โชคเหนือเมฆ-กำไลเหนือดวง- มูลนิธิเทียนฟ้า 2497 - วัตถุมงคล หลวงปู่พิศดู-ครูบากฤษดา

ในห้อง 'พระเครื่อง วัตถุมงคล' ตั้งกระทู้โดย bat119, 20 กุมภาพันธ์ 2013.

  1. bat119

    bat119 เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    10 กันยายน 2009
    โพสต์:
    14,514
    ค่าพลัง:
    +30,847
    สวัสดีครับเสี่ยเฟริส์ท
     
  2. bat119

    bat119 เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    10 กันยายน 2009
    โพสต์:
    14,514
    ค่าพลัง:
    +30,847
    ‎วิชาหัวใจมหาพรหม‬..
    หลวงปู่พิศดู ท่านก็เป็นหนึ่งในครูบาอาจารย์ที่เป็นสายวิชาพรหมเช่นกันครับ หลวงปู่ท่านสำเร็จวิชาหัวใจมหาพรหมอย่างเอกอุ สมัยก่อนท่านเคยอธิษฐานจิต(อัญเชิญ)พระพรหมให้ลูกศิษ์เอาไว้บูชา และยันต์ที่ท่านใช้ลงตะกรุด หรือวัตถุมงคลบางอย่าง ท่านก็เคยใช้หัวใจมหาพรหมนี้ลงให้ด้วย แต่อาจจะไม่บ่อยครั้งเท่าใดนัก เพราะวิชานี้เป็นวิชาชั้นสูง ผู้บูชาต้องประกอบไปด้วยคุณงามความดีเป็นที่ตั้ง เพราะการลงวิชาหัวใจมหาพรหมนั้น คล้ายกับการอัญเชิญญาณของพระพรหมลงมารักษาในวัตถุมงคลนั้นๆ เนื่องด้วยพระพรหมเป็นเทพชั้นผู้ใหญ่ ที่มีฤทธิ์อำนาจบารมีมาก..
    จะว่าไปก็จะไปคล้ายกับวิชาทำผงโสฬสมหาพรหม ของหลวงปู่สีทัตถ์ วัดท่าอุเทน ที่กล่าวกันว่า ผู้ที่ทำวิชานี้ได้สำเร็จจะบันดาลให้เทพเทวะทั้ง 16 ชั้นฟ้า 15 ชั้นดิน 14 บาดาล ตลอดชั้นพรหม ภควพรหม จนถึงสุทธาวาสมาอำนวยพร ของนี้จะอุดมด้วยวาสนา บารมี ลาภสักการะ หนุนค้ำชูดวงชะตา(พรหมลิขิต) ปรารถนาสิ่งใดก็มักสำเร็จดังหวัง...
    และเท่าที่ทราบความลับจากครูบาอาจารย์ได้เมตตาบอกเอาไว้ว่า ในบรรดาพระเครื่องที่หลวงปู่พิศดูได้ตั้งใจลงวิชาหัวใจมหาพรหมเอาไว้ มีอยู่ 2 รุ่นเท่านั้น ก็คือ ‪#‎พระกสิณ‬ ที่เป็นพระเครื่องรุ่นแรกของท่าน..
    และ ‪#‎รูปหล่อรุ่นพระธรรมธาตุ‬ รุ่นที่เป็นพระเครื่องรุ่นสุดท้ายของท่าน ท่านจึงได้อธิษฐานจิตลงวิชาหัวใจมหาพรหมใส่เอาไว้ด้วยเป็นกรณีพิเศษ เสมือนเป็นวัตถุมงคลที่ตั้งใจสร้างฝากเอาไว้เป็นรุ่นสุดท้ายแบบทิ้งทวนจริงๆ..
    ส่วนวัตถุมงคลอื่นๆที่ท่านลงวิชาหัวใจมหาพรหมไว้นั้น ก็คงจะมีเพียงตะกรุดบางดอก รูปถ่ายบางรูป และวัตถุมงคลอีกเพียงไม่กี่อย่างที่ทำไว้ให้ใช้เฉพาะตัวลูกศิษย์จริงๆเท่านั้น เนื่องจากเป็นวิชาชั้นสูงดังที่ได้กล่าว..
    ด้วยเหตุนี้ท่านครูบากฤษดาจึงได้เมตตาทำการจารอักขระเป็นภาษาล้านนาที่ใต้ฐานรูปหล่อชุดนี้ด้วยทุกองค์ ด้วยลายมือท่านของท่านเอง อ่านว่า.. เม กะ มุ อุ ซึ่งเป็นคาถาหัวใจมหาพรหม นั่นเอง เพื่อให้เข้ากับวิชาที่หลวงปู่พิศดูได้ลงเอาไว้ในพระชุดนี้ และเพื่อความเป็นศิริมงคลยิ่งๆขึ้นไปครับ..
    อันหัวใจมหาพรหมหรือที่เรียกกันว่า พรหมวิหารธรรม คือ หลักธรรมของผู้ใหญ่ ประกอบด้วยหลักธรรมสำคัญ 4 ประการ คือ
    - เม = เมตตา = ความรัก ความเอื้ออารีย์ ความเป็นห่วง
    - กะ = กรุณา = ความสงสาร เห็นอกเห็นใจกัน ช่วยเหลือ
    - มุ = มุทิตา = ความพรอยยินดี ที่เห็นผู้อื่นได้ดี
    - อุ = อุเบกขา = ความวางภาระ วางเฉย เมื่อถึงขอบเขตที่สมควร
    ครูบาอาจารย์จึงถอดเป็นหัวใจของพระพรหม หรือ หัวใจพรหมวิหารธรรม ได้เป็น เม กะ มุ อุ ดังกล่าวครับ.. สาธุ

    ข้อมูลคุณสิรภพ

    <a href="http://www.mx7.com/view2/z85rVFsLcyS4UdjT" target="_blank"><img border="0" src="http://www.mx7.com/i/982/v3Tt8D.jpg" /></a>​
     
  3. ศิษย์ปิยธโร

    ศิษย์ปิยธโร อายุ วรรณโณ สุขัง พลัง สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    15 มิถุนายน 2006
    โพสต์:
    14,846
    ค่าพลัง:
    +14,112

    สวัสดียามสายครับป๋า:cool:
     
  4. bat119

    bat119 เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    10 กันยายน 2009
    โพสต์:
    14,514
    ค่าพลัง:
    +30,847
    สวัสดีครับเสี่ยเฟริส์ท
     
  5. bat119

    bat119 เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    10 กันยายน 2009
    โพสต์:
    14,514
    ค่าพลัง:
    +30,847
    นำข้อมูลมาให้อ่านกันครับ รูปหล่อพระธรรมธาตุผมไม่มีออกให้บูชาครับ(หมดแล้วเหมือนกัน)
     
  6. ศิษย์ปิยธโร

    ศิษย์ปิยธโร อายุ วรรณโณ สุขัง พลัง สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    15 มิถุนายน 2006
    โพสต์:
    14,846
    ค่าพลัง:
    +14,112

    สวัสดียามสายครับป๋า
     
  7. bat119

    bat119 เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    10 กันยายน 2009
    โพสต์:
    14,514
    ค่าพลัง:
    +30,847
    สวัสดีครับเสี่ยเฟริส์ท
     
  8. bat119

    bat119 เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    10 กันยายน 2009
    โพสต์:
    14,514
    ค่าพลัง:
    +30,847
    รุ่นนี้ถึงไม่ทันหลวงปู่อธิษฐานจิต แต่ชนวนมวลสารและเจตนาการสร้าง สุดยอดมากๆครับ เดี๋ยวไปขอแบ่งมาได้จะนำฝากกันครับ

    <a href="http://www.mx7.com/view2/z8kNuDzreZmfZS3n" target="_blank"><img border="0" src="http://www.mx7.com/i/12f/T9SEhZ.JPG" /></a>​

    ลักษณะของพระมหาอุปคุตปางนี้
    พระมหาอุปคุตปางนี้ ถือได้ว่าเป็นการออกแบบที่ไม่ซ้ำกับที่ใดมาก่อน ส่วนข้อมูลการจัดสร้างรูปหล่อพระมหาอุปคุตนี้ เป็นความตั้งใจของคณะศิษย์สายหลวงปู่พิศดู ที่อยากจะเผยแผ่บารมีของพระมหาเถรอุปคุต และสร้างตามเจตนาที่เคยตั้งใจจะสร้างถวายบูชาหลวงปู่พิศดูเมื่อครั้งยังดำรงค์ขันธ์อยู่ ซึ่งองค์หลวงปู่ท่านก็รับทราบครับ ส่วนเรื่องลักษณะปางของพระมหาอุปคุตนั้น ก็ได้นำเรียนปรึกษาท่านครูบากฤษดา สมัยที่ท่านไปกราบนมัสการหลวงปู่พิศดูที่วัดเทพธารทอง ท่านครูบาก็ได้เมตตาบอกลักษณะของพระมหาอุปคุตปางนี้ให้ ว่าตามตำนานลักษณะของพระมหาเถรอุปคุตตอนจะมัดพญามารนั้น ท่านทำอาการอธิษฐาน แล้วโยนผ้ารัดอกของท่านขึ้นบนอากาศ เพื่อใช้มัดพญามารไว้กับเขาพระสุเมรุ จนทำให้พญามารพ่ายแพ้ด้วยฤทธิ์ของท่านในที่สุด..
    จึงได้ใช้จินตนาการในการออกแบบลักษณะปางของท่านดังกล่าวนี้ ให้หงายมือเตรียมพร้อมที่จะโยนผ้ารัดอกขึ้นนั่นเอง ส่วนพระพักตร์ของท่านได้หันหน้าขึ้นเพื่อชำเรืองคอยมองพญามารอยู่ครับ..
    ส่วนมือของท่านอีกข้างหนึ่งถือดอกบัวเพื่อบูชาพระพุทธเจ้า เนื่องจากองค์พระมหาเถรอุปคุตท่านมีความเคารพ รัก ในคุณของพระพุทธเจ้าเป็นที่สุดหาประมาณมิได้
    และองค์ท่านประทับนั่งขัดสมาธิเพชรอยู่บนแท่นหินเหนือคลื่นน้ำ หรือมหาสมุทร เนื่องจากว่าองค์พระมหาเถรนั้นท่านจำศีลอยู่ในสะดือทะเล อันมีพญานาค เต่า ปลา หอย และสัตว์น้ำต่างๆเป็นบริวาร ด้านหลังของฐานนั้น จะจารึกไว้ด้วยอักขระขอมอ่านได้ว่า.." พระนาคอุปคุต " ซึ่งเป็นพระนามของท่าน แปลว่า พระอุปคุตผู้ประเสริฐ
    ส่วนบนพระเศียรท่าน จะมีใบบัวปิดอยู่ 1 ใบ นั่นเป็นสัญลักษณ์ที่บ่งบอกถึงว่าท่านคือพระมหาเถรอุปคุตนั่นเองครับ ไม่ว่าจะเป็นปางใดก็ตาม ส่วนใหญ่เราก็มักจะเห็นว่า มีใบบัวปิดอยู่บนพระเศียรของท่านอยู่เสมอครับ.. สาธุ

    รายละเอียด(บางส่วน) ของชนวนที่นำมาหล่อหลอมรูปหล่อพระมหาอุปคุต ปางปราบมาร

    - เนื้อชนวนหลักที่ได้นำมาใส่ในครั้งนี้ ก็คือ เนื้อชนวนก้นเบ้าพระกริ่ง-พระชัยวัฒน์ธัมมะจารี ก้อนสุดท้ายน้ำหนักหลายกิโลกรับ
    - ก้านชนวนเนื้อนวโลหะ และก้นเบ้าของพระกริ่ง-พระชัยวัฒน์สุขังเสติ เฉพาะ ชนวนชุดนี้น้ำหนักรวมหลายสิบกิโลกรัม
    - ชนวนพระขรรค์แก้ววัชรจักรรุ่นแรก

    - ชนวนพระกริ่ง รูปหล่อ เหรียญพระคณาจารย์ต่างๆ จำนวนมาก อาทิ..
    พระแก้วมรกต หมดห่วง รุ่นแรก
    เหรียญพระพุทธชินราช มั่นในธรรม 2515
    เหรียญพระไพรีพินาศ รุ่นต่างๆ
    พระพุทธสิหิงค์ เชียงใหม่
    หลวงพ่อวัดเขาตะเครา
    พระพุทธสิหิงค์ นครศรีธรรมราช
    หลวงพ่อโต วัดหลักสี่
    หลวงพ่อโสธร
    หลวงพ่อโตวัดพนันเชิง
    เหรียญพระเจ้าแดง
    พระศรีอาริยเมตไตย-หลวงปู่ทวด ญาท่านสวน

    ชนวนพระกริ่ง หลวงปู่ญาท่านสวน วัดนาอุดม
    ชนวนพระกริ่ง สิททัตโถ
    ชนวนพระกริ่ง รุ่นแรก หลวงปู่คำผา วัดป่าคำนกถัว
    ชนวนพระกริ่ง หลวงพ่อโสธร รุ่นต่างๆ
    ชนวนพระกริ่ง หลวงพ่อโสธร รุ่นกรมตำรวจ
    ชนวนพระกริ่ง หลวงปู่กาหลัง วัดเขาแหลม
    ชนวนพระกริ่ง โปร่งฟ้า หลวงปู่มหาคำแดง วัดคัมภีราวาส
    ชนวนพระกริ่ง หลวงปู่เก๋ วัดปากน้ำ นนทบุรี
    ชนวนพระกริ่ง ไพรีพินาศ รุ่นชัยชนะศึก
    ชนวนพระกริ่ง หลวงพ่ออุดม วัดพิชัยสงคราม
    ชนวนพระกริ่ง หลวงปู่ปัญญา วัดหนองผักหนาม
    ชนวนพระกริ่ง หน้ายักษ์ หลวงปู่เสริฐ วัดโอภาสี
    ชนวนพระชัยวัฒน์ยอดธง หลวงปู่เสริฐ วัดโอภาสี
    ชนวนพระยอดธง ทรงเครื่องมหาจักรพรรดิ์ สำนักสงฆ์เขาน้ำซับ
    ชนวนรูปหล่อ หลวงพ่อจิ่ม วัดไผ่ล้อม
    ชนวนรูปหล่อ หลวงพ่อท้วม วัดศรสุวรรณ
    ชนวนรูปหล่อ หลวงปู่ใย วัดมะขาม
    ชนวนรูปหล่อ หลวงปู่ทองดำ วัดท่าทอง รุ่นเหล็กน้ำพี้
    ชนวนรูปหล่อ หลวงพ่อเงิน วัดบ้านกรับ กาญจนบุรี (อ.อนันต์ มอบให้)
    รูปหล่อปั๊มรุ่นแรก หลวงพ่อทอก วัดหนองชิ่ม
    เหรียญหล่อ หลวงพ่อเปิ่น วัดบางพระ
    พระอวโลกิเตศวร ครูบากฤษดา
    พระชัยทรงเครื่อง ครูบากฤษดา
    ชนวนรวมวัตถุมงคลทั่วประเทศ

    ชนวน พระมหาอุปคุตรุ่นต่างๆหลายรุ่น..
    พระมหาอุปคุต วัดอุปคุต เชียงใหม่
    พระมหาอุปคุต หลวงปู่พิศดู วัดเทพธารทอง
    พระมหาอุปคุต หลวงปู่ไม วัดป่าเขาภูหลวง
    พระมหาอุปคุต หลวงปู่เวิน วัดน้ำวิ่ง

    เหรียญ 9 สังฆราช วัดเทพเหรียญนารายเกษียรสมุทร ญาท่านสวนากร
    เหรียญ 9 รัชกาล วัดเทพากร
    หลวงปู่พิศดู วัดเทพธารทอง (หลายองค์)
    เหรียญเต่าพระปัจเจกฯ หลวงปู่บุญศรี
    หลวงพ่อทองดำ วัดท่าทอง
    หลวงพ่อเงิน วัดดอนยายหอม
    หลวงปู่แหวน วัดดอยแม่ปั๋ง
    ท่านพ่อลี วัดอโศการาม
    หลวงปู่ฝั้น อาจาโร
    พระปรอท หลวงปู่ละมัย
    หลวงปู่บุญจิต
    หลวงพ่อแช่ม วัดฉลอง ปี 2479
    หลวงปู่อินทร์ วัดกลางคลองสี่
    เหรียญหลวงปู่มั่นตัดชิด วัดเขาน้อยสามผาน
    หลวงพ่อเอีย วัดบ้านด่าน (มีจาร) หลายเหรียญ
    หลวงปู่เทียม วัดกษัตราธิราช
    หลวงพ่อสอน วัดเสิงสาง รุ่นแรก
    หลวงปู่จันทร์ วัดศรีเทพ
    หลวงพ่อกี๋ วัดหูช้าง
    หลวงพ่อกวย วัดโฆสิตาราม (เดิมบาง)
    หลวงปู่คำพันธ์ วัดธาตุมหาชัย
    หลวงปู่เสริฐ วัดโอภาสี
    หลวงพ่อจรัญ วัดอัมพวัญ
    หลวงพ่อคูณ วัดบ้านไร่
    หลวงปู่ทิม วัดพระขาว
    หลวงปู่เวิน วัดน้ำวิ่ง
    หลวงปู่จันทร์หอม วัดบุ่งขี้เหล็ก
    หลวงปู่ผาด วัดบ้านกรวด
    หลวงปู่ท่อน วัดศรีอภัยวัน
    หลวงพ่อขันตี วัดป่าม่วงไข่
    หลวงปู่วิชัย วัดไผ่ล้อม
    หลวงปู่บุญฤทธิ์ สวนทิพย์
    หลวงปู่ศรี มหาวีโร
    หลวงพ่อเมี้ยน วัดโพธิ์กบเจา
    หลวงปู่ขาว วัดถ้ำกองเพล
    หลวงปู่คำคนิง วัดถ้ำคูหาสวรรค์
    หลวงปู่มั่น ทัตโต
    หลวงปู่หมุน วัดบ้านจาน
    เหรียญพระปัจเจกโพธิ์ วัดสันพระเจ้าแดง
    หลวงตามหาบัว
    หลวงปู่ละมัย รุ่นแรก
    เหรียญร้อยปีเกิด หลวงปู่ปาน
    หลวงพ่อเงิน วัดดอนยายหอม
    หลวงปู่เผือก วัดสารีโข
    หลวงพ่อสมภพ วัดสารีโข
    หลวงพ่อเนื่อง วัดจุฬามณี
    หลวงปู่กาหลง วัดเขาแหลม
    หลวงปู่อิง วัดโคกทม
    หลวงปู่เชื่อม วัดเขาทอง
    หลวงปู่เหรียญ วัดอรัญบรรพต
    หลวงปู่คำพันธ์ วัดธาตุมหาชัย
    หลวงพ่อแดง วัดเขาบันไดอิฐ
    หลวงพ่อคล้อย วัดถ้ำเขาเงิน
    หลวงพ่ออุตมะ วัดวังวิเวการาม
    หลวงปู่ปัญญา วัดหนองผักหนาม
    หลวงปู่พวง วัดน้ำพุ
    หลวงพ่อจำเนียร วัดถ้ำเสือ
    หลวงพ่อพิเชฐ วัดโคกหม้อ
    หลวงปู่เย่อ วัดอาสาสงคราม
    หลวงปู่ฉาบ วัดศรีสาคร
    หลวงปู่บุญมี ปริปุณโณ
    เจ้าคุณทอง วัดปรดสัตว์
    หลวงพ่อรวย วัดท่าเรือ
    หลวงพ่ออุดม วัดพิชัยสงคราม
    หลวงพ่อจอย วัดโนนไทย
    หลวงปู่เยี่ยม วัดประดู่ทรงธรรม
    หลวงปู่นาม วัดน้อยชมภู่
    วัดกลางคูเวียง
    หลวงปู่ลา วัดพงพรต
    เหรียญพระเจ้าตากสิน
    หลวงปู่สมชาย วัดเขาสุกิม
    เหรียญ 12 นักษัตร ครูบาอินทร์ วัดฟ้าหลั่ง
    หลวงปู่จันทร์ เขมัปปัตโต
    หลวงปู่คำดี
    หลวงปู่เฉย สุทโธ
    หลวงพ่อโต วัดหลักสี่
    หลวงปู่ศุข รุ่นต่างๆ
    หลวงพ่อเงิน รุ่นต่างๆ
    หลวงปู่ทวด รุ่นต่างๆ
    หลวงปู่ทวด อาศรมชีประขาว
    หลวงพ่อแสง
    หลวงปู่สุภา
    เหรียญพระไภสัชยคุรุ
    พระสิวลี รุ่นต่างๆ
    พระอุปคุตรุ่นต่างๆ
    พระสังกัจจายน์ รุ่นต่างๆ
    หลวงปู่เพิ่ม วัดป้อมแก้ว
    หลวงพ่อธรรมโชติ บ้านบางระจันทร์
    เหรียญพระสังฆราช สุก
    หลวงปู่บุญหนา วัดป่าโสตถิผล
    หลวงพ่ออกบ-หลวงพ่อโอภาสี
    หลวงพ่อท้วม วัดศรีสุวรรณ
    หลวงปู่นวน วัดป่าก้าว
    หลวงพ่อบุญมา วัดป่าภูหันบรรพต
    หลวงปู่ใย วัดมะขาม
    หลวงปู่เรือง เขาสามยอด
    หลวงพ่อทันใจ วัดศรีมหาราชา
    หลวงพ่อรวย วัดท่าเรือ
    หลวงปู่บุญ วัดบ้านนา
    หลวงพ่อจรัส วัดธรรมมิกการาม
    หลวงพ่อออด วัดบ้านช้าง
    หลวงพ่อทอง วัดคณิกาผล
    หลวงปู่วรพรต วัดจุมพล
    หลวงพ่อเฉลียว วัดถ้ำพระธาตุ
    ครูบาสร้อย จ.ตาก
    นวโกฏิเศรษฐี หลวงปู่มา
    หลวงปู่บัว ถาวโร วัดใหม่ศรัทธาราษฎร์
    หลวงพ่อสำเภา วัดบน
    พระร่วงรางปืน เชียงใหม่
    เหรียญยันต์หลวงปู่เสริฐ วัดโอภาสี
    หลวงพ่อแผน วัดพลับพลา
    แหวนหลวงปู่ไม วัดป่าเขาภูหลวง
    หลวงพ่อแช่ม วัดดอนยายหอม
    หลวงพ่อเขียว วัดหลงบน
    หลวงพ่อแพ วัดพิกุลทอง
    หลวงปู่อินทร์ วัดโบสถ์
    เหรียญหล่อหลวงพ่อเปิน
    หลวงปู่เหลา วัดศิริธรรมมิกกาวาส
    หลวงป่หงษ์ สุสานทุ่งมน
    พระสยามเทวิธิราช วัดป่ามะไฟ
    หลวงปู่ชอบ ฐานสโม
    หลวงพ่อไสว วัดปรีดาราม
    หลวงพ่อพูล วัดไผ่ล้อม
    หลวงพ่อจันทร์ วัดดงน้อย
    พระหูยาน หลวงพ่อพิเชฐ วัดโคกหม้อ

    เหรียญครองราช 50 ปี
    เหรียญเงินสมัยรัชกาลที่ 5
    เหรียญสมัยฟูนัน
    เหรียญสตางค์รู จำนวน 100 กว่าเหรียญ
    เหรียญสตางค์ ตรามังกร ของจีน

    แผ่นยันต์ ตะกรุดต่างๆ
    ตะกรุดพิศมร เนื้อทองคำ หลวงปู่พิศดู
    หลวงปู่ท่อน วัดศรีอภัยวัน เมตตาจารแผ่นยันต์เพื่อมาหลอมพระชุดนี้โดยเฉพาะ
    ครูบากฤษดา วัดสันพระเจ้าแดง 5 แผ่น
    หลวงปู่ทิม วัดพระขาว
    หลวงปู่บุญจันทร์ วัดหนองมะแซว
    หลวงปู่จันทร์หอม วัดบุ่งขี้เหล็ก
    หลวงปู่โส วัดป่าคำแคนเหนือ
    หลวงปู่บู่ วัดสุมังคลาราม
    หลวงปู่เสริฐ วัดโอภาสี
    หลวงปู่พระธรรมวงศ์มุนี วัดไผ่ล้อม
    หลวงปู่ลี วัดภูผาแดง
    หลวงปู่มหาคำแดง วัดคัมภีราวาส
    หลวงปู่บุญฤทธิ์ สวนทิพย์
    หลวงพ่อพิเชฐ วัดโคกหม้อ 3 แผ่น
    หลวงปู่แจ้ง วัดประดู่ฯ
    หลวงปู่น้อย
    หลวงปู่เสงี่ยม วัดสุวรรณเจดีย์
    ครูบาน้อย วัดถ้ำมังกรทอง
    หลวงปู่เมียด วัดโขดหอย
    ยันต์ป้องกันภัย คาถาวันโลกดับ สายหลวงปู่คำพันธ์
    ... และตะกรุด แผ่นยันต์ที่ไม่ทราบที่ และไม่ได้จดบันทึกอีกจำนวนมากครับ

    ชนวนโลหะ แร่ต่างๆ เข้าสูตรนวโลหะ มีดังนี้..
    ทองคำ
    เงิน
    จ้าวน้ำเงิน
    บริสุทธิ์
    ชิน
    ทองแดง
    เหล็กละลายตัว
    ปรอท
    สังกะสี

    ... ฯลฯ

    ดังที่กล่าวมาทั้งหมดนี้ เป็นเพียงบางส่วนเท่านั้น ที่บันทึกไว้ได้ และได้ใส่ลงในเบ้าหลอมทั้งหมด รวมชนวนแล้วมีเกือบ 100 กิโลกรัมครับ..

    มวลสารที่ใช้บรรจุรูปหล่อพระมหาอุปคุต ปางปราบมาร

    - ผงพระธาตุ 500 อรหันต์ พระธาตุพระปัจเจกพุทธเจ้า พระธาตุพระสิวลี ของหลวงปู่ครูบาชัยวงศาพัฒนา วัดพระบาทห้วยต้ม
    - พระผงเนื้อพระธาตุ รุ่นสุปฏิปันโณ ของหลวงปู่ครูบาชัยวงศาพัฒนา วัดพระบาทห้วยต้ม (หลายองค์)
    - พระรอดเกศาครูบาศรีฯ เนื้อครั่ง
    - พระปัจเจกโพธิเนื้อผงเขียว หลวงปู่พิศดู (พระชำรุด)
    - ผงที่ใช้สร้างพระของ หลวงปู่คำคนิง จุลมณี วัดถ้าคูหาสวรรค์
    - ผงสมเด็จ หลวงพ่อสด วัดปากน้ำ รุ่น 3 (พระชำรุด)
    - ผงพระพระวัดคู้สลอด หลายองค์ (พระชำรุด)
    - ผงพระกรุ วัดดงตาล หลวงพ่อปาน วัดบางนมโคปลุกเสก (จำนวนหลายองค์)
    - ผงพระขุนแผน กรุทุ่งมะขามหย่อง สมัยอยุธยา (พระชำรุด)
    - ผงพระหลวงพ่อโน่ง วัดคลองมะดัน จ.สุพรรณบุรี (พระชำรุด)
    - ผงพระรุ่นอายุยืน หลวงปู่สี วัดเขาถ้ำบุญนาค (พระชำรุด จำนวนหลายสิบองค์)
    - ผงพระกรุสมัยต่างๆ
    - ผงพระกรุบึงพระยาสุเรนทร์ (สมเด็จเขียว เหนียวจริง)
    - ผงพระกรุ วัดชนะสงคราม ยุคสงครามเก้าทัพ
    - ผงหลวงปู่คำพันธ์ วัดธาตุมหาชัย
    - ผงหลวงปู่กิ วัดสนามชัยเขต
    - ผงหลวงปู่เทียม วัดกษัตราธิราช
    - ผงหลวงปู่แทน วัดธรรมเสน
    - ผงหลวงปู่สอน วัดเสิงสาง
    - ผงหลวงพ่อสุด วัดกาหลง
    - ผงหลวงพ่อแดง วัดเขาบรรไดอิฐ
    - ผงหลวงปู่หมุน วัดบ้านจาน
    - ผงลบสูตร หลวงพ่อสละ วัดประดู่ทรงธรรม
    - ผงลบสูตร หลวงพ่ออุดม วัดพิชัยสงคราม
    - ผงตรีนิสิงเห และผงสบสูตร หลวงปู่เสริฐ วัดโอภาสี
    - ผงยาที่ใช้พอกตะกรุด ท่านพ่อผุด วัดวังเวียน
    - ผงยา 7 ชนิด ผงว่านสลักไก ผงว่านต่างๆ ดินปิดรูปู หลวงปู่เชย เขาเจ้าหลาว
    - ผงไม้กงกะเด็น ว่านเปราะหอม หลวงปู่สมชาย วัดเขาสุกิม
    - ผงวิเศษหลวงพ่อกวย วัดโฆสิตาราม
    - ผงบายศรีบูชาครู หลวงปู่หมุน
    - ผงกสิณ หลวงปู่สรวง เทวดาเล่นดิน
    - ยาอจินไตย หลวงปู่ละมัย สำนักสวนสมุนไพร เพชรบูรณ์
    - ผงการบูรเสก หลวงปู่ละมัย
    - ผงจากขวานฟ้าผ่า ล้างอาถรรพ์
    - ผงพระว่านจำปาสักหลายองค์
    - ผงโสฬสมหาพรหม ที่ใช้สร้างพระของ หลวงปู่จันทร์ วัดศรีเทพ ปี 2500
    - มวลสารที่ใช้สร้างพระสมเด็จ พระครูมูล วัดสุทัศน์ ปี 2495 (พระชำรุด)
    - ผงสมเด็จ วัดประสาท ปี 2506 (พระชำรุด)
    - ผงสมเด็จบางขุนพรหม ที่ใช้สร้างหลวงปู่ทวด วัดประสาท ปี 2506
    - ผงสมเด็จ หลวงปู่โต๊ะ วัดประดู่ฉิมพลี (พระชำรุด)
    - ผงพระโพธิจักร เนื้อดินเผา ท่านพ่อลี วัดอโศการาม ปี 2500
    - ผงพระโพธิจักร เนื้อผงเกษร ท่านพ่อลี วัดอโศการาม ปี 2500
    - ผงพระโพธิจักร หลวงปู่สนั่น วัดธารเกษม ที่ชำรุด สิบกว่าองค์
    - ผงหลวงปู่สำเร็จลุน นครจำปาสัก

    - แผ่นรัก และผงปูนกระเทาะ หลวงพ่อทองคำ วัดไตรมิตร
    - ดินสังเวชนียสถาน และมวลสารพุทธภูมิ จากประเทศอินเดีย
    - ใบโพธิ์จากต้นตรัสรู้ ที่พุทธคยา ประเทศอินเดีย
    - ปฐวีธาตุ และทรายจากแม่น้ำเนรัญชรา ประเทศอินเดีย จุดที่พระพุทธองค์อธิษฐานลอยถาด
    - ผงหลวงพ่อปาน วัดบางนมโค ที่ใช้อุดที่องค์พระพิมพ์ทรงสัตว์ต่างๆ และปั้นเป็นลูกอม
    - ผงหลวงพ่อจง วัดหน้าต่างนอก
    - ผงมหาจักรพรรดิ์ ล้วน 99 % ของหลวงปู่ดู่ วัดสะแก จำนวนมาก
    - ผงมวลสารจิตรลดา
    - ผงของหลวงพ่อแก้ว , หลวงพ่อปลอด , หลวงพ่อทองสุข วัดในปากทะเล จำนวนมาก
    - ผงอิทธิเจ สมัยอยุธยา วัดสัมฤทธิ์

    - ผงกสิณ ผงพุทธะมงคล และผงต่างๆ ขององค์หลวงปู่พิศดู
    - ผงยาวิเศษปลอดโรค หลวงปู่พิศดู
    - ผงที่ใช้บรรจุในองค์พระกริ่งธัมมะจารี และพระชัยวัฒน์ธัมมะจารี ชุดอุดผง
    - ผงที่ใช้สร้างพระทุกรุ่น ของหลวงปู่พิศดู
    - ตะไบพระกริ่งธัมมะจารี
    - ผงชาญหมาก หลวงปู่พิศดู
    - ผงไม้เท้า หลวงปู่พิศดู
    - ผงไม้เทพธาโรเสก หลวงปู่พิศดู
    - ผงไม้โพธิ์นิพพาน วัดเทพธารทอง
    - ผงบายศรีพระมหาอุปคุต หลวงปู่พิศดู
    - ผงดอกไม้บูชาพระ ของหลวงปู่พิศดู
    - ผงสี ที่ลอกออกจากพระพุทธไสยาสน์องค์ใหญ่ วัดเทพธารทอง
    - ข้าวก้นบาตร ของหลวงปู่พิศดู
    - ผงยาสมุนไพร ของหลวงปู่พิศดู
    - ผงน้ำอ้อยเสก หลวงปู่พิศดู
    - น้ำมนต์พิธีต่างๆ และน้ำล้างหน้า ขององค์หลวงปู่พิศดู
    - ปรอท ที่ใช้ทำเบี้ยแก้ หลวงปู่พิศดู
    - ผงหอยเบี้ยแก้ หลวงปู่พิศดู
    - มวลสารที่ใช้อุดเบี้ยแก้ หลวงปู่พิศดู
    - ผงเปลือกหอยสังข์มงคล หลวงปู่พิศดู
    - สีผึ้ง หลวงปู่พิศดู ทุกรุ่น

    - ผงรวมหัวเชื้อสุดยอดมวลสาร จากพระเกจิอาจารย์ต่างๆ และผงชันเพชรฯ มหามงคลที่ใช้สร้างพระ ของท่าน อาจารย์อนันต์ สวัสดิสวนีย์ อดีตผู้อำนวยการกองช่างสิบหมู่กรมศิลปากร เป็นผู้มอบให้ พร้อมด้วยชนวนสำคัญอีกหลายอย่าง (ใครเคยศึกษาการสร้างพระ และตามเก็บพระของสายท่าน อ.อนันต์ ก็คงทราบดี ว่าต้องมีชนวน-มวลสารประเภทใดบ้าง)

    - แป้งเสก หลวงปู่ดู่ วัดสะแก
    - ผงหลวงปู่ท่อน วัดศรีอภัยวัน
    - ผงมวลสารของหลวงปู่เทพโลกอุดร
    - ผงหลวงปู่สี วัดเขาถ้ำบุญนาค
    - ผงพระคำข้าว หลวงพ่อฤาษีลิงดำ
    - ผงมหาจักรพรรดิ์ หลวงตาม้า ถ้ำเมืองนะ
    - ผงมวลสาร ครูบากฤษดา วัดสันพระเจ้าแดง
    - สีผึ้ง ครูบากฤษดา

    - ผงยาจินดามณี หลวงปู่พิศดู วัดเทพธารทอง
    - ผงยาจินดามณี หลวงปู่บุญ วัดกลางบางแก้ว
    - ผงยาจินดามณี หลวงปู่เพิ่ม วัดกลางบางแก้ว
    - ผงยาจินดามณี หลวงปู่เจือ วัดกลางบางแก้ว
    - ผงยาจินดามณี หลวงปู่อั๊บ วัดท้องไทร
    - ผงยาจินดามณี หลวงปู่ฟัก วัดเขาวงพระจันทร์
    - ผงยาจินดามณี วัดท่าเสา สมุทรสาคร
    - มวลสารที่ใช้ในการสร้างพระ วัดหน้าพระเมรุ พระนครศรีอยุธยา
    - ผงไม้ช่อฟ้า พระอุโบสถ วัดหน้าพระเมรุ พระนครศรีอยุธยา
    - ผงรักเพดาน พระอุโบสถ วัดหน้าพระเมรุ พระนครศรีอยุธยา
    - ผงพุทธะอริยะรังสี ผงนี้ได้ผสมมวลสารมากมายกว่า 3,000 ชนิด ฯลฯ
    - สายสิญจน์อธิษฐาน หลวงปู่ทองดำ
    - ผงเหล็กน้ำพี้ หลวงปู่หมุน
    - ผงดวงเศรษฐี หลวงปู่หมุน
    - เหล็กน้ำพี้ บ่อพระขรรค์ บ่อพระแสง จ.อุตรดิตถ์
    - ผงเหล็กน้ำพี้ หลวงปู่ทองดำ
    - ผงแป้งเจิม หลวงปู่ทองดำ
    - ดินไทย และเบ้าดินที่ใช้หล่อพระสำคัญ
    - ผงยาตำรับ หลวงปู่เทพโลกอุดร

    - มวลสารที่ใช้สร้างพระของหลวงปู่บุญฤทธิ์
    - ผงพระโมคคัลลาน์ หลวงปู่ผ่าน ปัญญาปทีโป
    - ผงที่ใช้สร้างพระหลวงปู่ทวด หลายวัด จำนวนมาก
    - ผงสมเด็จ " ปุญญมากโร " หลวงพ่อประสิทธิ์
    - มวลสารสร้างพระของหลวงปู่จันทา ถาวโร
    - แท่งอำพัน วัดพระปฐมเจดีย์
    - กระเบื้องนพเก้า วัดพระศรีรัตนมหาธาตุ พิษณุโลก
    - ผงที่ใช้สร้างพระปิดตา หลวงพ่อกล้วย วัดหมูดุด
    - ผงหลวงปู่ภู วัดต้นสน
    - ปรอทหลวงปู่พิศดู หลวงปู่ละมัย และปรอทครูบาอาจารย์อีกหลวงองค์
    - ข้าวสารหิน
    - ผงที่ใช้สร้างพระของเจ้าคุณนรฯ วัดเทพศิรินทร์
    - ผงที่ใช้สร้างพระของ หลวงปู่แหวน
    - ผงวิเศษ หลวงปู่เก๋ วัดปากน้ำ นนทบุรี
    - มวลสารที่ใช้ในการสร้างพระ หลวงพ่อทรง วัดศาลาดิน (หลายรุ่น)
    - มวลสารที่ใช้ในการสร้างพระ หลวงปู่สุภา กันตสีโล
    - มวลสารที่ใช้ในการสร้างพระ หลวงปู่มหาปลอด วัดโพธินิมิตร

    - ข้าวก้นบาตร หลวงปู่พิศดู
    - ข้าวก้นบาตร หลวงปู่ปลอด วัดโพธินิมิตร
    - ข้าวก้นบาตร หลวงปู่ท่อน วัศรีอภัยวัน

    - ผงธูปหลวงพ่อปิยปกาศิต
    - ผงธูปพระธาตุพนม
    - ผงทรายทอง ทรายเงิน ทรายนิล วัดพระธาตุพนม
    - ผงทองคำเปลว ที่ปิดรูปหล่อองค์พระมหากัสปะ และองค์พระมหาอุปคุต ที่พระมหาเจดีย์พระธาตุพนม
    - พลอยเสก หลายพิธี
    - ผงว่านที่ใช้สร้างสมเด็จ วัดโยธานิมิตร
    - มวลสารที่อธิษฐานจิตโดย หลวงปู่ประเวศ วัดป่าคลองมะลิ
    - ผงที่ใช้สร้างพระ หลวงปู่หลอด วัดใหม่เสนา
    - มวลสารที่ใช้ในการสร้างพระ หลวงพ่อเพชร วัดบ้านกลับ จ.กาญจนบุรี

    - ผงบายศรีบูชาพระอุปคุต หลวงปู่พิศดู วัดเทพธารทอง
    - มวลสาร และว่านที่ใช้สร้างพระอุปคุต หลังพระแม่ธรณี แจกสามจังหวัดชายแดนภาคใต้
    - มวลสารที่ใช้สร้างพระอุปคุต วัดพระบาทสี่รอย
    - มวลสารที่ใช้สร้างพระอุปคุต วัดอุปคุต (หลายรุ่น)
    - มวลสารที่ใช้สร้างพระอุปคุต หลวงปู่ครูบาโอภาส วัดจองคำ
    - มวลสารที่ใช้สร้างพระอุปคุต หลวงปู่ครูบาชัยวงศาพัฒนา วัดพระบาทห้วยต้ม
    - มวลสารที่ใช้สร้างพระอุปคุต หลวงปู่บุญกู้ วัดพระศรีมหาธาตุ บางเขน
    - มวลสารที่ใช้สร้างพระอุปคุต วัดป่าดาราภิรมย์
    - ทองคำเปลวที่ปิดรูปหล่อองค์พระมหาอุปคุต วัดพระธาตุพนม

    - ผงมหาอำนาจ
    - ผงว่าน 108 ครบ
    - ว่าน 500 ชนิด หลวงปู่พรหมา
    - ผงหลวงพ่อทรง วัดศาลาดิน
    - ผงหลวงปู่หงษ์ สุสานทุ่งมน
    - ผงพระหลวงปู่ผาด วัดดงตาล หลวงพ่อปาน วัดบางนมโค ปลุกเสก

    - ผงอุกามณี ของ สมเด็จลุน เมืองจำปาสัก
    - ผงปฐวีธาตุ เจ้าคุณนรฯ วัดเทพศิรินทร์
    - ผงปฐวีธาตุ หลวงปู่พิศดู วัดเทพธารทอง
    - ผงปฐจีธาตุ หลวงปู่ละมัย สวนสมุนไพรเจ้าแก้ว
    - ทรายเสก หลวงปู่ฟัก วัดเขาวงพระจันทร์
    - ทรายเสก หลวงปู่ทองดำ วัดท่าทอง
    - ทรายเสก หลวงปู่หงษ์ สุสานทุ่งมนต์
    - ทรายเสก หลวงพ่อฤาษีลิงดำ วัดท่าซุง
    - ทรายเสก หลวงพ่อผินะ วัดสนมลาว
    - ทรายเสก หลวงพ่อฉาบ วัดศรีสาคร
    - ทรายแก้ว ทรายเงิน ทรายทองศักดิ์สิทธิ์ วัดพระธาตุพนม
    - ดินสังเวชนียสถาน แดนพุทธภูมิ ประเทศอินเดีย เนปาล
    - ทรายมหามงคล 4 ภาค

    - ผงปูนเสก คุณแม่บุญเรือน วัดอาวุธ
    - ผงยาดำ และผงมวลสาร หลวงพ่อดิ่ง , หลวงพ่อฟู วัดบางสมัคร
    - ผงลบสูตร หลวงปู่ดี ธัมมะธีโร
    - ผงปรอทหลวงปู่ละมัย
    - ผงพระปิดตา ทั่วทั้งสายชลบุรี และใกล้เคียง
    - ผงชาญหมากพระอริย ครูบาอาจารย์หลายสิบองค์
    - ผงกะลาตาเดียว และไม้มงคล
    - ผงกาฝากไม้มงคลต่างๆ
    - ผงธูปวัดสำคัญๆหลายที่
    - ผงงาช้างโบราณ
    - ข้าวสารดำ 2,500 ปี
    - มวลสารเก่าพระธาตุพนม

    - แร่พระหัตถ์ 4 รอย วัดปะต๊ะ สิบสองปันนา
    - แร่จ้าวน้ำเงิน
    - แร่เมฆพัตร
    - แร่บางไผ่
    - แร่ข้าวตอกพระร่วง
    - แร่เหล็กน้ำพี้
    - แร่เกาะล้าน
    - แร่เหล็กไหลย้อย
    - แร่เหล็กเปียก
    - แร่เพชรหน้าทั่ง
    - แร่อุกาบาศ นอกโลก
    - แร่ วัดประสาทบุญญาวาส ปี 2506
    - ปรอทดำ
    - ปรอทขาว

    - ตะไบพระกริ่ง หลวงปู่ดู่ วัดสะแก
    - ตะไบพระกริ่ง-พระชัยวัฒน์ ธัมมะจารี วัดเทพธารทอง
    - ตะไบพระกริ่ง-พระชัยวัฒน์ สุขังเสติ วัดเขาน้ำซับ
    - ตะไบรูปหล่อพระมหาอุปคุตปราบมาร วัดเขาน้ำซับ
    - ตะไบพระกริ่ง ญาท่านสวน วัดนาอุดม
    - ตะไบพระกริ่ง มงคลมหาเศรษฐี วัดศรีบูรพาราม
    - ตะไบพระกริ่ง ชินบัญชร ญสส. วัดศรีบูรพาราม

    - สีผึ้งหลายวัด จำนวนมาก
    - มวลสารต่างๆ จากสายสำนักเขาอ้อ
    - ผงมวลสารจากครูบาอาจารย์ สายพระป่ากรรมฐานทั้วประเทศ
    - ผงต่างๆ จากเกจิอาจารย์ ฯลฯ อีกจำนวนมากนับพันอย่าง ที่ไม่มีการจดบันทึกไว้
    - ...
    - ...
    - ... ฯลฯ

    มวลสารเหล่านี้ ได้ใช้บรรจุไว้ใต้ฐานรูปหล่อพระมหาอุปคุตปางปราบมาร แบบแทบจะล้วนๆ ส่วนตัวประสานเนื้อผงให้เข้ากันนั้น ได้ใช้น้ำผึ้งเสกของหลวงปู่พิศดู ข้าวก้นบาตร(ชนิดเปียก) สีผึ้ง น้ำหมาก น้ำมนต์ ของเหล่าครูบาอาจารย์ และน้ำมันอนันตคุณ108 กล้วยน้ำไทย กาว ฯลฯ เป็นตัวประสานหลัก.. เพราะฉะนั้นเวลาที่ผงแห้งนั้นอาจจะมีหดตัว หรือมีรอยแยกบ้างนิดหน่อย ถือเป็นเรื่องปกติครับ เนื่องจากเราเน้นใส่มวลสารแบบเข้มข้นพิเศษจริงๆ
    เกศาธาตุพระอริยสงฆ์ และสายพระโพธิสัตว์ รวม 108 องค์
    ที่บรรจุในรูปหล่อพระมหาอุปคุตปางปราบมาร

    1. ท่านพ่อลี วัดอโศการาม
    2. หลวงปู่พิศดู วัดเทพธารทอง
    3. ครูบาเจ้าศรีวิชัย
    4. ครูบาเจ้าเกษม เขมโก
    5. ครูบาพรหมจักร วัดพระพุทธบาทตากผ้า
    6. ครูบาชัยยะวงศาพัฒนา
    7. หลวงปู่แหวน วัดดอยแม่ปั๋ง
    8. หลวงปู่สิม พุทธจาโร
    9. ครูบาอินตา อินทปัญโญ วัดห้วยไซใต้
    10. สมเด็จพระสังฆราช วัดบวรฯ
    11. หลวงปู่ภัททันตะ อาสภะมหาเถระ
    12. ครูบาอ้าย
    13. ครูบาคอง วัดท่ามะเกว๋น
    14. หลวงตามหาบัว ญาณสัมปันโน
    15. ครูบากฤษดา สุเมโธ วัดสันพระเจ้าแดง
    16. หลวงพ่อชา สุภัทโธ
    17. หลวงปู่เจี๊ยะ จุนโท
    18. หลวงปู่จาม จ.มุกดาหาร
    19. หลวงปู่อ่อนสา
    20. หลวงปู่ศรี มหาวีโร
    21. หลวงปู่สอ พันธุโล
    22. หลวงปู่ท่อน ญาณธโร
    23. หลวงปู่หลอด ปโมทิโต
    24. หลวงปู่คำบ่อ ฐิตปัญโญ
    25. หลวงพ่อประสิทธิ์ วัดป่าหมู่ใหม่
    26. หลวงปู่เหรียญ วรลาโภ
    27. หลวงปู่สี ฉันทสิริ วัดเขาถ้ำบุนนาค
    28. หลวงพ่อฤาษีลิงดำ วัดท่าซุง
    29. ญาท่าสวน ฉันทโร วัดนาอุดม
    30. หลวงปู่ลี วัดภูผาแดง
    31. หลวงปู่เปี่ยม วัดโพธิ์เรียง
    32. หลวงปู่เกลี้ยง วัดศรีธาตุ
    33. หลวงปู่ทิม วัดระหารไร่
    34. หลวงปู่นะ วัดหนองบัว
    35. หลวงพ่อสมชาย วัดเขาสุกิม
    36. พ่อท่านเอื้อม
    37. หลวงปู่จันทร์แรม
    38. หลวงปู่ทา วัดถ้ำซับมืด
    39. หลวงพ่อยิด วัดหนองจอก
    40. หลวงปู่เพิ่ม วัดกลางบางแก้ว
    41. หลวงปู่อิง โชติโญ
    42. หลวงปู่หมุน ฐิตสีโล
    43. หลวงปู่เหมือน จ.สระแก้ว
    44. หลวงปู่กอง วัดสระมณฑล
    45. หลวงปู่พวง วัดสหกรณ์รังสรรค์
    46. หลวงปู่เพียร วัดป่าหนองกอง
    47. หลวงปู่บุญมี วัดสระประสานสุข
    48. หลวงปู่บุญฤทธิ์ สำนักสวนทิพย์
    49. หลวงปู่ดู่ พรหมปัญโญ วัดสะแก
    50. หลวงปู่ขาว อนาลโย
    51. หลวงพ่อทองดำ วัดท่าทอง
    52. หลวงปู่จันทา ถาวโร
    53. ครูบาจันทร์แก้ว วัดศรีสว่าง
    54. ครูบาดวงดี วัดบ้านฟ่อน
    55. หลวงปู่ทอง วัดเกาะ
    56. พระมหาเจิม วัดสระมงคล
    57. หลวงพ่อจรัญ วัดอัมพวัญ
    58. หลวงปู่มหาปลอด วัดโพธินิมิตร
    59. หลวงพ่อเอีย วัดบ้านด่าน
    60. หลวงปู่ดี ธัมมะธีโร
    61. หลวงปู่สนั่น วัดธารเกษม
    62. หลวงปู่อุ่นหล้า
    63. หลวงปู่บุญกู้ วัดพระศรีมหาธาตุ บางเขน
    64. หลวงปู่สว่าง โอภาโส
    65. หลวงปู่สวาท
    66. หลวงปู่ฟัก สันติธัมโม
    67. หลวงปู่วิชัย วัดไผ่ล้อม(พระอารามหลวง) จ.จันทบุรี
    68. อาจารย์สมเดช สิริจันโท วัดเขาถ้ำโบสถ์
    69. หลวงปู่เชย อมโร อาศรมเขาเจ้าหลาว
    70. หลวงปู่บุญตา วัดอินทรีวนาราม จ.ชัยภูมิ
    71. หลวงปู่เกล้า
    72. หลวงปู่คำบุ วัดกุดชมพู
    73. หลวงปู่ลมัย ฐิตมโน สวนป่าสมุนไพร จ.เพชรบูรณ์
    74. อาจารย์ประเวทย์ วัดป่าคลองมะลิ
    75. ครูบามานพ วัดพระธาตุหนองจันทร์
    76. หลวงปู่สำราญ วัดปากคลองมะขามเฒ่า
    77. หลวงปู่เฟื่อง วัดธรรมสถิต
    78. หลวงปู่สมควร วัดถือน้ำ
    79. หลวงปู่ปราโมท วัดป่านิโครธาราม
    80. หลวงปู่ทิม วัดพระขาว
    81. หลวงปู่บุญจิตต์ วัดลานบุญ
    82. หลวงปู่เชื่อม วัดเขาทอง
    83. หลวงปู่พวง วัดน้ำพุ
    84. หลวงปู่ชื้น วัดญานเสน
    85. หลวงปู่มหาคำแดง วัดคัมภีราวาส
    86. หลวงปู่สุภา วัคอนสวรรค์ (วัดสีลสุภาราม)
    87. หลวงพ่อุตตมะ วัดวังวิเวการาม
    88. หลวงพ่ออุดม วัดพิชัยสงคราม
    89. หลวงปู่ทุย
    90. หลวงปู่สวัสดิ์ วัดศาลาปูน
    91. หลวงปู่คำพอง ติสโส
    92. หลวงปู่เรือง สำนักปฏิบัติธรรมเขาสามยอด
    93. หลวงปู่เคน วัดป่าบ้านหนองหว้า
    94. หลวงปู่โต๊ะ วัดประดู่ฉิมพลี
    95. หลวงพ่อไพฑูรย์ วัดโพธินิมิตร
    96. หลวงปู่หลุย วัดถ้าผาบิ้ง
    97. หลวงปู่ฟัก วัดเขาวงพระจันทร์
    98. หลวงปู่มู จ.เชียงใหม่
    99. หลวงปู่อ่อง เขาวงกต
    100. หลวงปู่เล็ก วัดทำนบ
    101. หลวงพ่ออุ้น วัดตาลกง
    102. หลวงปู่เวิน วัดน้ำวิ่ง
    103. หลวงปู่นาม วัดน้อยชมพู
    104. หลวงปู่นิยม วัดแจ้งนอก
    105. หลวงปู่เยี่ยม วัดประดู่ทรงธรรม
    106. หลวงพ่อขันตี วัดป่าม่วงไข่
    107. หลวงปู่อุดม วัดป่าเวฬุวัน
    108. หลวงปู่ผาด วัดไร่

    ตะกรุดที่นำมาฝังไว้ใต้ฐานรูปหล่อองค์พระมหาอุปคุต ก็สุดๆแล้วครับ.. ตอนแรกผมเข้าใจว่าเขาจะใช้ตะกรุดเนื้อเงินฝังใต้ฐาน แต่ที่ไหนได้ ดียิ่งกว่านั้นซะอีกครับ เพราะว่าตะกรุดที่นำมาฝังนี้เป็นตะกรุดเนื้อชนวนล้วนๆแบบ 100% ที่หลอม หล่อ รีดมาจากแผ่นจารพระยันต์จากพระคณาจารย์ตั้งแต่ยุคเก่าจนถึงยุคปัจจุบัน กว่า 300 องค์ รวมแล้วเกือบพันแผ่น อาทิแผ่นยันต์ของ...
    หลวงปู่เทศ เทศรังษี
    หลวงปู่ดู่ วัดสะแก
    หลวงปู่พิศดู ธัมมะจารี
    หลวงพ่อคูณ ปริสุทโธ
    ...ฯลฯ
    ผสมกับชนวนหล่อพระสำคัญอีกมากมาย เช่น ชนวนหัวโทนหล่อพระประธานตามวัดสำคัญ ชนวนพระกริ่งปืนเที่ยงวัดทองนพคุณ ชนวนเหรียญพระแก้วองค์ต้น ชนวนพระกริ่งของหลวงปู่ญาท่านสวน ชนวนพระกริ่งธัมมะจารี ชนวนพระกริ่งสุขังเสติ ชนวนพระขรรค์แก้ววัชรจักร ชนวนวัตถุมงคลชุดโลกุตรธรรม ทองจังโก๋พระธาตุเจดีย์ที่สำคัญ...ฯลฯ
    ซึ่งโลหะที่นำมาหลอมทำตะกรุดชุดนี้เป็นโลหะผสมจะว่าเป็นเนื้อใดเนื้อหนึ่งก็มิใช่ เพราะมีทั้งทองคำ เงิน ทองแดง ทองเหลือง นวะ ฯลฯ ไม่รู้ว่าจะเรียกตะกรุดเนื้ออะไรดี ก็ขอเรียกว่าตะกรุดชนวนล้วนๆก็แล้วกันนะครับ.. ผมทราบข่าวยังประทับใจเลย พิถีพิถันในการสร้างกันถึงขนาดนี้เชียว

    พิธีอธิษฐานจิตรูปหล่อพระมหาอุปคุต ปางปราบมาร 34 พิธี

    1. พิธีเททองรูปหล่อองค์พระมหาอุปคุต และรูปหล่อหลวงปู่พิศดู ณ สำนักสงฆ์เขาน้ำซับ โดยพระเกจิอาจารย์ต่างๆ อาทิ
    - หลวงพ่อจำเนียร วัดถ้ำเสือ จ.กระบี่
    - หลวงพ่ออั้น วัดธรรมโฆษก(โรงโค) จ.อุทัยธานี
    - หลวงพ่อสิน วัดระหารใหญ่ จ.ระยอง
    - หลวงพ่อเฮง จ.ปราจีนบุรี
    - ...ฯลฯ

    2. พิธีอธิษฐานจิตเดี่ยว โดย หลวงปู่ท่อน ญาณธโร วัดศรีอภัยวัน จ.เลย

    3. พิธีอธิษฐานจิตเดี่ยว โดย หลวงปู่มหาปลอด ติสสเทโว วัดโพธินิมิตรสถิตมหาสีมาราม กรุงเทพฯ

    4. พิธีอธิษฐานจิตเดี่ยว โดย หลวงปู่บุญจิต วัดลานบุญ

    5. พิธีอธิษฐานจิตเดี่ยว โดย หลวงปู่ไม อินทสิริ วัดป่าเขาภูหลวง จ.นครราชสีมา

    6. พิธีอธิษฐานจิตเดี่ยว โดย ครูบาครอง วัดท่ามะเกว๋น จ.ลำปาง

    7. พิธีอธิษฐานจิตเดี่ยว โดย ครูบากฤษดา สุเมโธ วัดสันพระเจ้าแดง จ.ลำพูน

    8. พิธีอธิษฐานจิตเดี่ยว โดย ครูบาดวงดี ยติโก วัดบ้านฟ่อน จ.เชียงใหม่

    9. พิธีอธิษฐานจิตเดี่ยว โดย ครูบาโอภาส วัดจองคำ จ.ลำปาง

    10. พิธีพุทธาภิเษก และตักบาตรพระมหาอุปคุต ณ วัดเทพธารทอง โดยพระเกจิผู้ทรงคุณ อาทิ..
    - หลวงปู่มหาพร้อม วัดพลับบางกะจะ
    - หลวงปู่บุญส่ง วัดเขาน้ำตก
    - หลวงปู่อ่อง เขาวงกต
    - หลวงพ่อมนัส มันตชาโต สำนักกรรมฐานฟื้นฟูจิต เขาแหลม
    - ฯลฯ

    11. พิธีอธิษฐานจิตเดี่ยว โดย พระอริยครูบาอาจารย์รูปหนึ่ง (ขออภัยที่ต้องสงวนนาม เนื่องจากทางคณะศิษย์ของท่านได้ขอไว้) วัดของท่านอยู่แถวๆเขาใหญ่ จ.นครราชสีมา

    12. พิธีอธิษฐานจิตเดี่ยว โดย หลวงปู่อุดม วัดป่าเวฬุวัน จ.นครราชสีมา

    13. พิธีอธิษฐานจิตเดี่ยว โดย ครูบาอาจารย์รูปหนึ่ง ที่จังหวัดชัยภูมิ (ขออภัยที่ต้องสงวนนาม เช่นกัน)

    14. พิธีอธิษฐานจิตเดี่ยว โดย หลวงปู่เคน เขมาสโย วัดป่าบ้านหนองหว้า จ.สกลนคร

    15. พิธีอธิษฐานจิตเดี่ยว โดย หลวงปู่บุญหนา วัดป่าโสตถิผล จ.สกลนคร

    16. พิธีอธิษฐานจิตเดี่ยว โดย หลวงปู่บู่ วัดสุมังคลาราม จ.สกลนคร

    17. พิธีอธิษฐานจิตเดี่ยว โดย หลวงปู่โฮม ญาณธัมโม วัดสุทธิมงคล จ.ยโสธร

    18. พิธีอธิษฐานจิตเดี่ยว โดย หลวงปู่สรวง วัดป่าศรีฐานใน จ.ยโสธร

    19. พิธีอธิษฐานจิตเดี่ยว โดย หลวงปู่จันทร์หอม วัดบุ่งขี้เหล็ก จ.อุบลราชธานี

    20. พิธีอธิษฐานจิตเดี่ยว โดย หลวงปู่อ่อง ฐิตธัมโม วัดเทพสิงหาญ จ.อุบลราชธานี

    21. พิธีอธิษฐานจิตเดี่ยว โดย หลวงปู่มหาคำแดง วัดคัมภีราวาส จ.อุบลราชธานี

    22. พิธีอธิษฐานจิตเดี่ยว โดย หลวงปู่จูม กังขามุตโต วัดธรรมรังสี จ.อุบลราชธานี

    23. พิธีอธิษฐานจิตเดี่ยว โดย หลวงปู่คำบุ คุตตจิตโต วัดกุดชมภู จ.อุบลราชธานี

    24. พิธีอธิษฐานจิตเดี่ยว โดย หลวงปู่บุญ วัดแสงน้อย จ.อุบลราชธานี

    25. พิธีอธิษฐานจิตเดี่ยว โดย หลวงปู่โทน วัดบ้านพลับ อุบลราชธานี

    26. พิธีอธิษฐานจิตเดี่ยว โดย หลวงปู่บุญจันทร์ วัดหนองมะแซว จ.ศรีสะเกษ

    27. พิธีอธิษฐานจิตเดี่ยว โดย หลวงปู่พา วัดบัวระรมย์ จ.ศรีสะเกษ

    28. พิธีอธิษฐานจิตเดี่ยว โดย หลวงปู่พวง ฐานวโร วัดน้ำพุสามัคคี จ.เพชรบูรณ์

    29. พิธีอธิษฐานจิตเดี่ยว โดย หลวงปู่เวิน วัดน้ำวิ่ง จ.เพชรบูรณ์

    30. พิธีเททองหลวงพ่อกบ เขาสาริกา โดย หลวงปู่เสริฐ เขมโก วัดโอภาสี และเกจิอาจารย์ต่างๆ

    31. พิธีอธิษฐานจิตเดี่ยว ในวันเสาร์5 โดย หลวงปู่เสริฐ เขมโก วัดโอภาสี จ.ระยอง

    32. พิธีพุทธาภิเษก 3 มหาราช สมเด็จพระนเรศวรมหาราช สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช สมเด็จพระปิยะมหาราช

    33. พิธีบวงสรวงองค์พระมหาอุปคุต ในวันเพ็ญพุธ ณ ริมหน้าผา อ่าวคุ้งกระเบน โดย ท่านพระอาจารย์หนึ่ง สำนักสงฆ์เขาน้ำซับ

    34. พิธีวางศิลาฤกษ์ ธัมมะจารีมณฑป ณ วัดเทพธารทอง จ.จันทบุรี

    ข้อมูลคุณทุเรียนทอด
     
  9. bat119

    bat119 เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    10 กันยายน 2009
    โพสต์:
    14,514
    ค่าพลัง:
    +30,847
    รูปหล่อพระอุปคุต จำนวนการสร้าง มีเนื้อนำฤกษ์เทดินไทยจำนวน56องค์ เนื้อนวโลหะจำนวน 1,200 องค์ แยกเป็นแจกกรรมการไม่ตัดก้าน 200องค์ แต่คัดพระดีๆได้เพียงประมาณ 150 องค์เท่านั้น
    ส่วนเนื้อนวโลหะธรรมดา สร้าง 1,000 องค์ แต่คัดพระสภาพดีๆได้เพียงประมาณไม่ถึง 800 องค์ครับ ก็มีทั้งองค์ที่ขัดผิวกับไม่ขัดผิวครับ


    <a href="http://www.mx7.com/view2/z8npZppG75UTTrJA" target="_blank"><img border="0" src="http://www.mx7.com/i/cbd/nuHm6n.jpg" /></a>

    <a href="http://www.mx7.com/view2/xp2AffoL5bc49eZ8" target="_blank"><img border="0" src="http://www.mx7.com/i/250/97Q0MS.jpg" /></a>

    <a href="http://www.mx7.com/view2/z8nqU80Nu3OrKaRs" target="_blank"><img border="0" src="http://www.mx7.com/i/ea5/slS9fp.jpg" /></a>​
     
  10. ศิษย์ปิยธโร

    ศิษย์ปิยธโร อายุ วรรณโณ สุขัง พลัง สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    15 มิถุนายน 2006
    โพสต์:
    14,846
    ค่าพลัง:
    +14,112

    สวัสดียามสายครับป๋า:cool::cool:
     
  11. bat119

    bat119 เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    10 กันยายน 2009
    โพสต์:
    14,514
    ค่าพลัง:
    +30,847
    สวัสดียามค่ำครับเสี่ยเฟริส์ท
     
  12. ศิษย์ปิยธโร

    ศิษย์ปิยธโร อายุ วรรณโณ สุขัง พลัง สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    15 มิถุนายน 2006
    โพสต์:
    14,846
    ค่าพลัง:
    +14,112

    สวัสดียามสายครับป๋า ทางโน้นฝนตกบ้างมั้ยครับ
    ทางอิสานตกทุกวันเลย เย็นๆดีครับ:cool::cool:
     
  13. bat119

    bat119 เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    10 กันยายน 2009
    โพสต์:
    14,514
    ค่าพลัง:
    +30,847
    สวัสดีครับเสี่ยเฟริส์ท ตกทุกวันเลยครับ ตอนนี้ก็ตกอยู่
     
  14. bat119

    bat119 เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    10 กันยายน 2009
    โพสต์:
    14,514
    ค่าพลัง:
    +30,847
    เปิดรูปหล่อพระอุปคุตปราบมาร วัดเขาน้ำซับ เนื้อชนวนไม่ขัดผิว(มีเพียงแค่30%)จากการสร้าง1000องค์ งานเทหล่อใส่ชนวนล้วนๆ ออกมาก็มีทั้งเสียหล่อไม่เต็ม มีทั้งสวยและไม่สวย ชุดนี้ถึงไม่สวยระดับประกวด แต่แขวนติดตัวได้สบายๆครับ ราคาเบาๆแบ่งกันไปครับ(pm)

    [​IMG]
    [​IMG]

    [​IMG]
    [​IMG]

    [​IMG]
    [​IMG]

    [​IMG]
    [​IMG]

    มวลสารเหล่านี้ ได้ใช้บรรจุไว้ใต้ฐานรูปหล่อพระมหาอุปคุตปางปราบมาร แบบแทบจะล้วนๆ ส่วนตัวประสานเนื้อผงให้เข้ากันนั้น ได้ใช้น้ำผึ้งเสกของหลวงปู่พิศดู ข้าวก้นบาตร(ชนิดเปียก) สีผึ้ง น้ำหมาก น้ำมนต์ ของเหล่าครูบาอาจารย์ และน้ำมันอนันตคุณ108 กล้วยน้ำไทย กาว ฯลฯ เป็นตัวประสานหลัก.. เพราะฉะนั้นเวลาที่ผงแห้งนั้นอาจจะมีหดตัว หรือมีรอยแยกบ้างนิดหน่อย ถือเป็นเรื่องปกติครับ เนื่องจากเราเน้นใส่มวลสารแบบเข้มข้นพิเศษจริงๆ
    เกศาธาตุพระอริยสงฆ์ และสายพระโพธิสัตว์ รวม 108 องค์
    ที่บรรจุในรูปหล่อพระมหาอุปคุตปางปราบมาร

    1. ท่านพ่อลี วัดอโศการาม
    2. หลวงปู่พิศดู วัดเทพธารทอง
    3. ครูบาเจ้าศรีวิชัย
    4. ครูบาเจ้าเกษม เขมโก
    5. ครูบาพรหมจักร วัดพระพุทธบาทตากผ้า
    6. ครูบาชัยยะวงศาพัฒนา
    7. หลวงปู่แหวน วัดดอยแม่ปั๋ง
    8. หลวงปู่สิม พุทธจาโร
    9. ครูบาอินตา อินทปัญโญ วัดห้วยไซใต้
    10. สมเด็จพระสังฆราช วัดบวรฯ
    11. หลวงปู่ภัททันตะ อาสภะมหาเถระ
    12. ครูบาอ้าย
    13. ครูบาคอง วัดท่ามะเกว๋น
    14. หลวงตามหาบัว ญาณสัมปันโน
    15. ครูบากฤษดา สุเมโธ วัดสันพระเจ้าแดง
    16. หลวงพ่อชา สุภัทโธ
    17. หลวงปู่เจี๊ยะ จุนโท
    18. หลวงปู่จาม จ.มุกดาหาร
    19. หลวงปู่อ่อนสา
    20. หลวงปู่ศรี มหาวีโร
    21. หลวงปู่สอ พันธุโล
    22. หลวงปู่ท่อน ญาณธโร
    23. หลวงปู่หลอด ปโมทิโต
    24. หลวงปู่คำบ่อ ฐิตปัญโญ
    25. หลวงพ่อประสิทธิ์ วัดป่าหมู่ใหม่
    26. หลวงปู่เหรียญ วรลาโภ
    27. หลวงปู่สี ฉันทสิริ วัดเขาถ้ำบุนนาค
    28. หลวงพ่อฤาษีลิงดำ วัดท่าซุง
    29. ญาท่าสวน ฉันทโร วัดนาอุดม
    30. หลวงปู่ลี วัดภูผาแดง
    31. หลวงปู่เปี่ยม วัดโพธิ์เรียง
    32. หลวงปู่เกลี้ยง วัดศรีธาตุ
    33. หลวงปู่ทิม วัดระหารไร่
    34. หลวงปู่นะ วัดหนองบัว
    35. หลวงพ่อสมชาย วัดเขาสุกิม
    36. พ่อท่านเอื้อม
    37. หลวงปู่จันทร์แรม
    38. หลวงปู่ทา วัดถ้ำซับมืด
    39. หลวงพ่อยิด วัดหนองจอก
    40. หลวงปู่เพิ่ม วัดกลางบางแก้ว
    41. หลวงปู่อิง โชติโญ
    42. หลวงปู่หมุน ฐิตสีโล
    43. หลวงปู่เหมือน จ.สระแก้ว
    44. หลวงปู่กอง วัดสระมณฑล
    45. หลวงปู่พวง วัดสหกรณ์รังสรรค์
    46. หลวงปู่เพียร วัดป่าหนองกอง
    47. หลวงปู่บุญมี วัดสระประสานสุข
    48. หลวงปู่บุญฤทธิ์ สำนักสวนทิพย์
    49. หลวงปู่ดู่ พรหมปัญโญ วัดสะแก
    50. หลวงปู่ขาว อนาลโย
    51. หลวงพ่อทองดำ วัดท่าทอง
    52. หลวงปู่จันทา ถาวโร
    53. ครูบาจันทร์แก้ว วัดศรีสว่าง
    54. ครูบาดวงดี วัดบ้านฟ่อน
    55. หลวงปู่ทอง วัดเกาะ
    56. พระมหาเจิม วัดสระมงคล
    57. หลวงพ่อจรัญ วัดอัมพวัญ
    58. หลวงปู่มหาปลอด วัดโพธินิมิตร
    59. หลวงพ่อเอีย วัดบ้านด่าน
    60. หลวงปู่ดี ธัมมะธีโร
    61. หลวงปู่สนั่น วัดธารเกษม
    62. หลวงปู่อุ่นหล้า
    63. หลวงปู่บุญกู้ วัดพระศรีมหาธาตุ บางเขน
    64. หลวงปู่สว่าง โอภาโส
    65. หลวงปู่สวาท
    66. หลวงปู่ฟัก สันติธัมโม
    67. หลวงปู่วิชัย วัดไผ่ล้อม(พระอารามหลวง) จ.จันทบุรี
    68. อาจารย์สมเดช สิริจันโท วัดเขาถ้ำโบสถ์
    69. หลวงปู่เชย อมโร อาศรมเขาเจ้าหลาว
    70. หลวงปู่บุญตา วัดอินทรีวนาราม จ.ชัยภูมิ
    71. หลวงปู่เกล้า
    72. หลวงปู่คำบุ วัดกุดชมพู
    73. หลวงปู่ลมัย ฐิตมโน สวนป่าสมุนไพร จ.เพชรบูรณ์
    74. อาจารย์ประเวทย์ วัดป่าคลองมะลิ
    75. ครูบามานพ วัดพระธาตุหนองจันทร์
    76. หลวงปู่สำราญ วัดปากคลองมะขามเฒ่า
    77. หลวงปู่เฟื่อง วัดธรรมสถิต
    78. หลวงปู่สมควร วัดถือน้ำ
    79. หลวงปู่ปราโมท วัดป่านิโครธาราม
    80. หลวงปู่ทิม วัดพระขาว
    81. หลวงปู่บุญจิตต์ วัดลานบุญ
    82. หลวงปู่เชื่อม วัดเขาทอง
    83. หลวงปู่พวง วัดน้ำพุ
    84. หลวงปู่ชื้น วัดญานเสน
    85. หลวงปู่มหาคำแดง วัดคัมภีราวาส
    86. หลวงปู่สุภา วัคอนสวรรค์ (วัดสีลสุภาราม)
    87. หลวงพ่อุตตมะ วัดวังวิเวการาม
    88. หลวงพ่ออุดม วัดพิชัยสงคราม
    89. หลวงปู่ทุย
    90. หลวงปู่สวัสดิ์ วัดศาลาปูน
    91. หลวงปู่คำพอง ติสโส
    92. หลวงปู่เรือง สำนักปฏิบัติธรรมเขาสามยอด
    93. หลวงปู่เคน วัดป่าบ้านหนองหว้า
    94. หลวงปู่โต๊ะ วัดประดู่ฉิมพลี
    95. หลวงพ่อไพฑูรย์ วัดโพธินิมิตร
    96. หลวงปู่หลุย วัดถ้าผาบิ้ง
    97. หลวงปู่ฟัก วัดเขาวงพระจันทร์
    98. หลวงปู่มู จ.เชียงใหม่
    99. หลวงปู่อ่อง เขาวงกต
    100. หลวงปู่เล็ก วัดทำนบ
    101. หลวงพ่ออุ้น วัดตาลกง
    102. หลวงปู่เวิน วัดน้ำวิ่ง
    103. หลวงปู่นาม วัดน้อยชมพู
    104. หลวงปู่นิยม วัดแจ้งนอก
    105. หลวงปู่เยี่ยม วัดประดู่ทรงธรรม
    106. หลวงพ่อขันตี วัดป่าม่วงไข่
    107. หลวงปู่อุดม วัดป่าเวฬุวัน
    108. หลวงปู่ผาด วัดไร่

    ตะกรุดที่นำมาฝังไว้ใต้ฐานรูปหล่อองค์พระมหาอุปคุต ก็สุดๆแล้วครับ.. ตอนแรกผมเข้าใจว่าเขาจะใช้ตะกรุดเนื้อเงินฝังใต้ฐาน แต่ที่ไหนได้ ดียิ่งกว่านั้นซะอีกครับ เพราะว่าตะกรุดที่นำมาฝังนี้เป็นตะกรุดเนื้อชนวนล้วนๆแบบ 100% ที่หลอม หล่อ รีดมาจากแผ่นจารพระยันต์จากพระคณาจารย์ตั้งแต่ยุคเก่าจนถึงยุคปัจจุบัน กว่า 300 องค์ รวมแล้วเกือบพันแผ่น อาทิแผ่นยันต์ของ...
    หลวงปู่เทศ เทศรังษี
    หลวงปู่ดู่ วัดสะแก
    หลวงปู่พิศดู ธัมมะจารี
    หลวงพ่อคูณ ปริสุทโธ
    ...ฯลฯ
    ผสมกับชนวนหล่อพระสำคัญอีกมากมาย เช่น ชนวนหัวโทนหล่อพระประธานตามวัดสำคัญ ชนวนพระกริ่งปืนเที่ยงวัดทองนพคุณ ชนวนเหรียญพระแก้วองค์ต้น ชนวนพระกริ่งของหลวงปู่ญาท่านสวน ชนวนพระกริ่งธัมมะจารี ชนวนพระกริ่งสุขังเสติ ชนวนพระขรรค์แก้ววัชรจักร ชนวนวัตถุมงคลชุดโลกุตรธรรม ทองจังโก๋พระธาตุเจดีย์ที่สำคัญ...ฯลฯ
    ซึ่งโลหะที่นำมาหลอมทำตะกรุดชุดนี้เป็นโลหะผสมจะว่าเป็นเนื้อใดเนื้อหนึ่งก็มิใช่ เพราะมีทั้งทองคำ เงิน ทองแดง ทองเหลือง นวะ ฯลฯ ไม่รู้ว่าจะเรียกตะกรุดเนื้ออะไรดี ก็ขอเรียกว่าตะกรุดชนวนล้วนๆก็แล้วกันนะครับ.. ผมทราบข่าวยังประทับใจเลย พิถีพิถันในการสร้างกันถึงขนาดนี้เชียว


    http://palungjit.org/9157088-post3585.html
    ข้อมูลการสร้างครับ
     
  15. bat119

    bat119 เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    10 กันยายน 2009
    โพสต์:
    14,514
    ค่าพลัง:
    +30,847
    ปิดองค์ที่4ครับ
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 31 พฤษภาคม 2016
  16. bat119

    bat119 เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    10 กันยายน 2009
    โพสต์:
    14,514
    ค่าพลัง:
    +30,847
    เหรียญพระปัจเจกพุทธเจ้า เนื้อนวะ+ทองแดง จัดมาให้1ชุดครับ (pm)

    [​IMG] [​IMG]

    [​IMG] [​IMG]

    เหรียญพระปัจเจกพุทธเจ้า
    สร้างเมื่อเดือนพฤษภาคม พ.ศ 2553 แต่ออกให้ทำบุญบูชาครั้งแรกเมื่อเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ 2554 งานฉลองพระอุโบสถ วัดสันพระเจ้าแดง โดยเจ้าภาพใหญ่ที่ถวายปัจจัยในการสร้างเหรียญชุดนี้ คือ คุณอาเล็ก ซึ่งเป็นคณะศิษย์สำนักมังกรฟ้าที่ประเทศฮ่องกง ด้านหน้าเหรียญถูกออกแบบเป็นพระปัจเจกพุทธเจ้า มีเส้นรัศมีโดยรอบ ซึ่งพระปัจเจกพุทธเจ้าในเหรียญนี้ ได้ถอดแบบมาจากพระพุทธรูปเก่าแก่ประจำวัด ซึ่งมีอายุหลายร้อยปีหรืออาจถึงพันปี และด้านหลังเหรียญบรรจุยันต์เกราะเพชร ซึ่งมีอานุภาพมากด้วยพุทธคุณ ค้ำจุนดวง เสริมบารมี เสริมการงาน การเงิน มียันต์เกราะเพชรหนุนดวงจะมิตกอับ อีกทั้งยังป้องกันภัยรอบด้านอีกด้วย
    จำนวนการจัดสร้าง มีรายละเอียด ดังนี้
    1. เหรียญตะกั่วลองพิมพ์ จำนวน 50 เหรียญ
    2. เหรียญเงิน จำนวน 108 เหรียญ
    3. เหรียญนวะ จำนวน 500 เหรียญ
    4. เหรียญทองแดง ประมาณ 3,300 เหรียญ ( สั่งปั้ม 3,000 เหรียญ แต่โรงงานปั้มเกินมา 300 เหรียญ)
    เหรียญพระปัจเจกพุทธเจ้านี้ ผ่านการปลุกเสกดังนี้
    1. หลวงปู่พิศดู ธัมมจารี วัดเทพธารทอง
    2. หลวงปู่ปลอด วัดโพธินิมิตร
    3. หลวงพ่อบุญยัง วัดห้วยน้ำอุ่น
    4. ครูบากฤษดา สุเมโธ วัดสันพระเจ้าแดง
    เหรียญชุดนี้ยังได้เข้าพิธีต่างๆของทางวัดสันพระเจ้าแดงมาโดยตลอดก่อนออกให้บูชา ครูบากฤษดาท่านว่า "เหรียญนี้มีพุทธคุณในทางโชคลาภ เมตตามหานิยม และยังช่วยป้องกันภัยต่าง ๆ อีกด้วย"




    ประสบการเหรียญพระปัจเจกครับวันนี้คุณหมอหนุ่ย แพทย์โรงพยาบาลอ่างทองและโรงพยาบาลศุภมิตรเสนา

    ได้โทรมาหาและเล่าเรื่องตื่นเต้นให้ฟังดังนี้

    ตั้งแต่ได้กราบครูบาที่บ้านพี่หมีก็หายข้องใจในเรื่องไม่ดีต่างๆที่ได้รับฟังมา

    จึงได้เสาะหาพระท่านมาบูชา ก็ได้เหรียญพระปัจเจกจากในเวปแห่งหนึ่ง

    เมื่อนำมาห้อยมีความรู้สึกว่าหน้าที่การงานลาภผลดีขึ้นมาก

    มีคนป่วยมารับการรักษามากมาย(อันนี้อย่าเข้าใจผิดไปในทางไม่ดีนะครับรายได้แพทย์ส่วนหนึ่งมาจากตรงนี้)

    การเงินก็ดีขึ้นมาก อาทิตย์ที่ผ่านมาคุณหมอและภรรยาได้ไปปฏิบัติธรรม

    ที่วัดแห่งหนึ่งในจังหวัดอยุธยา คุณหมอเล่าให้ฟังว่า

    วันหนึ่งฝนตกปรอยๆคุณหมอกางร่มเพื่อจะเข้าไปที่ศาลาปฏิบัติธรรม

    ขณะที่เดินไปใกล้ถึงศาลาแล้วนั้น คุณหมอได้หุบร่มที่กาง

    ทันใดนั้นก็มีเสียงฟ้าผ่าดังมาก วินาทีนั้นคุณหมอยืนนิ่งไม่รู้สึกตัวเหมือนถูกสะกด

    ทราบแต่ว่ามีความร้อนแผ่ลงมากลางหัวพร้อมกับเสียงผู้คนร้องกรี๊ดกันอื้ออึง

    มีคนที่ห่างหมอไปประมาณ 2 เมตร ถูกลูกหลงนิ้วมือไหม้เกรียม

    พอได้สติคุณหมอก็รีบเดินเข้าศาลาโดยที่ไม่เป็นอะไรเลย แม้แต่เส้นผมก็ไม่ไหม้

    คนที่เห็นเหตุการณ์รีบวิ่งเข้ามาและถามไถ่อากากรว่าเป็นอะไรไหม

    เนื่องจากสายตาทุกคู่เห็นตรงกันว่าสายฟ้านั้งลงมาที่กลางหัวทันทีที่หมอหุบร่ม

    และเอาร่มลง คุณหมอเล่าว่าในขณะนั้นคิดถึงอย่างเดียวคือเหรียญพระปัจเจกที่ห้อยอยู่ในคอ

    คุณหมอได้เล่าเรื่องนี้ให้ผมฟังพร้อมทั้งระลึกถึงบารมีครูบากฤษดาด้วยความปิติ

    ขอขอบพระคุณคุณหมอหนุ่ย ด้วยนะครับที่กรุณาถ่ายทอดเรื่องราวประสบการณ์พร้อมทั้งอนุญาติให้นำเผยแผ่ได้ครับ


    ปล.คุณหมอหนุ่ยเคยเล่าว่าได้เคยอุปัฏฐากหลวงปู่พิศดูและเป็นผู้ทำความสะอาดสังขารท่านด้วยตัวเอง

    ตอนที่ท่านละสังขารที่โรงพยาบาลด้วยครับ
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 31 พฤษภาคม 2016
  17. bat119

    bat119 เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    10 กันยายน 2009
    โพสต์:
    14,514
    ค่าพลัง:
    +30,847
    พระชัยวัฒน์มหาวิมุติ+พระโพธิจักรเนื้อผงน้ำมัน วัดป่าคลองกุ้ง สร้างปี 2553 แจกงานผูกพัทสีมาปิดทองฝังลูกนิมิตร บูชา1,050บาท

    <a href="http://www.mx7.com/view2/z8E4ZOIFemh2skUU" target="_blank"><img border="0" src="http://www.mx7.com/i/959/JfAXQw.JPG" /></a> <a href="http://www.mx7.com/view2/z8E4ZOIFe7PCwVgW" target="_blank"><img border="0" src="http://www.mx7.com/i/1a5/mHGal6.JPG" /></a>

    <a href="http://www.mx7.com/view2/z8E4ZOIFenDqqKq4" target="_blank"><img border="0" src="http://www.mx7.com/i/d78/KpCQuH.JPG" /></a> <a href="http://www.mx7.com/view2/z8E4ZOIFeo0RKYom" target="_blank"><img border="0" src="http://www.mx7.com/i/eaa/AeLNQB.JPG" /></a>

    <a href="http://www.mx7.com/view2/z8E51AC4EfwXY3xy" target="_blank"><img border="0" src="http://www.mx7.com/i/a1d/7BsCrR.JPG" /></a> <a href="http://www.mx7.com/view2/z8E51WAKVPoGNQHH" target="_blank"><img border="0" src="http://www.mx7.com/i/d54/5d2jOY.JPG" /></a>​

    พระชัยวัฒน์มหาวิมุติ..
    พระชัยวัฒน์ชุดนี้เป็นพระเข้าสูตรเนื้อนวโลหะครบ 9 ชนิด ที่หลอมหล่อมาจากมหาชนวนตั้งแต่พระกริ่งธัมมะจารี พระกริ่งสุขังเสติ รูปหล่อพระอุปคุตปางปราบมาร หนุมานมหาฤทธิ์ พระขรรค์แก้ววัชรจักรทั้ง 2 รุ่น วัตถุมงคลรุ่นโลกุตรธรรม ฯลฯ จนมาถึงพระชัยวัฒน์มหาวิมุติ เนื้อชนวนได้ต่อยอดกันมาตลอดไม่เคยขาดช่วง ต่อยอดแต่ละครั้งก็จะมีชนวนอีกมากมายจากที่ต่างๆมาหลอมหล่อรวมกัน ถ้าจะให้บอกว่ามีอะไรบ้างยากครับ ที่บันทึกเอาไว้ก็เพียงส่วนเล็กน้อยเท่านั้น
    ส่วนมวลสารที่บรรจุใต้ฐานพระชัยวัฒน์มหาวิมุติ ก็มี..
    -เกศาพระอริยะ 109 องค์
    -จีวรหลวงปู่พิศดู
    -มวลสารต่างๆของหลวงปู่พิศดู และมวลสารอื่นๆอีกมากมาย
    -ตะกรุดที่บรรจุ เป็นตะกรุดชนวนที่หลอมมาจากแผ่นยันต์ของครูบาอาจารย์มากกว่า 300 องค์ รวมแล้วนับพันแผ่น แล้วมารีดเป็นแผ่นเพื่อทำตะกรุดฝัง
    พระชัยวัฒน์ชุดนี้ ไม่ว่าจะเทดินไทย หรือเทปูนก็ตาม ก็เป็นเนื้อเดียวกัน ไม่ได้ต่างอะไรกัน นอกจากเบ้าที่เทเท่านั้นเองครับ
    เวลาที่คณะผู้จัดสร้างได้นำพระชุดนี้ไปขอเมตตาพ่อแม่ครูบาอาจารย์ช่วยอธิษฐานธรรมให้ ก็จะบอกท่านเหล่านั้นทุกครั้งว่า พระชุดนี้ตั้งใจสร้างขึ้นมาเพื่อเป็นพระที่ใช้ในการภาวนาจิต ให้เป็นพุทธานุสติ ให้ผู้บูชาสามารถเข้าถึงความสงบระงับได้โดยง่าย ถึงที่สุดแล้วให้ผู้นั้นมีจิตใจฝักใฝ่ในธรรมและขอให้เข้าถึงธรรมเหล่านั้นได้โดยง่ายครับ..
    ตั้งแต่เดินสายมามากกว่า 50 พิธี จะเลือกเฉพาะองค์ที่เรามั่นใจว่าเป็นพระอริยะและพระปฏิบัติดีปฏิบัติชอบล้วนๆ เพื่อผลแห่งการทรงไว้ซึ่งพลังในการปฏิบัติภาวนาจริงๆ พระชุดนี้จะไม่มีเกจิสายวิชาอาคมเสกเลย.. ครูบาอาจารย์ที่คณะผู้สร้างได้นำไปขอเมตตานั้นก็ไม่มีท่านใดขัดข้องในการอธิษฐานธรรมเลยแม้แต่องค์เดียว ขนาดครูบาอาจารย์บางองค์ที่เสกของให้ใครยากๆ ยังเต็มใจ และเมตตาอธิษฐานให้อย่างตั้งใจมากเลยครับ..
    ทั้งนี้เพราะเราเชื่อในเจตนาอันดีของการจัดสร้างและบารมีธรรมของครูบาอาจารย์ที่ท่านคอยเกื้อหนุนอยู่เป็นอันดับหนึ่งครับ.. สาธุ
    ส่วนใหญ่ผู้ที่ได้พระนี้ไปจะเอาไปกำนั่งภาวนากัน เพื่ออาราธนาพลังของพระขึ้นมาเป็นประโยชน์ในการปฏิบัติ ผลตอบรับกลับมาว่าใช้ภาวนาดี จิตสงบลงเร็วขึ้น ใส่บูชาแล้วใจเย็นลง สบายใจ เรื่องร้ายกลับกลายเป็นดี(เพราะพระนี้เป็นพระชัยเพชรกลับด้วย) ฯลฯ..

    พระโพธิจักรเนื้อผงน้ำมัน วัดป่าคลองกุ้ง สร้างปี 2553 แจกงานผูกพัทสีมาปิดทองฝังลูกนิมิตร
    เป็นวัตถุมงคลทางเลือกอีกรุ่นหนึ่งครับ ที่ได้รับเมตตาจากหลวงปู่พิศดู(เดินจิตไปเสกให้)
    พระชุดนี้เป็นพระที่ทางวัดป่าคลองกุ้งจัดสร้างขึ้นเพื่อแจกงานปิดทองฝังลูกนิมิตร โดยได้นิมนต์พระเกจิครูบาอาจารย์นับสิบๆรูป มานั่งปรกอธิษฐานจิต อาทิ..
    -หลวงปู่สนั่น จิณธัมโม วัดธารเกษม
    -หลวงปู่ฟัก สันติธัมโม วัดเขาน้อยสามผาน
    -หลวงปู่บุญกู้ วัดพระศรีมหาธาตุ บางเขน
    -หลวงพ่อมหาเข้ม วัดป่าคลองกุ้ง
    -หลวงพ่อจำเนียร วัดถ้ำเสือ
    - ... ฯลฯ
    ซึ่งในพิธีพุทธาภิเษกดังกล่าวนี้ ทางวัดได้จัดพิธีกันตลอดราตรี
    ซึ่งองค์หลวงปู่พิศดูของเรา ท่านก็ได้รับอาราธนามาร่วมอธิษฐานจิตด้วย แต่ว่าหลวงปู่ท่านมิได้เดินทางไปเนื่องจากไม่สะดวก แต่ก็ได้รับการอาราธนานิมนต์กับทางวัดป่าคลองกุ้งไว้แล้วว่าจะไปช่วยเสกให้ ท่านจึงตั้งใจอธิษฐานจิตส่งกระแสญาณบารมีธรรม จากวัดเทพธารทอง ไปยังวัดป่าคลองกุ้งแทน ถ้าจะพูดง่ายๆก็คือ หลวงปู่ท่านถอดจิตไปเสกให้นั่นเองครับ เรื่องนี้มีพยานต์ผู้รู้เห็นอยู่ กล่าวคือ เมื่อได้เวลาที่พิธีที่วัดป่าคลองกุ้งจะเริ่ม หลวงปู่ท่านได้บอกกับลูกศิษย์ที่วัดเทพธารทองว่า..
    " อย่าให้ใครมากวนเรา เราจะไปที่วัดป่า(คลองกุ้ง).." แล้วหลวงปู่ท่านก็นอนคลุมโปง เข้าฌานสมาบัติ นิ่งไปเป็นเวลานับชั่วโมงๆ พอเสร็จแล้ว ท่านก็เปิดผ้าที่คลุมโปงออก ลูกศิษย์ที่เฝ้าท่านอยู่ก็ได้ ถามท่านว่า เมื่อสักครู่นี้หลวงปู่ไปไหนมา ท่านตอบว่า " เราเพิ่งกลับจากวัดป่าคลองกุ้ง.."
    ซึ่งเป็นที่รู้กันอยู่ในลูกศิษย์ใกล้ชิดว่า ถ้าหลวงปู่ท่านนอนคลุมโปง จะต้องมีอะไรแน่ๆ ซึ่งจะไม่มีใครกล้าไปเรียก หรือรบกวนท่านเลย..
    และอยากจะบอกด้วยครับว่า ในพิธีดังกล่าวนี้ ทางคณะศิษย์ของหลวงปู่พิศดู ได้นำพระกริ่ง-พระชัยวัฒน์ธัมมจารี ไปเข้าร่วมพิธีด้วยครับ..
     
  18. bat119

    bat119 เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    10 กันยายน 2009
    โพสต์:
    14,514
    ค่าพลัง:
    +30,847
    ปิดองค์หมายเลข1+2ครับ
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 31 พฤษภาคม 2016
  19. bat119

    bat119 เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    10 กันยายน 2009
    โพสต์:
    14,514
    ค่าพลัง:
    +30,847
    ปิดแล้วครับ
     
  20. bat119

    bat119 เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    10 กันยายน 2009
    โพสต์:
    14,514
    ค่าพลัง:
    +30,847
    เปิดรูปหล่อพระอุปคุตปราบมาร วัดเขาน้ำซับ เนื้อชนวนไม่ขัดผิว(มีเพียงแค่30%)จากการสร้าง1000องค์ งานเทหล่อใส่ชนวนล้วนๆ ออกมาก็มีทั้งเสียหล่อไม่เต็ม มีทั้งสวยและไม่สวย ชุดนี้ถึงไม่สวยระดับประกวด แต่แขวนติดตัวได้สบายๆครับ ราคาเบาๆแบ่งกันไปครับ(pm)

    [​IMG]
    [​IMG]

    [​IMG]
    [​IMG]

    [​IMG]
    [​IMG]

    [​IMG]
    [​IMG]

    มวลสารเหล่านี้ ได้ใช้บรรจุไว้ใต้ฐานรูปหล่อพระมหาอุปคุตปางปราบมาร แบบแทบจะล้วนๆ ส่วนตัวประสานเนื้อผงให้เข้ากันนั้น ได้ใช้น้ำผึ้งเสกของหลวงปู่พิศดู ข้าวก้นบาตร(ชนิดเปียก) สีผึ้ง น้ำหมาก น้ำมนต์ ของเหล่าครูบาอาจารย์ และน้ำมันอนันตคุณ108 กล้วยน้ำไทย กาว ฯลฯ เป็นตัวประสานหลัก.. เพราะฉะนั้นเวลาที่ผงแห้งนั้นอาจจะมีหดตัว หรือมีรอยแยกบ้างนิดหน่อย ถือเป็นเรื่องปกติครับ เนื่องจากเราเน้นใส่มวลสารแบบเข้มข้นพิเศษจริงๆ
    เกศาธาตุพระอริยสงฆ์ และสายพระโพธิสัตว์ รวม 108 องค์
    ที่บรรจุในรูปหล่อพระมหาอุปคุตปางปราบมาร

    1. ท่านพ่อลี วัดอโศการาม
    2. หลวงปู่พิศดู วัดเทพธารทอง
    3. ครูบาเจ้าศรีวิชัย
    4. ครูบาเจ้าเกษม เขมโก
    5. ครูบาพรหมจักร วัดพระพุทธบาทตากผ้า
    6. ครูบาชัยยะวงศาพัฒนา
    7. หลวงปู่แหวน วัดดอยแม่ปั๋ง
    8. หลวงปู่สิม พุทธจาโร
    9. ครูบาอินตา อินทปัญโญ วัดห้วยไซใต้
    10. สมเด็จพระสังฆราช วัดบวรฯ
    11. หลวงปู่ภัททันตะ อาสภะมหาเถระ
    12. ครูบาอ้าย
    13. ครูบาคอง วัดท่ามะเกว๋น
    14. หลวงตามหาบัว ญาณสัมปันโน
    15. ครูบากฤษดา สุเมโธ วัดสันพระเจ้าแดง
    16. หลวงพ่อชา สุภัทโธ
    17. หลวงปู่เจี๊ยะ จุนโท
    18. หลวงปู่จาม จ.มุกดาหาร
    19. หลวงปู่อ่อนสา
    20. หลวงปู่ศรี มหาวีโร
    21. หลวงปู่สอ พันธุโล
    22. หลวงปู่ท่อน ญาณธโร
    23. หลวงปู่หลอด ปโมทิโต
    24. หลวงปู่คำบ่อ ฐิตปัญโญ
    25. หลวงพ่อประสิทธิ์ วัดป่าหมู่ใหม่
    26. หลวงปู่เหรียญ วรลาโภ
    27. หลวงปู่สี ฉันทสิริ วัดเขาถ้ำบุนนาค
    28. หลวงพ่อฤาษีลิงดำ วัดท่าซุง
    29. ญาท่าสวน ฉันทโร วัดนาอุดม
    30. หลวงปู่ลี วัดภูผาแดง
    31. หลวงปู่เปี่ยม วัดโพธิ์เรียง
    32. หลวงปู่เกลี้ยง วัดศรีธาตุ
    33. หลวงปู่ทิม วัดระหารไร่
    34. หลวงปู่นะ วัดหนองบัว
    35. หลวงพ่อสมชาย วัดเขาสุกิม
    36. พ่อท่านเอื้อม
    37. หลวงปู่จันทร์แรม
    38. หลวงปู่ทา วัดถ้ำซับมืด
    39. หลวงพ่อยิด วัดหนองจอก
    40. หลวงปู่เพิ่ม วัดกลางบางแก้ว
    41. หลวงปู่อิง โชติโญ
    42. หลวงปู่หมุน ฐิตสีโล
    43. หลวงปู่เหมือน จ.สระแก้ว
    44. หลวงปู่กอง วัดสระมณฑล
    45. หลวงปู่พวง วัดสหกรณ์รังสรรค์
    46. หลวงปู่เพียร วัดป่าหนองกอง
    47. หลวงปู่บุญมี วัดสระประสานสุข
    48. หลวงปู่บุญฤทธิ์ สำนักสวนทิพย์
    49. หลวงปู่ดู่ พรหมปัญโญ วัดสะแก
    50. หลวงปู่ขาว อนาลโย
    51. หลวงพ่อทองดำ วัดท่าทอง
    52. หลวงปู่จันทา ถาวโร
    53. ครูบาจันทร์แก้ว วัดศรีสว่าง
    54. ครูบาดวงดี วัดบ้านฟ่อน
    55. หลวงปู่ทอง วัดเกาะ
    56. พระมหาเจิม วัดสระมงคล
    57. หลวงพ่อจรัญ วัดอัมพวัญ
    58. หลวงปู่มหาปลอด วัดโพธินิมิตร
    59. หลวงพ่อเอีย วัดบ้านด่าน
    60. หลวงปู่ดี ธัมมะธีโร
    61. หลวงปู่สนั่น วัดธารเกษม
    62. หลวงปู่อุ่นหล้า
    63. หลวงปู่บุญกู้ วัดพระศรีมหาธาตุ บางเขน
    64. หลวงปู่สว่าง โอภาโส
    65. หลวงปู่สวาท
    66. หลวงปู่ฟัก สันติธัมโม
    67. หลวงปู่วิชัย วัดไผ่ล้อม(พระอารามหลวง) จ.จันทบุรี
    68. อาจารย์สมเดช สิริจันโท วัดเขาถ้ำโบสถ์
    69. หลวงปู่เชย อมโร อาศรมเขาเจ้าหลาว
    70. หลวงปู่บุญตา วัดอินทรีวนาราม จ.ชัยภูมิ
    71. หลวงปู่เกล้า
    72. หลวงปู่คำบุ วัดกุดชมพู
    73. หลวงปู่ลมัย ฐิตมโน สวนป่าสมุนไพร จ.เพชรบูรณ์
    74. อาจารย์ประเวทย์ วัดป่าคลองมะลิ
    75. ครูบามานพ วัดพระธาตุหนองจันทร์
    76. หลวงปู่สำราญ วัดปากคลองมะขามเฒ่า
    77. หลวงปู่เฟื่อง วัดธรรมสถิต
    78. หลวงปู่สมควร วัดถือน้ำ
    79. หลวงปู่ปราโมท วัดป่านิโครธาราม
    80. หลวงปู่ทิม วัดพระขาว
    81. หลวงปู่บุญจิตต์ วัดลานบุญ
    82. หลวงปู่เชื่อม วัดเขาทอง
    83. หลวงปู่พวง วัดน้ำพุ
    84. หลวงปู่ชื้น วัดญานเสน
    85. หลวงปู่มหาคำแดง วัดคัมภีราวาส
    86. หลวงปู่สุภา วัคอนสวรรค์ (วัดสีลสุภาราม)
    87. หลวงพ่อุตตมะ วัดวังวิเวการาม
    88. หลวงพ่ออุดม วัดพิชัยสงคราม
    89. หลวงปู่ทุย
    90. หลวงปู่สวัสดิ์ วัดศาลาปูน
    91. หลวงปู่คำพอง ติสโส
    92. หลวงปู่เรือง สำนักปฏิบัติธรรมเขาสามยอด
    93. หลวงปู่เคน วัดป่าบ้านหนองหว้า
    94. หลวงปู่โต๊ะ วัดประดู่ฉิมพลี
    95. หลวงพ่อไพฑูรย์ วัดโพธินิมิตร
    96. หลวงปู่หลุย วัดถ้าผาบิ้ง
    97. หลวงปู่ฟัก วัดเขาวงพระจันทร์
    98. หลวงปู่มู จ.เชียงใหม่
    99. หลวงปู่อ่อง เขาวงกต
    100. หลวงปู่เล็ก วัดทำนบ
    101. หลวงพ่ออุ้น วัดตาลกง
    102. หลวงปู่เวิน วัดน้ำวิ่ง
    103. หลวงปู่นาม วัดน้อยชมพู
    104. หลวงปู่นิยม วัดแจ้งนอก
    105. หลวงปู่เยี่ยม วัดประดู่ทรงธรรม
    106. หลวงพ่อขันตี วัดป่าม่วงไข่
    107. หลวงปู่อุดม วัดป่าเวฬุวัน
    108. หลวงปู่ผาด วัดไร่

    ตะกรุดที่นำมาฝังไว้ใต้ฐานรูปหล่อองค์พระมหาอุปคุต ก็สุดๆแล้วครับ.. ตอนแรกผมเข้าใจว่าเขาจะใช้ตะกรุดเนื้อเงินฝังใต้ฐาน แต่ที่ไหนได้ ดียิ่งกว่านั้นซะอีกครับ เพราะว่าตะกรุดที่นำมาฝังนี้เป็นตะกรุดเนื้อชนวนล้วนๆแบบ 100% ที่หลอม หล่อ รีดมาจากแผ่นจารพระยันต์จากพระคณาจารย์ตั้งแต่ยุคเก่าจนถึงยุคปัจจุบัน กว่า 300 องค์ รวมแล้วเกือบพันแผ่น อาทิแผ่นยันต์ของ...
    หลวงปู่เทศ เทศรังษี
    หลวงปู่ดู่ วัดสะแก
    หลวงปู่พิศดู ธัมมะจารี
    หลวงพ่อคูณ ปริสุทโธ
    ...ฯลฯ
    ผสมกับชนวนหล่อพระสำคัญอีกมากมาย เช่น ชนวนหัวโทนหล่อพระประธานตามวัดสำคัญ ชนวนพระกริ่งปืนเที่ยงวัดทองนพคุณ ชนวนเหรียญพระแก้วองค์ต้น ชนวนพระกริ่งของหลวงปู่ญาท่านสวน ชนวนพระกริ่งธัมมะจารี ชนวนพระกริ่งสุขังเสติ ชนวนพระขรรค์แก้ววัชรจักร ชนวนวัตถุมงคลชุดโลกุตรธรรม ทองจังโก๋พระธาตุเจดีย์ที่สำคัญ...ฯลฯ
    ซึ่งโลหะที่นำมาหลอมทำตะกรุดชุดนี้เป็นโลหะผสมจะว่าเป็นเนื้อใดเนื้อหนึ่งก็มิใช่ เพราะมีทั้งทองคำ เงิน ทองแดง ทองเหลือง นวะ ฯลฯ ไม่รู้ว่าจะเรียกตะกรุดเนื้ออะไรดี ก็ขอเรียกว่าตะกรุดชนวนล้วนๆก็แล้วกันนะครับ.. ผมทราบข่าวยังประทับใจเลย พิถีพิถันในการสร้างกันถึงขนาดนี้เชียว


    http://palungjit.org/9157088-post3585.html
    ข้อมูลการสร้างครับ

    เหลือหมายเลข3 องค์เดียวแล้วครับ
     

แชร์หน้านี้

Loading...