไปโรงพยาบาลสกลนคร และได้ละสังขารเข้าอนุปาิเสสนิพพานลงด้วยสาเหตุไตวาย เมื่อวันศุกร์ที่ ๑๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗ เวลา ๐๘.๔๕ นาฬิกา ซึ่งตรงกับวันมาฆบูชา สิริรวมอายุ ๘๖ ปี ๗ วัน พรรษา ๖๓
    6418_n-jpg-_nc_cat-102-_nc_sid-2d5d41-_nc_ohc-laes_fxmx4ax80hvwd-_nc_ht-scontent-fkkc2-1-jpg-jpg.jpg
    sam_3035-jpg-jpg.jpg sam_7134-jpg-jpg.jpg sam_7135-jpg-jpg.jpg sam_1808-jpg-jpg.jpg
    >>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>มีพระเกศาหลวงปู่มาบูชาเป็นมงคล ************บูชาที่ 195 บาทฟรีส่งems
     
  17. Somchai 2510

    Somchai 2510 Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กันยายน 2019
    โพสต์:
    1,740
    ค่าพลัง:
    +125
    รายการที่ 892
    เหรียญกลมรุ่นสมปรารถนาหลวงปู่บุญฤทธิ์ ปัณฑิโต พระอรหันต์เจ้าวัดสวนทิพย์ (ซอยวัดกู้) อ.ปากเกร็ด จ,นนทบุรี หลวงปู่บุญฤทธิ์เป็นศิษย์เอกของหลวงปู่ชอบ ฐานสโม วัดป่าสัมมานุสรณ์ เนื้อทองฝาบาตร มีตอกโค๊ต คำว่า จิต หลังเหรียญ >>>>>ประวัติย่อๆพอสังเขปหลวงปู่บุญฤทธิ์
    หลวงปู่บุญฤทธิ์ มีนามเดิมว่า บุญฤทธิ์ จันทรสมบูรณ์ เป็นบุตรชายของหลวงพินิจจินเภท กับ คุณแส จันทรสมบูรณ์ ท่านเกิดในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 1 เดือนกุมภาพันธ์ ปี 2458 ที่บ้านท่าอิฐ ต.ท่าอิฐ อ.พิชัยดาบหัก จ.อุตรดิตถ์ ในวัยเยาว์ มารดาเป็นผู้มีความศรัทธาในพุทธศาสนา รวมถึงเคยเข้ารับการอบรมในวัง จึงถ่ายทอดลักษณะนิสัย ระเบียบชีวิต แนวคิดต่างๆ ให้หลวงปู่ สอนให้หลวงปู่สวดมนต์ไหว้พระ อ่านหนังสือธรรมะจนติดเป็นนิสัย

    160202-3-2-jpg-jpg.jpg

    ในอดีตท่านเป็นนักศึกษาปริญญาจากต่างประเทศ เป็นข้าราชการหนุ่มอนาคตสดใส ครั้งอายุ 10-11 ปี ถูกส่งตัวเข้ามาเรียนที่โรงเรียนเซ็นคาเบรียล กรุงเทพฯ รุ่นที่ 1 อาศัยอยู่กับคุณพระโสภณเพชรรัตน์ จนจบม.8 ภาษาฝรั่งเศส หลวงปู่บุญฤทธิ์ เคยได้รับรางวัลประกวดเรียงความชนะเลิศจาก จอมพล ป.พิบูลย์สงคราม ซึ่งเป็น รมต.กลาโหมสมัยนั้น จากนั้นได้สอบชิงทุน (กพ.) ได้ไปศึกษาต่อที่ฮานอย ประเทศเวียดนาม พ.ศ. ๒๔๗๕ กลับจากเวียดนามรับราชการที่หอสมุดแห่งชาติ กระทรวงมหาดไทย และภายหลังเป็นทูตที่พระตะบอง

    44521372_2427482870612125_1041978200088903680_n-jpg-jpg.jpg
    แต่ด้วยความเลื่อมใสปฏิปทาพระป่าสายหลวงปู่มั่น ภูริทตฺโต ท่านจึงลาออกจากราชการแล้วออกบวช โดยบรรพชาอุปสมบทในปี 2489 ที่วัดศรีเมือง จ.หนองคาย และปฏิบัติธรรม ออกธุดงค์อยู่ตามป่าตามเขาโดยตลอด จนกลายเป็นศิษย์ของ หลวงปู่ชอบ ฐานสโม และจำพรรษาด้วยกัน อุปัฏฐากรับใช้หลวงปู่ชอบอยู่หลายเดือน จากนั้น หลวงปู่บุญฤทธิ์ ได้เป็นพระธรรมทูต เดินทางไปเผยแผ่พระพุทธศาสนาในต่างประเทศกว่า 30 ปี เช่น เม็กซิโก สวีเดน สวิตเซอร์แลนด์ จีน เยอรมัน สหรัฐอเมริกา ออสเตรเลีย ซึ่งหลวงปู่พูดได้ถึง 6 ภาษา กระทั่งจำพรรษาที่สำนักปฏิบัติธรรมสวนทิพย์ อ.ปากเกร็ด จ.นนทบุรี ก่อนมีอาการอาพาธ ต้องรักษาตัวอย่างต่อเนื่อง และได้ละสังขารเมื่อวันที่ 14 พ.ย. เวลา 22.22 น. ที่โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย สิริอายุ 104 ปี
    “หลวงปู่บุญฤทธิ์ ปัณฑิโต” ละสังขารเข้าอนุปาทิเสสนิพพาน ปี2561 สิริอายุ 104 ปี
    เปิดคำสอนสุดท้ายของ “หลวงปู่บุญฤทธิ์” ทุกสิ่งล้วนมีสังขาร >>>>>>>>>>>>
    มีพระเกศาหลวงปู่มาบูชาด้วยครับ *********บูชาที่ 455 บาทฟรีส่งems เปิดดูไฟล์ 5456464 sam_7255-jpg.jpg sam_1439-jpg.jpg SAM_7717.JPG SAM_7718.JPG SAM_7719.JPG

     
  18. Somchai 2510

    Somchai 2510 Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กันยายน 2019
    โพสต์:
    1,740
    ค่าพลัง:
    +125
    รายการที่ 893 พระผงสมเด็จพิมพ์ใหญ่เนื้ออังคารธาตุหลวงปู่ผ่าน ปัญญาปทีโป พระอรหันต์เจ้าวัดป่าประทีปปุญญาราม อ.อากาศอำนวย จ.สกลนคร หลวงปู่ผ่านเป็นศิษย์หลวงปู่มั่นยุคสุดท้าย
    showimage-jpg-jpg-jpg-jpg-jpg-jpg.jpg

    ประวัติพอสังเขป "หลวงปู่ผ่าน ปัญญาปทีโป" อดีตเจ้าอาวาสวัดป่าปทีปปุญญาราม บ้านเซือม ต.โพนแพง อ.อากาศอำนวย จ.สกลนคร พระป่าสายกรรมฐานชื่อดัง สายหลวงปู่มั่น ภูริทัตโต ศิษย์รุ่นสุดท้าย เป็นพระป่านักปฏิบัติกรรมฐานอีกรูปหนึ่ง ที่มีศีลาจารวัตรที่งดงามน่าเลื่อมใสศรัทธา เป็นศิษย์หลวงปู่มั่น
    ท่านบวชเข้าธรรมยุตนิกายเมื่อ ๑๙ มกราคม พ.ศ. ๒๔๙๐ ตรงกับวันขึ้น ๑๓ ค่ำ เดือนยี่ ปีจอ โดยมี พระครูพิทักษ์คณานุการ (หลวงปู่สี ธัมมทินโน) เป็นพระอุปัชฌาย์ และ พระสมุห์ภา เป็นพระกรรมวาจาจารย์ สำเร็จเมื่อเวลา ๑๓.๕๒ น. ท่านได้รับนามฉายาว่า “ปัญญาปทีโป” แปลว่า ผู้มีปัญญาดุจแสงสว่างแห่งดวงประทีป (ดวงไฟ) จากนั้นท่านก็ได้กลับมาอยู่กับหลวงปู่อุ่น อุตฺตโม ที่วัดอุดมรัตนาราม จนกระทั่งเข้าพรรษา และได้เข้าไปฝากตัวเป็นศิษย์หลวงปู่มั่นตั้งแต่บวชได้พรรษาแรก ได้อยู่อุปปัฐากหลวงปู่มั่น ในครั้งนั้นมีพระเณรพำนักจำพรรษากับหลวงปู่มั่น ประมาณ ๒๐ รูป อาทิเช่น พระอาจารย์มหาบัว ญาณสัมปันโน, พระอาจารย์วัน อุตฺตโม, พระอาจารย์อ่อนสา สุขกาโร วัดประชาชุมพลพัฒนาราม จังหวัดอุดรธานี, พระอาจารย์หลุย จันทสาโร, พระอาจารย์คำพอง ติสฺโส, พระอาจารย์หล้า เขมปัตโต, สามเณรบุญเพ็ง จันใด (หลวงปู่บุญเพ็ง เขมาภิรโต) เป็นต้น

    ท่านมรณภาพเมื่อ วันที่ ๒๔ ม.ค. ๒๕๕๔ เวลาประมาณเที่ยงคืนครึ่ง หลวงปู่ได้ละสังขารด้วยอาการอันสงบ สิริรวมอายุได้ ๘๙ ปี พรรษา ๖๔ >>>>>>>>มีพระเกศาหลวงปู่มาบูชาด้วยครับ (หายากไม่ค่อยเจอครับ พระองค์นี้ด้านหน้าองค์พระเคลือบเเสล็กไว้ครับผม)*********บูชาที่ 415 บาทฟรีส่งems
    sam_0517-jpg-jpg.jpg sam_6978-jpg-jpg.jpg sam_6979-jpg-jpg.jpg sam_1986-jpg-jpg.jpg
     
  19. Somchai 2510

    Somchai 2510 Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กันยายน 2019
    โพสต์:
    1,740
    ค่าพลัง:
    +125
    รายการที่ 894
    รูปหล่อเหมือนลอยองค์รุ่นเมตตามหาลาภครูบาชัยวงศาพัฒนา พระโพธิสัตว์โต เเห่งวัดพระพุทธบาทห้วยต้ม อ.ลี้ จ.ลำพูน หลวงปู่ครูบาวงศาเป็นศิษย์หลวงปู่ครูบาพรหมมา วัดพระพุทธบาทตากผ้า องค์พระสร้างปี 2535 เนื้อโลหะรมดำ ใต้ฐานบรรจุพระธาตุข้าวบิณฑ์พระพุทธเจ้า มาพร้อมกล่องเดิม มีพระเกศา,พระธาตุข้าวบิณฑ์,จีวร,สำลีเช็ดนํ้า,ฝ้ายสายสิญจ์เสก มาบูชาเป็นมงคลด้วยครับ *********บูชาที่ 495 บาทฟรีส่งems sam_9152-jpg.jpg sam_2070-jpg.jpg sam_2071-jpg.jpg sam_2072-jpg.jpg sam_2073-jpg.jpg sam_1900-jpg.jpg sam_7298-jpg.jpg

     
  20. Somchai 2510

    Somchai 2510 Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กันยายน 2019
    โพสต์:
    1,740
    ค่าพลัง:
    +125
    รายการที่ 895 รูปหล่อเหมือนลอยองค์หลวงปู่เหลือง ฉนฺทาคโม พระอรหันต์เจ้าวัดกระดึงทอง ต.บ้านด่าน อ.บ้านด่าน จ.บุรีรัมย์ หลวงปู่เป็นศิษย์หลวงปู่ดุล อตุโล รูปหล่อเหมือนสร้างปี 2554 เนื้อโลหะผสมรมดำ สร้างเนื่ององค์หลวงปู่อายุครบ 84 ปี มีตอกโค๊ต 3 โค๊ต โค๊ตตัวเลข 4263 เเละโค๊ต อักษร ล ใต้องค์พระ เเละโค๊ตตัวเลข 54 หลังองค์พระ มาพร้อมกล่องเดิม พระดีที่ควรกราบไหว้รูปหนึ่งในเวลานี้คือ หลวงปู่เหลือง ฉนฺทาคโม หรือ พระราชปัญญาวิสารัท เจ้าอาวาสวัดกระดึงทอง ต.บ้านด่าน อ.บ้านด่าน จ.บุรีรัมย์ ที่ปรึกษาเจ้าคณะจังหวัดบุรีรัมย์ (ธรรมยุต).>>>>>>มีพระเกศาหลวงปู่มาบูชาเป็นมงคล ****** บูชาที่ 375 บาทฟรีส่งems
    .........ประวัติย่อพอสังเขปหลวงปู่เหลือง ฉันทาคโม ท่านเป็นศิษย์อาวุโสรูปหนึ่งของ หลวงปู่ดูลย์ อตุโล วัดบูรพาราม จ.สุรินทร์ หลวงปู่ฝั้น อาจาโร วัดถ้ำขาม จ.สกลนคร และพระอริยเวที (เขียน ฐิตสีโล) วัดรังสีปาลิวัน จ.กาฬสินธุ์ หลวงปู่เหลืองมีนามเดิมว่า เหลือง ทรงแก้ว ท่านเกิดในยามใกล้รุ่งของวันอังคารที่ 1 พ.ค. ปี พ.ศ. 2470 ที่บ้านนาตรัง หมู่ที่ 2 ต.เขวาสินรินทร์ อ.เมือง จ.สุรินทร์ เป็นบุตรคนที่ 6 ในครอบครัวของนายเที่ยง ทรงแก้ว และนางเบียน ทองเชิด หลังเรียนจบชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ขณะอายุได้ 15 ปี แล้วออกจาริกเดินตามหลังพระพี่ชายไปตอนอายุ 16 ปี หลังจากนั้นชีวิตของหลวงปู่เหลืองก็ไม่เหมือนเดิมอีกต่อไป ด.ช.เหลือง ออกจากบ้านเดินตาม พระครูสมุห์ฉัตร ธมฺมปาโล และพระอาจารย์สมุห์เสร็จ ญาณวุฑโฒ 2 ภิกษุศิษย์หลวงปู่สิงห์ ขนฺตยาคโม ผู้ซึ่งได้ชื่อว่าเป็น “มือขวา” ของหลวงปู่มั่น ภูริทัตโต ไปใน พ.ศ. 2486 จากสุรินทร์ไปถึงนครราชสีมา ไปฉะเชิงเทรา ชลบุรี จันทบุรี ระยอง
    ด้วยอายุเพียงเท่านั้นแต่ท่านมีบุญได้พบครูบาอาจารย์แล้วหลายรูป อาทิ หลวงปู่ดูลย์ อตุโล พระผู้สรุปอริยสัจ 4 จากการปฏิบัติไว้ชนิดคนสามัญขนานนามท่านว่า เจ้าแห่งจิต ท่านพ่อลี ธมฺมธโร แห่งวัดป่าคลองกุ้ง ฯลฯ รวมทั้งได้มอบกายถวายใจเป็นศิษย์ หลวงปู่ฝั้น อาจาโร ท่านเล่าถึงวันคืนในอดีตครั้งไปกราบท่านพ่อลีที่วัดป่าคลองกุ้งว่า “ตอนนั้นวัดป่าคลองกุ้งยังเป็นป่าอยู่ ต้นไม้ใหญ่ๆ มีศาลทำบุญไม้หนึ่งหลังและกุฏิกรรมฐานเล็กๆ ตั้งอยู่ตามโคนต้นไม้ เงียบสงัด พระฉันแล้วก็เข้ากรรมฐานหมด ไม่เพ่นพ่านรุ่งเรืองเหมือนสมัยนี้ ไปพักอยู่กับท่าน 1 เดือน ...บอกกับท่านว่าจะขอธุดงค์ต่อไปทางบ่อไพลิน เข้าสู่แดนเขมร ท่านพ่อลีก็ห้าม ตอนนั้นปลายสงครามโลก เหตุการณ์ยังไม่ปกติ เกรงจะเป็นอันตราย แต่พระอาจารย์ฉัตรพี่ชายก็จะขอไปให้ได้ก็ต้องยอมผ่อนผันให้ไป ท่านพ่อลีเมตตาอาตมามากเพราะยังเป็นเด็ก กลัวจะลำบาก ท่านเลยบอกว่า จะให้คาถากันตัว สั่งให้ท่องไว้ตลอดเวลา ไม่ต้องกลัวเสือช้างอะไรทั้งสิ้น
    คาถาของท่านยังจำได้จนถึงบัดนี้ว่า นะบัง โมบัง พุทโธบังหน้า ธัมโมบังหลัง”
    สภาพบ้านเมืองในเวลานั้นช่างต่างจากเวลานี้นัก
    ท่านว่าใช้เวลาเดิน 3 คืนบุกป่าฝ่าดงจากจันทบุรีถึงทะลุถึงบ่อไพลิน ตามรายทางนั้น “เห็นพลอยเกลื่อนกลาด แต่ไม่ได้เก็บเพราะอาจารย์ฉัตรท่านว่า เรามาธุดงค์แสวงบุญไม่ได้มาหาเพชรพลอย”
    การธุดงค์จบลงด้วยการย้อนกลับมาที่ วัดป่าศรัทธารวม จ.นครราชสีมา
    ณ พ.ศ.นั้น หลวงปู่ฝั้น อาจาโร กำลังเป็นสดมภ์หลักในการบุกเบิกขยายวงพระกรรมฐานโดยใช้ จ.นครราชสีมา เป็นฐาน โดยท่านเองรับเป็นเจ้าอาวาสวัดแห่งนี้อยู่ถึง 12 ปีคือ ตั้งแต่ พ.ศ. 2475-2487 ช่วงเวลานั้น วัดป่าศรัทธารวมซึ่งเป็นป่าช้าเก่าเป็นศูนย์รวมของพระกรรมฐานจำนวนมากไม่ว่า พระมหาปิ่น ปัญญาพโล หลวงปู่เทกส์ เทสรังสี หลวงปู่ภุมมี ฐิตธัมโม หลวงปู่หลุย จันทสาโร หลวงปู่กงมา จิรปุญโญ ฯลฯ หลวงปู่เหลืองเข้าไปฝากตัวเป็นศิษย์หลวงปู่ฝั้น ขณะอายุ 17 ปี หรือราวช่วง พ.ศ. 2486-2487 โดยบรรพชาเป็นสามเณรที่ วัดสุทธจินดา จ.นครราชสีมา มีพระโพธิวงศาจารย์ (สังข์ทอง นาควโร) หรือเจ้าคุณโพธิฯ เป็นพระอุปัชฌาย์
    ลุถึง พ.ศ. 2490 จึงได้อุปสมบทเป็นพระภิกษุ มีสมเด็จพระมหาวีรวงศ์ (พิมพ์ ธมฺมธโร) เป็นพระอุปัชฌาย์ ณ วัดป่าศรัทธารวมนั่นเอง
    “ไทยดำ” ผู้เคยเขียนประวัติหลวงปู่เหลืองลงในนิตยสารโลกทิพย์ ฉบับเดือน ธ.ค. 2530 เคยเรียนถามท่านว่า ระหว่างอยู่กับหลวงปู่ฝั้นนั้นหลวงปู่ฝั้นสอนอย่างไรบ้าง หลวงปู่เหลืองตอบทีเดียวเป็นความ 4 ประโยค แต่ครอบคลุมพระไตรปิฎกหมด 90 เล่ม ความนั้นมีว่า
    ท่านสอนง่ายๆ ว่า “ประสูติ หมายถึง ลมเข้า
    พระวินัย หมายถึง ลมออก
    ปรมัตถ์ หมายถึง ผู้รู้ลมเข้าลมออก
    เป็นอันจบพระไตรปิฎก นอกนั้นเป็นแต่กิ่งก้าน”
    การได้อยู่ที่ จ.นครราชสีมา ณ พ.ศ.นั้นเป็นโอกาสอันดีที่ทำให้ได้พบและศึกษากับพ่อแม่ครูอาจารย์จำนวนมาก ซึ่งท่านเหล่านั้นกระจายกันอยู่หลายแห่ง อาทิ วัดป่าสาลวัน วัดสุทธจินดา วัดสว่างอารมณ์ ฯลฯ แต่รูปที่อัธยาศัยต้องกันมากที่สุดและจะมีผลต่อชีวิตของท่านในกาลข้างหน้าคือ พระอริยเวที (เขียน ฐิตสีโล)
    เวลานั้น พระอริยเวที (เขียน ฐิตสีโล) รับภาระการบริหารคณะสงฆ์เป็นเจ้าคณะจังหวัดนครราชสีมา ฝ่ายธรรมยุต ท่าน|ทุ่มเททั้งกำลังกาย กำลังสติปัญญาจนทำให้การของคณะสงฆ์เป็นปึกแผ่น แต่ยศถาบรรดาศักดิ์ใดๆ ก็เหนี่ยวรั้งท่านให้ห่างหายจากการปฏิบัติได้ไม่ กลับเตือนตนอยู่ตลอดเวลาว่า “การคลุกคลีกับหมู่คณะมากเกินไปทำให้เป็นผู้ประมาท...”
    เพราะตระหนักเช่นนั้นจึงมักจะปลีกตัวออกวิเวกเป็นครั้งคราวอยู่เสมอ ก่อนจะตัดสินใจทิ้งพัดยศออกปฏิบัติอย่างเดียวใน พ.ศ. 2498 นั้น ครั้งหนึ่งท่านชวนหลวงปู่เหลือง ซึ่งยังเป็นพระหนุ่มอยู่ในขณะนั้นออกไปปฏิบัติอยู่ในป่า จ.กาฬสินธุ์ ซึ่งเป็นถิ่นกำเนิดของท่าน
    ท่านทั้งสองอยู่ด้วยกันสองคนหนึ่งพรรษา จากนั้นพระอริยเวที (เขียน ฐิตสีโล) ก็ต้องกลับมารรับภาระทางการคณะสงฆ์ต่อ ขณะที่หลวงปู่เหลืองได้พำนักและภาวนาอยู่ในสำนักสงฆ์กลางป่า อ.สหัสขันธ์ จ.กาฬสินธุ์ ต่อเนื่องไปอีกถึง 7 ปี ต่อมาป่าแห่งนั้นได้รับการพัฒนากลายเป็น วัดป่ารังสีปาลิวัน ซึ่งเป็นถิ่นพำนักของพระอริยเวที (เขียน ฐิตสีโล) จนท่านละสังขาร เมื่อ พ.ศ. 2543
    ตลอดเวลาที่อยู่นั้น พระอริยเวที (เขียน ฐิตสีโล) ก็จะแวะเวียนมาภาวนาอยู่ ณ สำนักสงฆ์แห่งนั้นและช่วยพัฒนาความเป็นอยู่ให้ชาวบ้านได้อาศัยแหล่งน้ำ ฯลฯ มาตลอด โดยมีหลวงปู่เหลืองเป็นผู้ช่วย แม้แต่เมื่อตัดสินใจออกจาริกอีกครั้งหลังอยู่ที่นั่นมาแล้ว 7 ปีก็เป็นการออกจาริกโดยมีพระอริยเวที (เขียน ฐิตสีโล) เป็นผู้นำ ท่านทั้งสองจาริกในถิ่นต่างๆ มีประสบการณ์ในภาวนาอันพิสดารหลายอย่างด้วยกัน โดยเฉพาะที่ถ้ำขันตี ซึ่งอยู่ในเทือกเขาภูพาน ท่านว่า การภาวนา ณ สถานที่แห่งนั้นทำให้มีความก้าวหน้าอย่างมาก ขณะเดียวกันท่านทั้งสองก็ผ่านเป็นผ่านตายมาพร้อมกันด้วย กล่าวคือ พระอริยเวที (เขียน ฐิตสีโล) เป็นไข้ป่าเกือบจะเสียชีวิต ก็ได้หลวงปู่เหลืองดูแล พอหลวงปู่เหลืองเองล้มเจ็บเพราะไข้ป่าก็ได้ “เจ้าคุณอาจารย์” เป็นคนรักษา ท่านกล่าวถึงความทุกข์ยากในเวลานั้นว่า “แต่ก่อนที่อาตมาจะเป็นไข้นั้น ท่านเจ้าคุณเป็นมาก่อน เมื่อสองอาทิตย์ก่อน เรียกว่าเป็นมากทีเดียว จนเพ้อ ยาก็ไม่มีรักษา ท่านมีสติสั่งว่า ถ้าท่านตายก็ให้เผาที่นี่ แล้วกวาดขี้เถ้าทิ้งลงเขาไป อย่าเอาไปลำบากเพราะไม่ใช่ตัวตนอะไรของเรา อีกอย่างหนึ่งแม้ท่านจะลาออกจากตำแหน่งแล้วแต่พัดยศอยู่ที่กุฏิ ยังไม่ได้ส่งคืน ขอให้จัดการเอาไปคืนด้วยซึ่งทำให้ประทับใจในตัวท่านมาก ท่านไม่เคยแสดงความพรั่นพรึงต่อการมรณะเลย เพราะรู้อยู่แล้วว่ามันต้องตาย...ถึงตาอาตมาบ้าง...ท่านเจ้าคุณก็ดูแลเอาใจใส่เป็นอย่างดี เราฝากผีฝากไข้กันมาอย่างนี้” เพราะฝากผีฝากไข้ ผ่านเป็นผ่านตายร่วมกันมา จึงไม่แปลกที่ต่อมาเมื่อ พระอริยเวที (เขียน ฐิตสีโล) อาพาธ เนื่องจาก|เส้นเลือดฝอยในสมองแตกในปี 2527 ทำให้อวัยวะเบื้องขวาเป็นอัมพาต ใครนิมนต์ไปปฏิบัติอุปัฏฐากที่ไหนท่านก็ไม่ไป แต่เมื่อหลวงปู่เหลืองนิมนต์ ท่านรับ
    ทุกวันนี้หลวงปู่เหลือง รับภาระการบริหารคณะสงฆ์เป็นเจ้าเข้าคณะจังหวัดบุรีรัมย์ (ธรรมยุต) ภาระนี้เกิดมาต่อเนื่องตั้งแต่กึ่งศตวรรษก่อนโน้นเพราะปี พ.ศ. 2499 ท่านเป็นเป็นพระครูสมุห์ ฐานานุกรมของท่านเจ้าคุณพระอริยเวที พร้อมกับเจ้าอาวาสวัดรังสีปาลิวัน พอปี พ.ศ. 2515 เป็นเจ้าอาวาสวัดกระดึงทอง และเป็นเจ้าคณะตำบล วัดแห่งนี้เดิมเป็นวัดที่พระอาจารย์สมุห์เสร็จ พี่ชายเป็นคนบุกเบิกสร้างไว้ เมื่อท่านออกวิเวกเสียชีวิตเพราะไข้ป่า พระสมุห์ฉัตร พี่ชายคนรองก็เป็นคนมาดูแลแทน ถึงปี พ.ศ. 2519 ได้รับตราตั้งให้เป็นพระอุปัชฌาย์ และเป็นเจ้าคณะอำเภอเมือง พ.ศ. 2523 เป็นเจ้าคณะจังหวัดบุรีรัมย์ (ธรรมยุต)
    หลวงปู่เหลืองกล่าวว่า พระพุทธองค์มิได้สอนให้เชื่อพระองค์เพียงอย่างเดียว หากแต่ให้ชื่อว่า “จิต คือ พุทธะ” ถ้าเราดำเนินตามที่พระองค์ทรงสอน จิตของเราก็เป็นพุทธะอย่างพระพุทธองค์ได้ ถ้าจะให้ถึงซึ่งพุทธะก็เหมือนกับเอาแก่ของต้นไม้ใหญ่ ถ้าจะเอาแก่นต้องใช้ขวานถากเปลือก ถากกระพี้ออก จิตคนเรานั้นเป็นพุทธะอยู่แล้ว หากแต่เราปล่อยให้กิเลสตัณหาห่อหุ้มจนจิตไม่ประภัสสร
    “จิตประภัสสรก็หมายถึงจิตเดิม ซึ่งเปรียบเสมือนเพชร ลักษณะแวววาวสุกใสอยู่แล้วตามธรรมชาติ แต่ที่มันเศร้าหมองจนเรามองไม่เห็นความประภัสสรของมัน เพราะมีสิ่งอื่นมาห่อหุ้ม ทำให้รัศมีเปล่งออกมาไม่ได้ อย่างไฟฉายของเรา พอเปิดสวิตช์ขึ้น มันก็สว่างเป็นลำพุ่งออกไปพอปิดสวิตช์มันก็มืด ไม่เห็นดวงไฟ ทั้งที่ความจริงจิตมันประภัสสรอยู่แล้วแต่คนเราทุกวันนี้ ก็เอากิเลส ความโกรธ ความหลงที่เปรียบเหมือนดินทรายเขม่าไฟต่างๆ ไปห่อหุ้มปิดบังมันเสียเอง มันเลยมืดบอดอยู่อย่างนั้น...เราอยากจะเห็นตามพระองค์บ้างก็ต้องลงทุนลงแรงเอาสิ่งที่หุ้มห่อออก แล้วจึงจัดสีให้มันเปล่งแสงประภัสสรขึ้น เอาอะไรมาขัดสีล่ะ ก็เอาสมาธินั่นแหละมาขัดสี...”
    “สิ่งต่างๆ ในโลกนี้มันก็อยู่ที่จิตนี้เอง ความรู้สึกของเราอยู่ที่ไหน จิตใจก็อยู่ที่นั้น หลวงปู่มั่นท่านก็เคยพูดว่า อยู่ที่ใจของเจ้า โลกนี้ไม่มีใจก็ไม่มีความหมาย โลกกับธรรมมันอิงกันอยู่ ก็อยู่อย่างไม่ขัดโลกขัดธรรมเขา รูปนาม ถ้าแยกออกก็เป็นอภิธรรมทั้งหมด
    รูปกับนามเป็นจุดแรกของปัญหา เรื่องราวต่างๆ ที่เราไม่รู้ก็เพราะไม่ได้ค้นคว้ากำหนด ท่านว่าสิ่งทั้งหลายเหล่านี้มันเป็นวัฏฏะ หมุนเวียนตั้งแต่จุดเล็กไปถึงจุดใหญ่ เหมือนกับความมืดกับความแจ้ง มันต้องอยู่ที่เดียวกัน แต่คนละช่วง มันเกิดพร้อมกันไม่ได้
    ความจริงรูปนามมันมีอยู่แล้ว ถ้าปลงความเชื่อว่า คำสอนต่างๆ ล้วนมีอยู่แล้ว ถ้าไม่มี ท่านก็ไม่มีอะไรจะพูด เมื่อไม่มีอะไรจะพูดมันก็หยุดเป็นวิมุตติไป ถ้าเอามาพูดถึงมันก็เป็นสมมติไป ธรรมะจริงๆ จะพูดหรือไม่พูดมันมีอยู่แล้ว...”
    หลวงปู่เหลือง เป็นพระมหาเถระที่ควรแก่การอัญชลี ท่านเจริญรอยตามครูบาอาจารย์ของท่านคือ แน่วแน่กับการปฏิบัติภาวนาไม่เสื่อมคลาย อยู่อย่างสมถะ เรียบง่าย แทบไม่มีใครจำสมณศักดิ์ของท่านได้เรียกกันแต่ว่า หลวงปู่เหลือง วัดกระดึงทอง
    ************หยาดเหงื่อของพระผู้เฒ่า...“หลวงปู่เหลือง ฉันทาคโม” เกจิดังแดนอีสานใต้ ศิษย์หลวงปู่ฝั้น ผู้ไม่เคยถือสมณะศักดิ์ หรือชื่อเสียงใดใด

    หลวงปู่เหลือง ฉนฺทาคโม ...พระอรหันต์เจ้าแห่งบุรีรัมย์

    17264425_1318210878241151_6727615596988056689_n-1-jpg-jpg.jpg


    18195138_1299825823469287_5894137482331668998_n-20-1-jpg-jpg.jpg 18301921_1299825850135951_4657292737319483411_n-jpg-jpg.jpg


    11029896_918936891501887_5893762049328451839_n-1-jpg-jpg.jpg


    12295245_885208031597737_4176000914326203055_n-jpg-jpg.jpg sam_7518-jpg.jpg sam_7522-jpg.jpg sam_7523-jpg.jpg sam_7528-jpg.jpg
     

แชร์หน้านี้

Loading...