เจตสิก ๕๒ เกิดพร้อมกับจิต ดับพร้อมกับจิต รู้อารมณ์เดียวกับจิต อาศัยวัตถุเดียวกับจิต

ในห้อง 'อภิญญา - สมาธิ' ตั้งกระทู้โดย Samarnl, 14 กรกฎาคม 2012.

  1. ฐาณัฏฐ์

    ฐาณัฏฐ์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    5 มกราคม 2008
    โพสต์:
    6,197
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +4,075
    คุณเหมียว

    อ่านงานเขียนแล้ว มองดูล่างๆหน่อย

    ตรงดอกจัน ขีดเส้นใต้ เน้นคำ

    นั้นแลอรรถกถาขยาย โดยรับเอาอรรถกถาที่ปัดอยู่
     
  2. นิวรณ์

    นิวรณ์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กันยายน 2008
    โพสต์:
    9,051
    ค่าพลัง:
    +3,456

    ม่ายฉ่ายๆ ม่ายฉ่าย

    ผมหมายถึง คนที่กำลังกล่าวธรรมะ ต้อง ปราวนาตนให้ถูกต้อง เสมอ
    กับสภาพธรรมที่เป็น

    เช่น กำลังกล่าวธรรมจากส่วนที่จำเขามา ก็ต้องปรารภอย่างจำเขามา

    หากมีเพื่อนเขาสงสัย ทวงถามว่า จำเขามาหรือเปล่า ก็ต้องบอกไปตาม
    ตรงว่า ยังเป็นส่วนจำเขามาขอรับ

    หากเพื่อนเขาต้องการสมาทานปฏิบัติให้อาจหาญ ทวงถามว่า คุณปฏิบัติ
    อย่างไรเห็นอย่างไรขณะปฏิบัติ ก็ พึงวาง ปริยัติ ที่แจ้วๆ ด้วยเพราะจำ
    เขามาไว้ก่อน แล้ว กล่าวเฉพาะที่ตนรู้รส เพื่อให้ เพื่อนได้สมาทานการ
    ปฏิบัติตามได้

    ไม่ใช่ เอะอะก็ หัว ไหล่ ตูด หัว ไหล ตูด ลูกชิ้น ปลาปิ้ง ไก่ย่าง ส้มตำจ้า !!

    เอะอะ คุณแบกอะไรอย่างไรเหลอ ไหนว่ามาสิ แล้วหากอีกทางกล่าวว่า

    "หัว ไหล่ ตูด หัว ไหล ตูด ลูกชิ้น ปลาปิ้ง ไก่ย่าง ส้มตำจ้า !!" ก็แห่กันกดอนุโมทนา
     
  3. chottana

    chottana เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    11 มีนาคม 2012
    โพสต์:
    176
    ค่าพลัง:
    +337


    อย่าพึงกล่าวมาเเบบนี้ครับ ให้เห็นจริงๆก่อนค่อยว่า
    เเต่ว่าทุกวันนี้ ก็เรียนสิ่งที่พระตถาคตไม่ได้บอกหรือให้ทำ ให้รู้เเบอตอมอะไรอย่างนั้น คุณก็เรียนเรื่องอถกาถาเเล้วจะเดือดร้อนอะไรละครับ
     
  4. ฐาณัฏฐ์

    ฐาณัฏฐ์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    5 มกราคม 2008
    โพสต์:
    6,197
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +4,075
    ขยายหน่อยสิ ^^
     
  5. ฐาณัฏฐ์

    ฐาณัฏฐ์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    5 มกราคม 2008
    โพสต์:
    6,197
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +4,075
    เพียงจะบอกว่า

    พระท่าน ชี้อะไรเป็นพระวจนะนั้นเป็นเรื่องดี เป็นเรื่องให้ตื่นตัว

    ทีนี้เมื่อแสดงทัศนะว่า นี้พระวจนะ ก็ไม่จำเป็นต้องไปขยายความเพิ่มอะไรอีกถูกไหม

    การปัดอรรถกถา แต่ กลับให้นิยามขยายความเองก็ไม่ต่างจากของเดิม

    เพราะก็ยืนอยู่ในทัศนะของอรรถกถารุ่นก่อนที่ท่านขยายอยู่ก่อนแล้ว ^^
     
    แก้ไขครั้งล่าสุดโดยผู้ดูแล: 20 กรกฎาคม 2012
  6. chottana

    chottana เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    11 มีนาคม 2012
    โพสต์:
    176
    ค่าพลัง:
    +337
    จริงๆไม่ได้เสียหายอะไร ผมบอกจริงๆนะ

    เอางี้ดีกว่าผมคิดว่ายังไงคุณก็ไม่เชื่อใครง่ายๆอยู่เเล้วใช่ ขนาดคนมาอ้างว่าเป็นพระศรีก็ยังไม่เชื่อเท่าไร ก็ต้องศึกษาเอาเองละผมบอกให้เท่านี้เเละไม่ได้กล่าวว่าไม่ใช่ธรรมนะ เเค่นี้ละ
     
  7. ฐาณัฏฐ์

    ฐาณัฏฐ์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    5 มกราคม 2008
    โพสต์:
    6,197
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +4,075
    จะให้คุยอะไร จะให้คุยอะไรก็ว่ามา

    ตอนนี้คุยประวัติศาสตร์พุทธอยู่

    จะเอาสภาพวะ หัว ไหล่ ตูดหรอ

    มีปัญญา พิจารณาเองได้ไหมน้าเอก

    คงไม่ใช่เรื่องฟังเขามา ไม่ได้พิจารณามาแล้วพูดเอาดีใส่ตนหรอก
     
  8. นิวรณ์

    นิวรณ์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กันยายน 2008
    โพสต์:
    9,051
    ค่าพลัง:
    +3,456
    ขยายได้นะ

    ทิฏฐิ คือ ป่าฉัตร ก็คือ การตรึก การนึก การคิด การเห็นหรือสำคัญว่าปัญญา
    คือสังขารขันธ์ นี้เรียกว่า ป่าฉัตร หรือ ทิฏฐิ มาสามารถยกเห็นตามความเป็น
    จริงได้ ทันที ทุกที่ ทุกเวลา ที่มีสภาพ "ไหลทางมโนทวารไป......"

    โคนไม้ อันนี้ยากหน่อย จะต้อง พ้นป่าฉัตรให้ได้ก่อน แล้วยังต้อง มีอุเบกขา
    เอกัคตา หรือ มีฌาณเป็นอย่างน้อย ให้ยืนยันได้ว่า มีเหตุใกล้ให้รู้รส วิมุตติไม่
    ผิดเพี้ยนไปมาก ( ไม่คิดเอาเองว่า กูรู้หมดแล้ว มันจะต้อง ว่างจาก สัญญา
    และ สังขาร ทั้งปวงพอประมาณ ระยะหนึ่งๆ ก่อน เหมือนคนจะออกวิ่ง ต้อง
    ตั้งลองบาสสตาร์ท ) ก็จะรู้เองว่า โคนไม้อันใด สังโยชน์ก็เห็นปานนั้น ไม่
    ต้องอธิบายมากความ

    ส่วนเรือนว่าง ก็เป็นพวก สมาบัติ ทั้งหลาย โดยจะต้องเป็นพวกที่ อยู่เป็น
    ทำให้ สบายเป็น เช่น ฆ้อนหล่นใส่หัวแม่ตีนเปรี้ยง ก็ บริกรรมนิมิต แล้ว
    อยู่เป็นสุขได้ ไม่มีการกระแด่วๆ แบบนี้ ก็จะอาศัย เรือนว่าง มาพิจารณา
    เป็นสิ่งถูกรู้ถูกดูเพื่อถอดถอนได้
     
  9. deemonster

    deemonster เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    16 มกราคม 2007
    โพสต์:
    0
    ค่าพลัง:
    +805
    จะว่าไป ตรงนี้ ความจำได้ มา เข้าใจได้ ระหว่างนั้น เพียรอยู่
     
  10. ฐาณัฏฐ์

    ฐาณัฏฐ์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    5 มกราคม 2008
    โพสต์:
    6,197
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +4,075
    แล้วที่เข้าใจกันว่า ป่า โคนไม้ ล่ะ

    หมายถึง ต้องเข้าป่า เข้าเขา ลงหุบห้วย มิใช่หรอ
     
  11. เตชพโล

    เตชพโล เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 กุมภาพันธ์ 2010
    โพสต์:
    267
    ค่าพลัง:
    +1,431
    อย่ามัวพะวงในการตรวจสอบธรรม
    ที่ท่านผู้ใดผู้หนึ่งได้แสดงออกมาอยู่เลย
    เพราะการตรวจสอบธรรมของผู้อื่นย่อมเป็นของผู้อื่น
    จะนำมาเป็นสมบัติของตนก็ไม่ได้
    แม้แต่ธรรมของพระพุทธองค์ก็เป็นของพระองค์
    หากไม่ปฏิบัติตามที่พระองค์ทรงแสดงจนเกิดความรู้ความเห็นประจักษ์กับตน
    ก็จะถือเป็นธรรมสมบัติของเราก็หาได้ไม่ เช่นกัน

    แต่่ควรตรวจสอบธรรมในใจตน
    ว่าถูกต้องตรงทางสมควรแก่ธรรมที่พระพุทธองคทรงแสดงหรือเปล่า

    ต่อเมื่อธรรมของพระพุืทธองค์ปรากฏเป็นธรรมสมบัติในใจเราเมื่อใด
    เมื่อนั้นแล ธรรมสมบัติในใจเรานั่นเอง
    จะคอยชี้คอยบอกคอยเตือนเราเองนั่นแหละ
    ว่าธรรมที่ใคร ๆ แสดงนั้น ถูกต้องตรงทางกับที่พระพุทธองค์ทรงแสดงหรือไม่
    โดยที่ไม่ต้องเอาตำรับตำราใดมาตรวจสอบเลย

    เอาหัวใจเราที่รู้ที่เห็นประจักษ์กับใจนี้แล
    เป็นเครื่องตรวจสอบ
     
  12. deemonster

    deemonster เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    16 มกราคม 2007
    โพสต์:
    0
    ค่าพลัง:
    +805
    มาดูตรงนี้ ในกาลปรากฏ ของบัญัตินั้นๆ พี่หนีเล่าซึ้งๆหน่อย
     
  13. นิวรณ์

    นิวรณ์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กันยายน 2008
    โพสต์:
    9,051
    ค่าพลัง:
    +3,456
    ฮึย มาถามย้อนทำไมเนี่ยะ คำถามนี้ มันน่าจะถูกเหยียบไปตั้งแต่

    ผมทะลึ่งไป ย้อนแย้ม กะ ปุณฑ์ปู้น แล้วนะ ........

    ใครผัดชะอมแถวนี้หรือเปล่า คุณถึงได้ วกกลับไปในส่วนที่ถูกเหยียบไปแล้ว
     
  14. ปุณฑ์

    ปุณฑ์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 กันยายน 2008
    โพสต์:
    2,760
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +4,692
    แต่ก่อนอภิธรรมก็อยู่ในสุตตันตะปิฏก แต่เป็นธรรมอันลึกซึ้งมุ่งเนื้อหาธรรมแท้ คือถ้าขั้นปรมัตถ์ ไม่มีบุคคลตัวตนฯ เราก็ยังต้องศึกษากันอยู่ดี

    หากมองในแง่ดี ..เวลาที่ใครว่า อภิธรรมนั้นแหละที่จะทำให้เราเข้าใจธรรมแท้ได้
    ก็อาจไม่ต้องขนาดไปเข้าใจว่าต้องไปศึกษาหมวดอภิธรรม ..แต่ทำความเข้าใจว่าอภิธรรมนี้ เป็นธรรมที่ต้องเข้าถึงด้วยความเข้าใจจากการปฏิบัติและต้องศึกษาอยู่ดี เพราะในสุตตันตระ ถ้าเกี่ยวกับปรมัตถ์แล้ว ก็คืออภิธรรม
    ส่วนใครอยากศึกษาในหมวดอภิธรรมด้วย ก็จัดว่าดี.. เพราะอภิธรรมเป็นธรรมอันลึกซึ้ง เรียนรู้แต่ไม่ใช่ติดยึด

    ...

    ...โดยยึดแนวทางการอธิบายจากหนังสือ พระไตรปิฎก ฉบับสำหรับประชาชน ซึ่งรวบรวมและเรียบเรียงโดย อาจารย์สุชีพ ปุญญานุภาพ จัดพิมพ์และจำหน่ายโดย มหามกุฏราชวิทยาลัย

    คำว่าพระไตรปิฎก อันเป็นคัมภีร์ของพุทธศาสนา ในทำนองเดียวกันกับไบเบิล เป็นคัมภีร์ของศาสนาคริสต์ และอัลกุรอาน เป็นคัมภีร์ของศาสนาอิสลาม

    โดยความหมายตามตัวอักษร คำว่า “พระไตรปิฎก” หมายถึง กระจาดหรือตะกร้าสามใบ โดยแยกออกเป็นคำได้ ดังนี้
    1. ไตร แปลว่า สาม
    2. ปิฎก แปลว่า ตะกร้าหรือกระจาด ซึ่งคนทั่วไปใส่ของถือไปมา

    โดยนัยนี้ เมื่อใช้กับคำสอน ก็หมายถึง การรวบรวมคำสอนไว้เป็นหมวดหมู่ 3 หมวดด้วยกัน อันได้แก่

    • พระวินัยปิฎก ว่าด้วยวินัยหรือศีลของภิกษุ และภิกษุณี
    • พระสุตตันตปิฎก ว่าด้วยพระธรรม เทศนาทั่วๆไป ซึ่งพระพุทธเจ้าสอนโดยการยกบุคคลขึ้นมารองรับในการอธิบายขยายความ หรือที่เรียกว่า บุคคลาธิษฐาน
    • พระอภิธรรมปิฎก ว่าด้วยธรรมะล้วน ไม่อ้างอิงบุคคลตัวตน เราเขา

    ในยุคที่พระพุทธองค์ยังทรงพระชนม์อยู่ คำสอนแบ่งออกเป็น 2 หมวด คือ พระธรรมกับวินัย ดังที่ปรากฏอยู่ในพุทธพจน์ที่ตรัสแก่พระอานนท์ ซึ่งได้ทูลถามว่า เมื่อพระองค์ปรินิพพานแล้ว จะให้ใคร เป็นศาสดาแทน ว่า พระธรรมและพระวินัยที่เรา (ตถาคต) แสดงแล้ว บัญญัติแล้ว จะเป็นศาสดาแทน เมื่อตถาคตล่วงลับไปแล้ว (โย โว อานนฺท มยา ธมฺโม จ วินโย จ เทสิโต ปญฺญตฺโต โส โว ม มจฺจเยน สตฺถา)

    เมื่อพิจารณาจากพุทธพจน์ดังกล่าวข้างต้น จะเห็นว่า ไม่มีคำว่าพระอภิธรรมแยกออกไปเหมือนกับที่ปรากฏในคำว่า พระไตรปิฎก จึงทำให้เกิดข้อกังขาว่า อภิธรรมอยู่ที่ไหน และเพิ่มเข้ามาได้อย่างไร

    คำตอบเกี่ยวกับประเด็นนี้ พอจะอนุมาน ได้ว่า พระอภิธรรม ในยุคแรก ก็เป็นส่วนของคำสอน ที่รวมอยู่ในคำว่าพระธรรม แต่เป็นส่วนที่ลึกซึ้ง
    ดังนั้น จึงมีการแยก ธรรมส่วนนี้ออกมาเป็นหมวดหนึ่งต่างหาก โดยยึดลักษณะแห่งการสอน คือถ้าการสอนโดยยกบุคคลขึ้นตั้ง หรือที่เรียกว่าบุคคลาธิษฐาน ก็จัดเป็นพระสุตตันตปิฎก แต่ถ้าการสอนเป็นปรมัตถ์ คือมุ่งเนื้อหาธรรมะแท้ๆ ไม่เกี่ยวข้องกับบุคคล ตัวตน เราเขา หรือที่เรียกว่า ปรมัตถเทศนา ก็จัดเป็นพระอภิธรรมปิฎก

    เมื่อมีการเกริ่นให้เข้าใจชื่อของคัมภีร์ โดยสังเขปแล้ว ต่อจากนี้ ผู้เขียนจะได้นำคำสอนทั้งจากพระสูตร พระวินัย และ พระอภิธรรม มาเสนอท่านผู้อ่านเป็น ตอนๆ ไป

    (จาก นิตยสารธรรมลีลา ฉบับที่ 134 กุมภาพันธ์ 2555 โดย สามารถ มังสัง)
    http://palungjit.org/threads/%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B8%A1%E0%B8%B2%E0%B8%82%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%84%E0%B8%B3%E0%B8%A7%E0%B9%88%E0%B8%B2-%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B9%84%E0%B8%95%E0%B8%A3%E0%B8%9B%E0%B8%B4%E0%B8%8E%E0%B8%81.329070/
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 20 กรกฎาคม 2012
  15. นิวรณ์

    นิวรณ์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กันยายน 2008
    โพสต์:
    9,051
    ค่าพลัง:
    +3,456
    ไม่ เล่าหละ ลมหายใจตัวเองก็มี ใยต้องยืมตะหมูกคนกาลีแซะด้วย !
     
  16. ฐาณัฏฐ์

    ฐาณัฏฐ์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    5 มกราคม 2008
    โพสต์:
    6,197
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +4,075
    ก็เอาให้ชัดไง ^^
     
  17. นิวรณ์

    นิวรณ์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กันยายน 2008
    โพสต์:
    9,051
    ค่าพลัง:
    +3,456
    เอ้า ถ้าอยากให้ ชัดๆ ก็แนะนำว่า ให้ไปถามเอาจาก ต้นสังกัด

    กล่าวคือ

    คุงต้องย้องไปลูก่อนในโพสเก่า อั๊วะได้มีการทำฉบับแก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ. จุดจุด

    ในส่วน ปอ ลอ ลิง ระบุรหัสต้นสังกัดอาวไว้ หากลือเป็นผู้เจนภพจบ"พันทิศ"
    ย่อมรู้ล่ายว่า อั๊วะหมายถึงใคร

    และ ผู้นั้นคือชั้น "Prime" ที่ "all spark" ได้สร้างมา
     
  18. ฐาณัฏฐ์

    ฐาณัฏฐ์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    5 มกราคม 2008
    โพสต์:
    6,197
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +4,075
    ลูกชุบในอภิธรรมสังคหะ มาจากพระอภิธรรมปิฏก

    คำถาม แล้วในลูกชุบมีอะไร ^^

    เช่น
    หากเข้าใจผิด คิดเอาว่า อยู่เฉยๆ สุขสงบดี ไม่ได้ไปทำอะไรผิดแล้ว

    คิดเอาว่าเป็นกุศลจิตอยู่นั้น อาจจะไม่ถูกก็ได้
     
    แก้ไขครั้งล่าสุดโดยผู้ดูแล: 20 กรกฎาคม 2012
  19. นิวรณ์

    นิวรณ์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กันยายน 2008
    โพสต์:
    9,051
    ค่าพลัง:
    +3,456
    แล้วสังเกตหรือเปล่าหละว่า

    บาลีเนี่ยะ ใช้คำว่า "ปถม จิตตัง" "ทุติย จิตตัง"

    ทีนี้นะ มันเป็นคำบาลี ขอชี้ไปที่คำว่า จิตตัง คำนี้ ต้องแยกออกเป็น สองคำ
    คือคำว่า "จิต" กับ "ตัง"

    คำว่า จิต แปลว่า การรวบรวม การรวม การก่อ การสั่งสม

    ส่วนคำว่า ตัง แปลว่า "ด้วยเหตุ"

    ดังนั้น "ปถม จิตตัง" แล้วไปแปลว่า จิตดวงที่หนึ่ง อันนี้ จะเห็นร่องรอย
    ของการวิวาทรำไรละ

    เพราะว่า เอาเข้าจริงๆ ท่านหมายถึง "การรวมต่อกันแบบที่หนึ่ง" "การรวมตัวก่อ
    กันแบบที่สอง" ...............

    พระที่ท่านเรียนบาลีมา ท่านถึงได้เอ็ดเอาว่า จิตมีดวงเดียว ไม่ได้แปลว่า มีหลายดวง
    ( ตรงนี้เป็น การแล่นไปของสัญญาจากการเห็นคำว่า ดวง )

    แต่พระบางท่านก็ไวพอที่จะกล่าวว่า มันเป็นเรื่อง ทฤษฏีสี ทฤษฏีเล่นแร่แปรธาตุ อันนี้
    ก็แปลว่า ท่านวกกลับมายังความหมายเดิมที่เป็น บาลี คือ การรวมตัวแบบที่หนึ่ง การ
    รวมตัวแบบที่สอง การรวมตัวแบบที่สาม

    ไม่ได้แปลว่ามันเป็น ดวง

    และไม่ได้แปลว่า มันมี ลำดับ การเกิดเป็น 1 2 3 4 5 ......

    และไม่ได้แปลว่า มันมี "n ดวง"

    ดังนั้น เวลาพระท่านเอ็ด เราก็ดูว่า พระท่านเอ็ดเพื่อกัน ทิฏฐิวิปลาสในแบบไหน ที่
    อาจจะเกิดขึ้นจาก ปุถุชนไปเห็นคำว่า "ดวง" กับ การเห็น ตัวเลข 1 2 3 4 ..... n

    ถ้าเข้าใจว่าท่านเอ็ด เพื่อประโยชน์กับใคร เพื่ออะไร ก็ไม่เห็นจะมีปัญหาอะไร
     
  20. ฐาณัฏฐ์

    ฐาณัฏฐ์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    5 มกราคม 2008
    โพสต์:
    6,197
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +4,075
    คงไม่ได้หมายถึงหลายดวง ยุบยับเต็มไปหมดหรอก ^^

    เอาเป็นว่า รู้กับถูกรู้

    ที่ไหนถูกรู้ ที่นั้นมีรู้

    รู้ดับ ถูกรู้ก็ดับไปด้วย

    รู้เกิด ถูกรู้ก็เกิดด้วย

    รู้ทางตาก็ไม่ใช่รู้ทางหู

    รู้ทางหูก็ไม่ใช่รู้ทางใจ



    ส่วนคำว่า ดวง

    มันก็ไม่ได้โผล่มาเป็นดวง เป็นสีอะไร


    เอานะ ไม่ได้เรียนบาลีมา คงอธิบายได้เท่านี้
     

แชร์หน้านี้

Loading...