วิธีการภาวนาของผู้ที่ทำฌานไม่ได้ (สุกขวิปัสสกะ)

ในห้อง 'อภิญญา - สมาธิ' ตั้งกระทู้โดย nondanun, 1 กุมภาพันธ์ 2011.

  1. วิษณุ12

    วิษณุ12 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    26 ตุลาคม 2008
    โพสต์:
    5,337
    ค่าพลัง:
    +6,846

    อรรถขยายอธิบาย จากหลวงปู่พุธ ฐานิโย มาเพิ่มเติมครับ

    ฌานในสมถะ อารัมณูปนิชฌาน (หลวงปู่พุธ ฐานิโย )
    <O:p</O:p

    คำว่า "ฌาน" ฌาน หรือสมาธินี่ เราพอที่จะแยกออกได้เป็น 2 ประเภท 1. สมาธิในฌาน คือ สมาธิในฌานในลักษณะ ฌานสมาบัติ...ฌานฤาษี สมาธิในฌานฤาษีนี่เมื่อจิตสงบลงไปนิ่งแล้ว มีความสว่างไสว ร่างกายตัวตนหายไปหมด ยังแต่ความว่างเปล่า อันนี้คือสมาธิในฌาน เพราะไม่รู้อะไร เรียกว่า อารัมณูปนิชฌาน เมื่อจิตอยู่ในฌานแบบฤาษี จิตจะไปรู้อยู่ในสิ่ง สิ่งเดียว
    <O:p</O:p
    เช่นอย่างเพ่งกสิณ ก็ไปรู้อยู่ที่ อุคหนิมิต ถ้าเพ่งอสุภะกรรมฐาน ก็จะไปรู้อยู่ที่โครงกระดูก หรือส่วนใดส่วนหนึ่งของร่างกาย ถ้าหากว่าไม่มีสิ่งรู้ จิตก็จะรู้อยู่ที่จิตแล้วสว่างไสวอยู่อย่างไม่มีจุดหมาย ร่างกายตนตัวหายไปหมด ภูมิความรู้เหตุรู้ผลอะไรต่างๆ ไม่เกิดขึ้น มีแต่ความว่างถ่ายเดียว อันนี้เป็นสมาธิแบบฌานฤาษี ..สมาธิแบบฌานฤาษีนี้ เป็นบาทพื้นให้เกิดวิปัสสนา ถ้าเมื่อเราอยู่ในฌานฤาษี ถ้าจิตของเราออกจากฌานฤาษี พอรู้สึกว่ามีกายปรากฎขึ้น ความคิดเกิดขึ้นมาปั๊บ ผู้ภาวนาทำสติกำหนดตามรู้ไป แล้วฌานฤาษีจะกลายเป็นพลังทรง สนับสนุนจิตของเราให้เดินวิปัสสนาได้อย่างแน่วแน่ อันนี้แล้วแต่ความฉลาดของผู้ปฏิบัติ <O:p</O:p
    <O:p</O:p
    ทีนี้ในเมื่อจิตของเราถอนออกมาจากสมาธิเช่นนั้น มากำหนด..หมายเอาความคิดอ่านเป็นอารมณ์ แล้วก็ตามรู้ไป รู้ไป รู้ไป เมื่อเกิดวิตก วิจาร ขึ้นมาเมื่อไหร่ ภูมิจิตคิดเองสติตามรู้เอง ทุกสิ่งทุกอย่างพร้อมเหมาะเจาะกันพอดี ความคิดก็คิดขึ้น สติก็ทำหน้าที่ จดจ่อกันอยู่อย่างนั้น เมื่อเป็นเช่นนั้นเอ่อเมื่อมี วิตก วิจารเป็นองค์ประกอบ เป็นองค์ฌานที่ 1 กับที่ 2 ..เมื่อองค์ฌานที่ 1 ที่ 2 เกิดขึ้นแล้ว ปีติและความสุขจะไม่เกิด เป็นไปไม่ได้ ..ปีติและความสุข ย่อมเกิดเป็นผลตามมา
    <O:p</O:p
    เมื่อเป็นเช่นนั้น จิต มีสติจดจ่ออยู่กับความคิดที่เกิดกับในปัจจุบัน กลายเป็น..เอกัคคตา คือจิตทำหน้าที่ของจิต โดยไม่มี อ่า.. เปลี่ยนแปลง จิตก็ทำหน้าที่..คิด พิจารณา สติ..ก็ทำหน้าที่ ของสติ แล้วลักษณะความดูดดื่มพระสัทธรรมคือปีติและความสุข ก็เกิดพร้อมอยู่ตลอดเวลา ความเป็นหนึ่งของจิตตามความหมายของฌานในขั้นนี้ ไม่ได้หมายความว่าหนึ่งจิต โดยไม่มีความรู้ ไม่มีสิ่งรู้ แต่สิ่งรู้นี่ปรากฏอยู่ตลอดเวลา แต่จิตเป็นหนึ่งจดจ่ออยู่กับสิ่งรู้ในปัจจุบัน เรียกว่าจิตเป็นหนึ่ง เป็นฌานที่ 1 เป็นฌานในวิปัสสนา เป็นสมาธิในอริยะมรรค สมาธิในอริยะมรรค ต้องมีสิ่งรู้ สติ ต้องมีสิ่งระลึก เมื่อจิตผ่านฌานที่ 1 ที่ 2 ไปแล้ว จนกระทั่งเข้าไปสู่ฌานที่ 4 ..กลายเป็นฌานที่ 5 จิตจะขึ้นหนีจากร่างกายลงไปแล้ว ทุกสิ่งทุกอย่างหายไปหมด

    ในช่วงที่ทุกสิ่งทุกอย่างหายไปหมดนั้น จิตอยู่ในฌานที่ 5 อากาสานัญจาตนะ (อากาสานัญจาตนฌาน) เมื่อจิตหวลที่จะมายึด.วิญญาณ. เป็นสิ่งรู้ กลายเป็น โคตระภูญาณสิ่งรู้ของจิตปรากฏขึ้นมาทันที บางที เปรียบเหมือนว่า จิตลอยเด่นอยู่เหนือโลก แต่มีกระแสมองดูโลก ทั่วหมดทั้งโลก บางทีปรากฏมีกาย..ตายลงไป จิตดูอยู่ที่ความตายนั้น แล้วก็รู้ไปตลอด จนกระทั่งกายที่มองเห็นสลายตัวไปไม่มีอะไรเหลือ หรือบางทีจิตก็มีสิ่งรู้ที่ผ่านเข้ามามีลักษณะเหมือนเมฆหมอก มีทุกสิ่งทุกอย่างที่มาวนรอบจิตอยู่ตลอดเวลา จิตในอริยะมรรคเอกายะโนมรรโค เขาตั้งตัวยืนหยัดอยู่ในความสงบนิ่ง เด่นสว่างไสวอยู่ และไม่มีความหวั่นไหวต่อสิ่งนั้นๆ ที่ผ่านเข้ามา แม้สิ่งนั้นจะมีความเปลี่ยนแปลงไปอย่างไรก็ตาม เขาจะรู้สิ่งนั้นอยู่ รู้อย่างไม่มีสมมติบัญญัติ ไม่มีความสำคัญมั่นหมายว่าอะไรเป็นอะไร เพราะฉะนั้นความรู้ในขั้นนี้ จึงกลายเป็นความรู้ขั้นโลกุตตระ<O:p</O:p<!-- google_ad_section_end -->



    ..ฌานในวิปัสนา ลักขณูปนิชฌาน (หลวงปู่พุธ ฐานิโย )


    <LINK rel=File-List href="file:///C:%5CDOCUME%7E1%5Cuser%5CLOCALS%7E1%5CTemp%5Cmsohtml1%5C01%5Cclip_filelist.xml"><STYLE>@font-face { font-family: Angsana New;}@font-face { font-family: Cordia New;}@page Section1 {size: 612.0pt 792.0pt; margin: 72.0pt 90.0pt 72.0pt 90.0pt; mso-header-margin: 36.0pt; mso-footer-margin: 36.0pt; mso-paper-source: 0; }P.MsoNormal { MARGIN: 0cm 0cm 0pt; FONT-FAMILY: "Times New Roman"; FONT-SIZE: 12pt; mso-style-parent: ""; mso-pagination: widow-orphan; mso-bidi-font-size: 14.0pt; mso-fareast-font-family: "Times New Roman"; mso-bidi-font-family: "Angsana New"}LI.MsoNormal { MARGIN: 0cm 0cm 0pt; FONT-FAMILY: "Times New Roman"; FONT-SIZE: 12pt; mso-style-parent: ""; mso-pagination: widow-orphan; mso-bidi-font-size: 14.0pt; mso-fareast-font-family: "Times New Roman"; mso-bidi-font-family: "Angsana New"}DIV.MsoNormal { MARGIN: 0cm 0cm 0pt; FONT-FAMILY: "Times New Roman"; FONT-SIZE: 12pt; mso-style-parent: ""; mso-pagination: widow-orphan; mso-bidi-font-size: 14.0pt; mso-fareast-font-family: "Times New Roman"; mso-bidi-font-family: "Angsana New"}DIV.Section1 { page: Section1}</STYLE><LINK rel=File-List href="file:///C:%5CDOCUME%7E1%5Cuser%5CLOCALS%7E1%5CTemp%5Cmsohtml1%5C01%5Cclip_filelist.xml"><STYLE>@font-face { font-family: Angsana New;}@font-face { font-family: Cordia New;}@page Section1 {size: 612.0pt 792.0pt; margin: 72.0pt 90.0pt 72.0pt 90.0pt; mso-header-margin: 36.0pt; mso-footer-margin: 36.0pt; mso-paper-source: 0; }P.MsoNormal { MARGIN: 0cm 0cm 0pt; FONT-FAMILY: "Times New Roman"; FONT-SIZE: 12pt; mso-style-parent: ""; mso-pagination: widow-orphan; mso-bidi-font-size: 14.0pt; mso-fareast-font-family: "Times New Roman"; mso-bidi-font-family: "Angsana New"}LI.MsoNormal { MARGIN: 0cm 0cm 0pt; FONT-FAMILY: "Times New Roman"; FONT-SIZE: 12pt; mso-style-parent: ""; mso-pagination: widow-orphan; mso-bidi-font-size: 14.0pt; mso-fareast-font-family: "Times New Roman"; mso-bidi-font-family: "Angsana New"}DIV.MsoNormal { MARGIN: 0cm 0cm 0pt; FONT-FAMILY: "Times New Roman"; FONT-SIZE: 12pt; mso-style-parent: ""; mso-pagination: widow-orphan; mso-bidi-font-size: 14.0pt; mso-fareast-font-family: "Times New Roman"; mso-bidi-font-family: "Angsana New"}DIV.Section1 { page: Section1}</STYLE><LINK rel=File-List href="file:///C:%5CDOCUME%7E1%5Cuser%5CLOCALS%7E1%5CTemp%5Cmsohtml1%5C01%5Cclip_filelist.xml"><STYLE>@font-face { font-family: Angsana New;}@font-face { font-family: Cordia New;}@page Section1 {size: 612.0pt 792.0pt; margin: 72.0pt 90.0pt 72.0pt 90.0pt; mso-header-margin: 36.0pt; mso-footer-margin: 36.0pt; mso-paper-source: 0; }P.MsoNormal { MARGIN: 0cm 0cm 0pt; FONT-FAMILY: "Times New Roman"; FONT-SIZE: 12pt; mso-style-parent: ""; mso-pagination: widow-orphan; mso-bidi-font-size: 14.0pt; mso-fareast-font-family: "Times New Roman"; mso-bidi-font-family: "Angsana New"}LI.MsoNormal { MARGIN: 0cm 0cm 0pt; FONT-FAMILY: "Times New Roman"; FONT-SIZE: 12pt; mso-style-parent: ""; mso-pagination: widow-orphan; mso-bidi-font-size: 14.0pt; mso-fareast-font-family: "Times New Roman"; mso-bidi-font-family: "Angsana New"}DIV.MsoNormal { MARGIN: 0cm 0cm 0pt; FONT-FAMILY: "Times New Roman"; FONT-SIZE: 12pt; mso-style-parent: ""; mso-pagination: widow-orphan; mso-bidi-font-size: 14.0pt; mso-fareast-font-family: "Times New Roman"; mso-bidi-font-family: "Angsana New"}DIV.Section1 { page: Section1}</STYLE>
    [FONT=&quot]ความรู้ขั้น โลกุตระ หมายถึง ความรู้ที่ไม่มี สมมติ บัญญัติ ทีนี้[FONT=&quot]ใน[/FONT]เมื่อ จิตไม่มีสมมติบัญญัติ หรือสิ่งรู้ทั้งหลายเหล่านั้นมาจากไหน ก็จิตตัวที่ละเอียดนั่นแหล่ะ มันปรุงแต่ง[FONT=&quot]ขึ้นมา[/FONT]เพื่อ[FONT=&quot]อบรม ตัวเองเพราะจิต[/FONT]ปรุงแต่ง[FONT=&quot]ขึ้นมา[/FONT]สังขารตัวนี้มันปรุงแต่งขึ้นมาแล้ว จิตไม่ยึด มันก็กลายเป็น[FONT=&quot]วิสังขาร[/FONT]เป็นแต่เพียงสิ่งรู้ของจิต สิ่ง[FONT=&quot]ระ[/FONT]ลึกของ สติ รู้แล้วก็ปล่อยวางไปเรียกว่าฌานในอริยะ[FONT=&quot]มรรค [/FONT][/FONT][FONT=&quot]
    [/FONT]
    [FONT=&quot]
    ฌานในอริยะมรรค นี่ เรียกว่า ลักขณูปนิชฌาน และจิตทำหน้าที่กำหนดรู้สิ่งที่มีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา ถ้าหากว่าใครรู้เห็นธรรมะในขั้นนี้ แม้จะมองเห็นร่างกายเน่าเปื่อยผุพัง จิตมันก็ไม่ว่าเน่าเปื่อยผุพัง มองเห็นความสุขทุกข์เป็นอนัตตา จิตก็ไม่ว่า อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา มี[FONT=&quot]แต่รู้อยู่[/FONT]โดยถ่ายเดียว

    เพราะฉะนั้น...ความรู้อันนี้ ท่านจึงเรียกว่า สังขาร ขั้นวิสังขาร เป็นการปรุงแต่งของจิตขั้นละเอียด จิตที่ปรุงแต่งอย่างไม่ยึดมั่นถือมั่น จึงมีประหนึ่งว่า สิ่งที่รู้ก็เป็นอันหนึ่ง จิตตัวผู้รู้ก็เป็นอันหนึ่ง ในช่วงนี้แหล่ะ นักภาวนาทั้งหลาย อย่าไปเข้าใจว่า สิ่งรู้ทั้งหลายนี่ มีเทพเจ้ามีอะไรบันดาลให้เข้ามา ปรุงแต่งมาให้เรารู้ แต่แท้ที่จริง ไอ้เจ้าจิตตัวมีปัญญาละเอียดมันปรุงขึ้นมาสอนตัวมันเอง

    ทีนี้ในเมื่อจิตไม่มีความสำคัญ มั่นหมายสิ่งใดว่าเป็นอะไร มีแต่รู้อยู่เฉยๆ ยกตัวอย่างเช่น ภาพนิมิตอาจจะบังเกิดขึ้น นี่เป็นร่างศพที่เน่าเปื่อยผุพัง แต่นี่เป็นร่างที่สวยงามที่สุด ในขณะที่จิตรู้อยู่ จิตจะไม่สำคัญ ไม่มีความเอนเอียง ลำเอียงว่า อันนี้ดี อันนี้เสีย มีความรู้สึกเสมอกันหมด

    ทีนี้แม้ว่าจะไปรู้กฏของบุญของบาป อะไรต่างๆ ก็ดี คล้ายๆ ว่าความดี...ความดีไม่ปรากฎ ความชั่วไม่ปรากฎ เพราะในขณะนั้นจิตเป็นกลาง ในเมื่อจิตเป็นกลางแล้ว จิตจึงไม่สำคัญมั่นหมายในสิ่งดีสิ่งชั่ว แต่จิตจะยอมรับกฏของธรรมชาติ กฏธรรมชาติที่เราสมมติว่า บุญนี้ เป็นสิ่งพยุงดวงจิตของเราให้สูงขึ้น แต่สิ่งที่เราสมมติว่า บาปนี้ เป็นกฏที่จะถ่วงดวงจิตของเราให้ต่ำลง คำว่าบุญบาปนี้หายไปหมด เพราะรู้อย่างไม่มีสมมติบัญญัติ เพราะฉะนั้นความรู้ใน จุดนี้จึงเป็นอันตรายแก่นักปฏิบัติ ในเมื่อไปเห็นทุกอย่างไม่มีตัว ไม่มีตน ไม่มีสมมติบัญญัติในที่สุด นิพพานัง ปรมัง มันก็สูญญังไปหมด ไม่มีใครสำเร็จพระนิพพาน บุญบาปที่ทำลงไป มันก็สูญญังไปหมด ไม่มีอะไร สักแต่ว่าธรรมเท่านั้น นิยตะ มิจฉาทิฏฐิ มันจะเกิดขึ้นที่ตรงนี้ เพราะฉะนั้นนักภาวนาทั้งหลายควรระมัดระวัง[/FONT]


    ..................(พลูโตจัง ถอดเทป)


    ฟังเต็มๆได้ที่ลายเซ็น ปรากฎในไฟล์ชื่อ ตายแล้วเกิด สนทนาธรรม ไฟล์ที่ 111-112-113-114 หากจำไม่ผิดครับ
     
  2. ขันธ์

    ขันธ์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 ตุลาคม 2006
    โพสต์:
    7,917
    ค่าพลัง:
    +9,181
    ไม่ต้องไปสนใจว่า ฌาณมีกี่รูปกี่แบบ เอาแค่ว่า ใครทำสมาธิไม่เป็น ก็ให้ฝึกทำให้เป็น แล้ว เมื่อฝึกทำสมาธิไปเรื่อยๆ มีสติคอยดู คอยสังเกตุว่า จิตเราเป็นสมาธิ สงบหรือไม่
    เมื่อฝึกทำไปเรื่อยๆ จะเข้าสู่ องค์ ฌาณ
    ด้วยการสลัด กาม ราคะ โทสะ ไป
    เจริญสมาธิ
    จิตจะมีวิตก วิจารณ์ กับ คำบริกรรม ปราศจากอารมณ์ อกุศล มีแต่ ปีติ สุข และ เอกคตา เกิดขึ้นในจิตนั้นเอง แล้วจะเห็นผล และ ได้หลัก ด้วยตัวเอง

    จากนั้น เจริญสติปัญญาไปเรื่อยๆ คอยดู อารมณ์ความรู้สึก ด้วยใจที่ตั้งมั่นเป็น อินทรีย์ นั้น จิตจะสามารถเห็น จิตใจที่ซับซ้อน ตามความเป็นจริงได้
     
  3. เอกวีร์

    เอกวีร์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 มกราคม 2008
    โพสต์:
    3,972
    ค่าพลัง:
    +3,241
    คนไม่มีปัญญาที่จะสอน มันก็สอนกันแบบ แยกแยะไม่เป็น ถึงเวลาก็อ้างพระสูตร
    ไปอย่างทื่อๆ ซื่อๆ

    คนที่สอนเป็น เขาก็กล้าพอที่จะตำหนิในส่วนที่ไม่ใช่ เพื่อชี้อุบายให้เล็งเห็นความแยบ
    คาย แล้วสามารถยืนยันความแตกต่างออกมา

    สอนอย่างโง่ๆ มันก็ไม่สามารถกำจัดเดียรฐีย์ได้ ได้แต่หันมากัดกันเอง ครูบาอาจารย์
    จากไปแล้ว แต่ก็ยัง ฝึกที่จะเก่ง "กัดอย่างหมา สอนธรรมอย่างหมา"

    มาดูกันว่า คนใกล้ชิดครูบาอาจารย์ พูดถึง การทำความสงบว่าอย่างไร

    เห็นท่านพูดชักชวนให้ ไม่เอาความสงบ คุณมีปัญญาหลงเหลืออีกไหมที่จะยก
    การปรารภของท่านว่า เป็นพวกตำหนิฌาณ ตำหนิการทำสมาธิ มีปัญญาหลง
    เหลือบ้างไหม หรือว่า ได้แต่น้ำท่วมปาก

    งง ว่าทำไม ผู้ใกล้ชิดครูบาอาจารย์ท่านนี้ จึงปรารภอย่างนี้

    คนสอนเป็น คนที่เขากล้าหาญทางธรรม เขาก็พูดได้ เขาพร้อมจะตำหนิในส่วนที่ไม่ใช่
    เพื่อ ชี้ให้เห็นเฉพาะส่วนที่ใช่

    คุณกล้าหรือเปล่า

    หรือ ยังคิดจะพูดว่า ท่านข้างบ่นนี้ เป็นพวกตำหนิ การกำหนด ตำหนิการทำสมาธิ
    ตำหนิฌาณ เป็นพวก ทำสมาธิไม่เป็น ไม่รู้จักสมาธิเลย เป็นพวก ขี้ลอยน้ำ!!!
     
  4. เอกวีร์

    เอกวีร์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 มกราคม 2008
    โพสต์:
    3,972
    ค่าพลัง:
    +3,241
    กรณี การเห็น "จิตเกิดดับ" นี่ก็พูดกันมาก ยกกันเหลือเกินว่า
    หลวงตาท่านยืนยันเรื่อง จิตไม่เกิดไม่ดับ

    ถ้าหลวงตายืนยัน การพูดว่า "จิตเกิดดับ" เป็นความเห็นผิด เป็นมิจฉาทิฏฐิ

    เวลาใครพูดว่า ตอนนี้ "ฉันเห็นจิตเกิดดับเร็วมาก" คุณคิดว่าหลวงตาควรเอ็ดเอา
    ทันที หรือว่า ท่านจะพูดว่าอย่างไร กับเรื่องจิตเกิดดับ ที่พวกคุณชอบเอามาอ้าง
    ว่าเป็นมิจฉาทิฏฐิ

    มาดูกัน

    [​IMG]

    ข้างบนนั้น คือ การต่อธรรมระหว่าง หลวงตา กับ น้องสาวของท่าน ซึ่งก็เป็น
    คนๆเดียวกันกับที่มีชื่อปรากฏในโพสที่แล้ว

    สังเกตสิ ว่า น้องสาวท่านส่งการบ้าน ปรารภเรื่อง ตอนนี้ เห็นจิตเกิดดับเร็วมาก

    แล้วหลวงตาท่านทำอย่างไร

    เอ็ดเอาอย่างดัง หรือ ยกขึ้นว่า เห้ยผิดแล้ว ภาวนาผิดแล้ว แบบ กบฏธรรมภูติผู้
    ที่ลุงขันธ์ยืนยันว่าถูกทำ หรือเปล่า

    แต่เท่าที่เห็นในคำบรรยาย ขอโทษนะ หลวงตาท่าน อุทาน

    "โอ้ เร่งเลยๆๆ!!"
     
  5. เอกวีร์

    เอกวีร์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 มกราคม 2008
    โพสต์:
    3,972
    ค่าพลัง:
    +3,241
    พระสารีบุตร ธรรมอัครเสนาบดี ของพระพุทธองค์ ได้ให้นโยบายในการปราบ
    พวกเดียรถีย์ไว้

    นั้นคือ ให้ใช้พุทธวัจนะ หรือ พระไตรปิฏก เป็นเครื่องมือกำจัด และ ย่ำยี พวก
    เดียรถีย์ให้ราบคาบ

    เอาเราก็แปลก

    ภิกษุสมัยนี้ นักภาวนาที่อ้างว่ารู้มรรครู้ผลแน่นอนแล้ว เป็นผู้เลิศ สิ้นกิเลส หรือมี
    ความเบาบางของกิเลสยืนยันเฉพาะตนได้ กลับปรารภว่า

    ผมก็อยากถามเสียเหลือเกินว่า ทำไม ถึงได้ปรารภอย่างนั้น ทำไมถึงได้รู้สึกว่า
    ตนถูก พระไตรปิฏกย้ำยี ถูกพุทธวัจนย่ำยี

    พระไตรปิฏก ย่ำยี พุทธบริษัทไม่ได้หลอก มีแต่ เดียรถีย์เท่านั้น ที่จะมีฐานะ
    พูดได้ว่า ตนถูกพระไตรปิฏกย่ำยี

    ดังนั้น อย่าได้พูดออกมาเลยว่า ตน พวกตน กลุ่มตน ถูกพระไตรปิฏกย่ำยี
    โดยเฉพาะ การบริกรรมพุทโธๆๆๆๆๆ เนี่ยะ ไม่มีในพระไตรปิฏก พุทธานุสติ
    ในพระไตรปิฏกก็มีแต่ให้ระลึกถึง กิจวัตร ความพากเพียร ของพระมหาโพธิสัตว์
    ไว้เนืองๆ เป็นเรื่องๆ ไป ไม่มีระบุเอาไว้ให้ย่นย่อลงเหลือแค่สองคำแต่ประการใด

    สรุปแล้ว อย่าไปรู้สึกเลยว่า ตนถูกพพระไตรปิฏกย่ำยี อย่าได้ปรารภยืมคำพูดของ
    เดียรถีย์มาเป็นของตนเลย

    แต่จงสงบและ เข้าใจไปเถอะว่า เป็นเพราะ "ความไม่ฉลาดในมรรค" นั้นแหละเป็นเหตุ
     
  6. เอกวีร์

    เอกวีร์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 มกราคม 2008
    โพสต์:
    3,972
    ค่าพลัง:
    +3,241
    กั๊กๆ ไปอยู่ที่ไหนมาครับ คุณแอบ(บดบัง)จิต อยู่ที่ราชบุรี หรือเปล่า
    ถึงได้ไม่รู้จัก คุณยายในภาพว่าเป็นใคร จึงไม่รู้ว่า คุณยายในภาพ
    ทำไมถึงได้ชื่อว่า เป็นผู้ใกล้ชิดครูบาอาจารย์

    เชยนะ ที่จะพูดคุยด้วยบุคคลิกยืนยันตัว(Id) "แอบ(บดบัง)จิต" อยู่อย่างนี้
     
  7. ขันธ์

    ขันธ์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 ตุลาคม 2006
    โพสต์:
    7,917
    ค่าพลัง:
    +9,181
    พระศาสดาท่านคงไม่ต้องระบุแคบ ขนาดนั้นหรอก เอกวีร์

    ตามธรรมดา คำพูดพระศาสดา ก็เป็นดังรอยเท้าใหญ่ ครอบรอยเล็ก อยู่แล้ว

    ไม่มีขัดหรอก

    การทำสมาธิ ด้วย คำบริกรรมบ้าง ด้วยการระลึกถึงพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ บ้าง นั้นล้วนแต่เป็น วิตก วิจารณ์ เพื่อกำกับ ให้จิต อยู่กับสิ่งใดสิ่งหนึ่ง
     
  8. วิษณุ12

    วิษณุ12 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    26 ตุลาคม 2008
    โพสต์:
    5,337
    ค่าพลัง:
    +6,846


    ขอนำเสนอ อรรถธรรม ในความหมายแห่ง วิตก วิจาร
    จาก พระพุทธโฆศาจารย์ ผู้แปลบาลีในพระไตรปิฎก
    ให้คนไทยได้อ่านพระไตรปิฎก ในภาษาไทย


    คำว่าวิตก<O:p</O:p
    ซึ่งมี ในคำว่า
    รูปวิตก
    สัททวิตก
    คันธวิตก
    รสวิตก
    โผฏฐัพพวิตก
    ธรรมวิตกนั้นท่านตั้งวิเคราะห์ไว้ว่า
    วิตกฺโกแปลว่าสิ่งใดนึกสิ่งนั้นชื่อว่า วิตก
    อีกอย่างหนึ่งว่าความนึกชื่อว่า วิตกดังนี้<O:p</O:p
    <O:p</O:p

    เพราะฉนั้น
    คำว่า วิตก จึงแปลได้ ๒ อย่างคือ
    แปลว่า ผู้นึก๑
    ความนึก๑
    แต่ที่แปลว่าผู้นึกนั้นหมายความถึงคนและสัตว์ซึ่งเป็นเจ้าของ
    คำว่าความนึกนั้นหมายถึงอาการแห่งจิตใจ <O:p</O:p

    เพราะฉะนั้นคำว่า
    <O:p</O:p
    รูปวิตก จึงแปลว่าความนึกในรูป <O:p</O:p
    สัททวิตกความนึกในเสียง <O:p</O:p
    คันธวิตกความนึกในกลิ่น<O:p</O:p
    รสวิตกความนึกในรส<O:p</O:p
    โผฏฐัพพวิตกความนึกในโผฏฐัพพะ<O:p</O:p
    ธัมมวิตกความนึกในธรรมดังนี้<O:p</O:p
    <O:p</O:p

    รวมความว่าความนึกซึ่งเรียกว่า วิตก นี้ <O:p</O:p
    หมายความนึกในเรื่องรูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ ธรรมารมณ์ ฯ <O:p</O:p
    <O:p</O:p

    ความนึกในเรื่องรูปเสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ ธรรมารมณ์นั้น

    เป็นความนึกดีก็มี

    นึกไม่ดีก็มีนึกกลางๆก็มี <O:p</O:p
    <O:p</O:p


    ถ้าเป็นความอยากได้หรือ นึกเกลียดนึกโกรธ ก็เป็นความนึกไม่ดี เรียกว่าอกุศลวิตก <O:p</O:p
    ถ้าเป็นความนึก ประกอบด้วยเมตตากรุณา
    หรือ
    เป็นความนึกอยากพรากจิตใจ ออกจากความรักในรูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ ธรรมารมณ์
    ก็เป็นความนึกที่ดี เรียกว่า กุศลวิตก <O:p</O:p
    <O:p</O:p

    ถ้าเป็นความนึกเฉยๆ คือ ไม่ดีไม่ชั่ว อันใดไม่เป็นกุศลอกุศลอย่าไร
    เพราะฉะนั้น
    จงเข้าใจเถิดว่าวิตก คือความนึกในรูปเสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะธรรมารมณ์นั้น
    เป็นได้ทั้งดีทั้งชั่วและกลางๆดังนี้ <O:p</O:p
    <O:p</O:p

    ( พระสุตตันตปิฎกขุ. ปฏิสัมภิทามรรคเล่ม ๒ หน้าที่ ๑๑๒-๑๑๓ )<O:p</O:p
    <O:p</O:p
     
    แก้ไขครั้งล่าสุดโดยผู้ดูแล: 2 กุมภาพันธ์ 2011
  9. ขันธ์

    ขันธ์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 ตุลาคม 2006
    โพสต์:
    7,917
    ค่าพลัง:
    +9,181
    เอกวีร์ นิสัยมารแบบนี้ อย่าเอามาเล่นหน่า ประเภทตีความสุดโต่ง จนทำให้ ทางสายกลางที่มีอยู่นั้นกลับกลายไปเป็นอีกฝั่งหนึ่ง

    เพราะตนเองยังไม่เข้าใจดีพอ

    ที่หลวงตาพูดคือ จิตดวงนี้ไม่มีสูญ ไม่มีตาย ไม่มีฉิบหาย ซึ่งหมายถึง จิตเดิมแท้ที่วนเวียน เกิด ตามวัฏวน

    ไม่ใช่ จิตเกิดดับๆ สืบเนื่อง เป็น ของไม่มีแก่น
     
  10. nouk

    nouk เพราะยึดจึงทุกข์

    วันที่สมัครสมาชิก:
    26 ตุลาคม 2010
    โพสต์:
    11,401
    ค่าพลัง:
    +23,708
    โอ้ละหนอ...ตัวเองยังสอนตัวเองไม่ได้...แล้วริจะไปสอนผู้อื่น ตาบอดจูงตาบอด ตกท่อตายทั้งคู่ อนิจจัง...วัฏสังขารา...
     
  11. เอกวีร์

    เอกวีร์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 มกราคม 2008
    โพสต์:
    3,972
    ค่าพลัง:
    +3,241
    เอ้า อย่าไป งง สิครับ คุณไม่ได้มา ถกธรรมะ แต่คุณเน้นมาเพื่อ เล่นสนุก (อ้อๆ แอ้ๆ เสียด้วย)

    คุณเข้ามาเพื่อ สนองตัณหา เอาความเพลินในการโพส เอาความเพลินใน
    การทำลีลา กล้าๆ กลัวๆ โง่ๆ ทึ่มๆ เดี่ยวก็บอกรู้ เดี๋ยวก็บอกไม่รู้ เดี๋ยวก็
    พูดแบบคนมีปัญญามีปฏิภาณหาช่องหารูสอด เดี๋ยวก็พูดแบบว่าไม่มีปัญญา
    หาช่องหารูรอด ไปวันๆ

    ผมก็ คุยกับคุณ เพื่อสนุกด้วยเฉพาะเรื่อง เข้ามาโพสเล่นๆ อย่าไปเอาความ
    รู้เรื่องอะไรกับเขาสิครับ

    ถ้าเข้ามาเล่นๆ แล้ว อยู่ดีๆ จะผลิกเป็น เอาความรู้เรื่อง มันก็ งง อะสิ

    มามะ มาเล่นๆ โฉบๆ ฉวยๆ ไปแค่นั้นพอ ผมสามารถแบ่งภาคที่จะปรารภ
    แบบ ถกธรรมกับผุ่อื่น สลับกับ หันมาคุยเล่นเอาเถิดแบบว่า ผมเป็นหมาที่
    ชอบเลียปากคุณได้
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 2 กุมภาพันธ์ 2011
  12. ขันธ์

    ขันธ์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 ตุลาคม 2006
    โพสต์:
    7,917
    ค่าพลัง:
    +9,181
    ยกประเด็นมาด้วยสิว่า ความหมายที่ยกมา มีนัยยะเกี่ยวข้องอะไรกับข้อความที่ quote มา
    จะสนับสนุนหรือว่า แย้ง หรือว่า ต้องการทำให้กระจ่างยิ่งขึ้นก็เอาให้ชัดเจน
     
  13. เอกวีร์

    เอกวีร์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 มกราคม 2008
    โพสต์:
    3,972
    ค่าพลัง:
    +3,241
    <!-- google_ad_section_end -->

    แหม พูดออกมาได้ ว่า การเห็น จิตเกิดดับ เป็นเรื่องของ ของไม่มีแก่น

    ถ้ามันไม่มีแก่น แล้ว หลวงตาท่านจะ เร่งเร้า ให้เห็นอย่างนั้นต่อไปทำไม
    ทำไมไม่ห้ามปรามเล่า

    ผู้ภาวนา เห็น จิตเกิดกับเร็วมาก ก็เกิดภูมิรู้อยู่อย่างหนึ่งว่า "จิตว่างแล้ว"

    แต่หลวงตาท่าน นอกจากจะไม่เอ็ดเอาแล้ว ว่า "ขี้ลอยน้ำ ว่างๆๆๆๆ ขี้ลอยน้ำ "

    กลับ อุทาน แล้ว บอกให้ "เร่งเลยๆๆๆๆ" เข้าไปอีก

    ก็ถ้า เห็น "จิตเกิดดับ" เป็นเรื่องของการภาวนาที่ไม่มีแก่นสารสาระ แล้วหลวงตา
    ท่านจะบอหให้ผู้ภาวนาเร่งการเห็นอย่างนั้นต่อไปทำไม แล้ว ทำไมต้องยืนยันด้วยว่า
    จะเห็น "จิตว่าง" เป็นผล อีกต่างหากเล่า

    ผมว่า ที่คุณยกมา ทำทีเป็นเข้าใจคำสอนของหลวงตา เอาเข้าจริงๆ ก็ไปปรักปรำ
    ท่านแล้วกระมังว่า ท่านสอนให้ทำสิ่งที่ไม่มีแก่นสารสาระ
     
  14. วิษณุ12

    วิษณุ12 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    26 ตุลาคม 2008
    โพสต์:
    5,337
    ค่าพลัง:
    +6,846


    จะสนับสนุน ให้คนอ่าน และทำความเข้าใจในภาษาครับ

    หลายๆคน คงไม่เคยได้ยินความหมายของ วิตก วิจาร
     
  15. เอกวีร์

    เอกวีร์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 มกราคม 2008
    โพสต์:
    3,972
    ค่าพลัง:
    +3,241
    ว้าว!! พี่ปราบของผม


    "รับแล้วนะ!!"
     
  16. ขันธ์

    ขันธ์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 ตุลาคม 2006
    โพสต์:
    7,917
    ค่าพลัง:
    +9,181
    คุณควรอ่านให้เข้าใจก่อน แล้วเตือนตนว่า เราเข้าใจหรือยัง ก่อนจะยกให้คนอื่นอ่าน

    เรียกว่า ฝึกตนดีแล้วจึงฝึกผู้อื่น
     
  17. วิษณุ12

    วิษณุ12 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    26 ตุลาคม 2008
    โพสต์:
    5,337
    ค่าพลัง:
    +6,846
    จำเป็นไหม ผมถือแผนที่ ที่สมบูรณ์ เป็นเล่มอยู่ในมือ มีการรองรับจากผู้เคยไปมาแล้ว ว่าเป็นแผนที่ถูกต้อง

    การที่คัดลอกแผนที่นั้น แบ่งให้เพื่อน แล้วให้เพื่อนไปตามแผนที่นั้น ด้วยตัวเพื่อนเอง คนให้แผนที่ ผิดด้วยหรือ
     
  18. ขันธ์

    ขันธ์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 ตุลาคม 2006
    โพสต์:
    7,917
    ค่าพลัง:
    +9,181
    เอกวีร์ นี่ไปเรื่อยเปื่อย ไปคนละความหมายอยู่เป็นประจำ

    เอาแบบนี้ ไปฝึกสมาธิให้ดี ก่อน แล้วค่อยมาถก

    พา เกลอ ไปด้วย เห็นอ้าง สมาธิหลวงพ่อพุธ บ่อยๆ นั้นแหละ พากันไป ทำฐานให้ดี แล้วก็วิปัสสนา เจริญสติ จับตัวปลิ้นปล้อนในใจ ให้ชัดๆ แล้วอย่าไหลไปตาม ความปลิ้นปล้อนในใจ
     
  19. ขันธ์

    ขันธ์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 ตุลาคม 2006
    โพสต์:
    7,917
    ค่าพลัง:
    +9,181
    ก็แสดงว่า เป็นคนมีน้ำใจ แต่โง่ไง
     
  20. ๛อาภากร๛

    ๛อาภากร๛ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    26 สิงหาคม 2010
    โพสต์:
    898
    ค่าพลัง:
    +3,580
    สุขวิปัสโก ไม่ใช่ว่าจะทําฌานไม่ได้นะครับ
    เพียงแค่เป็นอริยเข้าปฏิปทา ดับวิปัสสนูปกิเลส ท่านไม่จับองค์องค์ 5 มาเป็น ธรรมวิตก

    ผมทราบแค่นี้แหละครับ
     

แชร์หน้านี้

Loading...